HIP MAGAZINE : SEPTEMBER 2017 (Section B)

Page 1

1

b side


C ON T E NTS

S e p t e m b e r

2 0 1 7

V o l. 1 3

N o. 1 5 5

Bike Collection 04 Bike Route 06 Bike Trip 10 Bike Safe 12 Run 14 Cover Story 18 Journey & Amazing Dishes 24

HILIGHT

Cover Story

digital contents www.hipthailand.net

04 Bike Collection

06 Bike Route

14 Run

HIP ไปเยือน ‘ลมภูเขา’ บ้านบนเนินเขา เชิงดอยสุเทพในย่านช่างเคีย่ นของ ปุ๊ – วุฒชิ ยั ใจสมัคร งานนี้ไม่ได้ไปชมบ้าน หากแต่ไปชม บรรดาจักรยานคันโปรดของเจ้าของบ้าน ทั้ง 5 คัน พร้อมทั้งฟังเขาบอกเล่าที่มาที่ไป ของแต่ละคัน รวมถึงการน�ำจักรยานไปใช้งาน ที่มีเรื่องราวน่าจดจ�ำ

เดือนนี้ บก. Bike Section พาไป ดื่ ม กาแฟตามคาเฟ่ เ ก๋ ๆ และสถานที่ เ ท่ ๆ 10 แห่ง หลายคนอาจสงสัยว่านี่จะเปลี่ยนมา ท�ำรีวิวร้านกาแฟกันหรือไง ขอแนะน�ำว่า ให้ดเู ส้นทางทีเ่ ขาชวนคุณปัน่ ไปแต่ละทีซ่ ะก่อน แล้วคุณอาจจะรีบออกตัวว่า “ช่วงนีไ้ ม่วา่ ง ไม่ต้องชวน” ก็เป็นได้

ฉบั บ นี้ ‘อาเหลี ย ง’ จะมาบอกเล่ า ประสบการณ์ ก ารลงแข่ ง ขั น Ironman ให้ ไ ด้ ติ ด ตามกั น กั บ ภารกิ จ ว่ า ยน�้ ำ 3.8 กิโลเมตร, ปั่นจักรยาน 180 กิโลเมตร และ วิ่งมาราธอน 42.195 กิโลเมตร... งานนี้ ต้องบอกว่าไม่มีด่านไหนง่าย กว่าจะได้ชื่อ Ironman มาครอบครอง

2

a side



B I K E C O L L E C T I O N

MY KIND OF RIDE 5 คันโปรดของ วุฒิชัย ใจสมัคร

วุฒิชัย ใจสมัคร (ปุ๊)

เรื่อง/ภาพ : อรอุษา

บนเนินเขาเชิงดอยสุเทพในย่านช่างเคี่ยน ‘ลมภูเขา’ ซ่อนตัวอยู่หลังแมกไม้ สูงใหญ่ มีวิวเมืองเชียงใหม่ทอดตัวอยู่ด้านล่างสุดลูกหูลูกตา ที่นี่เป็นทั้งโฮมสเตย์ และบ้านของ พีป่ ุ๊ – วุฒชิ ยั ใจสมัคร แถมในเร็ววันนีย้ งั มีแผนจะเปิดเป็นร้านกาแฟเล็กๆ ส�ำหรับเป็นทีพ ่ บปะพูดคุยของคนคอเดียวกัน เราจึงไม่พลาดทีจ่ ะจิบกาแฟหอมๆ ฝีมอื การดริปของเจ้าของบ้าน ในระหว่างการสนทนาเกี่ยวกับจักรยานคันโปรดทั้ง 5 คัน ของเขา ซึ่งแต่ละคันมีที่มาที่ไป เรื่องราวและการใช้งานแตกต่างกันไปตามโอกาส

BMX : Apollo

Touring Bike : Panasonic

BMX คันนี้บดิ มาจาก ebay เมือ่ ประมาณ 10 กว่าปี แล ้ว ยีห่ อ้ Apollo เฟรมท�ำมาจากเหล็ก Chromoly จากนัน้ ก็หาอะไหล่มอื หนึ่ง เก่าเก็บจากคนทีเ่ ขาเล่นกันในกรุงเทพฯ ค่อยๆ แต่งมาเรื่อยๆ กว่าจะ เสร็จสมบูรณ์แบบทีเ่ ห็นก็ใช้เวลาประมาณ 2 ปี ได้ เป็ นจักรยานในฝัน ที่ราคาค่อนข้างสู งในสมัยเรายังเด็ก พอโตขึ้น เริ่มท�ำงาน จึงค่อยๆ เก็บเงินและหาซื้อมาได้ในทีส่ ุด คันนี้ตงั้ ใจจะเก็บไว้ให้ลูกชาย เพราะเรา รูส้ กึ ว่า BMX มันเป็ นสิง่ ทีเ่ ด็กผูช้ ายทุกคนต้องมี ความพิเศษคือรุ่นนี้ ตะเกียบหน้าจะเบนไปด้านหน้า เป็ นรถส�ำหรับแข่งแบบวิบากในยุค 70s ในสนามที่มลี ูกระนาดเยอะๆ คันนี้นานๆ จะขี่สกั ที เช่น เมื่อก่อน ตอนไปต่างจังหวัดจะเอาใส่หลังกระบะไปด้วย หากเทียบจากการใช้งาน แล ้ว BMX คันนี้กเ็ ปรียบเหมือนรถพับ Brompton ทีเ่ ราพกพาไปด้วย ทุกทีใ่ นตอนนี้นนั ่ แหละ

คันนี้ได้มาประมาณ 9 – 10 ปี จากร้านขายของของคุณลุง คนหนึ่งแถวเชียงใหม่แลนด์ซง่ึ เขาน�ำจักรยานจากเมืองนอกมาขายด้วย ถือเป็ นจักรยานประเภทเสือหมอบคันแรกทีซ่ ้อื สมัยเด็กๆ เราไม่รูว้ า่ เสือหมอบคืออะไร แต่อยากได้ อยากมีไว้ปัน่ พอโตมาเริม่ มีงานมีการท�ำ มีกำ� ลังพอจะซื้อ จึงหามาปัน่ ไว้ใช้งาน จ�ำได้วา่ ตอนนัน้ ผู ้คนจะปัน่ Fixed Gear กัน มีเราคนเดียวทีอ่ ายุมากทีส่ ดุ ในกลุม่ ทีป่ นั ่ เสือหมอบ Touring พอได้มาก็มาเปลีย่ นเบาะ ใส่กระติกน�ำ ้ ใส่กระเป๋ า เปลีย่ นยางให้มนั ร่วมสมัยมากขึ้น จนกลายเป็ นรถอเนกประสงค์ ใช้ปนั ่ ไปตลาด ไปซื้อของ เพราะมันค่อนข้างคล่องตัว เป็ นคันทีเ่ รียกได้วา่ ใช้คมุ ้ ทีส่ ุด และถือเป็ น คันแรกทีเ่ ริ่มปัน่ จักรยานแบบจริงจัง คันนี้เคยใช้ปนั ่ ไปงาน Jive ที่ อ�ำเภอปายมาแล ้วด้วย

(Chromoly Steel Frame)

4

a side


Road Bike : Colnago Master (Chromoly Steel Frame)

คันนี้รุ่นน้องช่วยบิดจาก ebay มาให้ เป็ นจักรยานวินเทจทีเ่ กียร์ จะเป็ นแบบสับถัง เราว่ามันคลาสสิคและมีเสน่หต์ รงนี้ ปัน่ ไปแล ้วรูส้ กึ ว่า รถมันเป็ นส่วนหนึ่งของเรา ได้ฟงั เสียง ได้คำ� นวณเกียร์ ในตอนแรก แค่อยากได้จกั รยานวินเทจ Hi - End สักคันไว้สำ� หรับปัน่ ในเมืองเล่นๆ และสามารถปัน่ ออกก�ำลังกายได้ดว้ ย แต่เอาเข้าจริงคันนี้กลายเป็ นคันที่ ใช้คุม้ มาก โดยที่เราไม่สนว่ามันจะเป็ นจักรยานแบบวินเทจที่นำ�้ หนัก อาจจะมากกว่ารถสมัยใหม่ไปสักหน่อย เราติดอุปกรณ์เสริม ทัง้ Garmin ไฟหน้า ไฟท้าย เปลีย่ นยาง ให้เหมือนรถรุ่นใหม่เลย และใช้คนั นี้ปนั ่ ออกก�ำลังกายอย่างจริงจัง ปัน่ ขึ้นดอยสุเทพ ไปสะเมิง แม่แตง ดอยสะเก็ด ปัน่ ในระยะทางไกลๆ ก็จะใช้คนั นี้

Mountain Bike : Litespeed (Titanium Frame)

คันนี้เป็ นเสือภูเขาคันทีส่ องในชีวติ เคยพาเราไปถึงยอดดอยอินทนนท์ มาแล ้ว เราให้นิยามมันว่า ‘Neo Vintage’ เพราะเป็ นเฟรมจากยุค 90s และขอบล ้อยังเป็ นขนาด 26 นิ้ว แต่อะไหล่ต่างๆ เป็ นของยุคปัจจุบนั ทัง้ หมด คันนี้ได้มาประมาณ 2 ปี ทแ่ี ลว้ จากร้านซ้งจักรยาน แจ่งศรีภูมิ ตอนนัน้ ยังไม่รูจ้ กั กับคุณท้อเจ้าของร้าน พอเข้าไปในร้านเราเห็นเฟรมคันนี้แขวนอยู่ จึงเอ่ยปากถามเชิงทีเล่นทีจริงว่าเฟรมนี้ขายรึเปล่า พอคุณท้อบอกราคามา เท่านัน้ แหละ เรารีบคว้าไว้เลย เพราะราคาใน ebay แพงกว่านี้มาก จากนัน้ เราจึงน�ำรถไปประกอบอีกร้าน ร้านชื่อ Jacky Bike นิมมานเหมินท์ ซ.13 กลายเป็ นว่าพอเริ่มรูจ้ กั กันมากขึ้น คุณท้อถามซื้อคันนี้คนื จากเราบ่อยมาก (หัวเราะ) คันนี้จะใช้ปนั ่ ทัง้ ทางดินและทางเรียบแบบค่อยๆ ไป แต่ถา้ ได้ลง เขาชันๆ เมื่อไหร่ รถคันนี้จะเเสดงประสิทธิภาพออกมาอย่างไม่น่าเชื่อ คันนี้จึงเป็ นเหมือนครู ฝึกให้เรามีสกิลล์ในการปัน่ เสือภูเขาเลยก็ว่าได้ เพราะล ้มและบาดเจ็บกับคันนี้มาเยอะมาก

Folding Bike : Brompton Black Edition คันนี้อยากได้มาหลายปี แล ้ว แต่ในเมืองไทยราคามันก็แพงเหลือเกินส�ำหรับรถพับ คัน เล็ก ๆ แม้ว่ า จะไปถึง ช็ อ ปที่อ งั กฤษก็ ย งั ตัด ใจซื้อ ไม่ ล งอยู่ ดี แต่ ด ว้ ยความโชคดี เมือ่ ประมาณ 2 ปี ทแ่ี ล ้ว มีโอกาสได้เดินทางไปปารีส ประจวบเหมาะกับเป็ นช่วงทีค่ ่าเงินยูโร อ่อนตัว และเป็ นช่วง Sale ของช็อป Brompton ทีป่ ารีสพอดี จึงได้คนั นี้มาในราคาทีเ่ รา พอใจมาก พอได้มาปุ๊ บก็พาเจ้าคันนี้ปนั ่ เทีย่ วชมเมืองปารีสแทบจะทุกเช้า ทีช่ อบอีกอย่างคือ เราซื้อเคสของคันนี้มาด้วย เมือ่ ต้องเดินทางไปต่างประเทศหรือไปต่างจังหวัด จึงยัดทุกอย่าง ลงไปในเคสนี้ ทัง้ จักรยาน เสื้อผ้า รองเท้า อยู่ภายในใบเดียวจบ สามารถเดินทางไปกับเรา ได้ทวั ่ ไม่ว่าจะขึ้นเครื่องบิน ขึ้นรถไฟฟ้ า และเป็ นคันที่พกติดหลังรถเกือบตลอดเวลา เห็นเป็ นรถพับลอ้ เล็กแบบนี้ แต่ประสิทธิภาพมันเหลือร้าย เพราะทุกจุดของจักรยาน ถูกออกแบบและค�ำนวณค่าต่างๆ มาเป็ นอย่างดี เราเคยปัน่ คันนี้ข้นึ ดอยสุเทพแบบชิลล์ๆ มาแล ้ว ถือเป็ นอีกหนึ่งคันโปรดทีจ่ ะหยิบมาปัน่ ทุกครัง้ ทีม่ โี อกาส 5

b side


10 B I K E R O U T E

ROUTES OF CNX CAFES 10 ร้านกาแฟสยองน่อง เรื่อง /ภาพ : asidslapper

ว่ากันว่าร้านกาแฟกับนักปั่นจักรยานแนวกึ่งสมัครเล่น (อีกกึ่งไม่ค่อยได้เล่นเพราะสมัคร ไม่ทัน) อย่างเราๆ นี่ จะขาดเสียมิได้เลยเวลาที่ออกทริปเนี่ย แหม กระแทกกระทั้นทั้งบู๊ทั้งบุ๋น กันมาเหนือ่ ยแทบตาย จะให้ไปนัง่ จุก๊ ปุก๊ พักเหนือ่ ย เมาท์มอย เยาะเย้ยถากถาง วีรเวร + วีรกรรม ทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ (หรือทีอ่ บุ ตั ขิ นึ้ ในสัปดาห์ทผ ี่ า่ นมา) กับเหล่าสหายรักสหายแค้นกันบนพืน้ ถนนร้อนๆ แจ๊ะๆ แมะๆ ก็ใช่ที่ มันก็ต้องหาร้านกาแฟนั่งให้มันดูคูนคูนหน่อยดี๊ การออกก�ำลังกายของมัน ใช่แค่มาเสียเหงือ่ แล้วแยกย้ายกันกลับบ้านใครบ้านมันซะเมือ่ ไหร่เล่า หมดค่ารถไปเป็นหมืน่ เป็นแสน เหนื่อยก็เหนื่อย เดี๋ยวแดดเดี๋ยวฝน ได้ออกปั่นกับเพื่อนฝูงทั้งที แวะเข้าสังคมสักนิดไม่ได้ เสียหายอะไรนี่นา ขอเติมเต็มสุขภาพใจบ้าง ชีวิตจะได้สมบูรณ์พูนสุข 4.0 ว่าแล ้วก็ไม่รอช้า Bike Section ฉบับนี้กเ็ ลยพาไปดู 10 เส้นทางร้านกาแฟเชียงใหม่ยอดนิยมส�ำหรับนักปัน่ โลค่อลและแขกแก้วผูม้ าเยือนบ้านเฮา โดยเส้นทางทัง้ หมดจะเริม่ ตัง้ ต้นจากตัวเมืองเชียงใหม่เป็ นหลัก การวัดระยะทาง จึงเป็ นการวัดระยะรวมแบบไป – กลับ เพือ่ ให้แฟนานุแฟนได้คำ� นวณแรงตัวเองได้สะดวก ถ้าพร้อมแล ้ว... ลุย! 6

a side


1. แป้นเกล็ด Coffee มุ่งหน้าเหมือนจะเดินทางไปปาย ระยะทางไป - กลับประมาณ 100 กิโลเมตร มี ด อยพอให้อุ่ น ใจนิ ด หน่ อ ย ก� ำ ลัง พอเหมาะพอเจาะ ทีร่ า้ นมีอาหารเครือ่ งดืม่ คับคัง่ แถมมีฟาร์มแกะให้ถ่ายรู ปและ ป้ อนอาหารด้ว ย แต่ ถ า้ ยัง ไม่ ห น� ำ ใจ คุ ณ สามารถกระหน�ำ่ ต่ อ ไปได้ถึ ง ร้า น Coffee Hill ซึ่งอยู่บนเทือกเขาเลยจาก แป้ นเกล็ด ไปประมาณ 4 - 5 สบถ! ตามศรัทธาเถอะนะวัยรุ่น!

2. ท่าช้าง ฮิลล์ Coffee & Cafe อันนี้นกั ปัน่ โลค่ อลคงคุน้ หน้าคุน้ ตากันดีอยู่แลว้ ไปร้านนี้ทีไรจักรยานแขวนเต็ม ราวจอดรถเสมอ อัดทางเรียบออกจากเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ เลาะคันคลองชลประทาน ไปเรื่อยๆ จนถึงแยกต้นเกว๋น (วัยเก๋าเรียกแยกสะเมิง วัยดึกเรียกแยกกฤษดาดอย) เลี้ยวขวา ปัน่ เรียบๆ ไปสักครู่เข้าเขตภูเขา อร่อยเหาะ! เส้นทางไปกลับประมาณ 40 - 50 กิโลเมตร ระยะเหมือนไม่ไกลแต่อ่มิ ดอยแน่ๆ แต่ถา้ เห็นว่า โอ๊ย แค่น้ ีมนั เส้นซ้อม ปัน่ ประจ�ำอยู่แลว้ ยังไม่สาแก่ใจ แนะน�ำให้ซดั ยาวต่อไปถึงศาลายอด 7 พับ แล ้วค่อยกลับมาสมทบกับเพือ่ นๆ ทีท่ ่าช้างก็ได้ แต่เดีย๋ ว! ถ้ามันยังน้อยเกินขาแรงๆ ของคุณอีก ลง 7 พับแล ้วไต่ต่อขึ้นไปอีก 5 กิโลเมตร จะเห็นป้ ายยินดีตอ้ นรับเข้าสู่เขตสะเมิง (ถ้าตอนนัน้ ยังไม่เหนื่อยจนตาพร่ า ไปซะก่อนนะ!) เลยไปอีกประมาณ 400 เมตร ขวามือจะมีถนนคอนกรีตเล็กๆ นัน่ แหละ เลี้ยวเข้าไปเลยทีร่ กั ! ‘โครงการหลวงทุ่งเรา’ ไต่ข้นึ ไปบนยอดเรียกว่า ‘บ้านบวกจัน่ ’ นัน่ แหละ สวรรค์ทงั้ เป็ น! ย้อนกลับมาทีท่ ่าช้าง ท�ำปากสัน่ ระริกเล่าให้เพือ่ นๆ (ทีไ่ ม่ยอมตามไปด้วย) ฟังว่าไปเจออะไรสะเทือนใจมา! สังกาแฟมาจิ ่ บ แต่ประสาทรับรูเ้ ริ่มไม่รบั รสแล ้ว 555 3. กาแฟชมนกชมไม้ บอกแค่ ช่ือร้าน ‘ชมนกชมไม้’ ท�ำหน้าตาเหรอหรา กันยกใหญ่ แหมมมม ท�ำเป็ นคนอืน่ คนไกลไปได้ ก็รา้ นกาแฟ นี้ไงทีต่ งั้ อยู่ตรงยอด ‘แม่กำ� ปอง’ ไงทีร่ กั ตัง้ หน้าตัง้ ตาไปทาง ดอยสะเก็ ด เหมือ นจะไปเชี ย งราย จะมีแ ยกเลี้ย วขวา ทีด่ ่านต�ำรวจ ความโหดเหี้ยมอ�ำมหิตของเส้นทางนี้เอาเป็ นว่า เก็บไปโม้ได้เป็ นปี ระยะทางประมาณ 60 - 70 กิโลเมตร ก�ำลังตึงๆ หน้าขา (แต่ หลังขาเป็ นตะคริวไปแลว้ ! แฮ่ !) ร้านกาแฟวิวระดับตระการตา โพสต์โชว์สงั คมออนไลน์มแี ตะ 200 Likes ถ้าแรงเหลือเลยไปต่ อมีนรกขุมนึงที่เรียกว่า ‘กิ่วฝิ่ น’ รออยู่ขา้ งหน้า ต�ำนานเส้นทาง 4 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชัว่ โมง ผมลองมาแล ้ว! 7

b side


4. ริมธารบ้านเมี่ยง คิดซะว่าจะไปเชียงรายเลย ยาวจากดอยสะเก็ดไปเรื่อยๆ ร้า นตัง้ อยู่ ข วามือ ก่ อ นขึ้น ดอยนางแก้ว ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร เหมาะส�ำหรับนักปัน่ สายไฮสปี ด เพราะเป็ นเส้นทาง แนว Rolling ขึ้นๆ ลงๆ ตอนลงอัดแรงเพิม่ เวลาไต่ก็จะได้ใช้ ความเร็วสู ง แต่ตอ้ งระวังรถอื่นๆ ให้ดี เพราะถนนเส้นนี้แคบ รถใหญ่เยอะและขับกันเร็วมาก แต่ก็คุม้ ทีจ่ ะเสีย่ งครับ เพราะว่า ร้านริมธารบ้านเมีย่ งนี้ตงั้ อยู่รมิ ล�ำธารธรรมชาติสวยงาม ทีส่ ำ� คัญ กาแฟที่น่ีปลูกเองคัว่ เอง รสชาติ Signature สุดๆ คอกาแฟ ทัง้ หลายไม่ควรพลาดด้วยประการทัง้ ปวง

5. สวนสองแสน ชื่อไม่ค่อยคุน้ หูเท่าไหร่ งัน้ เอางี้... ดอยปุย โอเคนะ อัดยาวๆ ขึ้นดอยสุเทพไปเลย ผ่านวัด พระธาตุดอยสุเทพ จอดมัย้ ? ไม่จอด! ผ่านลาน เฮลิคอปเตอร์ จอดมัย้ ? ไม่จอด! ผ่านพระต�ำหนัก ภูพงิ ค์ จอดมัย้ ? ไม่จอด! เฮ่ย!!! ขาจะขาดแล ้วฮะ! 555 เลยพระต�ำหนักภูพงิ ค์ข้นึ ไปอีกจะเจอสามแยก เลี้ยวซ้ายม้วนตัวลงไปทางหมู่บา้ นแม้วดอยปุย ดิ่งลงมาเพลินๆ ซักพักจะเจอร้านตัง้ อยู่ซา้ ยมือ กาแฟสวนสองแสน วิวสวยระดับ 5 ดาว ถ้าฟ้ าใส มองทะลุ ไ ปเจอดอยอิน ทนนท์ด ว้ ย ระยะทาง ประมาณ 30 - 40 กิโลเมตร ขึ้นครึ่งลงครึ่งแลกกัน แฟร์ๆ ระยะเหมือนไม่ไกล แต่ไต่ข้แี ตก! แพะภูเขา ยิ้มมุมปากบอกว่า ขนม (ขนมติดคอ แฮ่!)

6. ร้านถุงกาแฟ ร้านตัง้ อยู่ ท่ีโครงการมาลาดา สี่แยก ต้นเกว๋น (แยกสะเมิง) อ�ำเภอหางดง ถ้าบอก พิกดั ร้าน คุณอาจเข้าใจว่าเส้นทางไม่เห็นจะมี อะไรพิเศษๆ เลย เดีย๋ วสิจะ๊ ยาหยี ไม่ได้บอกให้ ปัน่ เลาะคันคลองไปซะหน่อย แต่ผมจะบอกให้ ขึ้นเหนือไปทางแม่ริม เลี้ยวซ้ายที่สามแยกทางไปน�ำ้ ตกแม่สา จากนัน้ ก็ กระท�ำการ ‘สะเมิงแคลสสิค’ เลย มายสวีทฮาร์ท! หรือถ้าอยากเกร๋กว่านัน้ ไปทางบ้านแม่ขเิ พื่ออ้อมเข้าสะเมิงหนือโผล่สะเมิงใต้ แลว้ โผล่ลงมาทาง หางดงมาจบทีร่ า้ นนี้ เจ้าของเป็ นนักปัน่ คุยเรื่องจักรยานได้สามวันสามคืน แถมยังเป็ นโรงคัว่ กาแฟเองด้วย ร้ายกาจยิง่ นัก

8

a side


7. Starbuck Hi - Speed ร้านกาแฟ Starbuck เปิ ดสาขาไปทัวโลก ่ ไปไหนก็เจอยัว้ เยี้ยเต็มไปหมด แล ้วไงเหรอ? ก็ไม่แล ้วไง? ก็กาแฟ Starbuck ไง ความพิเศษมันอยูต่ รงที่ นักปัน่ และชื่อทริปทีว่ า่ ‘Starbuck Hi - Speed Ultra X’ เพราะมันคือการรวมตัวของยอดมนุษย์สายพันธุส์ ปรินเตอร์จากทีมจักรยานชัน้ น�ำทัว่ เชียงใหม่ นัดเซิ้งกันทุกวันศุกร์ 7:00 น. ทีป่ ั ๊ม ปตท.คันคลองชลประทาน ใกล ้ตลาดต้นพะยอม ใครทีป่ ระกาศตัวว่าฉันเกลียดดอย ฉันเป็ นสายเรียบ ฉันเป็ นสปรินเตอร์ ลองมาทริปนี้เพือ่ ตรวจสอบตัวเองก่อนก็ดนี ะ ไม่แน่วา่ พอพอจบทริปแล ้วอาจจะเกิดหลงรักการไต่เขาขึ้นมาทันทีเลยก็ได้!!! 8. Tiger TED Cafe ถ้า วงการจัก รยานเปรี ย บเป็ นยุ ท ธภพในหนัง จี น ก�ำลังภายใน ร้านไทเกอร์เท็ดก็เป็ นเหมือนโรงเตีย๊ มเหลาสุรา ชุมนุ มชาวยุทธทัง้ หลายแหละครับ จอมยุทธรุ่นเล็กรุ่นใหญ่ รุ่นเดอะ เดินเบียดกันเป็ นปลาดุกปลาสวายที่เขตอภัยทาน ของวัดเลย! ทีน่ ่ีเป็ นแหล่งแลกเปลีย่ นข่าวสาร ข้อมูล ความรู ้ อัพเดทวงการจักรยาน เมาท์มอย และอะไรต่อมิอะไร ร้านอยู่ท่ี ข้างห้างเมญ่า สี่แยกรินค�ำ จะบอกว่าอยู่ในเมืองเลยก็ไม่ผดิ อ๊ออ๊อย ไม่เห็นจะไกลเลย 555 ผมเลยจัดเส้นทางสุดพิเศษ ให้เลย เอาใจสายป่ า สายขรุ ขระ สายลุย ด้วยรถ MTB ลุ ย ย้อ นขึ้น จากทางห้ว ยตึ ง เฒ่ า แล ว้ ย้อ นกลับ มาลงด้า น ถนนห้วยแก้วดอยสุเทพ ซึ่งในวงการ MTB นิยมเรียกว่า ‘ขึ้นหลัง – ลงหน้า’ ระยะประมาณ 20 - 30 กิโลเมตร แต่ระดับ ความชันนี่พ่อเอ๊ยยยยยย จังหวะพีคสุดอยู่ทร่ี าวๆ 30% หึหึ กลับลงมาถึงร้าน TED เจ้าของร้านถามว่าไปไหนมา ให้ตอบเขา ไปตามตรง แล ้วจะเห็นแกท�ำจมูกบานใส่!!!

10. กาแฟซองส�ำเร็จรูป 3 in 1 ที่ดอยอ่างขาง “ขออภัยค่ะ ไม่มสี ญั ญาณตอบรับจากหมายเลขทีท่ า่ นเรียก”

9. เอากาแฟกระป๋องใส่หลังเสื้อ แล้วปั่นจาก ในเมืองไป - กลับดอยอินทนนท์ ผมเคยแลว้ และไม่คิดจะท�ำอีก ใครอยากลอง ก็เชิญนะครับ ไม่ตอ้ งชวน ผมไม่วา่ ง!!!

พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ ปล. สองข้อสุดท้ายไม่ตอ้ งชวนผมนะครับ ช่วงนี้ ไม่วา่ ง! 9

b side


B I K E T R I P

ENDURO เอ็นดูโท้ะ เรื่อง : Mikee CNX ภาพ : เด็กพิเศษโควต้าช้างเผือก

หลายต่อหลายครั้งเวลาที่นักปั่นเสือภูเขาสายลุยอย่างผมเข้าไปดูโน่นนี่นั่นในเว็บต่างประเทศ ก็มักจะ เห็นประเภทการปั่นจักรยานสายขรุขระทั้งหลาย ส่วนใหญ่เราจะคุ้นหูคุ้นตากันแค่ Cross Country และ Downhill แต่สงสัยมานานแล้วว่าไอ้ชอื่ การแข่งประเภท Enduro เนีย่ มันคืออะไร เพราะตัง้ แต่เด็กจนใกล้แก่ พอพูดว่า Enduro เราก็มักเข้าใจว่ามันคือมอเตอร์ไซค์วิบากที่มดเอ็กซ์ขี่ไปปราบเหล่าร้าย พอลองอ่านและ สังเกตดูก็รู้แค่ว่า เวลาปล่อยตัวเขาจะปล่อยทีละคัน แล้วก็ใช้การจับเวลา ใครเวลาดี (เร็วกว่า) ก็ชนะไป บุญพาวาสนาส่ง เพราะจู่ๆ เพื่อนๆในกลุ่ม MTB ก็พูดถึง การแข่ง Enduro ทีจ่ ะมาจัดทีเ่ ชียงใหม่ มิหน�ำซ�ำ้ ยังมีพวกเราบางคน ไปลงแข่งซะด้วย ตอนแรกเนี่ยอีตา บก. Bike Section ก็นดั แนะกัน ซะอย่างดี กะว่าจะไปดูไปเชียร์ดว้ ยกัน แต่ดนั จ�ำวันผิด ไปทับกับวันแข่ง ไตรกีฬาพอดี เราจึงส่ง บก.ไประเบิดพลังที่งานไตรกีฬา ส่วนผม จึ ง ตัด สิ น ใจปั น่ ไปดู ก ารแข่ ง ขัน รายการนี้ พร้อ มทั้ง รับ อาสา น�ำประสบการณ์มาเล่าในคอลัมน์น้ แี ทนอีตานัน่ งานแข่งจักรยานรายการนี้มชี อ่ื ว่า International Chiang Mai Enduro 2017 จัดโดย Thailand Enduro Series ซึง่ นี่เป็ นการมาจัด แข่งขันที่เชียงใหม่เป็ นครัง้ แรกเลยเชียวนะ การแข่งขันรายการนี้จะ ตระเวนจัดไปหลายๆ สนามทัวประเทศ ่ เพือ่ สรุปเป็ นคะแนนรวมในตอน ท้ายสุด สนามแรกนี่เขาจัดทีเ่ จียงใหม่บ ้านเฮา ส่วนสนามสองของปี น้ นี นั้ ยัง Coming Soon อยู่ ทีน้ ลี องมาดูประวัตกิ ารแข่งขันจักรยาน Enduro ในประเทศไทยกันบ้างสิ เขาเริ่มจัดกันมาตัง้ แต่ปี 2014 มีทงั้ หมด 2 สนาม ได้แก่ ปราจีนบุรแี ละสระบุรี พอข้ามมาปี 2016 จัดไปทัง้ สิ้น 4 สนาม ได้แก่ปราจีนบุรี สระบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ และนครราชสีมา 10

a side


ขอเล่าถึงการเดินทางเพือ่ ไปดูงานแข่งของผมบ้างละกันนะครับ เราขีเ่ สือภูเขาขึ้นไปกันสองคัน ใช้เส้นทางทีค่ นปัน่ ส่วนใหญ่เรียกกันว่า ‘ขึ้นด้านหน้า’ ก็คอื ผ่านวัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ผ่านพระต�ำหนักภูพงิ ค์ฯ ไปถึงทางแยกที่เลี้ยวซ้ายจะไปบ้านม้งดอยปุย ให้เราเลี้ยวขวาไปทาง ขุนช่างเคี่ยน ผ่าน ‘วิว 3’ คนปัน่ เขารูจ้ กั กัน 55 ผ่าน ‘สันกู่’ สถานทีน่ ้ ี สายดาวน์ ฯ เขาเล่ น กัน ผ่ า นทางแยกที่ จ ะขึ้ น ไปยอดดอยปุ ย ไปอีกนิดดดดดดดดนึง (เสียงสูงปรีด๊ ) ผ่านจุดชมดอกพญาเสือโคร่ง (ซากุระไทย) แล ้วเราก็จะไปถึงบ้านศรีเนห์รูครับ ทีจ่ ำ� เส้นทางได้ละเอียด ก็เพราะว่าความเร็วในการปัน่ ส่วนมากมันจะเป็ นแค่เลขหลักเดียว ท�ำให้ มีเวลาซึมซับสถานที่ได้เยอะแยะ 555 นึกถึงเวลาที่ใช้เท้ากดและดึง บันไดจักรยานขึ้นมาก็ปวดหลังจีด๊ ๆ แลว้ เกิดมาก็เพิง่ รูแ้ หละว่าการ เชียร์กฬี านี่มนั ล�ำบากขนาดนี้เลยเหรอ 555 กลับ มาเรื่ อ งการ แข่งขันกันต่อครับ วันทีเ่ รา ไปดูเขาแข่งกันนัน้ เหลือ เพียงแค่ 4 สเตจสุดท้าย (สเตจ 5 - 8) ซึง่ บางสเตจ มีทงั้ LS และ SS เรียกว่า ลงอย่างเดียวไม่พอ ต้อง ใช้แรงปัน่ ขึ้นมาอีก ทีไ่ ด้ดู คือ สเตจ 5 ซึ่ง อยู่ ข า้ งๆ โรงเรียนศรีเนห์รู สเตจนี้ เส้นทางเริม่ จาก SS (ลงเขา) แถมไม่พอยังมี LS (ขึ้นเขา) ให้ท รมานร่ า งกายกัน ใน ส�ำหรับกฎ/กติกาในการแข่ง Enduro ก็คอื (ข้อมูลจาก http:// สเตจเดียว สภาพนักปัน่ ที่จบสเตจ 5 แต่ ละคนที่ผมพบคือเละไปด้วยโคลนทัง้ รถและคน www.thailandenduroseries.com/rules.html) 1. นักขีเ่ สือภูเขาเอนดูโรทัง้ หมดจะถูกจัดล�ำดับในการปล่อยตัว และแบ่ง เลยครับ ก็เพราะช่วงนี้ดนั เป็ นช่วงที่เชียงใหม่ฉ�ำ่ แฉะไปด้วยพายุฝน เป็ นกลุม่ เวลาทีเ่ รียกว่า Wave โดยจัดจากต�ำแหน่งของนักขี่ 50 คนแรก ที่โหมเข้ามาหลายวันติดต่ อกัน โดยเฉพาะคืนวันเสาร์ก่อนวันแข่ง ในรายการ Thailand Enduro Series และ Asian Enduro Series ฝนดันตกซะหนักเอาเรื่อง ท�ำให้สภาพสนามนัน้ เละไปด้วยโคลน เปี ยก ลืน่ สุดๆ เลย งานนี้ผมได้เจอนักปัน่ ที่รูจ้ กั กันอยู่ 2 คน คือพี่ต่อ ทีม่ ตี ำ� แหน่งสูงสุดในขณะนัน้ 2. สเตจเดินทางหรือ Liaison Stage (LS) จะเป็ นเส้นทางทีน่ กั ขีจ่ ะใช้ (คนที่เคยพาเรา ‘ดิ่ง’ ใน HIP ฉบับก่อนๆ) และโอ๋ (นามอสมมติ) ขี่ไปยังจุด Start ของสเตจทดสอบ ซึ่งโดยทัว่ ไปจะเป็ นทางขึ้นเขา โอ๋บน่ ว่าเส้นทางโหดมากๆ เสร็จแล ้วผมก็แวะไปดูตรงจุดปล่อยตัวของ นักขีจ่ ะต้องขีร่ ถจักรยานของตนเองบน LS ไปยังจุด Start ของสเตจ สเตจ 6 ซึง่ อยูข่ ้างๆ โรงเรียนศรีเนห์รูเหมือนกัน แต่คนละฝัง่ กับสเตจ 5 ส่วนสเตจ 7 และ 8 นัน้ ไม่ได้ตามลงไป เพราะคิดว่าจากสภาพเส้นทาง ทดสอบภายในเวลาทีก่ ำ� หนดให้ 3. สเตจทดสอบหรือ Special Stage (SS) จะมีลกั ษณะเส้นทางทีเ่ ป็ น และสภาพรถ Hard Tail ของเราทัง้ 2 คนแลว้ น่ าจะไม่สามารถ ทางลงเขาอย่างน้อย 80% ของเส้นทาง และจะมีทางขึ้นเขาไม่เกิน 20% กลับออกมาแบบปกติแน่ๆ 555 ขนาดรถ Full Suspension (มีโช๊คกลาง) ของเส้นทาง การขีใ่ น SS เริ่มเมือ่ ขีผ่ ่านจุด Start ระบบจะเริ่มท�ำการ ยังล ้มกันระนาว นับประสาอะไรกับระดับหมูบ่ า้ นอย่างผม 555 ส�ำหรับนักแข่งที่มาร่ วมงานในวันนัน้ นี่มาจากหลายประเทศ บันทึกเวลาทีใ่ ช้ในสเตจทดสอบของนักแข่ง และตัดเวลาเมือ่ ขีผ่ ่านจุด พอสมควร ผมแอบเห็นป้ ายทีต่ ดิ หน้ารถทีเ่ ขาจะบอกชื่อและประเทศไว้ Finish ของ SS 4. เมือ่ ขีผ่ ่านจุด Finish ของ SS นักแข่งจะต้องเดินทางต่อไปบน LS ทีผ่ มเห็นและได้ยนิ มาก็มนี กั แข่งจากญีป่ ่ นุ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เป็ นต้น เพือ่ ไปยังจุด Start ของ SS ต่อไป ภายในเวลาทีก่ ำ� หนดให้อกี เช่นกัน ตอนขากลับผมย้อนใช้เส้นทางด้านหน้าเหมือนเดิม แลว้ ก็ลดั ไปทาง ศู น ย์ป ระชุ ม นานาชาติ ฯ โชคดีเ หลือ เกิ น ที่ไ ด้เ จอกับ นัก แข่ ง จาก และจะเริ่มปฏิบตั ติ ามข้อ 2 วนไปจนครบทุก SS ทีจ่ ดั ไว้ ส่ วนกฎส�ำหรับจักรยานที่จะใช้ในการแข่งขันที่ทางผู จ้ ดั เขา อินโดนีเซียซึง่ แข่งสเตจ 8 เสร็จพอดี แกก�ำลังจะปัน่ กลับโรงแรมทีพ่ กั ได้วางไว้ ก็คือจะต้องเป็ นจักรยานเสือภูเขาที่มรี ะบบซับแรงกระแทก ก็เลยปัน่ ไปคุยกันไปด้วย แกชมว่างานนี้สนุกดี มันมาก ถึงแม้เส้นทาง ที่มชี ่วงยุบระหว่าง 120 - 180 มม. ว่ากันง่ายๆ ก็คือ ช่วงยุบของ จะเละมากก็ตาม แถมยังมีลูกหยอดให้เจ้าบ้านอย่างเราได้ช่ืนใจว่า โช๊คหน้านัน้ ต้องมีช่วงยุบ 120 - 180 มม. เนื่องจากมันเป็ นทางลงเขา แกชอบเชียงใหม่มาก นี่แหละครับ จักรยานแนว Enduro ส�ำหรับคนทีร่ กั การผจญภัย ซะเป็ นส่วนใหญ่ แต่วา่ เสือภูเขาแบบ Hard Tail (โช๊คหน้าอย่างเดียว) ทีเ่ ราใช้ส่วนใหญ่นนั้ ช่วงยุบของโช๊คจะมีแค่ 100 มม. ดังนัน้ จักรยาน + ธรรมชาติแลว้ ยิ่งถ้าชอบเสือภูเขาลุยๆ แนว Cross Country เสือภูเขาแบบเดิมๆ ทีม่ แี ค่โช๊คหน้า ไม่มโี ชคกลางก็หมดสิทธิ์ เพราะโช๊ค เป็ นทุนเดิมมาอยู่แลว้ ด้วย ก็ตอ้ งบอกว่านี่สใิ ช่เลย เพราะถ้าเป็ นเรื่อง ยุบแค่ 100 มม. จักรยานทีม่ าร่วมงานนี้กเ็ ลยมีแต่รถ Full Suspension Feeling การขีแ่ ล ้ว ผมคิดว่ามันโคตรมันเลยครับ ไว้ถา้ มีโอกาสจะน�ำมาเล่าให้ชาว HIP ฟังกันอีกนะครับ (มีโช๊คกลาง) ทีห่ น้าตาเหมือนตั ๊กแตนกันทัง้ นัน้ เลย 555 11

b side


B I K E S A F E

?

MISSING KID น้องหาย เรื่อง : เอ๋หนวด

เชื่อว่านักปั่นชายทุกท่านคงเคยมีอาการ ‘น้องหาย’ (การหายไปของ ‘หัวใจ ดวงที่สอง’ หรือที่เรียกด้วยภาษาบ้านๆ แบบจริงใจๆ เลยก็คือ ‘ไข่ชา’ เมื่อออก ไปปั่นจักรยาน) อาการนี้หลายๆ ท่านคงนึกว่าอาการ ‘ไข่ชา’ เป็นแต่ในเฉพาะเหล่า สุภาพบุรษุ นักปัน่ เท่านัน้ เพราะสุภาพสตรีเขาไม่มไี ข่ให้ชา แต่ชา้ ก่อนครับ อาการชา บริเวณนีค้ ณ ุ สุภาพสตรีกเ็ ป็นกัน ซึง่ ผมไม่แน่ใจว่าภาษาไทยจะใช้คำ� ว่าอะไรมาเรียก ‘น้องสาว’ ของเธอดี แต่ทแี่ น่ๆ ไม่ใช่ไข่ชาชัวร์ ดังนัน้ ผมขอเรียกรวมๆ ว่าอาการ ‘น้องหาย’ ไปก่อนนะครับ

อาการน้องหายมีสาเหตุจากการกดทับทีม่ ากเกินไปตรงบริเวณ เป้ าหรือบริเวณฝี เย็บ ในท่านัง่ ปกติ (หมายถึงท่านัง่ เก้าอี้ทวั ่ ไปนะ อย่าคิดถึงแต่ทา่ นัง่ บนอานจักรยานนะครับ) น�ำ้ หนักตัวจะลงทีต่ ำ� แหน่ง กระดูก Ischial Tuberlosity ถ้าลองคล�ำดูในท่านัง่ ก็จะเจอที่เป็ น กระดูกนู นๆ ทัง้ สองข้างตรงก้น แต่ในระหว่างการปัน่ จักรยาน น�ำ้ หนัก ตัวจะกดลงไปบริเวณฝี เย็บ ซึง่ ธรรมชาติไม่ได้ออกแบบมาเพือ่ รับน�ำ้ หนัก แถมยัง มีท งั้ เส้น เลือ ดด�ำและแดงกับเส้น ประสาทวิ่ง ผ่ า นบริเวณนี้ เป็ นผลให้เส้นเลือดและเส้นประสาทถูกกดทับระหว่างอานจักรยาน กับกระดู กหัวหน่ าว จนท�ำให้เลือดและอ๊อกซิเจนไปเลี้ยงบริเวณนี้ ไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดอาการชาบริเวณฝี เย็บ (และ ‘น้องชาย’ หรือ ‘น้องสาว’ ของนักปัน่ ) ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็ นปัญหาส�ำคัญของนักปัน่ จ�ำนวนมากเลยทีเดียว

วิธแี ก้ปญั หา ง่ายนิดเดียวครับ “เราต้องลดแรงกดทับให้นอ้ ยลง สิครับ” ท่านคงสงสัยว่า “แหม มันจะง่ายขนาดนัน้ เลยเหรอ?” ผมก็ จะตอบว่า “มันไม่งา่ ยแบบแก้ปญั หา ‘น้องหาย’ ได้ทนั ทีหรอกครับ” เราลองมาดู วธิ ีแก้ปญ ั หาแบบบ้านๆ กันก่ อน อย่างแรกเลย ถ้าปัน่ แลว้ น้องหาย ให้ลุกขึ้นยืนปัน่ เป็ นครัง้ เป็ นคราวไป หายมาก ลุกมาก หายน้อยลุกน้อย ต่อมาลองลดรอบขาในการปัน่ ให้นอ้ ยลง พอกลับถึงบ้าน หรือจะแบกรถไปให้รา้ นจักรยานก็ได้ ก็จดั การปรับเบาะ ให้ตำ� ่ ลงมาเล็กน้อย การปรับเบาะแนะน�ำให้ปรับลงทีละ 2 - 3 มม. อย่าปรับทีเดียวเยอะๆ นะครับ หรืออาจลองปรับเบาะไปข้างหน้าหรือ ข้างหลัง ปรับทีละน้อยเช่นกัน สุดท้าย ปรับให้จมูกเบาะต�ำ่ ลง ทัง้ หมด ที่ก ล่า วมา เราสามารถท�ำ ได้ท นั ที ไม่ต อ้ งมีก ารเปลี่ย นอะไรเลย จุดมุง่ หมายก็คอื ลดแรงกดทับทีม่ ตี ่อบริเวณฝี เย็บนัน่ เอง 12

a side


ทีน้ เี ราลองมาดูทต่ี วั เบาะกันบ้าง อาการ ‘น้องหาย’ อาจมีสาเหตุ มาจากเบาะทีเ่ ราใช้อยู่ไม่รองรับสรีระของเรา ทีช่ าวนักปัน่ แนวจริงใจๆ นิยมเรียกว่า ‘เบาะไม่เข้ากับร่องตูด’ ทีเ่ ข้ากันไม่ได้อาจเป็ นเพราะ เบาะ เล็กเกินไป ใหญ่ไป แคบไป กว้างไป แข็งไป นิ่มไป เบาะมีการให้ตวั ต่ างกัน ก็จะมีคุณสมบัติดูดซับแรงสะเทือนต่ างกัน เช่ น เบาะราง คาร์บอน รางไทเทเนียม หรือรางอลูมเิ นียม เบาะมีร่องรูตรงกลาง เบาะ ไม่มรี ู หรืออาจจะเลือกเบาะผิดประเภทมา อย่างเช่น คุณสุภาพสตรีเอา เบาะทัวไปซึ ่ ง่ ท�ำมาส�ำหรับสุภาพบุรษุ มาใช้ หรือในทางกลับกัน คุณผู ้ชาย เอาเบาะส�ำหรับคุณผูห้ ญิงมาใช้ สาเหตุ จ ากเบาะที่ส �ำ คัญ อี ก อัน หนึ่ ง ก็ คื อ รู ป ทรงของเบาะ หรือโครงเบาะ ซึ่งในที่น้ ีหมายถึงความโค้ง ความเว้าของเบาะที่ใช้ มันไม่เข้ากับรูปทรงหรือสรีระของกระดูกทีท่ ำ� หน้าทีต่ อนเรานัง่ ถ้าเป็ น ปัญหาแบบนี้กต็ อ้ งไปลองผิดลองถูกหาเบาะทีค่ ดิ ว่าจะเข้ากับ ‘ร่องตูด’ มาลองกันแลว้ ล่ะครับ อาจจะยืมเพือ่ นหรือยืมร้านจักรยาน บางร้าน ก็มเี บาะส�ำหรับทดลองใช้มาให้นกั ปัน่ ยืมกัน หรือถ้าใครไม่เดือดร้อน จะซื้อมาลองใช้ ถ้าไม่เข้าก็ขายทิ้ง อย่างนี้กไ็ ม่ผดิ กติกาแต่อย่างใด ถือว่า เป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจอีกทางหนึ่ง อย่างว่าแหละครับ เรื่องเบาะนี่ ตู ด ใครตู ด มัน เบาะที่ค นหนึ่ง ว่า ดี อาจจะไม่ดีส ำ� หรับอีก คนหนึ่ง ต้องลองเองสถานเดียวครับ การแก้ปญั หาต่อมาก็เป็ นเรื่องของมิตขิ องรถทีเ่ ราใช้อยู่ เพราะ การทีเ่ ราเซ็ตรถต่างกัน การก้มตัวก็ต่างกัน ยิง่ ก้มต�ำ่ มาก แรงกดทับ บริเวณฝี เย็บก็ยง่ิ มากไปด้วย ถ้าอาการ ‘น้องหาย’ มาจากสาเหตุน้ ี ก็คง ต้องลองปรับแฮนด์ให้สูงขึ้นแล ้วล่ะครับ การเซ็ตรถอาจจะไม่สวยหรือ ไม่แอร์โร่อย่างโปรฯ แต่เราจะปัน่ อย่างมีความสุขมากขึ้น 555 สุดท้าย ปัญหาอาการ ‘น้องหาย’ อาจจะไม่ใช่แค่เรื่องเล็กๆ แต่ อาจลุกลามไปเป็ นปัญหาสมรรถภาพทางเพศ ซึง่ การแก้ปญั หาอาจจะ ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เสียแล ้ว ก่อนจะไปถึงขัน้ นัน้ อาจจะต้องถึงมือ Bike Fitter ซึง่ เป็ นผูท้ ม่ี คี วามรูใ้ นเรือ่ งสรีระและจักรยานเป็ นอย่างดี เมือ่ ท่าน และจักรยานไปถึงมือฟิ ตเตอร์ ก็จะมีการตรวจสอบมิตริ ถ สรีระร่างกาย ของท่าน และท่าทางการปัน่ ต่อมาก็มกี ารวิเคราะห์ สอบถามถึงปัญหา ทีเ่ กิดขึ้น สุดท้ายก็จะมีการปรับมิตขิ องรถเพือ่ แก้ปญั หาทีม่ ี การฟิ ตติ้ง นัน้ คงจะพอช่วยแก้ปญั หานี้ได้ไม่มากก็นอ้ ย ปัจจุบนั มี Bike Fitter มากขึ้นพอสมควร ส่วนแต่ละท่านจะเลือกไปฟิ ตติ้งทีไ่ หนก็เอาทีส่ บายใจ เลยนะครับ อยากปัน่ สบาย อยากปัน่ ซิง่ หรือเซ็ตรถเพือ่ ไมให้มอี าการ บาดเจ็บ ก็คุยกับฟิ ตเตอร์ได้เลย ก่อนจบขอยกค�ำกล่าวทีพ่ อ่ี ดี ๊ ฟิ ตเตอร์คนแรกๆ ของไทย ทีไ่ ด้ กล่าวไว้วา่ “ธรรมชาติไม่ได้ออกแบบร่างกายมนุษย์มาเพือ่ ปัน่ จักรยาน แต่เราต้องปัน่ จักรยานให้ได้เป็ นธรรมชาติ” ขอให้นกั ปัน่ ทุกคนปัน่ จักรยานอย่างมีความสุขและปลอดภัย นะครับ 13

b side


R U N

THE RACE OF IRONMAN การแข่งขันของ ‘คนเหล็ก’ เรื่อง / ภาพ : อาเหลียง

การแข่งขันไออ้อนแมนแบบฉบับมือใหม่ส�ำหรับผม ต้องลบล้างความคิดเก่าๆ ออกไปก่อน เช่น การวิ่ง ในระดับเพซ 5 หรือปั่นจักรยานใน AV 30++ เพราะว่า มันไม่ใช่การแข่งขันด้วยกีฬาชนิดเดียวอย่างทีผ ่ มเคยท�ำมา แต่มันคือการประสานกันของกีฬา 3 ชนิด ด้วยระยะทาง ไกลสุดขีดจ�ำกัดมนุษย์ธรรมดาเขาจะท�ำกัน นั่นคือว่ายน�้ำ 3.8 กิโลเมตร, ปั่นจักรยาน 180 กิโลเมตร และปิดท้าย ด้วยการวิ่งมาราธอน 42 กิโลเมตร ทั้งหมดนี้ต้องท�ำกัน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และแน่ น อนว่ า กั บ คนที่ แ ข่ ง ครั้ ง แรก อย่างผม คงตั้งเป้าเอาแค่จบให้ได้ ไม่ต้องหวังถึงเวลา ที่จะได้หรอก ได้เท่าไหร่ก็เอาเท่านั้นก็พอ

โดนซัดลม้ ตามระเบียบ ความมัน่ ใจที่มนี อ้ ยอยู่แลว้ ยิ่งน้อยลงไปอีก ยิ่งตอนที่กำ� ลังจะปล่อยตัวลงไปนัน้ พี่ท่ีไปด้วยกันบอกให้เรารีบๆ ออกไปก่ อ น เพราะเราช้า กลัว จะโดนตัด ตัว พี่เ ขาเลยดัน ให้เ รา ออกไปก่อนทันที แล ้ววิบากกรรมในน�ำ้ ของผมก็เริ่มขึ้นตัง้ แต่ตอนนัน้

ว่ายน�้ ำ 3.8 กิโลเมตร พร้อมคลื่นสูงเป็ นเมตร ช่ วงแรกจะเป็ นการว่ายน�ำ้ ฝ่ าคลื่นไปประมาณ 100 เมตร ก่อนทีจ่ ะว่ายตัดขวายาวๆ ไปอีก 1.7 กิโลเมตร เป็ นการว่ายขนานกับ กระแสคลืน่ ก่อนจะวกกลับประมาณ 100 เมตร และว่ายกลับมาอีก 1.7 กิโลเมตร แลว้ ตัดเข้าเส้นชัยอีก 200 เมตร ระยะรวมประมาณ 3.8 กิโลเมตร ผมว่ายฝ่ าคลืน่ ไปกับนักไตรหลายๆ ท่าน ภาพที่เห็นจะเป็ น ณ เช้าวันแข่งขัน ทีป่ ระเทศ ออสเตรเลีย เมืองแคนส์ ผมยืนอยู่ คนตัวด�ำๆ หัวเป็ นสีๆ ตามหมวกว่ายน�ำ้ ทีแ่ ต่ละคนได้ไป ซึง่ แต่ละคน บนชายหาดปาล์มโคฟ นักไตรกีฬาหลายท่าน ต่างก็ต่นื เต้นกับสนาม ต่ า งก็ ง ดั วิท ยายุ ท ธที่ไ ด้ฝึ ก มา แกว่ ง แขนกวัก น�ำ้ ทะเลดัน ตัว เอง แข่งขันทีอ่ ยู่เบื้องหน้า บ้างก็เป็ นนักไตรหน้าใหม่ บ้างก็หน้าเก่าแต่เก๋า ไปข้า งหน้า อย่ า งสุ ด ความสามารถ หนึ่ งในนัน้ ก็ เ ป็ น ผมเนี่ ย แหละ ประสบการณ์ บ้างก็หวังจะมาชิงชัยเอารางวัลทีส่ นามแห่งนี้ ส่วนผม พยายามว่ายแหวกคลืน่ ไปด้วยแรงทัง้ หมดเท่าทีม่ ี แต่ดว้ ยประสบการณ์ จัดอยู่ในหมวดนักไตรหน้าใหม่ ทีต่ อ้ งการจะพิสูจน์ตวั เองเพือ่ เอาชนะ การว่ายน�ำ้ ทะเลที่ดอ้ ยกว่าใครเขา ท�ำให้มีหลายครัง้ ที่ว่ายไปแลว้ การแข่งไตรกีฬาในระยะไกลนี้ให้ได้ แต่สง่ิ ทีอ่ ยู่ขา้ งหน้าผม ไม่ได้ทำ� ให้ หัวมุดมาโดนคลืน่ กระแทกไปทุกที กินน�ำ้ ทะเลเข้าไปก็หลายอึกอยู่ จนกระทัง่ ว่ายไปได้ประมาณ 300 เมตร ผมเริ่มมีอาการตื่นตระหนก ผมตื่นเต้นตามกับเขาเลย มันท�ำให้ผมกังวลเสียมากกว่า เด็กดอยอย่างผมไม่ชนิ กับน�ำ้ ทะเลอยู่แล ้ว แล ้วนี่มนั อะไรกัน... หรือที่เรียกกันว่า Panic ท�ำให้ผมต้องหยุ ดพักการว่ายฟรีสไตล์ น�ำ้ ทะเลยังไม่พอ มหาเทพโพไซดอนยังส่งคลืน่ สูงเป็ นเมตรมาให้ผมอีก แลว้ หันมาประคองตัว ลอยตัวอยู่บนน�ำ้ เพื่อหายใจปรับหัวใจตัวเอง นักไตรหลายๆ ท่านอยากจะลองไปว่ายน�ำ้ ก่ อนจะแข่งจริง เป็ นอัน ให้คงที่อยู่สกั พักใหญ่ๆ ก่ อนที่จะเริ่มว่ายกบไปแทน เพื่อลดอัตรา โดนคลืน่ ซัดล ้มทัง้ ยืนเป็ นแถว ตัวผมเองก็ไปลองดูเช่นกัน แน่นอนว่า การเต้นของหัวใจทีเ่ ต้นแรงขึ้นมาก 14

a side


จริงๆ เรื่อง Panic นี่สำ� คัญมากนะครับ ถ้าใครเคยว่ายน�ำ้ ในแม่น�ำ้ หรือทะเลใหม่ๆ คงจะรู ด้ ี มันจะเป็ นอาการที่เราตื่นเต้น เกินไประหว่างว่ายน�ำ ้ ท�ำให้เกิดความตื่นตระหนกจนท�ำให้ทกุ ๆ อย่าง รวนไปหมด กลายเป็ นคนว่ายน�ำ้ ไม่เป็ นเลยทันที และเป็ นสาเหตุหลัก ทีท่ ำ� ให้จมน�ำ้ ได้ครับ เวลาเราเกิดอาการ Panic ขึ้น สิง่ แรกทีค่ วรท�ำคือ ตัง้ สติครับ นึกถึงค�ำแนะน�ำต่อไปนี้ไว้ คือต้องพยายามลอยน�ำ้ ให้ได้ก่อน ไม่ตอ้ งว่ายน�ำ้ แล ้ว แต่พยายามลอยให้ได้ หรือว่ายท่าทีค่ ดิ ว่าสบายทีส่ ุด ต่อจากนัน้ คือสูดหายใจครับ สูดหายใจเข้าลึกๆ แลว้ ผ่อนออกยาวๆ ท�ำอย่างนี้ซำ�้ ไปซ�ำ้ มาเรื่อยๆ จนกระทัง่ เราหายใจเป็ นปกติ หลังจากนัน้ ก็ประเมินตนเองว่าจะไปต่อหรือจะขอความช่วยเหลือครับ ตัดภาพกลับมาในทะเลแปซิฟิคต่อ หลังจากผมเริ่มตัง้ สติได้ ผมก็เริ่มว่ายต่อไป แต่ในตอนนัน้ ผูค้ นเริ่มหายหัวกันไปหมดแลว้ เหลือ แต่ ค นว่ า ยช้า ๆ อยู่ เ คี ย งข้า งผม ซึ่ ง แน่ น อนว่ า ผมหลง!! เพราะกระแสมวลชนส่วนใหญ่ไหลไปไปอีกทาง หลงได้ยงั ไง? ค�ำตอบ คือคลืน่ ครับ คลืน่ สูงมากๆ บวกกับเส้นทางการแข่งขันเป็ นแนวขนาน ชายหาด ท�ำให้คลืน่ จะซัดเราเข้าหาดเสมอ หากมองไม่ดกี ็จะหลุดทุ่น แบบผมเลยครับ ก็ตอ้ งท�ำใจวนกลับมาหาแนวทุน่ พร้อมกับความเหนื่อย และลา้ มากกว่าเดิม ผมถึงจุดกลับตัวด้วยเวลา 1 ชัว่ โมง 8 นาที ซึง่ เรียกว่าช้าเอามากๆ ท�ำให้ขากลับต้องเร่งสปี ดเต็มที่ เหลือแรงเท่าไหร่ ใส่ให้หมด เพราะตอนนัน้ คิดว่า ไหนๆ ถ้าจะมาแลว้ ไม่จบแบบนี้ ขอเหนื่อยให้เต็มทีก่ ่อนละกัน! สุดท้ายมันก็ได้ผลครับ ผมว่ายน�ำ้ จบ ด้วยเวลา 2 ชัว่ โมง 3 นาที เรียกว่าเฉียดฉิว จนสตาฟฟ์ ในน�ำ้ ทุกคน ขึ้นบกมาต้อนรับอยู่ทเ่ี ส้นชัยของพาร์ทว่ายน�ำ้ เลยทีเดียว

จุด Transition 1 จุดนี้ผมเคยเขียนลงใน HIP เล่มก่อนๆ แลว้ ว่าเป็ นอย่างไร แต่สำ� หรับการแข่ง Ironman นัน้ ผมไม่เคยเขียนทีไ่ หนมาก่อนแน่นอน สรุปย่อๆ มันเป็ นจุดเปลีย่ นระหว่างว่ายน�ำ้ และปัน่ จักรยาน ซึง่ ถ้าแข่ง ปกติก็ไม่มอี ะไรมาก วิ่งมาใส่ถงุ เท้า รองเท้าปัน่ หมวกปัน่ แลว้ ก็ ออกไปเลย แต่ไออ้อนแมนนัน้ มันไม่เหมือนกัน ผมต้องมานัง่ ถอด Wet Suit (ชุดรักษาอุณหภูมหิ ากต้องว่ายในน�ำ้ เย็น) เอง ซึง่ ตอนนัน้ แรงก็ไม่มี ดีทม่ี เี จ้าหน้าทีอ่ าสาสมัครมาช่วยถอดชุดให้ รวมถึงไปช่วย เก็บอุปกรณ์ทผ่ี มใช้แลว้ อีกต่างหาก ส่วนชุดปัน่ ส่วนใหญ่ผมเตรียม อาหารและเจลไป (แทบจะเป็ นบุฟเฟ่ ต)์ รวมไปถึงอุปกรณ์เปลีย่ นยาง หากเกิดกรณีฉุกเฉินเช่นปัน่ แลว้ ยางแตก เราก็ตอ้ งบริการตัวเองครับ หากไม่สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ ก็ตอ้ งท�ำใจ DNF กลับบ้านมือเปล่า ไปครับ สรุปว่าตรงนี้ผมหมดเวลาไป 11 นาทีครับ ก่อนทีจ่ ะวิง่ ออกไป พร้อมควบจักรยานคู่ใจ ไปลุยต่อกับการปัน่ 180 กิโลเมตร ปัน่ ทางไกล 180 กิโลเมตร ณ เมืองแคนส์ เรียกได้ว่าเป็ นครัง้ แรกของผมเลยก็ได้ ที่ได้แข่งจักรยานใน ต่างประเทศ ทีส่ ำ� คัญไม่ใช่ระยะทางใกล ้ๆ ด้วยนะครับ แข่งต่างประเทศ ครัง้ แรกก็ลอ่ ไปซะ 180 กิโลเมตรเลยทีเดียว อัน ที่ จ ริ ง การแข่ ง ขัน ทางไกลขนาดนี้ เราควรจะมีก าร เตรียมพร้อมที่ดีในระดับหนึ่ง แต่ น่าเสียดายที่ไม่ได้เกิดขึ้นกับผม ปัญหาแรกทีเ่ กิดเมือ่ ผมคร่อมจักรยานปัน่ เลยก็คอื ตัวคลิปล็อกทีต่ ดิ รองเท้าจักรยานผมนัน้ ไม่ตดิ กับบันไดจักรยาน ตอนนัน้ เอง ทีผ่ มได้รูว้ า่ หายนะมาเยือนแล ้ว... ช่วงแรกของการปัน่ จะเป็ นการปัน่ ทางราบ ออกจากปาล์มโคฟ จุด ที่เ ราลงไปว่า ยน�ำ้ กัน ไปยัง ทิศ เหนื อ ของเมือ งแคนส์ เรีย กว่า พอร์ทดักลาส สภาพถนนนัน้ ต่างกับที่ผมคิดไว้โดยสิ้นเชิง นี่ก็เป็ น อีกอย่างทีเ่ หนือความคาดหมาย เนื่องจากทีเ่ มืองนี้เขาท�ำถนนโดยใช้ ยางมะตอยเป็ นหลัก แต่ ส่วนผสมที่เขาท�ำไว้น้ ีแหละเป็ นตัวปัญหา เพราะเขาใช้หนิ เม็ดหยาบมาผสม ท�ำให้เวลาปัน่ จะเหมือนกับการปัน่ บนถนนขรุขระตลอดเวลา เป็ นอย่างนี้ตลอด 180 กิโลเมตรทีไ่ ด้ปนั ่ ครับ สะเทือนถึงเครื่องในเลยทีเดียว หลังจากบดทางราบมาได้ทแ่ี ลว้ ต่อไปเราจะเจอเนินทีเ่ รียกว่า Rex Lookout เป็ นเนินที่เป็ นจุดชมวิวที่สวยที่สุดของสนามปัน่ ที่น่ี ด้วยเหตุทว่ี า่ สนามนี้เป็ นสนามปัน่ เลียบชายฝัง่ เกือบตลอดทัง้ รูท ท�ำให้ สนามนี้ถูกจัดว่าเป็ นหนึ่งในสนามที่มีวิวปัน่ สวยที่สุดในสนามของ ไออ้อนแมนครับ แต่เชื่อมัย้ เอาเข้าจริงๆ ก็รูแ้ ค่วา่ มันสวยนะ แต่ใจผม อยากปัน่ ให้มนั จบๆ ไปมากกว่า เพราะว่าเจ้าบันไดคลิปล็อกทีไ่ ม่ตดิ เท้า นัน้ มันท�ำให้ผมหงุดหงิดมากๆ ยิง่ ปัน่ ๆ ไป เจอพวกคนเก่งๆ เขาวนมา รอบสองกันแลว้ (เราจะได้ปนั ่ วน Rex Lookout ทัง้ หมดสองรอบ ถ้านับไป - กลับก็สร่ี อบ) เรายิง่ รูส้ กึ โดนทอดทิ้ง 555 เพราะตอนนัน้ ตัวผมเองน่าจะอยู่เป็ นคนท้ายๆ ของรายการแลว้ เพราะว่าว่ายน�ำ้ ช้า เหลือเกิน ท�ำให้ตอ้ งมาชดใช้กรรมทีพ่ าร์ทปัน่ จักรยานนี่เอง ตอนปัน่ ช่วงแรกยังสนุกเพราะยังเจอคนอยู่ แต่พอวนไปรอบสองเท่านัน้ แหละ เหมือนเราปัน่ อยู่คนเดียวเลย เหงามากกกก 15

b side


แต่คนทีน่ ่ีก็น่ารักนะครับ เวลาเราผ่านชุมชนใหญ่ๆ ก็จะมีคน คอยเชียร์อยู่เป็ นระยะๆ ยิง่ ผ่านจุดทีม่ ี Check Point ด้วยละก็ จะมี คนคอยประกาศชื่อเราอยู่ ปัน่ ผ่านไปก็ได้ยนิ เสียง “Go On Sillawat, Run Leg Is Waiting For You!” พอพูดจบ ชาวบ้านแถวๆ นัน้ ก็จะ พร้อมใจกันเฮและตะโกนเป็ นชื่อเรา ใครฟังไม่ทนั ก็ดูเลขบนหัวเรา (จะมีสติก๊ เกอร์แปะบนหมวกเป็ นเลขประจ�ำตัว) แล ้วก็ตะโกนหมายเลข ของเราแทน ก�ำลังใจทีห่ มดไปตัง้ แต่ตอนไหนก็ไม่รูก้ ็ถกู เติมมาได้บา้ ง ท�ำให้มกี ำ� ลังทีจ่ ะปัน่ ต่อไป ช่วง 80 กิโลเมตรสุดท้าย ผมบอกได้เลยว่าเหงามากๆ เพราะว่า แทบจะไม่มใี ครเหลืออยู่แลว้ มีแต่ชาวบ้านกับต�ำรวจที่ดูแลเส้นทาง แถวๆ นัน้ คอยเชียร์เราอยู่ แถมลมก็แรงมาก ใครเคยปัน่ จักรยานแล ้ว ลมตีแรงๆ จะรู เ้ ลยว่าปัน่ ไม่ออกนัน้ เป็ นยังไง แถมที่สำ� คัญ ผมปัน่ ติดทะเลตลอด ยังไงก็หนีลมไม่พน้ แน่ ๆ เลยต้องทนปัน่ แบบนัน้ ไปเรือ่ ยๆ จนใกล ้ถึงตัวเมืองทีเ่ ป็ นเส้นชัย ผมเหลือบดูนาฬกิ า “ชิบหาย! อีก 20 นาที จะคัทออฟแลว้ !” คือเขาให้เวลาว่ายน�ำ ้ 2:20 ชัว่ โมง ถ้ารวมปัน่ ด้วยก็ 10 ชัว่ โมงพอดีครับ แลว้ เวลาทีผ่ มเห็นตอนนัน้ คือ 9:39 ชัว่ โมง เรียกว่าวิกฤตทีส่ ุดในชีวติ แล ้วก็วา่ ได้ ผมพยายามเร่งด้วยก�ำลังทีม่ เี หลืออยู่ พอเข้าตัวเมืองไป เริม่ เห็น นักไตรหลายๆ ท่านก�ำลังวิง่ อยู่ ก�ำลังใจเริม่ กลับมาอีกครัง้ เพราะนัน่ คือ นักไตรทีก่ ำ� ลังฝ่ าด่านสุดท้าย กับการวิง่ มาราธอน 42.195 กิโลเมตร นัน่ เอง ผมคิดในใจว่าอีกไม่นานเราก็คงถึงเส้นชัย แลว้ ก็เป็ นดังคาด ผมเริ่มเจอพรมแดง และเจ้าหน้าทีบ่ อกให้จอดจักรยานได้ ค�ำถามแรก ของผมเลยคือ “Can I Run?” (ฉันไปวิง่ ได้ไหม?) เจ้าหน้าทีท่ ำ� หน้างงๆ ก่อนตอบว่า “Of Course” (ได้ส?ิ ท�ำไมล่ะ?) ผมหยิบนาฬกิ าข้อมือ มาดู เลขเวลาปรากฏเลข 9:50 ชัว่ โมง แสดงว่าผมเหลือเวลาอีก 10 นาที ก่ อนที่จะอดวิ่ง ผมรีบฝากรถจักรยานพร้อมกับรองเท้าคลีทเน่ าๆ ของผมที่ไม่ติดบันไดมาตลอด 180 กิโลเมตรให้เจ้าหน้าที่พร้อมกับ บอกว่า “เก็บให้หน่ อย” เขาก็เข้าใจว่าเรารีบมาก เลยบอกเราแค่ว่า “Good Luck Mate” (โชคดีสหาย)

พาร์ทที่เราถนัดที่สดุ วิ่งมาราธอน 42.195 กิโลเมตร พอลงจากจักรยาน ผมก็รบี ไปเปลีย่ นรองเท้า ถุงเท้า และเอา อุปกรณ์สูบลมออกทัง้ หมด เรียกว่าอะไรทีเ่ กีย่ วข้องกับจักรยานเอาออก หมดเลย แลว้ ก็ใส่พวกเจลให้พลังงาน อาหารเล็กน้อย พร้อมกับ ติดเบอร์วง่ิ แลว้ ใส่หมวกทีม่ คี ำ� ว่า Thailand ก่อนจะวิง่ ออกไปจาก เต๊นท์พกั ตัวนักกีฬาหรือ Transition 2 สนามนี้จะให้วง่ิ เป็ น Loop จ�ำนวนทัง้ หมด 3 ลูป ซึง่ แต่ละลูป จะมีระยะทางทัง้ หมดรอบละ 14 กิโลเมตร วิง่ วนไปวนมาอยู่แถวๆ เมืองแคนส์นนั้ แหละครับ แต่ ละรอบก็จะแจก Wristband เป็ น สัญลักษณ์ในการจบแต่ละรอบให้ และในแต่ละรอบ เราก็จะวิง่ ผ่านจุด ตัดเส้นชัยไปด้วย ท�ำให้เราคึกมากเมือ่ เห็นคนเข้าเส้นชัย ขณะที่เรา ยังต้องวิง่ ต่อไปเรื่อย ๆ รอบแรกของผมวิง่ ออกไปตามทางทีจ่ ดั ไว้ให้ สนามนี้ผมว่าเขาจัดทางวิง่ ตลกดี มีวง่ิ ฝ่ าร้านอาหารด้วย แต่ทางร้านเอง กลับไม่ได้รงั เกียจอะไรเลย แถมยินดีดว้ ยซ�ำ้ ทีม่ นี กั วิง่ วิง่ ผ่านมาเรื่อยๆ ลูกค้า เจ้าของร้าน พนักงาน ต่างพร้อมใจกันเชียร์นกั วิง่ ทุกคน ทีก่ ำ� ลัง ฝ่ าฝันตัวเองให้มาเป็ นไออ้อนแมนในวันนี้ ผมนึกถึงงานวิง่ ในบ้านเรา ทัง้ ทีว่ ง่ิ บนถนนตามเวลาทีก่ ำ� หนด มีการประกาศอย่างชัดเจนแล ้ว ก็ยงั โดนว่าอยู่ดี ผมเองก็สงสัยว่าท�ำไมเมืองนอกถึงท�ำแบบนี้ได้ แต่ทำ� ไม บ้านเราท�ำไม่ได้ ท�ำไมเมืองนอกนัน้ ประชาชนให้การสนับสนุนกิจกรรม เหล่านี้ แต่บา้ นเราไม่ได้เป็ นแบบนี้เลย ระหว่างวิง่ ผมก็คดิ ไปเพลินๆ แบบนี้แหละ รูต้ วั อีกทีกไ็ ปหลายกิโลแล ้ว ช่วงแรกๆ ทีผ่ มวิง่ จะเจอคนเยอะมากครับ วิง่ ไปต่างก็หอบๆ สีหน้าอมทุกข์กนั ไปทุกคน เวลาเจอคนไทยก็เชียร์กนั ให้กำ� ลังใจกันว่า “สู ๆ้ นะ” “อีกนิดเดียวๆ” ค�ำเหล่านี้มกั ได้ยนิ ประจ�ำ และยิ่งมีพลัง เมือ่ ได้ยนิ บนผืนแผ่นดินทีม่ ใิ ช่ดนิ แดนสยาม รอบแรก 14 กิโลเมตร ผมยังท�ำความเร็วได้ตามใจนึกอยู่ คือวิง่ เพซ 6 - 7 ไม่เร็วไปกว่านี้ แต่วกิ ฤตเริ่มมาตอนรอบทีส่ อง ผมเกิดปวดฉี่ข้นึ มาทุกๆ 2 กิโลเมตร นัน่ ท�ำให้ผมเสียเวลาในการเข้าห้องน�ำ ้ รวมๆ แล ้วทัง้ เรซมากกว่า 20 นาที (หลังการแข่ง พีๆ่ ทีไ่ ด้ยนิ เรือ่ งนี้บอกว่ายังดีนะทีฉ่ ่ีออก บางคนฉี่ไม่ออก นี่อนั ตรายกว่านี้เยอะ เพราะตับไม่ทำ� งานแลว้ อันนี้อนั ตรายกว่า) รอบทีส่ องความเร็วทีผ่ มวิง่ ได้ลดลงไปเยอะ เหลือเพซ 7 กว่าๆ แถม รอบนี้คนก็เริ่มน้อยลงเพราะเข้าเส้นชัยกันไปเยอะแลว้ ผมใช้เทคนิค

16

a side


เดียวกับตอนไปแข่งมาราธอนที่อ่ืนๆ คือซอยขาให้เยอะขึ้น ก้าวขา ให้ส นั้ ลง พยายามให้ไ ด้ค วามเร็ ว เท่ า ๆ เดิม แต่ ค วามเป็ น จริ ง มันโหดร้ายกว่าการแข่งมาราธอนปกติ เพราะผมว่ายน�ำ้ มา 3.8 กิโลเมตร ปัน่ มา 180 กิโลเมตรแล ้ว และเวลาตอนนี้ผ่านมา 13 ชัว่ โมงกว่าแล ้ว ผมก็ได้แต่รกั ษาสภาพ ค่อยๆ วิง่ ไป แลว้ ค�ำนวณในใจว่าเวลาเท่านี้ ผมน่าจะจบทันอยู่แลว้ ล่ะ ถ้าไม่มอี บุ ตั เิ หตุอะไรเกิดขึ้น เช่นขาแพลง เจ็บ ขาหัก หรือเข่าหลุด เป็ นต้น ระหว่างทีผ่ มค่อยๆ ประคองร่างไป ผมรูว้ า่ ผมไม่ได้เป็ นแบบนี้ คนเดียว หลายๆ คนก็ไม่ไหวเหมือนกัน เริ่มเดินบ้าง เริ่มผ่อนแรงบ้าง เพื่อประคองร่ างตัวเองไปจนจบเช่ นกัน แถมฟ้ าฝนยังส่งอุปสรรค สุดท้ายเพือ่ มาทดสอบผม ด้วยการโปรยฝนลงมาในอุณหภูมิ 10 กว่า องศา ท่ามกลางฟ้ าทีม่ ดื มิด ผมเริ่มโอดครวญ “ถ้าจะแกล ้งกันขนาดนี้ มีอะไรอีกมัย้ เอามาให้หมดเลย(ล ้อเล่น)” เม็ด ฝนเริ่ม ลงถี่ข้ ึน แต่ เ ป็ น โชคดีท่ีผ มวิ่ง ผ่ า นจุด ที่เ รีย กว่า Special Need มันเป็ นจุดที่เราจะสามารถฝากของที่เราต้องการใช้ ระหว่างการวิ่งได้ ซึ่งผมก็ฝากเสื้อกันฝนพร้อมเกลือแร่ ย่ีหอ้ ที่ชอบ ไว้พอดี ก็เลยหยิบมาใส่เลย พอขึ้นรอบสุดท้าย ผมจะได้ Wristband ครบ 3 ชิ้น สีขาว สีเขียว และสีแดง และท�ำการวิง่ รอบสุดท้าย นี่มนั วังเวงสุดๆ!! ท่าเรือทัง้ ท่าเกือบจะเป็ นของผมคนเดียว แต่ก็ไม่เหงา ซะทีเ ดีย ว เพราะจะมีเ จ้า หน้า ที่ค อยให้ก�ำ ลัง ใจอยู่ ต ามแยกต่ า งๆ ที่น่ารักสุดๆ คือ ระหว่างจุดกลับตัวที่ท่าเรือนัน้ มีเจ้าหน้าที่วยั รุ่น สองคนขับรถมาจอดพร้อมกับจุดไฟเย็น โบกให้เราดู พร้อมกับพูด เป็ นก�ำลังใจให้ ผมว่าตอนนัน้ อากาศแม้จะหนาวแค่ไหน แต่ถา้ ทีมงาน มีใจให้กบั การแข่งขันแบบนี้ เหลือแรงเท่าไหร่กจ็ ะสูต้ ายครับ โค้งสุดท้าย ระหว่างวิง่ ผ่านจุดให้น�ำ้ จุดหนึ่ง เพือ่ นยากทีไ่ ม่ได้เจอ กันมานานก็โผล่มาทักทายครับ “ตะคริว...” มันมาแบบไม่ทนั ตัง้ ตัว ผมเองก็ตอ้ งเดินทันทีเพราะรูส้ กึ ปวดร้าวมาก แต่เหมือนฟ้ าส่งมาโปรด เจ้าหน้าที่ถามว่ายู เป็ นตะคริวใช่ ไหม ลองนี่สิ แลว้ แกก็ยกแก้วที่มี ของเหลวใสๆ ให้ บอกว่ากินไปเลย แล ้วกินน�ำ้ ตามเยอะๆ นะ มันน่าจะ ดีข้นึ จังหวะนัน้ ผมไม่มที างเลือก ถ้าอยากจะวิง่ ต่ออีก 10 กิโลเมตร สุดท้ายให้จบก็ตอ้ งท�ำทุกวิถที าง ผมก็เลยกระดกไปหมดแก้ว (จริงๆ ก็ลมื คิดนะ ว่าถ้ากินแล ้ววิง่ ต่อไม่ได้จะท�ำไง) “โคตรเค็มมมมม” ยิง่ กว่า บ๊วยดอง ยิง่ กว่าทานเกลือทัง้ มหาสมุทรอีกครับท่านผูอ้ ่าน เจ้าหน้าที่ รีบบอกเลยว่ายูกนิ น�ำ้ ตามเยอะๆ นะ แล ้วมันจะดีข้นึ ผมก็กนิ น�ำ้ ตาม พร้อมกับท�ำหน้าแหยงๆ เจ้าของเหลวเมื่อครู่ อยู่ แต่สกั พักเหมือน ร่างกายมันชาไปทัง้ ร่าง แล ้วตะคริวก็ค่อยๆ สลายไป “เห้ย อะเมซซิง่ ว่ะเฮีย” ผมบอกกับฝรัง่ เจ้าหน้าทีค่ นเมือ่ กี ๊ แน่นอนว่าเขาน่าจะเข้าใจ แค่คำ� ว่าอะเมซซิง่ แล ้วเขาก็ยกนิ้วโป้ งให้ รอบสุ ดท้ายผมเริ่มวิ่งดีข้ ึนเพราะหายตะคริวแลว้ แลว้ เริ่ม จินตนาการถึงเส้นชัยทีผ่ มถวิลหามานาน ผมวิง่ ผ่านเจ้าหน้าทีแ่ ต่ละคน เริ่มอารมณ์ดกี ว่ารอบทีผ่ ่านๆ มา เลยโบกมือแล ้วพูดว่า “Good Bye,

Good Night” ให้ทุกคน สังเกตได้ว่าเจ้าหน้าที่แต่ ละคนก็ย้ ิมให้ แล ว้ ต่ า งก็ โ บกมือ ให้ด ว้ ยความยิน ดี บางคนก็ พู ด กลับ มาด้ว ยว่ า “Good Bye, See You Next Year!” ผมอยากจะบอกกลับไปจังเลย ว่า “No Thank You” ท้ายที่สุด ผมวิ่งผ่ านบาร์สุดท้ายก่ อนถึงเส้นชัยที่ Cairns Esplanade ชาวบ้านเริ่มดริงค์กนั ได้ทแ่ี ล ้ว บางคนวิง่ ตามผมมาแล ้วก็ ตะโกนแบบคนเมาว่า “นายนี่มนั สุดยอดดด” ก่อนจะปล่อยผมวิง่ ต่อไป แลว้ ก็ลงไปกองกับแก้วเหลา้ ของตัวเอง รอบสุดท้ายของผมได้จบลง เจ้าหน้าทีก่ วักผมให้เข้าเส้นทางของผูพ้ ชิ ติ เท้าผมเหยียบพรมสีแดงด�ำ ทีม่ สี ญั ลักษณ์ M Dot ยาวประมาณ 50 เมตร กล ้องถ่ายทอดสดทุกตัว ไฟสปอตไลท์ทกุ ตัว และตากล ้องช่างภาพทุกคน สาดมาทีผ่ ม ท่ามกลาง สายฝนที่ปรอยลงมา ชาวบ้านที่มารอคอยว่าที่ไออ้อนแมนทุกคน ต่างโบกมือแตะให้กำ� ลังใจ ซึง่ ผมก็รบั ไว้ดว้ ยความยินดี โมเมนต์แบบนี้ มันเป็ นโมเมนต์ทผ่ี มเฝ้ าหามาทัง้ ชีวติ มันคือ เส้นชัยของคนตัวเล็กๆ ทีไ่ ม่เคยมีอะไรทีต่ วั เองภาคภูมใิ จเลย และใน วันนี้ เขาฝ่ าบทพิสูจน์ของตัวเองได้หมดแลว้ ว่ายน�ำ้ ทีเ่ ขาไม่ชอบเลย ปัน่ จักรยานไกลๆ คนเดียวโดยที่อุปกรณ์ทงั้ หมดไม่ได้อยู่ในสภาพ สมบู ร ณ์ และวิ่ง มาราธอน ต่ อ จากการว่ า ยน�้ำ และปัน่ จัก รยาน อันแสนยาวนัน้ ทัง้ หมดนี้ ถูกหยุดเวลาการเดินทางไว้ท่ี 15:45 ชัว่ โมง ทีเ่ ส้นชัย พร้อมกับค�ำว่า “Congratulations Sillawat, You Are An Ironmannnnnnnnn!!!!!!!” ค�ำๆ นี้แหละ ทีท่ กุ คนทีม่ าแข่งอยากจะ ได้ยนิ ค�ำว่าไออ้อนแมน ไม่ใช่ยศประดับน�ำหน้าชื่อแต่อย่างใด แต่มนั คือความภาคภูมใิ จ กับสิ่งที่เราพยายามมาทัง้ หมด ตัง้ แต่ ฝึกซ้อม จนกระทังเอาชนะตั ่ วเองในการแข่งขันระยะยาวแบบนี้ ทีต่ อ้ งใช้แรงและ ใช้เวลาเกือบทัง้ วัน แม้จะไม่ได้ชนะจนได้ถว้ ย หรือท�ำเวลาได้รวดเร็ว อย่างใครๆ แต่การเข้าเส้นชัยของการแข่งขันไตรกีฬาระยะเต็ม มันคือ เป้ าหมายสูงสุดของผมแล ้ว เมื่อกลับมามองผลงานตัวเอง กับเส้นทางที่ผ่านมาทัง้ หมด 140 กว่าไมล์ มันเหมือนกับการยกภูเขาทัง้ ใบออกจากอก มันเต็มไปด้วย หยาดเหงือ่ ความเหนื่อย ความล�ำบาก การฝึ กซ้อมอย่างยาวนาน แต่เมือ่ ผมผ่านเส้นชัยไปแล ้ว ความรูส้ กึ ต่างๆ ทีผ่ า่ นมา มันแปรเปลีย่ น ออกไปเป็ นพลังงานแห่งความสุขทันที เวลาทีเ่ ราท�ำอะไรทุกๆ อย่างเต็มที่ แล ้วเข้าเป้ าหมายตามทีเ่ ราต้องการ เราจะมีความสุขมาก ผมเชือ่ ว่าไม่ใช่ แค่ผมหรอกครับ ทุกๆ คนก็เป็ นเช่นเดียวกัน มองหาเส้นชัยของคุณให้เจอ ขีดเส้นให้มัน แล ้วพยายามไปให้ถึง จุดนัน้ เวลามองกลับมา คุณเองก็จะรูค้ รับ ว่าความสุขสุดๆ มันอยูต่ รงไหน ขอบคุณทีอ่ ่านเรื่องราวของผมมาถึงตรงนี้นะครับ

** ถ้าหากใครมีปญั หา สงสัยเกี่ยวกับการแข่งขันไตรกีฬา ระยะ Ironman สามารถสอบถามมาได้ท่อี เี มล์ Sillawat512@gmail.com หรือเฟซบุค๊ Sillawat Sathorn ได้เลยนะครับ ยินดีให้คำ� แนะน� ำครับผม :) **

17

b side


C O V E R S T O R Y

18

a side


JAIPUR UDAIPUR เที่ยวอย่างราชาที่ชัยปุระ - อุทัยปุระ (2) เรื่อง / ภาพ : รัตน์ชฎา วงศ์วสุ

เช้าวันทีส่ อง พวกเรายังคงตัง้ ใจว่าจะใช้เวลาพักผ่อนอยูใ่ นโรงแรมเป็นหลัก เพราะตอนเย็นเราจะต้อง ไปงานเลี้ยงที่จัดขึ้นโดยเจ้าของร้านเพชร James Pavilion ซึ่งเป็นแฟนกับพี่ที่รู้จักกับคนที่มาในกลุ่มเรา เพือ่ เป็นการต้อนรับเพือ่ นคนไทยทีไ่ ด้มาเทีย่ วทีช่ ยั ปุระ ดังนัน้ เราจึงไม่ได้วางแผนทีจ่ ะไปไหนไกล โดยในช่วงเช้า พวกเราทุกคนก็จะไปไหว้พระแม่อมุ าเทวีทอี่ ยูไ่ ม่ไกลจากโรงแรม แล้วจากนัน้ พวกผูห้ ญิงก็จะออกไปช้อปปิง้ นิดหน่อย ส่วนพวกผู้ชายบอกว่าขออยู่เป็นราชาที่โรงแรม ว่ายน�้ำ อ่านหนังสือ นอนอาบแดดเล่นดีกว่า ส�ำหรับกลุม่ ผูห้ ญิงทีน่ งั ่ รถออกมาซื้อของนัน้ พวกเรา ได้มโี อกาสนัง่ รถชมเมืองไปตามถนนหลัก จากนัน้ เราก็แวะมา ที่รา้ น James Pavillion ร้านนี้เขามีช่ือเสียงมานมนาน เนื่ อ งจากตั้ง แต่ รุ่ น คุ ณ พ่ อ ของเขาได้มีโ อกาสออกแบบ เครื่องเพชรให้กบั เจ้าหญิงไดอาน่าแห่งเวลส์ และเชื้อพระวงศ์ ในอินเดียหลายๆ พระองค์ อีกทัง้ เขายังมีสาขามากมาย ในหลายๆ ประเทศ เนื่องจากคุณภาพและมาตรฐานทีย่ งั คงไว้ ตัง้ แต่ รุ่นปู่ รุ่นพ่อ จนมาถึงรุ่นลู กในปัจจุบนั ดังนัน้ คนที่ ชื่นชอบพวกอัญมณีกม็ โี อกาสได้ซ้อื ไปคนละชิ้นสองชิ้น ส่วน ดิฉนั ไม่ใคร่สนั ทัดเรื่องเครื่องประดับเท่าไหร่ จึงได้แค่ดูและ นัง่ ฟังเขาเล่าถึงอัญมณีต่างๆ ก็รูส้ กึ เพลินๆ ดีค่ะ จากนัน้ เราก็เดินไปตามตรอกเล็กๆ ซึง่ อยู่ไม่ไกลจาก ร้านเพชร พอเดินหลุดจากถนนมานิดหนึ่ง ก็จะเจอร้านเสื้อผ้า ร้านเครือ่ งประดับแฮนด์เมด เป็ นร้านเล็กๆ เก๋ๆ มีอยูห่ ลายร้าน พวกเราจึงแวะเข้าไปดู ดิฉนั ได้ชุดแขกมาหนึง่ ชุด พีท่ ม่ี าด้วยกัน บอกว่าให้ซ้ อื ไปซักชุดเผื่อใส่ไปงาน เพราะคุณภาพงานที่น่ี ไม่เหมือนทีเ่ มืองไทย งานจะละเอียดสวยงามกว่า และนี่กไ็ ม่ใช่ ร้านตามตลาด นอกจากนัน้ เหล่าดีไซเนอร์ไทยหลายๆ คนทีไ่ ด้ มีโอกาสมาเทีย่ ว ก็จะซื้อของจากร้านพวกนี้ไปด้วย อันนี้กเ็ ผือ่ คนทีเ่ ป็ นนักช้อปไปลองหาข้อมูลดูนะคะ

02

01

01 โยคี ที่พบโดยบังเอิญ ที่เมืองชัยปุระ 02 ภาพแขกในงานเลี้ยงที่ 1135 AD

19

b side

ตกเย็นพวกเราก็เตรียมแต่งตัวใส่ชุดเต็มยศเพื่อไป งานเลี้ยง เพราะเจ้าภาพเขาบอกว่าจะจัดงานทีว่ งั อยากให้แขก ทุกคนแต่งตัวเต็มที่ พวกเราก็จดั เต็มค่ ะ หลังจากนัง่ รถที่ เจ้าภาพส่งมารับออกจากตัวเมืองประมาณ 30 นาที ก็เริ่มรูส้ กึ คุน้ ๆ กับบรรยากาศสองข้างทาง ถึงแม้ว่าจะมืดแลว้ ก็ตาม จากนัน้ รถก็ขบั ลัดเลาะขึ้นไปบนเขา เมือ่ รถจอด เราถึงได้รูว้ า่ วังที่ว่าก็คือป้ อมปราการแอมป์ เบอร์ท่เี รามากันเมื่อวันก่ อน นัน่ เอง แต่พอก้าวเข้าไปด้านในก�ำแพง เราจะเห็นแสงไฟสีสม้ ตามก�ำแพงและพื้นลานหินที่ปราศจากนักท่องเที่ยว ท�ำให้ พวกเรารู ส้ ึกประทับใจถึงความสวยงามของป้ อมปราการ ในยามค�ำ่ คืนนี้เป็ นอย่างมาก และขณะเดินขึ้นไปยังร้านอาหาร 1135 AD ซึง่ เป็ นสถานทีจ่ ดั งานเลี้ยง ก็มคี นโปรยดอกไม้จาก ด้านบน ท�ำให้พวกเรารูส้ กึ เหมือนเจ้าหญิง ก�ำลังเดินเข้าวัง ยังไงยังงัน้ เลยทีเดียว จากนัน้ ก็มบี ตั เลอร์พาเราขึ้นไปชัน้ บนสุด ของร้านอาหาร ซึ่งเขาได้แนะน�ำตัวและบอกว่า เขาเคยเป็ น ข้าราชบริพารรับใช้มหาราชาองค์ก่อน ก่อนทีจ่ ะมาท�ำงานทีน่ ่ี และส�ำหรับห้องชัน้ บนนี้ เป็ นห้องพิเศษที่ใช้สำ� หรับต้อนรับ แขกบ้านแขกเมืองของมหาราชาเท่านัน้ พวกเราแอบพูดกันว่า เจ้าภาพของงานคงจะเส้นใหญ่ น่าดู ถึงได้มาจัดงานที่น่ีได้ หลังจากพูดคุยทักทายเจ้าภาพได้ไม่นาน ก็มชี ายหนุ่มหน้าตา คมคายใส่ชุดสู ทสากลเดินเข้ามาในงาน ดิฉนั รูส้ กึ คุน้ หน้า ยังไงก็ไม่รู ้ ไม่นานเจ้าภาพก็แนะน�ำว่า นีค่ อื มหาราชาแห่งชัยปุระ King of Juipur พวกเราถึงกับร้องอ๋อ จากนัน้ ก็จบั มือ กล่าวทักทายและทานอาหารค�ำ่ ร่วมกัน ในบรรยากาศทีส่ ดุ แสน พิเศษ ทีจ่ ะเป็ นหนึ่งในความทรงจ�ำทีด่ ขี องพวกเราทุกคน ก่อนกลับโรงแรมดิฉนั มีโอกาสไปแอบถามเจ้าหน้าที่ ร้า นอาหาร ว่ า ปกติท่ีน่ี เ ปิ ด ให้ค นทัว่ ไปมาทานหรือ เปล่า ทางร้านบอกว่า เขาเปิ ดส�ำหรับอาหารกลางวันและอาหารค�ำ ่ แต่ จ ะอยู่ เ ฉพาะชัน้ ล่ า ง ไม่ ส ามารถมาใช้ห อ้ งข้า งบนได้ เพราะห้องนี้สำ� หรับมหาราชาเท่านัน้ ดังนัน้ ถ้าใครมาเทีย่ วทีน่ ่ี ลองมาหาประสบการณ์แปลกใหม่ดว้ ยการมาทานอาหารค�ำ่ ทีร่ า้ น 1135 AD ดูนะคะ เพราะดิฉนั คิดว่าการมาป้ อมปราการ แอมเบอร์ตอนกลางคืนนัน้ ก็สวยงามและโรแมนติกมาก เลยทีเดียวค่ะ


วันต่อมาพวกเราเดินทางไปยังเมือง ‘อุทยั ปุระ (Udaipur)’ โดยสายการบินภาย Spice Jet ใช้เวลาประมาณหนึ่งชัว่ โมง เดิมเราต้องออกจากชัยปุระตอน 8:35 น. เพื่อไปถึงอุทยั ปุระ ตอน 9:30 น. แต่ปรากฏว่าเครื่องบินดีเลย์ กว่าจะได้บนิ ก็เป็ นเวลา 11:30 น. และกว่าจะออกจากประตูสนามบินอุทยั ปุระได้ก็ตอน บ่ายโมงพอดี แต่โชคดีท่อี ากาศตอนนัน้ ก�ำลังเย็นสบายไม่รอ้ น ท�ำ ให้ทุ ก คนไม่ ห งุด หงิด ซัก เท่ า ไหร่ ดิ ฉัน จึ ง ขอโทษขอโพย ทางโรงแรมที่ตอ้ งมารอเรานาน ทางโรงแรมส่งรถ Audi Q7 ทัง้ หมด 3 คันมารับเรา เมือ่ ก้าวขึ้นรถไป คนขับก็แจกน�ำ้ และ ผ้าเย็นกลิ่นมิ้นท์ พร้อมทัง้ กล่าวต้อนรับด้วยความนอบน้อม สมกับเป็ นโรงแรมชัน้ น�ำจริงๆ พีท่ ม่ี าด้วยกันเล่าให้ฟงั ว่า เจ้าของ โรงแรมดาราเทวีท่เี ชียงใหม่ ก็ยงั เคยมาดูเรื่องงานบริการต่างๆ ของโรงแรมแห่งนี้ เพือ่ น�ำไปใช้กบั โรงแรมของเขาเองด้วย หลังจากนัง่ รถจากสนามบินมาประมาณ 30 นาที เจ้าหน้าที่ โรงแรมก็จอดรถบริเวณทะเลสาบที่ช่ือว่า พิโชล่า (Pichola) เพื่อให้พวกเรานัง่ เรือเข้าโรงแรม เพื่อให้ได้สมั ผัสประสบการณ์ ทีแ่ ปลกใหม่ ส่วนกระเป๋ าต่างๆ นัน้ เขาจะน�ำไปส่งให้ทโ่ี รงแรมเอง หลังจากทุกคนสวมชูชีพเรียบร้อยแลว้ เรือของโรงแรมก็แล่น ไปเรื่อยๆ ท�ำให้เราค่อยๆ เห็นวิวของเมืองอุทยั ปุระ ซึง่ ได้ช่อื ว่า ‘นครสีขาว (White City)’ เราเห็นพระราชวังสีขาวทีต่ งั้ สูงตระหง่าน สะท้อนแสงแดด โดดเด่นอยู่บนเนินเขาที่รายลอ้ มด้วยตึกราม บ้านช่องทีส่ วยงามไม่แพ้เมืองเวนิสเลยทีเดียว พอแล่นไปอีกซักพัก เราก็เห็นอาหารหลังสีขาวตัง้ อยู่กลางทะเลสาบ เหมือนลอยอยู่ กลางน�ำ ้ ซึง่ ก็คือโรงแรมทาจ เลค (Taj Lake Hotel) ซึง่ เป็ น พระราชวังเก่า แต่ปจั จุบนั ได้กลายเป็ นโรงแรมไปแล ้ว เดิมทีพวกเรา ก็กะว่าจะพักทีน่ ่ี แต่หลายคนบอกว่าห้องพักค่อนข้างเก่าไปหน่อย ส่วนบริการก็อาจจะสูโ้ รงแรมทีเ่ ราจะพักไม่ได้ เราก็เลยตัดสินใจ เลือกไปอยู่ทโ่ี รงแรมโอบิรอยแทน เรานัง่ เรือชมวิวกันได้ไม่นาน เรือก็มาเทียบท่าของโรงแรม จากนัน้ เราก็ข้นึ รถกอล์ฟเพือ่ ไปยังล็อบบี้ ขณะก้าวขาเข้าไปบริเวณ ทางเข้าหลักของโรงแรม ซึ่งเป็ นซุม้ ขนาดใหญ่สูงเกือบ 8 เมตร ทีส่ ร้างเลียนแบบพระราชวัง ก็มดี อกกุหลาบโปรยปรายจากด้านบน ลงมา เมือ่ แหงนหน้าขึ้นไป ก็เห็นผูห้ ญิงที่สวมชุดส่าหรี่สองคน ก�ำลังยิ้มพร้อมโปรยดอกไม้ตอ้ นรับเรา พวกเราทุกคนยิ้มตอบ ด้วยความประทับใจ ตัง้ แต่กา้ วแรกทีเ่ ข้ามาในโรงแรมแห่งนี้

03

04

05

06

20

a side


03 นครสีขาว White City 04 นั่งเรือล่องทะเลสาบพิโชล่า 05 โรงแรมทาจ เลค (Taj Lake Hotel) 06 คนโปรยกุหลาบต้อนรับที่โรงแรมโอบิรอย เมืองอุทัยปุระ 07 สระว่ายน�้ำโรงแรมโอบิรอย ริมทะเลสาบพิโชล่า 08 พนักงานโรงแรมโอบิรอย เมืองอุทัยปุระ

05

07

08

21

b side

หลัง จากเช็ ค อิน เรี ย บร้อ ยแล ว้ เจ้า หน้า ที่ก็ แ จ้ง ว่ า ที่น่ี จะมีเครื่องดื่มพร้อมของว่างไว้บริการฟรีในช่วง Happy Hour ระหว่าง 17:00 – 19:00 น. ทีบ่ ริเวณบาร์ ซึง่ นักดริงค์ของกลุม่ เรา รู ส้ ึกจะแฮปปี้ เป็ นพิเศษ หลังจากแยกย้ายเข้าห้องไป ดิฉนั จึง ขอจองสปา เพราะอยากลองดูว่านวดที่น่ีกบั ที่บา้ นเราจะต่างกัน มากหรือไม่ เพราะถ้าหากมาอินเดีย ดิฉนั ต้องขอลองนวดอายุรเวดิก (Ayuravedic) ศาสตร์ก ารนวดน�ำ้ มัน ที่ข้ ึน ชื่ อ ของอิ น เดี ย ซึ่งเป็ นการนวดเชิงรักษา โดยจะเป็ นการใช้นำ�้ มันอุ่นๆ หยดลง หน้าผากเราเป็ นจังหวะเหมือนถูกสะกดจิต แล ้วคนนวดก็จะนวด ตัวเราไปเรื่อยๆ การนวดชนิดนี้จะท�ำให้เรารูส้ กึ ผ่อนคลายแลว้ ก็ หลับลึกมาก ในเมืองไทยมีนวดแบบนี้เพียงไม่กท่ี เ่ี ท่านัน้ ส่วนราคา ทีน่ ่กี ถ็ อื ว่าไม่ได้แพงมากมาย พอๆ กับบ้านเรา หากเทียบกับสปา ในโรงแรมห้าดาวด้วยกัน เมือ่ นวดเสร็จแล ้วดิฉนั ก็อาบน�ำ้ แต่งตัว แล ้วไปเจอคนอืน่ ๆ ที่ บ าร์ เพื่ อ นัง่ ดื่ ม และเมาท์ม อยกัน อย่ า งออกรสออกชาติ จนเจ้าหน้าทีโ่ รงแรมต้องมาขอให้เราลดเสียงลง อันนี้กร็ ูส้ กึ ผิดนิดๆ ก็เลยย้ายไปที่รา้ นอาหารแทน ถึงแลว้ ไม่รอช้า ทุกคนสัง่ อาหาร อินเดียมาลองกันอีก ดูซวิ า่ จะสูโ้ รงแรมแรมบาร์คทีช่ ยั ปุระได้ไหม ปรากฏว่ า รสชาติ พ อใช้ แต่ ท่ีช ยั ปุ ร ะอร่ อ ยกว่ า ค่ ะ หลัง จาก รับประทานอาหารเย็นเรียบร้อย เราก็นงั ่ ดื่มกันต่ออีกนิดหน่ อย พร้อมกับดืม่ ด�ำ่ บรรยากาศริมทะเลสาบพิโชล่ายามค�ำ่ คืนทีแ่ สนจะ สวยงาม พร้อมเสียงบรรเลงพิณซีตาร์เบาๆ


10

09

11

วัน สุ ด ท้า ยของทริ ป หลัง จากที่ต่ื น เช้า ทานอาหารและ เช็คเอาท์แลว้ รถของโรงแรมก็ไปส่งเราเพือ่ ขึ้นเครื่องบินกลับไปที่ เมืองชัยปุระ เราบินถึงเมืองชัยปุระตอน 10:45 น. ทางบริษทั Janu ก็มารับเราเพื่อไปเที่ยวที่ต่างๆ ก่ อนขึ้นเครื่องบินกลับเมืองไทย ท�ำให้พวกเราสะดวกขึ้นเยอะ เพราะสามารถเอากระเป๋ าเก็บไว้ในรถ จนกว่ า จะกลับ แทนที่จ ะต้อ งหิ้ว ไปมา พอรถมินิ บ สั มารับ เรา ความที่พ วกเราบางคนเริ่ม เบื่อ อาหารอิน เดียจึง ขอเปลี่ยนเป็ น อาหารจีนบ้าง ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะหาร้านอาหารจีนในอินเดีย แต่เรื่องรสชาตินนั้ ไม่ได้ดอี ย่างทีค่ ดิ เพราะพ่อครัวเป็ นคนอินเดีย มันเลยเป็ นจีนแบบประหลาดๆ นิดหนึ่ง หลัง มื้อ เที่ย งที่เ อาแค่ พ ออยู่ ท อ้ ง เราเดิน ทางต่ อ ไปยัง Panna Meena Ka Kund Baori ค�ำว่า Baori หรือ Stepwell คือ บ่ อ น�ำ้ ใหญ่ ซึ่ง เป็ น สถานที่ท่ีค นโบราณได้ส ร้า งไว้ส ำ� หรับ เป็ น ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ เป็ นการใช้ภูมปิ ญั ญาของคนสมัยก่อนในการ ขุดเจาะน�ำ้ บาดาลไว้ใช้ และท�ำเป็ นบันไดเพือ่ ลงไปเอาน�ำ้ มาใช้ได้ แต่ทน่ี ่ไี ม่ค่อยมีนกั ท่องเทีย่ วเท่าไหร่ อีกทัง้ น�ำ้ ในบ่อก็เป็ นสีเขียวจาก ตะไคร่ เพราะถูก ทิ้ง ไว้ไ ม่ไ ด้ใ ช้ป ระโยชน์เ หมือ นแต่ ก่ อ นแล ว้ หลังจากถ่ายภาพกันจนหน�ำใจแล ้ว เราก็เดินกลับไปขึ้นรถ ระหว่าง ทางเดินกลับเราผ่านวัดฮินดูเล็กๆ แลว้ เจอเจ้าบ่าวเจ้าสาวทีก่ ำ� ลัง ท�ำพิธแี ต่งงานกันในวัด โดยมีญาติๆ ประมาณ 30 - 40 คนร่วมพิธี พวกเราจึงตีเนียนเข้าไปถ่ายรูปและแสดงความยินดีดว้ ย จากนัน้ พอเดินออกมาด้านนอกวัด เราก็เจอโยคีท่านหนึ่ง ซึง่ ท่านมาให้พรคู่บา่ วสาว ญาติคนหนึ่งของคู่บา่ วสาวบอกกับเราว่า ถ้าหากใครเจอโยคีโดยบังเอิญแบบนี้จะโชคดีมาก พวกเขาเชื่อว่า คู่ บ่าวสาวนัน้ จะโชคดีท่เี จอโยคีและให้พรพวกเขา และเช่นเดิม เราก็รีบขอเข้าไปถ่ายรู ปกับโยคี แลว้ โยคีก็แบมือมา เราจึงถาม ญาติเจ้าบ่าวคนเดิม เขาบอกว่าปกติผู ้คนจะให้เงินโยคีบ ้าง เพือ่ ใช้จา่ ย ในชีวติ ประจ�ำวัน เหมือนกับท�ำบุญ เราจึงหยิบเงินอินเดียแลว้ ยกมือไหว้ยืน่ ให้โยคี แต่โยคีบอกว่า “Dollar Dollar!!” เราจึงร้องอ๋อ แล ้วหยิบเงินดอลลาร์ยน่ื ให้พร้อมยกมือไหว้

12

13

22

a side


09 ห้องต่างๆ ภายในพระราชวังอุทัยปุระ 10 มุมกว้างด้านนอกพระราชวังอุทัยปุระ 11 พระราชวังอุทัยปุระ (City Palace of Udaipur) 12 บ้านเมืองอุทัยปุระ 13 ร้านค้าใกล้กันกับพระราชวังอุทัยปุระ 14 ร้านเสื้อผ้าในเมืองอุทัยปุระ

เราเดินทางต่อไปยัง พระราชวังสายลม Hawa Mahal (Palace of the Winds) ซึง่ เป็ นพระราชวังสร้างด้วยหินทรายสีชมพู หน้าตาคล ้ายรวงผึ้งแกะสลัก เคยเป็ นฮาเร็มของมหาราชา ทีน่ ่ถี อื ว่า เป็ นสัญลักษณ์ประจ�ำเมืองชัยปุระ มีลกั ษณะเป็ นอาคาร 5 ชัน้ เป็ นรู ปแบบของสถาปัตยกรรมสไตล์เปอร์เซียกับโมกุล บริเวณ รอบๆ ทัง้ สองด้า นเป็ น บ้า นเรื อ นเก่ า และตลาดซึ่ง ถือ ว่ า เป็ น ตลาดหลักของผูค้ นในเมืองนี้ เราจึงเดินดูวถิ ชี วี ติ ของผูค้ นในตลาด ว่าเป็ นอย่างไร ทีน่ ่เี ราสนุกกับการถ่ายภาพมาก เพราะมันดูมสี สี นั มีชี วิต ชี ว า และสะท้อ นถึง วิถีชี วิต ของผู ค้ นของที่น่ี ไ ด้อ ย่ า ง เป็ นธรรมชาติ บ้างก็นงั ่ ตัดหนวดตัดเครากันตรงเกาะกลางถนน บ้างก็รบั ปะหม้อ เดินเร่ขายของ แต่ทด่ี ฉิ นั รูส้ กึ ประหลาดใจทีส่ ุด ก็คือ อยู่ๆ ก็เห็นโถฉี่ แบบผู ช้ ายติดอยู่ขา้ งก�ำแพงสองสามอัน โดยไม่มอี ะไรกัน้ ซึ่งนี่คือห้องน�ำ้ สาธารณะของผูช้ าย เอาเป็ นว่า ใครปวดฉี่กย็ นื ฉี่กนั โจ่งแจ้งอย่างงี้ไปเลย ส่วนกลิน่ นัน้ อย่าให้บอก เลยค่ะ เหม็นตัง้ แต่ตน้ ซอยยันท้ายซอย จบจากตลาด เรานัง่ รถไปกันต่อที่ Albert Hall Museum แต่เสียดายทีไ่ ด้ถา่ ยภาพแค่ดา้ นนอกเพราะเขาปิ ดปรับปรุง จากนัน้ เราก็ไปยังร้านอาหารชือ่ ว่า ร้านนกยูง (Peacock) ร้านนี้คนแน่นร้าน ไปหมด ส่วนมากจะเห็นแต่ฝรัง่ มังค่า ตัวร้านอาหารตัง้ อยู่ชนั้ บนสุด ของอาคารสีช่ นั้ โดยชัน้ แรกจะเป็ นรีเซฟชัน่ โรงแรม ชัน้ ทีส่ องเป็ น ร้า นขายของ ซึ่ง ก็ จ ะมีผ า้ ปัก แบบอิ น เดี ย รวมถึง เสื้อ ผ้า ขาย ส่วนชัน้ สามชัน้ สีก่ ็จะเป็ นห้องพัก และชัน้ บนสุดทีเ่ ป็ นดาดฟ้ าก็จะ เป็ นร้านอาหาร เจ้าของบริษทั ทัวร์แนะน�ำให้เราสัง่ อาหารอินเดีย ของทีน่ ่เี พราะราคาถูกและอร่อยแน่นอน เราจึงนัง่ ทานอาหารอินเดีย มื้อสุดท้ายก่อนกลับเมืองไทยด้วยความเอร็ดอร่อยอย่างทีเ่ จ้าของ บริษทั ทัวร์ได้บอกไว้ ถึงแม้จะสูอ้ าหารอินเดียทีโ่ รงแรมแรมบาร์ค ไม่ได้ แต่ก็ขอยกให้เป็ นอันดับสอง ส่วนเรื่องราคานัน้ ถูกกว่ากัน เกือบสามเท่าเลยทีเดียว พวกเราจ่ายเงินและออกจากร้านนกยู งประมาณสามทุ่ม มาถึงสนามบินประมาณสามทุ่มครึ่ง ปรากฏว่ายังเช็คอินไม่ได้ เพราะเครื่องเราออกตอนตีสอง เขาเปิ ดให้เช็คอินตอนห้าทุ่ม ก็เลย นัง่ รอกัน ยาว ส�ำ หรับ สนามบิน ที่น่ี ไม่ได้ส นุ ก เหมือ นสนามบิน สุ วรรณภูมิบา้ นเราเลย เพราะไม่มีอะไรให้ซ้ ือหรือมีรา้ นให้นงั ่ ซักเท่าไหร่ แต่ ในที่สุดหลังจากนัง่ หลังขดหลังแข็งรอ เราก็ได้ ขึ้น เครื่อ งกลับ กรุ ง เทพมหานครโดยสวัส ดิภ าพ และหลัง จาก กลับ มาก็ ค งต้อ งตัง้ หน้า เก็ บ เงิน กัน ใหม่ เพื่อ ที่จ ะไปทริป อื่น ๆ ต่อไปในอนาคต

14

23

b side


J O U R N E Y & A M A Z I N G D I S H E S คอลั ม น์ Journey & Amazing Dishes เกิ ด ขึ้ น มาได้ เ พราะความตื่ น เต้ น ของเราที่ ไ ด้ ไ ปเจอ-ชิ ม -กิ น อาหาร จากการที่ เ ราได้ ไ ปเที่ ย วในต่ า งประเทศหรื อ แม้ แ ต่ ในประเทศเอง อาหารนั้ น ๆอาจจะไม่ ว ้ า วววส� ำ หรั บ หลายคน แต่ อี ก หลายคนว้ า วววแน่ ๆ เพราะไม่ รู ้ จั ก เช่ น เดี ย วกั บ เรา บางที อ าจจะไม่ ใ ช่ อ าหารที่ แ ปลกหรื อ อาจเป็ น อาหาร พื้นบ้านธรรมดา แต่ก็ท�ำให้เราว้าวววได้ จนเราต้องไปค้นหาสูตรเพื่อจะได้ปรุงรสชาติให้เหมือนหรือคล้ายที่สุด และบางทีก็เป็นแรงบันดาลใจให้เราประยุกต์ขึ้นมาเป็นเมนูใหม่ๆ ซะเลย

GRILLED BAMBOO SHOOTS @ KYOTO เรื่อง / ภาพ : Missน�้ำปู๋

Wowww... น่ากินมากกก หอมด้วย!!! ณ ลานทางเข้าศาลเจ้า Yasaka Shrine, Kyoto, Japan

01

03

02

04

24

a side

ปี 2011 ได้ไปเทีย่ วญีป่ ่ นุ ครัง้ แรก (ตอนนัน้ ยังต้องขอวีซา่ ) แพลนไปเทีย่ ว Osaka - Hiroshima - Kyoto - Takayama - Tokyo - Mt.Fuji Nikko (ครัง้ แรกก็เงี้ยะ ไปซะหลายเมือง) ทีต่ งั้ ใจไป Kyoto ด้วย เพราะอยากไปเจอเพือ่ นญีป่ ่ นุ ทีเ่ คยรูจ้ กั ตอนเธอมาเรีย นภาษาไทยเมื่อ ยี่สิบ กว่า ปี ท่ีเ เล ว้ เธอไว้ผมทรงเดียวกับโยโกะ โอโนะ เธอชอบฟัง เพลงไทยเพือ่ ชีวติ และเราก็ได้รูจ้ กั หมีเ่ ย็น เพราะเธอ นี่แหละชวนไปกินแถวย่านธนิยะ ญี่ ป่ ุ นเป็ นเมื อ งที่ ไ ปครั้ ง เดี ย วไม่ พ อ ยิ่ ง ตอนหลัง ไม่ ต อ้ งขอวีซ่ า ด้ว ยแล ว้ เราจึ ง ได้ กลับไปเทีย่ วอีกเกิน 7 ครัง้ ส่วนเกียวโตก็ได้กลับไป อีก 2 ครัง้ เพราะเกียวโตมีอะไรคล ้ายๆ เชียงใหม่ หลายอย่าง และที่ชอบญี่ป่ ุนมากอีกอย่าง คือเขา สามารถรัก ษาวัฒ นธรรมให้ค งไว้ ควบคู่ ไ ปกับ ความเจริญทางเทคโนโลยีได้อย่างดีมาก...


06

07

Grilled Bamboo Shoot by ครัวHIP 05

เมืองเกียวโตเป็ นเมืองเก่า มีสถานทีท่ ่ี เป็ นมรดกโลกอยู่เยอะ ที่เที่ยวส่วนใหญ่ก็ตอ้ ง เป็ นวัดและศาลเจ้าอย่างเช่น Kinkaku-ji Temple มีศาลาสีทอง, Kiyomizu-dera Temple วัดน�ำ้ ใส มีธรรมชาติ งดงามมาก เดินเล่นได้รอบๆ, ศาลเจ้า Yasaka Shrine เป็ นหนึ่งในศาลเจ้า ทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ุดของญี่ป่ นุ , ศาลเจ้า Fushimi Inari มีช่อื เสียงมาก เพราะมี เสาโทะริอิสีแดงเรียงรายยาวไกลเหมาะกับการถ่ายรู ปมาก และนอกนัน้ ก็ไปเทีย่ วป่ าไผ่ Arashiyama เขียวสวยงามมาก, เดินเล่นย่าน Gion …และ อีกเยอะเเยะมากมาย และเเลว้ เราก็เดินไปเจอหน่ อไม้ย่าง (Grilled Bamboo Shoots) ปิ้งขายข้างทาง ตรงทางเข้าศาลเจ้า Yasaka Shrine …Wowww… น่ากินมากกก หอมด้วย!!! เห็นแล ้วจะเข้าไปซื้อแต่กอ็ ดเพราะเพือ่ นบอกต้องรีบกลับแล ้ว... ท�ำให้คา้ งคาใจตัง้ แต่ตอนนัน้ พอกลับไปอีกสองหนก็ไม่เจอและก็ไม่เห็น ขายริมถนนทีไ่ หนเลย (ดวงไม่สมพงษ์)... เราจึงจัดการท่องโลกอินเตอร์เน็ต และหัดท�ำจนได้สูตรออกมาแบ่งปันกันนะ... 01 Kamo River ถ่ายจากสะพานใกล้สถานี Gion-Shijo เมื่อปี 2011 02 เสาโทะริอิใน 03 ศาลาสีทองแห่งวัด Kinkaku-ji Temple 04 ประตูท�ำจากไผ่สวยเก๋ภายในป่าไผ่ Arashiyama 05. บริเวณหน้าวัด Kiyomizu-dera Temple 06 Kyoto Station 07 ป่าไผ่ Arashiyama 08 Kiyomizu-dera Temple วัดน�้ำใส 09 ป้ายห้าม หลังจากที่มีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวเยอะมาก 10 ศาลเจ้า Yasaka Shrine 11 เซรามิคที่ญี่ปุ่นราคาสูงทีเดียว

08

09

10

11

* ดูสูตร หน่อไม้ย่าง ได้ท่ี www.hipthailand.net > Food&Place > Recipe > 2017

25

b side


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.