การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ยืนต้นบางชนิด ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์

Page 1


สารจาก ดร.อาณดา นิรันตรายกุล ผู้อ�านวยการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ต้นไม้มปี ระโยชน์อย่างยิง่ โดยเฉพาะด้านสิง่ แวดล้อมทีช่ ว่ ยผลิต ออกซิเจน ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ท�าให้อากาศสดชื่น เป็นร่มเงาบดบังแสงแดดและความร้อน ในสภาพ ภูมิอากาศที่ร้อนชื้นนั้นการมีพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่เป็นจ�านวนมากเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยลด ความรุนแรงของอุณหภูมิในเวลากลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะร่มเงาของต้นไม้จะช่วยลด ความร้อนและลดแสงสะท้อน นอกจากนี้ ยังช่วยรักษาสภาพพื้นดิน ช่วยลดเนื้อที่กระจายความร้อน และช่วยปกคลุมพืน้ ดินให้เกิดความร่มเย็น ต้นไม้จงึ เปรียบเสมือนปอดของโลก เพราะในขณะทีเ่ ราท�า กิจกรรมต่างๆ หรือแม้แต่หายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาในชั้นบรรยากาศ ต้นไม้จะดูดซับ สารพิษนั้นไว้ แล้วปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาแทน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์ขนาดใหญ่ ที่จัดตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งชุมชนและเขตเมือง ซึ่งภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ได้มีการปลูกไม้ยืนต้นหลากหลายชนิดและพรรณไม้อื่นๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ปัจจุบันอุทยานหลวงราชพฤกษ์นอกจากเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์แล้วยังเป็นพื้นที่สีเขียวที่มีความส�าคัญต่อสิ่งแวดล้อมในเมือง โดยเฉพาะการช่วยดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศของพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ การติดตามการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและชีวภาพของพรรณไม้ภายในอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ เป็นฐานข้อมูลที่มีความส�าคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการประเมินศักยภาพและ บทบาทที่มีต่อสิ่งแวดล้อมในด้านการเก็บคาร์บอน อีกทั้งเป็นฐานข้อมูลส�าหรับวางแผนการจัดการ ต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ และรองรับการพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดงานวิจัยด้านพรรณไม้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในปัจจุบันและอนาคตต่อไป

ดร.อาณดา นิรันตรายกุล ผู้อ�านวยการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารจาก นางสาวรุจิรา ริมผดี ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ปั จ จุ บั น ปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจมากที่ สุ ด คื อ ภาวะโลกร้ อ น ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากก๊าซเรือนกระจก ซึง่ วิธกี ารแก้ปญ ั หาหรือลดความรุนแรงของปัญหานีไ้ ด้ดที สี่ ดุ ก็คือ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นและช่วยการดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ช่วยกักเก็บความชุ่มชื้น ท�าให้อากาศเย็นสบาย อีกทั้งช่วยลด มลพิษและก๊าซอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์และสิง่ แวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ รัฐบาล จึ ง ได้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ กั บ การจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจนการสร้ า ง และเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เขี ย วในเมื อ ง ดั ง จะเห็ น ได้ ว ่ า นโยบายของรั ฐ บาลมุ ่ ง เน้ น ให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และทุกภาคส่วนจัดระบบสิ่งจูงใจในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างเป็นรูปธรรม จึงควรที่จะเรียนรู้ และเข้าใจถึงความส�าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อการวางแผนการจัดการ ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของการรู้จักใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ อย่างสมดุล และมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ภายใต้การบริหารจัดการของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและผลกระทบ ทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่ง การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ของพืชพรรณ ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ นอกจากจะเป็นการช่วยลดผลกระทบมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม แล้วยังสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ เพื่อลดสภาวะโลกร้อนและเป็นแหล่งท่องเที่ยวคาร์บอนต�่าอย่างยั่งยืนเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตของ ประชาชนต่อไป

นางสาวรุจิรา ริมผดี ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


แนะน�าการใช้หนังสือ การศึกษาการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดินของไม้ยนื ต้นบางชนิดภายใต้โครงการ พัฒนาฐานข้อมูล พรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและชีวภาพของ พรรณไม้ภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นหนังสือแสดงข้อมูลและผลจากการศึกษาการเจริญเติบโต และมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดินของพรรณไม้ยนื ต้นภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ตามขอบเขตการศึกษา ที่ได้ก�าหนดไว้เท่านั้น ซึ่งการแสดงผลของข้อมูลจึงเป็นข้อมูลเฉพาะกลุ่มของพรรณไม้และขอบเขต ของพื้นที่เป็นหลัก โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนส�าคัญ ดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลแสดงรายละเอียดของ วิธีการซึ่งได้มาของข้อมูลพรรณไม้ เช่น จากการศึกษาส�ารวจ ชนิด จ�านวนและเก็บข้อมูลมิติต่างๆ ของการเจริญเติบโตและการใช้เครื่องมือตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูลตามหลักวิชาการที่ได้ มาตรฐาน ส่วนที่ 2 แสดงข้อมูลและผลจากการศึกษาการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ของต้นไม้กลุ่มสี ต้นไม้ริมทางเดินและไม้ยืนต้นให้ร่มเงาบางชนิด ในเชิงปริมาณและแสดงผล จากการวิเคราะห์ในรูปแบบแผนภูมิกราฟ แผนภูมิเส้นและรูปแบบต่างๆ การแสดงข้อมูลเนื้อหาของพรรณไม้และผลจากการศึกษา โดยแสดงรายละเอียดและ ส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ รายการ พรรณไม้อุทยานหลวงราชพฤกษ ไม้กลุ่มสี

กลุ่มพรรณไม้ตามพื้นที่

ไม้ให้ร่มเงา ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อวงศ จ�านวนต้นที่พบ ความโตสูงสุด (ซม) ปริมาณมวลชีวภาพ

สแกนข้อมูลด้านนิเวศวิทยา ปริมาณกักเก็บคารบอน

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


บทความคณะผู้จัดท�า การศึกษาการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ยืนต้นบางชนิดภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ภายใต้โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ เพื่อติดตาม การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและชีวภาพของพรรณไม้ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ให้มคี วามถูกต้องทัง้ เชิงข้อมูลและเชิงพืน้ ทีท่ สี่ อดคล้องกัน สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการติดตามการเจริญเติบโต การออกดอก ติดผล ลักษณะทางชีพลักษณ์ และอัตราการรอดตายของไม้ยืนต้นภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ และมุ่งให้เห็นถึงลักษณะทาง นิเวศวิทยา ศักยภาพและบทบาทของพรรณไม้ทมี่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อมในด้านการกักเก็บคาร์บอน การช่วย ลดอุณหภูมิและความร้อน อีกทั้งรองรับการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นการพัฒนา องค์ความรู้ด้านพรรณไม้และความหลากหลายทางชีวภาพส�าหรับเผยแพร่ต่อไป การศึกษาในครั้งนี้ โดยใช้กลุ่มพรรณไม้ตามการใช้ประโยชน์ของอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นกรณีศึกษา คือ ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ยืนต้นริมทางเดิน และกลุ่มไม้ยืนต้นให้ร่มเงาบางชนิดเท่านั้น ซึ่ ง เป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ของพื้ น ที่ แ ละยั ง ไม่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั้ ง หมดของอุ ท ยานหลวงราชพฤกษ์ ผลจากการศึกษาสามารถใช้เป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจการคัดเลือกชนิดของไม้ยืนต้น เพือ่ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการ และช่วยลดต้นทุนการดูแลรักษาพรรณไม้ได้อย่างคุ้มค่า

คณะผู้จัดท�า กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ กันยายน 2561

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารบัญ หน้าที่ สารจาก ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ก สารจาก ผู้อ�านวยการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ข บทความคณะผู้จัดท�า ค แนะน�าการใช้หนังสือ ง ค�าน�า จ สารบัญ ฉ สารบัญตาราง ซ สารบัญภาพ ญ บทน�า 1 1. ที่มาและความส�าคัญ 1 2. หลักการและเหตุผล 2 3. วัตถุประสงค์การศึกษา 3 4. ผลที่คาดจะได้รับ 3 5. ตัวชี้วัดผล 4 6. การน�าไปใช้ประโยชน์ของข้อมูล 4 วิธีการศึกษา 5 1. พื้นที่ศึกษา 5 2. วิธีการศึกษา ส�ารวจ เก็บข้อมูลมิติต่างๆ ของพรรณไม้ยืนต้น 7 ผลการศึกษา 13 3.1 จ�านวนชนิด สกุล วงศ์ และพื้นที่หน้าตัด 13 3.2 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การกระจายตามชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เพียงอก และความสูง 3.3 ความหนาแน่นเนื้อไม้ 49 3.4 มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ 51 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 70

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


ค�าน�า เป็นระยะเวลากว่า 10 ปี อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ได้ด�าเนินการปลูกรวบรวมพรรณไม้ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและจัดแสดงพรรณไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านเกษตรและการอนุรกั ษ์พนั ธุพ์ ชื ตลอดจนเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับนานาชาติ โดยเริ่มจากสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ใน พ.ศ.2549 และทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบให้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ต�าบลแม่เหียะ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาคณะรัฐมนตรีจึงมีมติ ให้สถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เข้ามาบริหารจัดการและใช้ประโยชน์พื้นที่สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 เป็นต้นมา โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ : การศึกษาการเจริญเติบโตและ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ของต้นไม้กลุ่มสี ต้นไม้ริมทางเดินและไม้ยืนต้นให้ร่มเงาบางชนิดภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ โดยท�าการศึกษาในบริเวณต่างๆ จ�านวนทั้งสิ้น 33 บริเวณได้แก่ บริเวณ sky walk ข้างหอค�าหลวง เวทีวัฒนธรรม โดมไม้ร้อนชื้น ถนนทางเข้าหลัก สวนอนุรักษ์ดินและน�้า ลานราชพฤกษ์ บึงน�้าราชพฤกษ์ เนินบ่อพัก รอบสวนกล้วยไม้ป่า ลานจอดรถ P2 ลานต้อนรับ สวนประเทศอินเดีย ศูนย์อาหารเส้น สนามเด็กเล่น สวนขั้นบันได สวนไม้ชุ่มน�้า สวนแนวแกนกลาง สวนบัว สวนประเทศเบลเยีย่ ม สวนประเทศลาว สวนพรมบุบผา สวนพฤกษศาสตร์ สวนประเทศภูฏาน สวนไม้ ป ระจ� า จั ง หวั ด สวนสมุ น ไพร สวนสวั ส ดี อาคารจ� า หน่ ว ยบั ต ร ทางเข้ า ส� า นั ก งาน พืชสวนไทย สระหอเขียว อาคารโลกแมลง และอาคารปลูกพืชไร้ดิน มีพรรณไม้ที่ส�ารวจพบ จ�านวน ทั้งสิ้น 4104 ต้น 137 ชนิด ข้อมูลการศึกษาพรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ จะประกอบไปด้วยข้อมูลพรรณไม้ยืนต้น ในมิติ การเจริญเติบโตด้านต่างๆ ทั้งความโต ความสูง พื้นที่หน้าตัด มวลชีวภาพและ การกักเก็บคาร์บอน ซึ่งจะสามารถติดตามการเจริญเติบโตและศึกษาการเปลี่ยนแปลงการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ กลุม่ สี ต้นไม้รมิ ทางเดินและไม้ยนื ต้นบางชนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้งานเพือ่ สนับสนุนงาน ด้านการเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการด้านพรรณไม้เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ยั่งยืนต่อไป

คณะที่ปรึกษาร่วม กันยายน 2561

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารบัญตาราง ตารางที่ หน้าที่ 1 รายชื่อบริเวณพื้นที่ที่ศึกษา กลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ 6 ให้ร่มเงาภายในพื้นที่อุทยานหลวงราชพฤกษ์ 2 รายชื่อชนิดพันธุ์ไม้ยืนต้นที่ส�ารวจพบในกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ 15 กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในภาคสนาม อุทยานหลวงราชพฤกษ์ 3 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละบริเวณแยกตามประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน 19 และไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 4 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละวงศ์ตามประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และ 20 ไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 5 ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละวงศ์ (family) ตามประเภทของ 22 ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 6 จ�านวนไม้ยนื ต้นแยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของไม้กลุม่ สี กลุม่ ไม้ 24 ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 7 ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของ 27 ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 8 จ�านวนต้นไม้ยืนต้นแยกในแต่ละชนิด (species) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี 30 กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 9 ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละชนิด (species) ตามประเภท 34 ของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 10 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด (เซนติเมตร) แยกในแต่ละชนิดตาม 38 ประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 11 ความสูงไม้ยืนต้นสูงสุด (เมตร) ในแต่ละชนิดแยกตาม ประเภทไม้กลุ่มสี 44 ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 12 ค่าความหนาแน่นเนื้อไม้ (wood dencity) ที่สุ่มเจาะจากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่ม 50 ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา จ�านวน 26 ชนิด 166 ตัวอย่าง ในอุทยาน หลวงราชพฤกษ์ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารบัญ (ต่อ) บรรณานุกรม ภาคผนวก

หน้าที่ 74 76

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารบัญภาพ ภาพที่ หน้าที่ 1 ผังบริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ต�าบลแม่เหียะ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ 5 จังหวัดเชียงใหม่ 2 การวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การติดหมายเลขประจ�าต้น และ 7 การท�าสัญลักษณ์ 3 การวัดความสูงต้นไม้โดยวิธี 1 : 10 8 4 อุปกรณ์และลักษณะการเก็บตัวอย่างเนื้อไม้เพื่อศึกษาความหนาแน่นเนื้อไม้ 10 5 ตัวอย่างเนือ้ ไม้ และการอบตัวอย่างเพือ่ ศึกษาความหนาแน่นเนือ้ ไม้ ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ 10 150 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง หรือจนกว่าน�้าหนักคงที่ 6 การชั่งน�้าหนักตัวอย่างเนื้อไม้ ในห้องปฏิบัติการ 11 7 ความคลาดเคลื่ อ นของการประมาณค่ า การกั ก เก็ บ คาร์ บ อน ของการ 12 ด�าเนินงานในแต่ละขั้นตอน 8 การกระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยนื ต้นทีส่ า� รวจ 42 พบในกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 9 การกระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยนื ต้นทีส่ า� รวจ 43 พบในกลุ่มไม้กลุ่มสี (ภาพบน) กลุ่มไม้ริมทางเดิน (ภาพกลาง) และกลุ่มไม้ ให้ร่มเงา (ภาพล่าง) ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) และความ 48 สูงทัง้ หมด (เมตร) ของไม้ตวั แทนในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ทีม่ ขี นาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 1.0 เซนติเมตร และเส้นแนวโน้ม (a = 0.5513, h = 1.2584, H* = 27.2352, r2 = 0.7986889) จากการประมาณโดยใช้สมการ รูป Hyperbolic equation (H=1/[(1/aDh )+(1/H*)] ตามวิธีการของ Ogawa and Kira (1977) 11 การกระจายของค่าความหนาแน่นเนื้อไม้ตัวอย่าง (26 ชนิด 166 ตัวอย่าง) 49

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้าที่ 13 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ 53 (กิโลกรัม) จากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ 14 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ 57 (กิโลกรัม) จ�าแนกรายสกุล (genus) จากกลุม่ ไม้กลุม่ สี กลุม่ ไม้รมิ ทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 15 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ 60 (กิโลกรัม) จ�าแนกรายวงศ์ (family) จากกลุม่ ไม้กลุม่ สี กลุม่ ไม้รมิ ทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 16 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน 62 (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของ ไม้ยนื ต้นในบริเวณ ไม้กลุม่ สี กลุม่ ไม้ให้รม่ เงา และ ไม้รมิ ทางเดิน อุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 17 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน 64 (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของ ไม้ยืนต้น กลุ่มไม้กลุ่มสี บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของ 27 ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 18 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน 66 (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของ ไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 19 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน 68 (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของ ไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ให้ร่มเงา บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์



สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้าที่ 12 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่าน 63 ศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยนื ต้นในบริเวณไม้กลุม่ สี ไม้รมิ ทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา 13 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 63 เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้นในบริเวณไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และ ไม้ให้ร่มเงา 14 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่าน 65 ศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยนื ต้น กลุม่ ไม้กลุม่ สี บริเวณอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 15 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 65 เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยนื ต้น กลุม่ ไม้กลุม่ สี บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 16 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่าน 67 ศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน บริเวณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ 17 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 67 เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยนื ต้น กลุม่ ไม้รมิ ทางเดิน บริเวณอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 18 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่าน 69 ศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยนื ต้น กลุม่ ไม้ให้รม่ เงา บริเวณ อุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 19 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 69 เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ให้ร่มเงา บริเวณ อุทยานหลวง ราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


2

วีระไวทยะ รองราชเลขาธิการ ปฏิบตั ริ าชการแทนราชเลขาธิการ ได้นา� ความกราบบังคมทูลพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ สวนดังกล่าวว่า “อุทยานหลวงราชพฤกษ์” ตัง้ แต่วนั ที่ 23 มกราคม 2553 และได้รบั พระราชทานชือ่ ภาษาอังกฤษว่า “Royal Park Rajapruek” ตามหนังสือส�านักราชเลขาธิการ ที่ รล. 003.4/55045 ลงวันที่ 22 มีนาคม 2553 2. หลักการและเหตุผล ปัจจุบนั อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นแหล่งเผยแพร่องค์ความรูแ้ ละเป็นจุดเชือ่ มโยงการแสดง ผลงานวิจัยและพัฒนาผลงานโครงการหลวงและพื้นที่สูง มีวัตถุประสงค์การจัดตั้งตามกฎหมายของ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เพื่อจัดแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร ด้านความ หลากหลายทางชีวภาพ และด้านอืน่ ๆ ด�าเนินการบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ วและแหล่งพักผ่อนทาง ด้านการเกษตรและวัฒนธรรม รวมทั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ทางการเกษตรและการอนุรักษ์พันธุ์พืช อันเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการด�าเนินการตามวัตถุประสงค์ของสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน)

นอกจากนี้ อุ ท ยานหลวงราชพฤกษ์ ยั ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศน์ ข นาดใหญ่ ที่ มี ความหลากหลายทางชีวภาพสูง บนพื้นที่กว่า 468 ไร่ ภายในพื้นที่ได้รวบรวมความหลากหลายของ พรรณไม้ตา่ งๆ ทัง้ ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้พมุ่ ไม้ยนื ต้นและพรรณไม้อนื่ ๆ เพือ่ เป็นแหล่งอนุรกั ษ์พนั ธุกรรม พืช และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพรรณไม้ พืชสวน การเกษตรและความหลากหลายทางชีวภาพ อีกทั้ง เป็นพืน้ ทีส่ เี ขียวทีม่ คี วามส�าคัญทางด้านสิง่ แวดล้อมและเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนของจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้อุทยานหลวงราพฤกษ์ ได้ตระหนักถึง คุณค่า ประโยชน์และความส�าคัญของต้นไม้อย่างยิ่ง กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


1

การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ยืนต้นบางชนิด ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ บทน�า อุทยานหลวงราชพฤกษ์ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ หมายถึง สวนของพระมหากษัตริย์ 1. ที่มาและความส�าคัญ ต้นราชพฤกษ์ หรือ ต้นคูน(ลมแล้ง ภาษาพืน้ เมืองภาคเหนือ) นัน้ ได้รบั การยกให้เป็น ดอกไม้ ประจ�าชาติไทย และด้วยชือ่ อันเป็นมงคลยิง่ (ราชพฤกษ์ : ต้นไม้ของพระราชา) ประจวบเหมาะกับงาน พืชสวนโลก “เฉลิมพระเกียรติ” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้จัดในสถานที่นี้ ชื่อดอก ราชพฤกษ์จึงถูกใช้เป็นชื่อของอุทยานหลวงแห่งนี้นั่นเอง ส�าหรับการตั้งชื่ออุทยานหลวงราชพฤกษ์นั้น หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี องค์ประธานมูลนิธิ โครงการหลวง ได้มีลายพระหัตถ์ที่ ล. 01/358 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2552 ขอพระราชทานชื่อสวนซึ่ง เป็นสถานที่จัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวง เชียงใหม่ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ว่า “สวนหลวงราชพฤกษ์” ต่อมาท่านผู้หญิงบุตรี กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


4

5. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ การพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ยนื ต้นเชิงพืน้ ที่ เพือ่ ติดตามการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพและ ชีวภาพของไม้ยนื ต้นภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ โดยก�าหนดตัวชีว้ ดั ของผลลัพธ์จากการศึกษาครัง้ นี้ออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 5.1. ข้อมูลเชิงปริมาณ การจัดท�ารายงานแสดงข้อมูลการเจริญเติบโตและปริมาณคาร์บอน ในมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดินของไม้กลุม่ สี ไม้รมิ ทางเดินและไม้ให้รม่ เงา โดยแยกตามกลุม่ และชัน้ ขนาด ความโตของพรรณไม้ 5.2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ การพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้เชิงพื้นที่ ของไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้รม่ เงาทีม่ คี วามถูกต้อง ทันสมัยและสามารถน�ามาใช้เป็นแนวทางพัฒนาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดการไม้ยนื ต้นได้อย่างมีประสิทธิผล อีกทัง้ เชือ่ มโยงและรองรับการพัฒนาข้อมูลทางด้านวิชาการ และงานวิจัยพรรณไม้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบทั้งในปัจจุบันและอนาคต 6. การน�าไปใช้ประโยชน์ของข้อมูล 6.1. เป็นฐานข้อมูลของไม้ยืนต้นที่มีความถูกต้องทั้งข้อมูลเชิงระบบและข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่สอดคล้องกัน ส�าหรับเป็นแนวทางการออกแบบวางแผนการจัดการไม้ยืนต้น และการติดตาม ประเมินผล วิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของไม้ยืนต้นภายในอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ 6.2. เป็นฐานข้อมูลพรรณไม้ที่ส�าคัญส�าหรับใช้เป็นแนวทางการพัฒนาข้อมูลทางวิชาการ และการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยด้านพรรณไม้ เช่น การติดตามการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและ ชีวภาพของพรรณไม้ การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพ ลักษณะทางชีพลักษณ์และกายวิภาค ปริมาณ การใช้น�้าของพรรณไม้แต่ละชนิด การดักจับฝุ่นและการช่วยลดมลพิษในอากาศของไม้ยืนต้น ตลอดจนการจัดการองค์ความรูด้ า้ นเกษตร พืชสวนและความหลากหลายทางชีวภาพทีเ่ กีย่ วข้องภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ 6.3. เป็นฐานข้อมูลพรรณไม้ส�าหรับใช้เป็นแนวทางการวิเคราะห์เพื่อวางแผนการจัดการ ไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในระยะยาว เช่น การจัดการไม้ยืนต้นในงานภูมิทัศน์ 6.4. เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์และความหลากหลายทางชีวภาพ ที่มีความ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสามารถน� า เผยแพร่ ข ้ อ มู ล ทางวิ ช าการด้ า นพรรณไม้ ภ ายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ต่อไปได้

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


3

โดยเฉพาะการน�ามาใช้ประโยชน์ในด้านภูมิทัศน์สวน เพื่อให้เกิดความสวยงาม สร้างร่มเงาและเพิ่ม ความร่มรื่นภายในพื้นที่ ซึ่งอุทยานหลวงราชพฤกษ์ได้มีการพัฒนาพื้นที่ส�าหรับรวบรวมและจัดแสดง ความหลากหลายของพรรณไม้ต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มไม้ยืนต้นที่ปลูกตามกลุ่มสี ไม้ยืนต้นตามริมถนน ทางเดินและไม้ยืนต้นให้ร่มเงาบริเวณพื้นที่ต่างๆ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 ถึง ปัจจุบันมาอย่างต่อเนื่อง การศึกษาการเจริญเติบโตและการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดินของไม้ยนื ต้น ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ภายใต้โครงการพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่เพื่อการ ติดตามการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพและชีวภาพของไม้ยนื ต้น เป็นการพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ให้ มีความถูกต้องทั้งเชิงข้อมูลและเชิงพื้นที่ให้มีความสอดคล้องกัน เพื่อเป็นแนวทางการใช้ประโยชน์ ส� า หรั บ การติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงทางกายภาพและชี ว ภาพของพรรณไม้ ทั้ ง ในมิ ติ ด ้ า น การเจริญเติบโต ลักษณะทางชีพลักษณ์ การออกดอกติดผล ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และมิติด้าน สิง่ แวดล้อม เช่น การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของไม้ยนื ต้น การช่วยลดอุณหภูมิ การช่วยดูดซับ มลพิษ ฝุน่ ละอองในอากาศ การอนุรกั ษ์ดนิ และน�า้ ตลอดจนเป็นการจัดการและพัฒนาศักยภาพของ พรรณไม้ให้มีประสิทธิภาพสามารถรองรับการใช้ประโยชน์และการให้บริการเชิงพื้นที่ของไม้ยืนต้น ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วัตถุประสงค์การศึกษา 3.1. เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของ ไม้ยืนต้นบางชนิดภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 3.2. เพือ่ จัดท�าฐานข้อมูลส�าหรับการติดตามการเปลีย่ นแปลงทางด้านกายภาพและชีวภาพ ของไม้ยืนต้นภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 3.3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลทางวิชาการด้านพรรณไม้ และความหลากหลายทางชีวภาพ ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ให้มีความทันสมัย และสามารถน�าไปเผยแพร่ต่อไปได้ 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ มีฐานข้อมูลพรรณไม้ยืนต้นที่มีความทันสมัยและสามารถใช้เป็น ข้อมูลพืน้ ฐานในการศึกษาวิเคราะห์และติดตามการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพและชีวภาพของไม้ยนื ต้น ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการและการใช้ประโยชน์ของไม้ยนื ต้น ได้อย่างคุ้มค่า อีกทั้งเชื่อมโยงและรองรับการพัฒนาข้อมูลทางด้านวิชาการและงานวิจัยพรรณไม้ที่ เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพฤกษศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


6

1.2. ศึกษา ส�ารวจ ชนิด จ�านวนและเก็บข้อมูลมิติต่างๆ ของการเจริญเติบโตของไม้กลุ่มสี ต้นไม้รมิ ทางเดินและไม้ให้รม่ เงาบางชนิด ในบริเวณ (zone) ต่างๆ ภายในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานหลวงราชพฤกษ์ ตารางที่ 1 รายชื่อบริเวณพื้นที่ศึกษา กลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงาบางชนิด ภายในพื้นที่อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

บริเวณไม้กลุ่มสี สวนอนุรักษ์ดินและน้�า บึงน้�าราชพฤกษ์ ลานต้อนรับ สวนประเทศอินเดีย เวทีวัฒนธรรม สนามเด็กเล่น สวนขั้นบันได สวนพรมบุบผา อาคารจ�าหน่ายบัตร

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

บริเวณไม้ริมทางเดิน sky walk โดมไม้ร้อนชื้น ถนนทางเข้าหลัก ลานราชพฤกษ์ รอบสวนกล้วยไม้ป่า สวนแนวแกนกลาง สวนบัว สวนเบลเยี่ยม สวนประเทศลาว สวนพฤกษศาสตร์ สวนภูฐาน สวนสมุนไพร สวนสวัสดี หอพืชสวนไทย อาคารโลกแมลง อาคารปลูกพืชไร้ดิน

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

บริเวณไม้ให้ร่มเงา ข้างหอค�าหลวง เนินบ่อพัก ลานจอดรถ P2 ศูนย์อาหารเส้น สวนไม้ชุ่มน้�า สวนไม้ประจ�าจังหวัด ทางเข้าส�านักงาน สระหอเขียว


5

วิธีการศึกษา 1. พื้นที่ศึกษา 1.1. อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เลขที่ 334 หมู่ 3 ต�าบลแม่เหียะ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่ พื้นที่ 468 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา

ภาพที่ 1 ผังบริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ต�าบลแม่เหียะ อ�าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


8

ส�าหรับการวัดค่าความสูงของต้นไม้นั้นสามารถกระท�าได้โดยตรงคือ ใช้ไม้วัดความสูง (Measuring Pole) หรือ ใช้เครื่องมืออื่นๆ เช่น Haga hypsometer ส�าหรับในการศึกษาครั้งนี้จะ ท�าการวัดโดยใช้การเทียบสัดส่วน 1 ต่อ 10 เท่า อุปกรณ์ที่ใช้เป็นท่อ PVC ท�าเครื่องหมายโดยขีดเส้น ที่ระยะ 1 ใน 10 ส่วน เวลาใช้งานเพียงให้ผู้ใช้อุปกรณ์จับไม้แล้วยื่นออกจากล�าตัวให้ไม้ตั้งตรงได้ฉาก กับพื้น จากนั้นให้เล็งไปในแนวเส้นตรงโดยให้แนวสายตาผ่านจากปลายไม้ไปที่ปลายยอดของต้นไม้ และให้แนวสายตาผ่านโคนไม้ไปทีโ่ คนต้นไม้ ดังภาพที่ 3 จากนัน้ เมือ่ ได้แนวทัง้ ปลายยอดกับโคนต้นไม้ อยู่ในแนวปลายและโคนของอุปกรณ์แล้วให้เล็งไปที่เส้นเครื่องหมายที่ได้ท�าสัญลักษณ์ไว้ที่ไม้วัดผ่าน ไปที่ล�าต้นของต้นไม้ ที่จุดที่เล็งได้ให้ผู้ช่วยวัดความสูงจากจุดพื้นนั้น สมมุติวัดได้ 1.45 เมตร ความสูง ทั้งหมดจะเท่ากับ 1.45 คูณด้วย 10 เท่า ได้เท่ากับ 14.50 เมตร

ภาพที่ 3 การวัดความสูงต้นไม้โดยวิธี 1 : 10 กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


7

2. วิธีการศึกษา ส�ารวจ เก็บข้อมูลมิติต่างๆ ของพรรณไม้ยืนต้น 2.1. ศึกษา ส�ารวจ ชนิด จ�านวนและเก็บข้อมูลมิติต่างๆ ของการเจริญเติบโตของไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดินและไม้ให้ร่มเงาภายในพื้นที่อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และจัดท�าฐานข้อมูลพรรณไม้ อย่างเป็นระบบดังนี้ - บริเวณที่ปลูก (zone) - หมายเลขประจ�าต้น (Tree no.) - รหัสชนิด (Species code) - ชื่อสามัญ (Common name) - ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) - ชื่อสกุล (Genus) - ชื่อวงศ์ (Family) - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ - มิติการเจริญเติบโตที่เกี่ยวข้อง - วันที่วัดการเจริญเติบโต - ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (diameter at breast height) - ขนาดความสูงทั้งหมด - รูปภาพประกอบที่ส�าคัญ 2.2. ติ ด หมายเลขประจ� า ต้ น ที่ ท� า จากวั ส ดุ ค งทนถาวร เช่ น แผ่ น อลู มิ เ นี ย ม หรื อ แผ่นสแตนเลส พร้อมแขวนด้วยลวดทองแดง โดยต้นไม้ที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกเล็กกว่า 20 เซนติเมตร ควรแขวนหมายเลขด้วยลวดทองแดง และ หากต้นไม้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอกใหญ่กว่า 20 เซนติเมตร จะติดหมายเลขด้วยตะปู เพื่อลดความเสียหายที่ล�าต้น (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 การวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การติดหมายเลขประจ�าต้น และท�าสัญลักษณ์ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


10

ภาพที่ 4 อุปกรณ์และลักษณะการเก็บตัวอย่างเนื้อไม้เพื่อศึกษาความหนาแน่นเนื้อไม้

ภาพที่ 5 ตัวอย่างเนื้อไม้ และการอบตัวอย่างเพื่อศึกษาความหนาแน่นเนื้อไม้ ที่อุณหภูมิ 150 องศา เซลเซียส 48 ชั่วโมง หรือจนกว่าน�้าหนักคงที่

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


9

จากนั้นน�าค่าความสูงที่ได้จากการวัดข้างต้น มาสร้างตัวแบบ (model) หรือสมการเพื่อใช้ในการ ประมาณค่าความสูงต่อไป โดยการสร้างสมการความสัมพันธ์นี้จะใช้รูปแบบสมการรูปของ Hyperbolic equation โดย (Ogawa และ Kira, 1977) เป็นความสัมพัทธ์ระหว่าง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก (dbh) และ ความสูงทั้งหมด (H) ดังนี้ โดยที่ h, a และ H* เป็นค่าสัมประสิทธิ์ ซึ่งมีค่าแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่หรือสภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของป่า ป่าที่มีสภาพเป็นป่าไคลแมกซ์นั้น ค่า h จะมีค่าใกล้เคียง 1 มากที่สุด หรือ มีคา่ เป็น 1 โดยประมาณ ค่าของ H* (Asymptote height) หมายถึงความสูงของต้นไม้ทมี่ คี า่ ได้สงู สุด ของพื้นที่นั้นๆ 2.3. ท�าสัญลักษณ์บริเวณที่วัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับความสูงเพียงอก เพื่อเป็น สัญลักษณ์ในการระบุต�าแหน่งการวัดการเจริญเติบโต 2.4. ศึ ก ษาความหนาแน่ น เนื้ อ ไม้ ข องไม้ ก ลุ ่ ม สี ไม้ ริ ม ทางเดิ น และไม้ ใ ห้ ร ่ ม เงาของ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ตามข้อ 8.2 2.5. ศึกษาความหนาแน่นของเนื้อไม้ของไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดินและไม้ให้ร่มเงา ตามข้อ 8.2 โดยท�าการเจาะเนื้อไม้ชนิดละไม่น้อยกว่า 10 ตัวอย่าง 2.6. การเก็บข้อมูลความหนาแน่นของเนือ้ ไม้ วิธกี ารของ Chave et.al (2003) และ Sungpalee et.al. (2009) และ ข้อแนะน�าการอบตัวอย่างเนือ้ ไม้ของ Wiemann and Williamson (2010) ที่จะต้องอบตัวอย่างที่เป็นเนื้อไม้ในอุณหภูมิไม่ต�่ากว่า 100 (101-105) องศาเซลเซียส เนื่องจาก องค์ประกอบในเนื้อไม้นั้นส่วนมากเป็น เซลลูโรส และ ลิกนิน จึงมีความจ�าเป็นที่จะต้องอบด้วย อุณภูมิที่สูงกว่า 100 องศาเซลเซียส

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


12

ภาพที่ 7 ความคลาดเคลื่อนของการประมาณค่าการกักเก็บคาร์บอน ของการด�าเนินงานในแต่ละขั้น ตอน ที่มา: Chave et al.(2004) ส�าหรับสมการที่ใช้ในการพยากรณ์ปริมาณมวลชีวภาพรายต้น จะใช้สมการตามรูปแบบของ Chave et al.(2005) โดยมีรูปสมการดังนี้ AGB = exp(-2.187+0.916 x ln(ρ D2H)) โดยที่ AGB = ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน = ความหนาแน่นของเนื้อไม้ชนิดนั้นๆ (กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) ρ D = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) H = ความสูงทั้งหมดของต้นไม้ (เมตร)

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


11

ภาพที่ 6 การชั่งน�้าหนักตัวอย่างเนื้อไม้ ในห้องปฏิบัติการ 2.7. วิเคราะห์ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดินและ ไม้ให้ร่มเงา ทุกต้นตามข้อ 8.2 โดยแยกเป็นระดับชนิด สกุล และวงศ์ ซึ่งในการเก็บข้อมูลในแต่ละขั้น ตอนนั้ น ควรที่ จ ะต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง ความถู ก ต้ อ งในแต่ ล ะขั้ น ตอนให้ ม าก เพราะจะเป็ น สาเหตุ ข อง ความคลาดเคลือ่ นในการประมาณค่าปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน ตัง้ แต่การวัดขนาด ของต้นไม้ การเลือกสมการทีใ่ ช้ในการพยากรณ์ ดังภาพที่ 7 และ รวมถึงเก็บข้อมูลความหนาแน่นของ เนื้อไม้ ซึ่งอาจมีความคลาดเคลื่อนได้ในทุกๆ ขั้นตอนของการประมาณค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้ ตามรายละเอียดขั้นตอนที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


14

ในด้านของจ�านวนไม้ยนื ต้นแยกในแต่ละชนิด (species) ตามประเภทของไม้กลุม่ สี กลุม่ ไม้รมิ ทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา จะคล้อยตามจ�านวนแยกโดยใช้สกุลพบว่า Cassia fistula L.มีจ�านวนต้นสูงสุด เท่ากับ 701 ต้น (ตารางที่ 8) ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละชนิด (species) พบว่า พบ Ficus lacor Buch. ขนาดพื้นที่หน้าตัดรวมสูงสุดเท่ากับ 22.017 ตารางเมตร (ตารางที่ 9) รองลงมาคือ Cassia fistula L. ขนาดพื้นที่หน้าตัดรวมเท่ากับ 8.484 ตารางเมตร 3.2. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การกระจายตามชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก และ ความสูง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด (เซนติเมตร) แยกในแต่ละชนิดตามประเภท ไม้กลุม่ สี ไม้รมิ ทางเดิน และไม้ให้รม่ เงา พบว่าประเภทไม้กลุม่ สี Shorea roxburghii G.Don. มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 81.2 เซนติเมตร (ตารางที่ 10) ไม้ริมทางเดิน พบ Cassia fistula L. มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 57.8 เซนติเมตร และ ในกลุม่ ของไม้ยนื ต้น ให้ร่มเงาบางชนิด พบ Ficus lacor Buch. มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 140.1 เซนติเมตร ทั้งนี้การกระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยืนต้นที่ส�ารวจ พบในกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงาได้แสดงไว้ในภาพที่ 8 และ 9 ซึ่งจะพบว่า โดยภาพรวมของการกระจายตามชั้ น ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางเพี ย งอกนั้ น พบว่ า ชั้ น ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก 5.0-10.0 เซนติเมตร พบจ�านวนต้นสูงสุด (1,336 ต้น หรือ คิดเป็น ร้อยละ 32.55) รองลงมาคือชั้นขนาด 10.0-15.0 เซนติเมตร (1,110 ต้น หรือคิดเป็นร้อยละ 27.05) ในด้านความสูงไม้ยืนต้นสูงสุด (เมตร) พบว่า ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ ให้ร่มเงามีความสูงสูงสุดเท่ากับ 27 เมตร (Millingtania hortensis L.f), 13.4 เมตร (Cassia fistula L.) 20.8 เมตร (Samanea saman (Jacq.) Merr. และ Tectona grandis Linn.f.) ตามล�าดับ (ตารางที่ 11) ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) และ ความสูงทั้งหมด (เมตร) ของไม้ตัวแทนในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอกตัง้ แต่ 1.0 เซนติเมตร จากการประมาณโดยใช้สมการรูป Hyperbolic equation พบค่าสูงสุด ของต้นไม้ที่จะเกิดขึ้นได้ในพื้นที่นี้ (H*) มีค่าเท่ากับ 27.23 เมตร

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


13

ผลการศึกษา 3.1. จ�านวนชนิด สกุล วงศ์ และพื้นที่หน้าตัด ผลการส�ารวจชนิด จ�านวนและข้อมูลด้านการเจริญเติบโตของไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดินและ ไม้ให้ร่มเงา ในภาคสนาม โดยแยกเป็นกลุ่ม ชนิด ประเภท และพื้นที่ปลูกของพรรณไม้ ตามรายการ ทีอ่ ทุ ยานหลวงราชพฤกษ์ได้กา� หนดไว้ โดยพบว่าชนิดพรรณไม้ในวงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae มีจ�านวนชนิดมากที่สุด มีจ�านวนทั้งสิ้น 17 ชนิด ได้แก่ กัลปพฤกษ์ ขี้เหล็ก ชงโค ชัยพฤกษ์ นนทรี นนทรีป่า ประดู่แดง มะขาม มะค่าแต้ มะค่าโมง ราชพฤกษ์ โศกเหลือง โสกเขา โสกระย้า หางนกยูง ฝรั่ง อโศกน�้า อโศกพวง (ตารางที่ 2) ส่วนจ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละบริเวณแยกตามประเภท ไม้กลุ่มสี กลุม่ ไม้รมิ ทางเดิน และกลุม่ ไม้ให้ร่มเงา ทีส่ �ารวจในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ พบว่า มีจ�านวน รวมทั้งสิ้น 4104 ต้น แยกเป็น ไม้กลุ่มสีจ�านวน 1439 ต้น ไม้ริมทางเดินจ�านวน 1756 ต้น และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงาจ�านวน 909 ต้น (ตารางที่ 3) โดยในจ�านวนดังกล่าวพบจ�านวนต้นไม้มากที่สุดใน บริเวณคีตอุทยาน จ�านวน 514 ต้น รองลงมา คือ บริเวณถนนทางเข้าหลัก จ�านวน 390 ต้น บริเวณ สวนสวัสดี พบจ�านวนต้นไม้น้อยที่สุด จ�านวน 11 ต้น จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละวงศ์ตามประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา พบว่า วงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae มีจ�านวนต้นสูงสุด เท่ากับ 1449 ต้น รองลงมา คือ วงศ์ Bignoniaceae วงศ์ Sapotaceae วงศ์ Fabaceae – Papilionoideae และ วงศ์ Meliaceae ตามล�าดับพบจ�านวน 718, 302, 187 และ 174 ต้น ตามล�าดับ (ตารางที่ 4) จ�านวนต้นไม้ ในวงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae พบว่า กระจายตัวอยู่ในกลุ่มไม้กลุ่มสี จ�านวน 628 ต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน จ�านวน 744 ต้น และอยู่ในกลุ่มไม้ให้ร่มเงาจ�านวน 77 ต้น ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละวงศ์ (family) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา พบว่าขนาดพื้นที่หน้าตัดสูงสุดอยู่ในวงศ์ Moraceae มีพื้นที่ หน้าตัดเท่ากับ 24.807 ตารางเมตร (ตารางที่ 5) เมื่อแยกตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ ริมทางเดิน และกลุม่ ไม้ให้รม่ เงา พบว่ามีขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดรวม เท่ากับ 26.701, 24.516 และ 42.855 ตารางเมตร และรวมทั้งสามกลุ่มพบว่ามีขนาดพื้นที่หน้าตัดรวม เท่ากับ 94.073 ตารางเมตร จ�านวน ไม้ยืนต้นแยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ ให้ร่มเงา พบว่า สกุล Cassia มีจ�านวนต้นสูงสุด เท่ากับ 872 ต้น (ตารางที่ 6) แยกอยู่ในกลุ่มไม้ กลุ่มสี จ�านวน 368 ต้น กลุ่มไม้ริมทางเดินจ�านวน 499 ต้น และ อยู่ในกลุ่มไม้ให้ร่มเงา จ�านวน 5 ต้น รองลงมาคือ สกุล Jacaranda สกุล Mimusops สกุล Saraca และ สกุล Phyllocarpus พบจ�านวน 310, 293, 273 และ 204 ต้น ตามล�าดับ ส่วนขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละสกุล (genus) พบว่า สกุล Ficus มีพื้นที่หน้าตัดสูงสุดเท่ากับ 24.738 ตารางเมตร (ตารางที่ 7) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


16

ตารางที่ 2 (ต่อ) วงศ์ที่ วงศ์ 12 Ebenaceae

13

14

15

ชื่อสามัญ ตะโกสวน มะเกลือ มะพลับ Fabaceae – Caesalpinioideae กัลปพฤกษ์ ขี้เหล็ก ชงโค ชัยพฤกษ์ นนทรี นนทรีป่า ประดู่แดง มะขาม มะค่าแต้ มะค่าโมง ราชพฤกษ์ โศกเหลือง โสกเขา โสกระย้า หางนกยูงฝรั่ง อโศกน้�า อโศกพวง Fabaceae - Mimosoideae กระถิน กระถินเทพา จามจุรี แดง พฤกษ์ พู่จอมพล มะกล่�าต้น สีเสียดแก่น Fabaceae - Papilionoideae กระพี้จั่น กาแซะ แคฝรั่ง ทองกวาว ประดู่

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ชื่อวิทยาศาสตร์ Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. Diospyros mollis Griff. Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. Cassia bakeriana Craib. Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. Bauhinia purpurea L. Cassia javanica L. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Tamarindus indica L. Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Cassia fistula L. Saraca thaipingensis cantley ex Prain. Saraca declinata (Jack) Miq. Amherstia nobilis Wall. Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. Saraca indica L. Brownea ariza Benth Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Acacia mangium Willd. Samanea saman (Jacq.) Merr. Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. Kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen Albizia lebbeck (L.) Benth. Calliandra haematocephala Hassk. Adenanthera pavonina L. Acacia catechu Willd. Millettia brandisiana Kurz. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. Butea monosperma (Lam.) Taub. Pterocarpus macrocarpus Kurz.


15

ตารางที่ 2 รายชื่อชนิดไม้ยืนต้นที่ส�ารวจพบในกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในภาคสนาม อุทยานหลวงราชพฤกษ์ วงศ์ที่ 1 2

วงศ์ Anacardiaceae Annonaceae

3

Apocynaceae

4

Bignoniaceae

5 6 7 8 9 10

Bixaceae Boraginaceae Burseraceae Calophyllaceae Casuarinaceae Combretaceae

11 12

Dilleniaceae Dipterocarpaceae

12

Ebenaceae

ชื่อสามัญ มะม่วง ล�าดวน อโศกอินเดีย ตีนเป็ด ตีนเป็ดแดง ตีนเป็ดน้�า ทุ้งฟ้า โมกมัน โมกหลวง กาสะลอง กุก แคนา แคแสด ปีบทอง ศรีตรัง เหลืองเชียงราย เหลืองปรีดียาธร เหลืองอินเดีย สุพรรณ์ณิกา หมัน หน�าเลี๊ยบ กระทิง สนประดิพัทธ์ กระดุมไม้ใบเงิน หูกวาง มะตาด เคียม พันจ�า ตะเคียนชันตาแมว ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน พะยอม ยางนา รัง จัน

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera indica L. Melodorum fruticosum Lour. Polyalthia longifolia Alstonia scholaris (L.) R. Br. Dyera costulata (Miq.) Hook.f. Cerbera odollam Gaertn. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. Millingtania hortensis L.f Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Spathodea campanulata P.Beauv. Radermachera hainanensis Merr. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. Tabebuia argentea Britton Tabebuia chrysantha Nichols. Cochlospermum religiosum (L.) Alston. Cordia cochinchinensis Gagnep. Canarium album (Lour.) Raeusch. Calophyllum inophyllum L. Casuarina junghuhniana Mig. Conocarpus erectus L. Terminalia catappa L. Dillenia indica L. Cotylelobium lanceolatum Craib. Vatica odorata (Griff.) Symington Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Hopea odorata Roxb. Hopea ferrea Laness. Shorea roxburghii G.Don. Dipterocarpus alatus Roxb. Shorea siamensis Miq. Diospyros dasyphylla Kkurz.


18

ตารางที่ 2 (ต่อ) วงศ์ที่ วงศ์ 26 Moraceae

27 28

Moringaceae Myrtaceae

29 30 31 32 33 34 35

Myrtaceae Ochnaceae Phyllanthaceae Pinaceae Polygonaceae Rhizophoraceae Rubiaceae

36 37

Rutaceae Salicaceae

38

Sapotaceae

39 40

Theaceae Ulmaceae unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5

ชื่อสามัญ ยางอินเดีย ยางอินเดียด่าง ศรีมหาโพธิ์ Ficus sp.1 Ficus sp.2 มะรุม คริสตินา ชมพู่ด่าง เสม็ดชุน หว้า หว้าหิน แปรงล้างขวด ช้างน้าว มะขามป้อม สนสามใบ ปาโลแซนโตส เฉียงพร้านางแอ ค�ามอกหลวง ตะลุมพุก มะตูม ขานาง ตะขบป่า หลิว เกด พิกุล แอปเปลสตาร์ สารภีป่า กระเชา a.2 a.3 a.6 a.10 a.13

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus elastica Roxb. Ficus elastica Roxb. Ficus religiosa L. Moringa oleifera Lam. Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland Syzgium javanicum Miq. Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. Syzygium cumini (L.) Skeels. Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan Callistemon lanceolatus DC. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Phyllanthus emblica L. Pinus kesiya Royle ex Gordon Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Gardenia sootepensis Hutch. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Aegle marmelos Corr. Homalium tomentosum (Vent.) Benth. Flacourtia indica Merr. Salix babylonica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mimusops elengi Linn. Chrysophyllum cainito L. Anneslea fragrans Wall. Holoptelea integrifolia Planch. unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5


17

ตารางที่ 2 (ต่อ) วงศ์ที่ วงศ์ ชื่อสามัญ 15 Fabaceae - Papilionoideae ประดูบ่ ้าน พะยูง มโนรมย์ สาธร 16 Gentianaceae กันเกรา 17 Guttiferae แต้ว บุนนาค สกุลติ้ว 18 Irvingiaceae กระบก 19 Lamiaceae สัก 20 Lauraceae หมีเหม็น อบเชย 21 Lecythidaceae กระโดน จิกนา สาละลังกา 22 Lythraceae ตะแบก อินทนิลน้�า อินทนิลบก อินทรชิต 23 Magnoliaceae จ�าปา 24 Malvaceae งิ้ว งิ้วด่าง จันทน์ชะมด โพทะเล 25 Meliaceae มะฮอกกานี ยมหิน สะเดา 26 Moraceae ไทร ไทรเขากวาง ไทรด่าง ไทรใบสัก ไทรย้อย ผักเฮือด มะเดืออุทุมพร มะหาด

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus indicus Willd. Dalbergia cochinchinensis Pierre. Erythrina crita-galli L. Millettia leucantha Kurz. Fagraea fragrans Roxb. Cratoxylun maingayi Dyer. Mesua ferrea L. Cratoxylun sp. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Tectona grandis Linn.f. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Cinnamomum bejolghota Sweet. Careya sphaerica Roxb. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Couroupita guianensis Aubl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Michelia champaca L. Bombax ceiba L. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. Swietenia macrophylla King. Chukrasia tabularis A.Juss. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Ficus annulata Blume Ficus sp.3 Ficus Benjamina L. Ficus lyrata Ficus Benjamina L. Ficus lacor Buch. Ficus racemosa L. Artocarpus lakoocha Roxb.


20

ตารางที่ 4 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละวงศ์ตามประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา ใน อุทวงศ์ยานหลวงราชพฤกษ์ ที่ วงศ์ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ บ วงศ์ 26 ล�าดัMoraceae

27 28

29 30 31 32 33 34 35 36 37

38

39 40

ยางอินเดีย 1 Anacardiaceae ยางอินเดียด่าง 2 Annonaceae ศรีมหาโพธิ์ 3 Apocynaceae Ficus sp.1 4 Bignoniaceae Ficus sp.2 5 Bixaceae 6 Moringaceae Boraginaceae มะรุม 7 MyrtaceaeBurseraceae คริสตินา 8 Calophyllaceaeชมพู่ด่าง 9 Casuarinaceae เสม็ดชุน 10 Combretaceaeหว้า 11 Dilleniaceae หว้าหิน 12MyrtaceaeDipterocarpaceae แปรงล้างขวด 13OchnaceaeEbenaceae ช้างน้าว 14 Fabaceae – Caesalpinioideae Phyllanthaceae มะขามป้อม 15 Fabaceae - Mimosoideae Pinaceae สนสามใบ Fabaceae - Papilionoideae 16 ปาโลแซนโตส Polygonaceae 17 Gentianaceae 18Rhizophoraceae Guttiferae เฉียงพร้านางแอ 19RubiaceaeIrvingiaceae ค�ามอกหลวง Lamiaceae ตะลุมพุก 20 21Rutaceae Lauraceae มะตูม 22SalicaceaeLecythidaceae ขานาง 23 Lythraceae ตะขบป่า 24 Magnoliaceae หลิว Malvaceae เกด 25Sapotaceae 26 Meliaceae พิกุล 27 Moraceae แอปเปลสตาร์ 28 Moringaceae Theaceae สารภีป่า Myrtaceae 29 30UlmaceaeMyrtaceae กระเชา 1 a.2 31unidentified Ochnaceae 2 a.3 32unidentified Phyllanthaceae 3 a.6 33unidentified Pinaceae 34unidentified Polygonaceae 4 a.10 35unidentified Rhizophoraceae 5 a.13

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กFicus ลุ่มสี elasticaริมRoxb. ทางเดิน

รวม 7 Ficus elastica Roxb. 7 80 Ficus religiosa L. 7 11 157 513 188 718 1 Moringa oleifera Lam. 1 Syzygium australe ex Link) B.Hyland (J.C.Wendl. 2 2 Syzgium javanicum Miq. 1 1 Syzygium gratum29 (Wight)S.N. Mitra. 29 10 1 11 Syzygium cumini (L.) Skeels. 68 (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan 68 Syzygium claviflorum 20 76 Callistemon lanceolatus DC. 56 5 integerrima (Lour.) Merr. 2 7 Ochna 628 744 77 1449 Phyllanthus emblica L. 21 7 28 Pinus kesiya Royle ex Gordon 76 98 13 187 Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. 88 1 89 Carallia brachiata129(Lour.) Merr. 2 131 Gardenia sootepensis Hutch. 1 2 3 Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar.95 1 96 Aegle 3 marmelos Corr. 4 7 36 1 11 48 Homalium tomentosum (Vent.) Benth. 8 6 104 Flacourtia indica 90 Merr. 19 Salix babylonica 19 L. 1 6 Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard5 10 164 174 Mimusops elengi Linn. 17 96 113 Chrysophyllum cainito L. 4 4 Anneslea fragrans Wall. 4 35 39 Holoptelea integrifolia Planch. 1 1 unidentified 1 3 3 unidentified 2 1 1 unidentified 3 2 2 4 1 6 unidentified 4 1 2 2 unidentified 5 ให้ร่มเงา 7 73 139 17 1 1


19

ตารางที่ 3 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละบริเวณแยกตาม ประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และ ไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33

บริเวณ sky walk ข้างหอค�าหลวง เวทีวัฒนธรรม โดมไม้ร้อนชื้น ถนนทางเข้าหลัก สวนอนุรักษ์ดินและน้�า ลานราชพฤกษ์ บึงน้�าราชพฤกษ์ เนินบ่อพัก รอบสวนกล้วยไม้ป่า ลานจอดรถ P2 ลานต้อนรับ สวนประเทศอินเดีย ศูนย์อาหารเส้น สนามเด็กเล่น สวนขั้นบันได สวนไม้ชุ่มน้�า สวนแนวแกนกลาง สวนบัว สวนเบลเยี่ยม สวนประเทศลาว สวนพรมบุบผา สวนพฤกษศาสตร์ สวนภูฐาน สวนไม้ประจ�าจังหวัด สวนสมุนไพร สวนสวัสดี อาคารจ�าหน่วยบัตร ทางเข้าส�านักงาน พืชสวนไทย สระหอเขียว อาคารโลกแมลง อาคารปลูกพืชไร้ดิน รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี

ริมทางเดิน 33

ให้ร่มเงา 17

514 37 390

54

170 68 49

6 227 88

117 3 72

134 75

27

259 38 25 189 33 88 158 217 164 55 218 19 11 17 132 38 16 143 1439

1756

119 84 909

รวม 33 17 514 91 390 170 68 55 227 88 117 137 72 102 259 38 25 189 33 88 158 217 164 55 218 19 11 17 132 38 135 143 84 4104


22

ตารางที่ 5 ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละวงศ์ (family) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

วงศ์ Anacardiaceae Annonaceae Apocynaceae Bignoniaceae Bixaceae Boraginaceae Burseraceae Calophyllaceae Casuarinaceae Combretaceae Dilleniaceae Dipterocarpaceae Ebenaceae Fabaceae – Caesalpinioideae Fabaceae - Mimosoideae Fabaceae - Papilionoideae Gentianaceae Guttiferae Irvingiaceae Lamiaceae Lauraceae Lecythidaceae Lythraceae Magnoliaceae Malvaceae Meliaceae Moraceae Moringaceae Myrtaceae Myrtaceae Ochnaceae Phyllanthaceae Pinaceae Polygonaceae Rhizophoraceae

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี

ริมทางเดิน

0.105 0.306 6.148

0.071 3.835

ให้ร่มเงา 0.056 0.437 2.867 0.233 0.050 0.051

0.016 0.025 0.645 0.024

0.026 0.803

1.383 0.471 8.468 0.359 1.152

0.434 0.347 0.046 3.093 0.401

9.038 3.591 0.623 1.090

0.066 1.782 0.134

0.191 0.229 0.811 0.073 1.509 0.004

0.477 0.038 1.071 0.436 0.479 0.025 0.004 0.027 4.010 0.026 0.068 0.108 0.109 7.251 23.996 0.238 0.008 0.024

0.022 0.065 0.341

0.022

0.013

รวม 0.056 0.543 3.244 10.216 0.050 0.051 0.016 0.025 0.645 0.050 0.803 1.860 0.509 18.577 0.796 2.926 0.648 1.094 0.461 4.357 0.072 3.227 2.291 0.134 0.301 7.479 24.807 0.073 1.747 0.004 0.008 0.024 0.022 0.101 0.341


21

ตารางที่ 4 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

วงศ์ Rubiaceae Rutaceae Salicaceae Sapotaceae Theaceae Ulmaceae unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Urticaceae Verbenaceae รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 1 4 17

ริมทางเดิน 101

189

ให้ร่มเงา 2 3 96 3 1 1 5 2 1 1

1 4 1 1 1439

1756

909

รวม 102 2 7 302 3 1 1 5 2 1 1 1 4 1 1 4104


24

ตารางที่ 6 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

สกุล Acacia Adenanthera Aegle Afzelia Albizia Alstonia Amherstia Anneslea Artocarpus Azadirachta Barringtonia Bauhinia Bombax Brownea Butea Callerya Calliandra Callistemon Calophyllum Canarium Carallia Careya Cassia Casuarina Catunaregam Ceiba Cerbera Chrysophyllum Chukrasia Cinnamomum Citharexylum Cochlospermum Conocarpus Cordia Cotylelobium

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 1

ริมทางเดิน

2

ให้ร่มเงา 2 1 2 1 1 119

3 3 1 8 9 7 1 30 62

1 1

12 1 1 2 2 2 368

499 29

5

1 2 4 2 3 1

11

1 11 1 3 1

10 1 1

รวม 3 1 2 1 3 119 3 3 1 8 9 7 1 30 63 1 12 1 1 2 2 2 872 29 1 1 24 4 3 6 1 1 10 1 1


23

ตารางที่ 5 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

วงศ์ Rubiaceae Rutaceae Salicaceae Sapotaceae Theaceae Ulmaceae unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Urticaceae Verbenaceae รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 0.038 0.026 0.251

ริมทางเดิน 0.551

2.264

ให้ร่มเงา 0.016 0.034 0.509 0.025 0.032 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007

0.175 0.011 0.197 0.017 26.701

24.516

42.855

รวม 0.589 0.016 0.060 3.024 0.025 0.032 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007 0.175 0.011 0.197 0.017 94.073


26

ตารางที่ 6 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106

สกุล Moringa Neobalanocarpus Ochna Peltophorum Phyllanthus Phyllocarpus Pinus Polyalthia Pterocarpus Radermachera Salix Samanea Saraca Senna Shorea Sindora Spathodea Swietenia Syzgium Syzygium Tabebuia Tamarindus Tectona Terminalia Thespesia Triplaris unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Vatica Wrightia Xylia รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 4

ริมทางเดิน

ให้ร่มเงา

4

รวม 4 1 3 2 1 204 2 78 89 3 4 7 273 5 5 1 1 163 21 18 160 1 96 1 1 6 1 5 2 1 1 1 4

2 1 909

2 1 4104

1 3 2 1 204 2 7 87 4 6 47 4 3

160

71 2 3 1 66 1 2 1

1 163 21 14 160

4

1

4

1

1 95 1 1 1 1 5 2 1 1

1 6

1439

1756


25

ตารางที่ 6 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

สกุล Couroupita Cratoxylun Dalbergia Debregeasia Delonix Dillenia Diospyros Dipterocarpus Dolichandrone Dyera Erythrina Fagraea Ficus Flacourtia Gardenia Gliricidia Holarrhena Holoptelea Homalium Hopea Irvingia Jacaranda Lagerstroemia Lannea Leucaena Litsea Mangifera Manilkara Mansonia Melodorum Mesua Michelia Millettia Millingtania Mimusops

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 34

ริมทางเดิน 1 91

ให้ร่มเงา 2 1

1 52 68 5 11 50

2 46 7

7 88 17

1 95 2

101 3 5

1 299 8

90

4 1 13

38 19 11 188 189

1 1 6 2 11 6 1 1 1 7 5 3 2 2 8 2 91

รวม 37 91 1 1 52 68 7 57 50 7 7 89 112 2 101 3 5 1 1 6 3 310 104 1 1 1 7 5 3 2 40 19 23 191 293


28

ตารางที่ 7 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

สกุล Couroupita Cratoxylun Dalbergia Debregeasia Delonix Dillenia Diospyros Dipterocarpus Dolichandrone Dyera Erythrina Fagraea Ficus Flacourtia Gardenia Gliricidia Holarrhena Holoptelea Homalium Hopea Irvingia Jacaranda Lagerstroemia Lannea Leucaena Litsea Mangifera Manilkara Mansonia Melodorum Mesua Michelia Millettia Millingtania Mimusops

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 2.524

ริมทางเดิน 0.066 0.756

ให้ร่มเงา 0.012 0.032

0.197 2.287 0.803 0.471 0.197 3.672

0.038 0.342 0.018

0.131 0.623 0.811

0.025 23.927 0.011

0.551 0.022 0.272

0.434 1.101 0.401

1.782

0.129 0.273 0.204

0.334 0.134 0.335 3.835 2.264

0.032 0.024 0.077 0.027 0.100 0.108 0.026 0.036 0.001 0.056 0.040 0.017 0.010 0.004 0.144 0.062 0.469

รวม 2.603 0.756 0.032 0.197 2.287 0.803 0.509 0.539 3.672 0.018 0.131 0.648 24.738 0.011 0.551 0.022 0.272 0.032 0.024 0.077 0.461 1.201 2.291 0.026 0.036 0.001 0.056 0.040 0.017 0.010 0.338 0.134 0.608 4.170 2.937


27

ตารางที่ 7 ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละสกุล (genus) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

สกุล Acacia Adenanthera Aegle Afzelia Albizia Alstonia Amherstia Anneslea Artocarpus Azadirachta Barringtonia Bauhinia Bombax Brownea Butea Callerya Calliandra Callistemon Calophyllum Canarium Carallia Careya Cassia Casuarina Catunaregam Ceiba Cerbera Chrysophyllum Chukrasia Cinnamomum Citharexylum Cochlospermum Conocarpus Cordia Cotylelobium

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 0.017

ริมทางเดิน

0.313

ให้ร่มเงา 0.128 0.019 0.016 0.036 0.020 2.769

0.040 0.025 0.069 0.136 0.055 0.164 0.191 0.227 0.870

0.118 0.056

0.026 0.004 0.025 0.016 0.341 0.568 5.756

5.054 0.645

0.081

0.038 0.034 0.047 0.092 0.046 0.017

0.071

0.081 0.067 0.049 0.025 0.050

0.024 0.051 0.003

รวม 0.145 0.019 0.016 0.036 0.333 2.769 0.040 0.025 0.069 0.136 0.055 0.164 0.191 0.227 0.988 0.056 0.026 0.004 0.025 0.016 0.341 0.568 10.891 0.645 0.038 0.081 0.172 0.047 0.141 0.071 0.017 0.050 0.024 0.051 0.003


30

ตารางที่ 8 จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละชนิด (species) ตามประเภทของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia catechu Willd. Acacia mangium Willd. Adenanthera pavonina L. Aegle marmelos Corr. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Albizia lebbeck (L.) Benth. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Alstonia scholaris (L.) R. Br. Amherstia nobilis Wall. Anneslea fragrans Wall. Artocarpus lakoocha Roxb. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Bauhinia purpurea L. Bombax ceiba L. Brownea ariza Benth Butea monosperma (Lam.) Taub. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Calliandra haematocephala Hassk. Callistemon lanceolatus DC. Calophyllum inophyllum L. Canarium album (Lour.) Raeusch. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Cassia javanica L. Casuarina junghuhniana Mig. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Cerbera odollam Gaertn. Chrysophyllum cainito L. Chukrasia tabularis A.Juss. Cinnamomum bejolghota Sweet. Citharexylum spinosum Linn.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 2 1 1 2 1 2 1 1 118 3 3 1 8 9 7 1 30 62 1 1 12 1 1 2 2 2 59 34 3 309 390 2 75 29 1 1 2 11 11 4 2 1 3 3 1

รวม 2 1 1 2 1 3 1 118 3 3 1 8 9 7 1 30 63 1 12 1 1 2 2 2 96 701 75 29 1 1 24 4 3 6 1


29

ตารางที่ 7 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 99 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 105

สกุล Moringa Neobalanocarpus Ochna Peltophorum Phyllanthus Phyllocarpus Pinus Polyalthia Pterocarpus Radermachera Salix Samanea Saraca Senna Shorea Sindora Spathodea Swietenia Syzgium Syzygium Tabebuia Tamarindus Tectona Terminalia Thespesia Triplaris unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Vatica Wrightia Xylia รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี 0.073

ริมทางเดิน

ให้ร่มเงา 0.009 0.008 0.103 0.024

2.172 0.022 0.105 3.256 0.026 0.003 0.701 0.063 0.998

1.430

0.427 0.129 0.044 0.208 0.708 0.071 0.046 0.043

0.014 7.202 0.508 1.001 0.701

0.238

0.347

0.065

0.022

0.029 4.010 0.026 0.011 0.013 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007

0.175 0.011 0.187

26.701

24.516

0.013 0.026 42.855

รวม 0.073 0.009 0.008 0.103 0.024 2.172 0.022 0.533 3.385 0.044 0.026 0.211 2.839 0.134 1.044 0.043 0.014 7.202 0.508 1.239 0.701 0.029 4.357 0.026 0.011 0.101 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007 0.175 0.011 0.187 0.013 0.026 94.073


32

ตารางที่ 8 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105

ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea ferrea Laness. Hopea odorata Roxb. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Mangifera indica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Melodorum fruticosum Lour. Mesua ferrea L. Michelia champaca L. Millettia brandisiana Kurz. Millettia leucantha Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Moringa oleifera Lam. Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Phyllanthus emblica L. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Pinus kesiya Royle ex Gordon Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Willd. Pterocarpus macrocarpus Kurz. Radermachera hainanensis Merr. Salix babylonica L. Samanea saman (Jacq.) Merr.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 1 5 1 2 299 11 2 2 1 3 35 3 55 3 1 1 1 7 5 3 2 38 2 19 4 11 6 2 3 188 2 13 189 91 4 1 3 1 1 1 202 2 7 71 26 1 1 61 3 4 6 1

รวม 1 5 3 310 4 1 38 61 1 1 1 7 5 3 2 40 19 21 2 193 293 4 1 3 1 1 1 202 2 78 27 62 3 4 7


31

ตารางที่ 8 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อวิทยาศาสตร์ Cochlospermum religiosum (L.) Alston. Conocarpus erectus L. Cordia cochinchinensis Gagnep. Cotylelobium lanceolatum Craib. Couroupita guianensis Aubl. Cratoxylun maingayi Dyer. Cratoxylun sp. Dalbergia cochinchinensis Pierre. Debregeasia longifolia (Burm.f.) Wedd. Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. Dillenia indica L. Diospyros dasyphylla Kkurz. Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. Diospyros mollis Griff. Dipterocarpus alatus Roxb. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Dyera costulata (Miq.) Hook.f. Erythrina crita-galli L. Fagraea fragrans Roxb. Ficus annulata Blume Ficus Benjamina L. Ficus elastica Roxb. Ficus lacor Buch. Ficus lyrata Ficus racemosa L. Ficus religiosa L. Ficus sp.1 Ficus sp.2 Ficus sp.3 Flacourtia indica Merr. Gardenia sootepensis Hutch. Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. Holoptelea integrifolia Planch. Homalium tomentosum (Vent.) Benth.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 1 10 1 1 34 1 2 77 14 1 1 52 68 1 4 1 1 11 46 50 7 7 88 1 9 6 1 7 50 7 3 1 7 6 4 1 10 2 101 3 5 1 1

รวม 1 10 1 1 37 77 14 1 1 52 68 1 5 1 57 50 7 7 89 9 6 8 50 7 3 8 10 1 10 2 101 3 5 1 1


34

ตารางที่ 9 ขนาดพื้นที่หน้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละชนิด (species) ตามประเภทของ ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia catechu Willd. Acacia mangium Willd. Adenanthera pavonina L. Aegle marmelos Corr. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Albizia lebbeck (L.) Benth. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Alstonia scholaris (L.) R. Br. Amherstia nobilis Wall. Anneslea fragrans Wall. Artocarpus lakoocha Roxb. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Bauhinia purpurea L. Bombax ceiba L. Brownea ariza Benth Butea monosperma (Lam.) Taub. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Calliandra haematocephala Hassk. Callistemon lanceolatus DC. Calophyllum inophyllum L. Canarium album (Lour.) Raeusch. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Cassia javanica L. Casuarina junghuhniana Mig. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Cerbera odollam Gaertn. Chrysophyllum cainito L. Chukrasia tabularis A.Juss. Cinnamomum bejolghota Sweet. Citharexylum spinosum Linn.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 0.128 0.017 0.019 0.016 0.036 0.313 0.020 0.024 2.746 0.040 0.025 0.069 0.136 0.055 0.164 0.191 0.227 0.870 0.118 0.056 0.026 0.004 0.025 0.016 0.341 0.568 1.154 0.770 0.063 4.602 3.863 0.019 0.421 0.645 0.038 0.081 0.034 0.071 0.067 0.047 0.092 0.049 0.046 0.025 0.017

รวม 0.128 0.017 0.019 0.016 0.036 0.333 0.024 2.746 0.040 0.025 0.069 0.136 0.055 0.164 0.191 0.227 0.988 0.056 0.026 0.004 0.025 0.016 0.341 0.568 1.986 8.484 0.421 0.645 0.038 0.081 0.172 0.047 0.141 0.071 0.017


33

ตารางที่ 8 (ต่อ) ล�าดับ 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137

ชื่อวิทยาศาสตร์ ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา Saraca declinata (Jack) Miq. 4 Saraca indica L. 47 156 63 Saraca thaipingensis cantley ex Prain. 3 Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. 4 1 Shorea roxburghii G.Don. 3 1 Shorea siamensis Miq. 1 Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. 1 Spathodea campanulata P.Beauv. 1 Swietenia macrophylla King. 163 Syzgium javanicum Miq. 21 Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland 3 Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan 1 Syzygium cumini (L.) Skeels. 3 Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. 11 Tabebuia argentea Britton 1 Tabebuia chrysantha Nichols. 155 4 Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. Tamarindus indica L. 1 Tectona grandis Linn.f. 1 95 Terminalia catappa L. 1 Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. 1 Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. 4 1 1 unidentified 1 1 unidentified 2 5 unidentified 3 2 1 unidentified 4 unidentified 5 1 unidentified 6 1 unidentified 7 4 Vatica odorata (Griff.) Symington 6 Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 2 Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen 1 Grand Total 1439 1756 909

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

รวม 4 266 3 5 4 1 1 1 163 21 3 1 3 11 1 155 4 1 96 1 1 6 1 5 2 1 1 1 4 6 2 1 4104


36

ตารางที่ 9 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105

ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea ferrea Laness. Hopea odorata Roxb. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Mangifera indica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Melodorum fruticosum Lour. Mesua ferrea L. Michelia champaca L. Millettia brandisiana Kurz. Millettia leucantha Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Moringa oleifera Lam. Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Phyllanthus emblica L. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Pinus kesiya Royle ex Gordon Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Willd. Pterocarpus macrocarpus Kurz. Radermachera hainanensis Merr. Salix babylonica L. Samanea saman (Jacq.) Merr.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 0.010 0.067 0.434 0.027 1.101 0.100 0.264 0.012 0.044 0.043 0.581 0.095 1.201 0.051 0.026 0.036 0.001 0.056 0.040 0.017 0.010 0.334 0.004 0.134 0.129 0.335 0.101 0.042 0.661 3.835 0.062 0.204 2.264 0.469 0.073 0.009 0.008 0.073 0.030 0.024 1.784 0.022 0.105 0.427 0.871 0.112 2.386 0.017 0.044 0.026 0.003 0.208

รวม 0.010 0.067 0.461 1.201 0.275 0.044 0.624 1.348 0.026 0.036 0.001 0.056 0.040 0.017 0.010 0.338 0.134 0.565 0.042 4.558 2.937 0.073 0.009 0.008 0.073 0.030 0.024 1.784 0.022 0.533 0.982 2.403 0.044 0.026 0.211


35

ตารางที่ 9 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อวิทยาศาสตร์ ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา Cochlospermum religiosum (L.) Alston. 0.050 Conocarpus erectus L. 0.024 Cordia cochinchinensis Gagnep. 0.051 Cotylelobium lanceolatum Craib. 0.003 Couroupita guianensis Aubl. 2.524 0.066 0.012 Cratoxylun maingayi Dyer. 0.631 Cratoxylun sp. 0.125 Dalbergia cochinchinensis Pierre. 0.032 Debregeasia longifolia (Burm.f.) Wedd. 0.197 Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. 2.287 Dillenia indica L. 0.803 Diospyros dasyphylla Kkurz. 0.007 Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. 0.464 0.016 Diospyros mollis Griff. 0.022 Dipterocarpus alatus Roxb. 0.197 0.342 Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. 3.672 Dyera costulata (Miq.) Hook.f. 0.018 Erythrina crita-galli L. 0.131 Fagraea fragrans Roxb. 0.623 0.025 Ficus annulata Blume 0.445 Ficus Benjamina L. 0.047 Ficus elastica Roxb. 0.041 0.187 Ficus lacor Buch. 22.017 Ficus lyrata 0.090 Ficus racemosa L. 0.019 Ficus religiosa L. 0.006 0.267 Ficus sp.1 0.320 0.883 Ficus sp.2 0.010 Ficus sp.3 0.408 Flacourtia indica Merr. 0.011 Gardenia sootepensis Hutch. 0.551 Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. 0.022 Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. 0.272 Holoptelea integrifolia Planch. 0.032 Homalium tomentosum (Vent.) Benth. 0.024

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

รวม 0.050 0.024 0.051 0.003 2.603 0.631 0.125 0.032 0.197 2.287 0.803 0.007 0.480 0.022 0.539 3.672 0.018 0.131 0.648 0.445 0.047 0.228 22.017 0.090 0.019 0.272 1.202 0.010 0.408 0.011 0.551 0.022 0.272 0.032 0.024


38

ตารางที่ 10 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด (เซนติเมตร) แยกในแต่ละชนิดตามประเภท ไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia catechu Willd. Acacia mangium Willd. Adenanthera pavonina L. Aegle marmelos Corr. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Albizia lebbeck (L.) Benth. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Alstonia scholaris (L.) R. Br. Amherstia nobilis Wall. Anneslea fragrans Wall. Artocarpus lakoocha Roxb. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Bauhinia purpurea L. Bombax ceiba L. Brownea ariza Benth Butea monosperma (Lam.) Taub. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Calliandra haematocephala Hassk. Callistemon lanceolatus DC. Calophyllum inophyllum L. Canarium album (Lour.) Raeusch. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Cassia javanica L. Casuarina junghuhniana Mig. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Cerbera odollam Gaertn. Chrysophyllum cainito L. Chukrasia tabularis A.Juss. Cinnamomum bejolghota Sweet. Citharexylum spinosum Linn.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 31.6 31.6 14.6 14.6 15.4 15.4 10.2 10.2 21.3 21.3 46.0 16.0 46.0 17.4 17.4 36.8 36.8 15.2 15.2 12.7 12.7 29.6 29.6 20.8 20.8 15.0 15.0 21.1 21.1 49.3 49.3 17.3 17.3 56.7 38.7 56.7 26.7 26.7 7.4 7.4 6.7 6.7 18.0 18.0 10.1 10.1 54.8 54.8 66.3 66.3 25.3 25.9 19.4 25.9 26.6 57.8 13.0 57.8 13.1 13.1 21.7 21.7 22.0 22.0 32.1 32.1 15.0 11.4 10.8 15.0 18.8 18.8 24.9 26.1 26.1 17.8 12.6 17.8 14.9 14.9


37

ตารางที่ 9 (ต่อ) ล�าดับ 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137

ชื่อวิทยาศาสตร์ Saraca declinata (Jack) Miq. Saraca indica L. Saraca thaipingensis cantley ex Prain. Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. Shorea roxburghii G.Don. Shorea siamensis Miq. Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. Spathodea campanulata P.Beauv. Swietenia macrophylla King. Syzgium javanicum Miq. Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan Syzygium cumini (L.) Skeels. Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. Tabebuia argentea Britton Tabebuia chrysantha Nichols. Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. Tamarindus indica L. Tectona grandis Linn.f. Terminalia catappa L. Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Vatica odorata (Griff.) Symington Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen รวม

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา 0.013 0.701 1.417 0.667 0.041 0.063 0.071 0.998 0.019 0.027 0.043 0.014 7.202 0.508 0.005 0.007 0.231 0.996 0.094 0.533 0.074 0.029 0.347 4.010 0.026 0.011 0.022 0.013 0.065 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007 0.175 0.011 0.187 0.013 0.026 26.701 24.516 42.855

รวม 0.013 2.784 0.041 0.134 1.017 0.027 0.043 0.014 7.202 0.508 0.005 0.007 0.231 0.996 0.094 0.533 0.074 0.029 4.357 0.026 0.011 0.101 0.015 0.023 0.022 0.005 0.007 0.175 0.011 0.187 0.013 0.026 94.073


40

ตารางที่ 10 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105

ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea ferrea Laness. Hopea odorata Roxb. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Mangifera indica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Melodorum fruticosum Lour. Mesua ferrea L. Michelia champaca L. Millettia brandisiana Kurz. Millettia leucantha Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Moringa oleifera Lam. Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Phyllanthus emblica L. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Pinus kesiya Royle ex Gordon Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Willd. Pterocarpus macrocarpus Kurz. Radermachera hainanensis Merr. Salix babylonica L. Samanea saman (Jacq.) Merr.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 11.5 11.5 15.3 15.3 74.3 13.4 74.3 15.9 15.9 12.8 44.0 9.2 44.0 23.7 23.7 15.4 46.5 46.5 20.8 25.6 17.5 25.6 18.4 18.4 21.3 21.3 3.7 3.7 13.3 13.3 15.0 15.0 13.2 13.2 9.5 9.5 13.8 5.9 13.8 12.9 12.9 22.9 36.7 20.8 36.7 19.5 19.5 59.0 26.4 24.8 59.0 20.8 22.8 22.1 22.8 23.0 23.0 10.8 10.8 6.8 6.8 30.4 30.4 19.6 19.6 17.5 17.5 36.6 36.6 12.3 12.3 20.5 20.4 20.5 36.8 37.7 37.7 38.52 38.52 14.8 16.0 16.0 9.9 9.9 3.8 51.4 51.4


39

ตารางที่ 10 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อวิทยาศาสตร์ ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด Cochlospermum religiosum (L.) Alston. 25.3 25.3 Conocarpus erectus L. 7.3 7.3 Cordia cochinchinensis Gagnep. 25.6 25.6 Cotylelobium lanceolatum Craib. 6.5 6.5 Couroupita guianensis Aubl. 46.8 29.1 10.1 46.8 Cratoxylun maingayi Dyer. 54.4 54.4 Cratoxylun sp. 14.8 14.8 Dalbergia cochinchinensis Pierre. 20.2 20.2 Debregeasia longifolia (Burm.f.) Wedd. 50.1 50.1 Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. 39.2 39.2 Dillenia indica L. 20.9 20.9 Diospyros dasyphylla Kkurz. 9.4 9.4 Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. 71.6 14.2 71.6 Diospyros mollis Griff. 16.7 16.7 Dipterocarpus alatus Roxb. 20.4 23.9 23.9 Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. 66.1 66.1 Dyera costulata (Miq.) Hook.f. 8.0 8.0 Erythrina crita-galli L. 21.1 21.1 Fagraea fragrans Roxb. 21.0 17.8 21.0 Ficus annulata Blume 42.2 42.2 Ficus Benjamina L. 13.7 13.7 Ficus elastica Roxb. 22.8 28.6 28.6 Ficus lacor Buch. 140.1 140.1 Ficus lyrata 15.4 15.4 Ficus racemosa L. 13.4 13.4 Ficus religiosa L. 8.5 37.4 37.4 Ficus sp.1 38.2 88.6 88.6 Ficus sp.2 11.4 11.4 Ficus sp.3 31.1 31.1 Flacourtia indica Merr. 10.6 10.6 Gardenia sootepensis Hutch. 17.9 17.9 Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. 11.0 11.0 Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. 52.0 52.0 Holoptelea integrifolia Planch. 20.3 20.3 Homalium tomentosum (Vent.) Benth. 17.3 17.3

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


42

ภาพที่ 8 การกระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยืนต้นที่ส�ารวจพบในกลุ่ม ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


41

ตารางที่ 10 (ต่อ) ล�าดับ 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137

ชื่อวิทยาศาสตร์ Saraca declinata (Jack) Miq. Saraca indica L. Saraca thaipingensis cantley ex Prain. Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. Shorea roxburghii G.Don. Shorea siamensis Miq. Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. Spathodea campanulata P.Beauv. Swietenia macrophylla King. Syzgium javanicum Miq. Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan Syzygium cumini (L.) Skeels. Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. Tabebuia argentea Britton Tabebuia chrysantha Nichols. Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. Tamarindus indica L. Tectona grandis Linn.f. Terminalia catappa L. Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Vatica odorata (Griff.) Symington Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen ค่าสูงสุด

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 9.6 9.6 25.6 21.2 31.4 31.4 14.0 14.0 20.1 30.1 30.1 81.2 81.2 15.6 18.5 18.5 23.5 23.5 13.4 13.4 46.9 46.9 21.6 21.6 5.5 5.5 9.2 9.2 39.3 39.3 62.4 62.4 34.5 34.5 17.3 17.3 19.7 19.7 19.2 19.2 66.4 44.6 66.4 18.2 18.2 12.1 12.1 19.3 16.9 13.1 19.3 13.6 13.6 8.0 8.0 12.3 12.3 8.0 8.0 9.5 9.5 47.3 47.3 8.8 8.8 21.96 21.96 9.9 9.9 18.2 18.2 81.2 57.8 140.1 140.1


44

ตารางที่ 11 ความสูงไม้ยืนต้นสูงสุด (เมตร) ในแต่ละชนิดแยกตาม ประเภทไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia catechu Willd. Acacia mangium Willd. Adenanthera pavonina L. Aegle marmelos Corr. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Albizia lebbeck (L.) Benth. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Alstonia scholaris (L.) R. Br. Amherstia nobilis Wall. Anneslea fragrans Wall. Artocarpus lakoocha Roxb. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Bauhinia purpurea L. Bombax ceiba L. Brownea ariza Benth Butea monosperma (Lam.) Taub. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Calliandra haematocephala Hassk. Callistemon lanceolatus DC. Calophyllum inophyllum L. Canarium album (Lour.) Raeusch. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Cassia javanica L. Casuarina junghuhniana Mig. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Cerbera odollam Gaertn. Chrysophyllum cainito L. Chukrasia tabularis A.Juss. Cinnamomum bejolghota Sweet. Citharexylum spinosum Linn.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 14.0 14.0 9.8 9.8 9.0 9.0 7.3 7.3 12.0 12.0 16.4 10.0 16.4 8.9 8.9 13.0 13.0 6.2 6.2 10.5 10.5 4.0 4.0 13.05 13.05 5.8 5.8 12.1 12.1 16.5 16.5 7.9 7.9 10.9 11.0 11.0 8.0 8.0 6.9 6.9 5.6 5.6 4.7 4.7 5.6 5.6 10.1 10.1 12.0 12.0 18.8 11.4 10.1 18.8 13.2 13.4 9.1 13.4 6.6 6.6 11.8 11.8 8.4 8.4 14.6 14.6 7.3 6.3 7.6 7.6 7.3 7.3 15.2 15.0 15.2 9.4 6.8 9.4 5.2 5.2


43

ไม้กลุ่มสี

ไม้ริมทางเดิน

ไม้ให้ร่มเงา

ภาพที่ 9 การกระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยืนต้นที่ส�ารวจพบในกลุ่ม ไม้กลุ่มสี (ภาพบน) กลุ่มไม้ริมทางเดิน (ภาพกลาง) และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา (ภาพล่าง) ในอุทยานหลวง ราชพฤกษ์ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


46

ตารางที่ 11 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105

ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea ferrea Laness. Hopea odorata Roxb. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Mangifera indica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Melodorum fruticosum Lour. Mesua ferrea L. Michelia champaca L. Millettia brandisiana Kurz. Millettia leucantha Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Moringa oleifera Lam. Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Phyllanthus emblica L. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Pinus kesiya Royle ex Gordon Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Willd. Pterocarpus macrocarpus Kurz. Radermachera hainanensis Merr. Salix babylonica L. Samanea saman (Jacq.) Merr.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 6.7 6.7 11.0 11.0 20.0 9.8 20.0 9.7 8.3 9.7 9.5 9.4 9.5 10.0 10.0 9.7 9.4 9.7 8.0 12.6 9.5 12.6 5.3 5.3 13.3 13.3 7.8 7.8 8.0 8.0 5.5 5.5 7.0 7.0 6.0 6.0 3.3 9.9 9.9 6.6 6.6 9.1 11.8 12.0 12.0 9.0 9.0 27.0 10.0 13.0 27.0 6.9 11.7 8.0 11.7 7.6 7.6 4.5 4.5 2.8 2.8 15.8 15.8 13.8 13.8 9.2 9.2 13.3 13.3 7.0 7.0 8.3 13.6 13.6 11.1 9.3 11.1 6.8 9.2 9.2 9.1 9.1 9.8 9.8 4.1 20.8 20.8


45

ตารางที่ 11 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อวิทยาศาสตร์ Cochlospermum religiosum (L.) Alston. Conocarpus erectus L. Cordia cochinchinensis Gagnep. Cotylelobium lanceolatum Craib. Couroupita guianensis Aubl. Cratoxylun maingayi Dyer. Cratoxylun sp. Dalbergia cochinchinensis Pierre. Debregeasia longifolia (Burm.f.) Wedd. Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. Dillenia indica L. Diospyros dasyphylla Kkurz. Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. Diospyros mollis Griff. Dipterocarpus alatus Roxb. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Dyera costulata (Miq.) Hook.f. Erythrina crita-galli L. Fagraea fragrans Roxb. Ficus annulata Blume Ficus Benjamina L. Ficus elastica Roxb. Ficus lacor Buch. Ficus lyrata Ficus racemosa L. Ficus religiosa L. Ficus sp.1 Ficus sp.2 Ficus sp.3 Flacourtia indica Merr. Gardenia sootepensis Hutch. Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. Holoptelea integrifolia Planch. Homalium tomentosum (Vent.) Benth.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด 10.0 10.0 6.8 6.8 13.2 13.2 5.3 5.3 16.7 9.2 3.3 16.7 6.7 6.7 8.3 8.3 13.0 13.0 8.1 8.1 11.5 11.5 6.9 6.9 6.4 6.4 12.0 7.6 12.0 14.0 14.0 12.2 16.7 16.7 16.8 16.8 5.3 5.3 8.6 8.6 5.9 9.0 9.0 13.1 13.1 9.0 9.0 10.6 16.3 16.3 19.0 19.0 13.5 13.5 6.7 6.7 16.7 12.0 16.7 15.0 17.5 17.5 7.0 7.0 13.0 13.0 6.3 6.3 11.0 11.0 7.6 7.6 10.3 10.3 11.0 11.0 14.6 14.6


48

ภาพที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) และความสูงทั้งหมด (เมตร) ของไม้ตัวแทนในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 1.0 เซนติเมตร และเส้นแนวโน้ม (a = 0.5513, h = 1.2584, H* = 27.2352, r2 = 0.7986889) จาก การประมาณโดยใช้สมการรูป Hyperbolic equation (H=1/[(1/aDh )+(1/H*)] ตามวิธีการของ Ogawa and Kira (1977)

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


47

ตารางที่ 11 (ต่อ) ล�าดับ 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137

ชื่อวิทยาศาสตร์ ไม้กลุ่มสี ริมทางเดิน ให้ร่มเงา ค่าสูงสุด Saraca declinata (Jack) Miq. 6.3 6.3 Saraca indica L. 9.5 9.2 8.0 9.5 5.0 Saraca thaipingensis cantley ex Prain. 5.0 Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. 12.8 16.2 16.2 12.2 Shorea roxburghii G.Don. 12.2 6.5 Shorea siamensis Miq. 7.8 7.8 Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. 8.8 8.8 Spathodea campanulata P.Beauv. 3.3 3.3 Swietenia macrophylla King. 18.9 18.9 8.8 Syzgium javanicum Miq. 8.8 Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland 5.3 5.3 Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan 8.6 8.6 Syzygium cumini (L.) Skeels. 11.5 11.5 Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. 15.6 15.6 10.2 Tabebuia argentea Britton 10.2 Tabebuia chrysantha Nichols. 8.4 8.4 Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. 8.5 8.5 Tamarindus indica L. 9.4 9.4 Tectona grandis Linn.f. 17.0 20.8 20.8 Terminalia catappa L. 8.0 8.0 Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. 7.6 7.6 Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. 10.7 9.5 10.7 10.1 unidentified 1 15.0 15.0 unidentified 2 7.2 7.2 unidentified 3 7.3 7.3 unidentified 4 5.0 5.0 unidentified 5 8.5 8.5 unidentified 6 9.8 9.8 unidentified 7 6.0 6.0 8.8 Vatica odorata (Griff.) Symington 8.8 Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 8.8 8.8 Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen 10.3 10.3 ค่าสูงสุด 27.0 14.6 20.8 27.0

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


50

ตารางที่ 12 ค่าความหนาแน่นเนื้อไม้ (wood dencity) ที่สุ่มเจาะจากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา จ�านวน 26 ชนิด 166 ตัวอย่าง ในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

ชื่อวิทยาศาสตร์ Albizia lebbeck (L.) Benth. Butea monosperma (Lam.) Taub. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Couroupita guianensis Aubl. Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. Dillenia indica L. Dipterocarpus alatus Roxb. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Ficus elastica Roxb. Ficus lacor Buch. Ficus sp.1 Ficus sp.3 Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Millettia brandisiana Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Polyalthia longifolia Pterocarpus macrocarpus Kurz. Samanea saman (Jacq.) Merr. Saraca indica L. Swietenia macrophylla King. Syzgium javanicum Miq. Tectona grandis Linn.f. Vatica odorata (Griff.) Symington เฉลี่ย

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

ความหนาแน่นเนื้อไม้ (กรัม ต่อ ลูกบาศก์เซนติเมตร) 0.760353 0.522701 0.636781 0.797279 0.456945 0.477210 0.466523 0.598314 0.512740 0.461258 0.378896 0.510358 0.465952 0.493764 0.862418 0.630957 0.764377 0.592713 0.512169 0.767679 0.578315 0.582721 0.562628 0.593074 0.599277 0.750005 0.570310


49

3.3 ความหนาแน่นเนื้อไม้ จากการศึกษาความหนาแน่นของเนื้อไม้พบว่า กระพี้จั่น (Millettia brandisiana Kurz.) มีค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้สูงสุด เท่ากับ 0.86242 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ตารางที่ 12) รองลงมา คือ ราชพฤกษ์ (Cassia fistula L.) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus Kurz.) พิกุล (Mimusops elengi Linn.) และ พฤกษ์ (Albizia lebbeck (L.) Benth.) มีค่าความหนาแน่นของ เนื้อไม้เท่ากับ 0.79728, 0.76768, 0.76438 และ 0.76035 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล�าดับ โดยในการส�ารวจครั้งนี้พบว่า ผักเฮือด (Ficus lacor Buch.) มีค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้ต�่าสุด เท่ากับ 0.37890 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และจากจ�านวนตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยในระดับชนิด เท่ากับ 0.570310 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ในด้านความผันแปรของความหนาแน่นของเนื้อไม้ในระดับชนิด พบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง 0.37890 - 0.86242 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ภาพที่ 11) โดยจ�านวนตัวอย่างมีค่าอยู่ระหว่าง 0.5 – 0.55 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร พบจ�านวนมากที่สุด 34 ตัวอย่าง ใน 4 ชนิดพันธุ์ ได้แก่ ทองกวาว (Butea monosperma (Lam.) Taub.) แคนา (Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem.) อโศกอินเดีย (Polyalthia longifolia) และ Ficus sp.1

ภาพที่ 11 การกระจายของค่าความหนาแน่นเนื้อไม้ตัวอย่าง (26 ชนิด 166 ตัวอย่าง)

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


52

การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้นในบริเวณ ไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และ ไม้ให้ร่มเงาภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ และจ�าแนกรายงานไว้ในตารางที่ 19, 20, 22 และ 22 ตามล�าดับ โดยในภาพรวมพบว่า ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสม ในมวลชีวภาพ เท่ากับ 385270.148 และ 181076.970 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้นขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 15.0-20.0 เซนติเมตร (640 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพเหนือ พื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 65233.385 และ 30659.691 กิโลกรัม ตามล�าดับ ดังภาพที่ 12 และ 13 ตามล�าดับ เมื่อพิจารณาในส่วนของกลุ่มไม้กลุ่มสี (1439 ต้น) พบว่า ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ เท่ากับ 117666.2 และ 55303.12 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 15.0-20.0 เซนติเมตร (191 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 21459.94 และ 10086.17 กิโลกรัม ตามล�าดับ ดังภาพที่ 14 และ 15 ตามล�าดับ ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ ของกลุ่ม ไม้ริมทางเดิน (1756 ต้น) มีค่าเท่ากับ 96658.134 และ 45429.323 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 10.0-15.0 เซนติเมตร (615 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพืน้ ดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 27600.849 และ 12972.3989 กิโลกรัม ตามล�าดับ ดังภาพที่ 16 และ 17 ตามล�าดับ ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ ของกลุ่มไม้ ให้ร่มเงา (909 ต้น) มีค่าเท่ากับ 170945.813 และ 80344.532 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้นขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 20.0-25.0 เซนติเมตร (116 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพืน้ ดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 22593.437 และ 10618.916 กิโลกรัม ตามล�าดับ ดังภาพที่ 18 และ 19 ตามล�าดับ

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


51

3.4 มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ จากการศึกษาของคณะวนศาสตร์ (2551) พบว่าปริมาณคาร์บอนในส่วน ล�าต้น กิ่งและใบ ของพรรณไม้ ป ่ า ชายเลนในจั ง หวั ด ชุ ม พรจ� า นวน 11 ชนิ ด พบว่ า ปริ ม าณคาร์ บ อน ในส่ ว น เหนือพื้นดิน (ล�าต้น กิ่งและใบ) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 47.98, 47.68 และ 43.33 โดย น�้าหนักแห้ง ตามล�าดับ ซึ่งสอดคล้องกับการรวบรวมของ สาพิศ (2550) พบว่า พรรณไม้ในป่าธรรมชาติและ สวนป่าชนิดต่างๆ ของประเทศไทยมีปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพโดยเฉลี่ยระหว่างร้อยละ 44-55 ของน�้าหนักแห้ง อย่างไรก็ตามปริมาณคาร์บอนในส่วนเหนือพื้นดิน ที่ศึกษาในครั้งนี้ ยึดตาม การศึกษาของ IPCC (2006) โดยก�าหนดให้การประเมินการกักเก็บคาร์บอนมีค่าเท่ากับร้อยละ 47 ของมวลชีวภาพ ส�าหรับมวลชีวภาพของไม้แต่ละชนิด และพื้นที่นั้นจะมีความผันแปรแตกต่างกัน ซึ่ง ชิงชัย (2550) พบว่ามวลชีวภาพของไม้มคี วามแตกต่างกันตามพืน้ ทีป่ ลูกและปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลโดยตรง ต่อมวลชีวภาพ คือ ปริมาณน�้าฝนรายปี โดยที่มวลชีวภาพจะเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่มีปริมาณน�้าฝนมาก ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าในระดับชนิดพันธุ์ (Species) ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ พบว่า ผักเฮือด (Ficus lacor Buch.) มีผลรวมสูงสุด เท่ากับ 71006.662 และ 33373.131 กิโลกรัม (ตารางที่ 13) ตามล�าดับ รองลงมาคือ มะฮอกกานี (Swietenia macrophylla King.) ราชพฤกษ์ (Cassia fistula L.) สัก (Tectona grandis Linn.f.) และ กาสะลอง (Millingtania hortensis L.f) มี ผ ลรวมปริ ม าณมวลชี ว ภาพเหนื อ พื้ น ดิ น เท่ากับ48570.645, 35962.711, 28597.773 และ 20881.881 กิโลกรัม ตามล�าดับ และ ปริมาณ คาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ เท่ากับ 22828.203, 16902.474, 13440.953 และ 9814.484 กิโลกรัม ตามล�าดับ เมื่อพิจารณาแยกในระดับสกุล (Genus) ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณ คาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ พบว่า สกุล Ficus มีผลรวมสูงสุด เท่ากับ 81812.827 และ 38452.029 กิโลกรัม ตามล�าดับ รองลงมา คือ Cassia, Swietenia, Tectona และ Pterocarpus มีผลรวมปริมาณ มวลชีวภาพเหนือพื้นดินเท่ากับ 59171.502, 35962.711, 28597.773 และ 19226.162. กิโลกรัม ตามล�าดับ และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ เท่ากับ 27810.606, 16902.474, 13440.953 และ 9036.296 กิโลกรัม ตามล�าดับ ในขณะที่ พิจารณาแยกในระดับวงศ์ (Family) ปริมาณ มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ พบว่า วงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae เท่ากับ และ83347.615 และ 39173.379 กิโลกรัม ตามล�าดับ รองลงมา คือ Moraceae, Bignoniacea, Meliaceae และ Lamiaceae มีผลรวมปริมาณมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดินเท่ากับ 81931.072, 42794.793, 37348.760 และ 28597.773 กิโลกรัม ตามล�าดับ และ ปริมาณคาร์บอน สะสมในมวลชีวภาพ เท่ากับ 38507.604, 20113.553, 17553.917 และ 13440.953 กิโลกรัม ตามล�าดับ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


54

ตารางที่ 13 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อวิทยาศาสตร์ Cochlospermum religiosum (L.) Alston. Conocarpus erectus L. Cordia cochinchinensis Gagnep. Cotylelobium lanceolatum Craib. Couroupita guianensis Aubl. Cratoxylun maingayi Dyer. Cratoxylun sp. Dalbergia cochinchinensis Pierre. Debregeasia longifolia (Burm.f.) Wedd. Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. Dillenia indica L. Diospyros dasyphylla Kkurz. Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. Diospyros mollis Griff. Dipterocarpus alatus Roxb. Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. Dyera costulata (Miq.) Hook.f. Erythrina crita-galli L. Fagraea fragrans Roxb. Ficus annulata Blume Ficus Benjamina L. Ficus elastica Roxb. Ficus lacor Buch. Ficus lyrata Ficus racemosa L. Ficus religiosa L. Ficus sp.1 Ficus sp.2 Ficus sp.3 Flacourtia indica Merr. Gardenia sootepensis Hutch. Gliricidia sepium (Jacq.) Steud. Holarrhena pubescens (Buch. - Ham.) wall. ex G. Don. Holoptelea integrifolia Planch. Homalium tomentosum (Vent.) Benth.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 1 10 1 1 37 77 14 1 1 52 68 1 5 1 57 50 7 7 89 9 6 8 50 7 3 8 10 1 10 2 101 3 5 1 1

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 205.830 83.771 269.725 9.585 10559.825 1494.497 365.943 173.018 591.728 6382.389 1793.305 22.193 1797.862 130.228 2228.225 14882.619 52.740 376.812 1632.194 1828.407 156.114 889.484 71006.662 313.153 52.357 998.223 5025.700 27.292 1515.435 33.418 1810.806 79.900 1003.192 150.186 144.944

คาร์บอน (กิโลกรัม) 96.740 39.373 126.771 4.505 4963.118 702.414 171.993 81.318 278.112 2999.723 842.853 10.431 844.995 61.207 1047.266 6994.831 24.788 177.102 767.131 859.351 73.373 418.058 33373.131 147.182 24.608 469.165 2362.079 12.827 712.254 15.706 851.079 37.553 471.500 70.588 68.124


53

ตารางที่ 13 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ (กิโลกรัม) จากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia catechu Willd. Acacia mangium Willd. Adenanthera pavonina L. Aegle marmelos Corr. Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib. Albizia lebbeck (L.) Benth. Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don Alstonia scholaris (L.) R. Br. Amherstia nobilis Wall. Anneslea fragrans Wall. Artocarpus lakoocha Roxb. Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton. Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. Bauhinia purpurea L. Bombax ceiba L. Brownea ariza Benth Butea monosperma (Lam.) Taub. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M.Schot. Calliandra haematocephala Hassk. Callistemon lanceolatus DC. Calophyllum inophyllum L. Canarium album (Lour.) Raeusch. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Cassia bakeriana Craib. Cassia fistula L. Cassia javanica L. Casuarina junghuhniana Mig. Catunaregam uliginosa (Retz.) Sivar. Ceiba pentandra (L.) Gaertn. Cerbera odollam Gaertn. Chrysophyllum cainito L. Chukrasia tabularis A.Juss. Cinnamomum bejolghota Sweet. Citharexylum spinosum Linn.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 2 1 1 2 1 3 1 118 3 3 1 8 9 7 1 30 63 1 12 1 1 2 2 2 96 701 75 29 1 1 24 4 3 6 1

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 696.834 73.990 74.837 57.291 177.393 2471.103 92.729 9973.909 116.965 111.064 118.246 586.251 146.220 763.094 1103.926 688.801 3027.008 184.353 89.635 10.536 55.009 44.678 1247.563 2038.399 9214.040 48570.645 1386.816 2961.222 135.036 450.299 532.845 157.662 799.798 239.167 42.735

คาร์บอน (กิโลกรัม) 327.512 34.775 35.173 26.927 83.375 1161.418 43.583 4687.737 54.974 52.200 55.575 275.538 68.723 358.654 518.845 323.737 1422.694 86.646 42.128 4.952 25.854 20.999 586.354 958.047 4330.599 22828.203 651.803 1391.774 63.467 211.640 250.437 74.101 375.905 112.409 20.086


56

ตารางที่ 13 (ต่อ) ล�าดับ 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137

จ�านวน (ต้น) Saraca declinata (Jack) Miq. 4 Saraca indica L. 266 3 Saraca thaipingensis cantley ex Prain. Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby. 5 Shorea roxburghii G.Don. 4 Shorea siamensis Miq. 1 Sindora siamensis Teijsm. ex Miq. 1 Spathodea campanulata P.Beauv. 1 Swietenia macrophylla King. 163 Syzgium javanicum Miq. 21 Syzygium australe (J.C.Wendl. ex Link) B.Hyland 3 1 Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan Syzygium cumini (L.) Skeels. 3 Syzygium gratum (Wight)S.N. Mitra. 11 Tabebuia argentea Britton 1 Tabebuia chrysantha Nichols. 155 4 Tabebuia chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. Tamarindus indica L. 1 Tectona grandis Linn.f. 96 Terminalia catappa L. 1 Thespesia populnea (L.) Sol. ex Correa. 1 Triplaris cummingiana Fisch. & C.A.Mey. ex C.A.Mey. 6 unidentified 1 1 unidentified 2 5 unidentified 3 2 unidentified 4 1 unidentified 5 1 unidentified 6 1 unidentified 7 4 Vatica odorata (Griff.) Symington 6 Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 2 Xylia xylocarpa (Roxb.)Taub. var. Kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen 1 4104 รวม ชื่อวิทยาศาสตร์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 44.807 9384.295 102.018 749.383 3334.942 91.790 159.390 23.311 35962.711 1743.086 15.877 28.194 848.290 3484.715 369.677 1826.203 280.580 116.940 28597.773 91.583 41.307 430.680 95.341 85.010 69.179 13.071 29.680 633.290 35.788 908.384 55.998 115.068 385270.151

คาร์บอน (กิโลกรัม) 21.059 4410.619 47.948 352.210 1567.423 43.141 74.914 10.956 16902.474 819.250 7.462 13.251 398.696 1637.816 173.748 858.315 131.873 54.962 13440.953 43.044 19.414 202.419 44.810 39.955 32.514 6.144 13.950 297.646 16.820 426.941 26.319 54.082 181076.971


55

ตารางที่ 13 (ต่อ) ล�าดับ

ชื่อวิทยาศาสตร์

71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105

Hopea ferrea Laness. Hopea odorata Roxb. Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. Lagerstroemia floribunda Jack. Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn. Lagerstroemia macrocarpa Wall. Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit. Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Robinson Mangifera indica L. Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Mansonia gagei J.R.Drumm. ex Prain. Melodorum fruticosum Lour. Mesua ferrea L. Michelia champaca L. Millettia brandisiana Kurz. Millettia leucantha Kurz. Millingtania hortensis L.f Mimusops elengi Linn. Moringa oleifera Lam. Neobalanocarpus heimii (King) Ashton. Ochna integerrima (Lour.) Merr. Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz. Peltophorum pterocarpum (DC.) Back. ex Heyne. Phyllanthus emblica L. Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith Pinus kesiya Royle ex Gordon Polyalthia longifolia Pterocarpus indicus Willd. Pterocarpus macrocarpus Kurz. Radermachera hainanensis Merr. Salix babylonica L. Samanea saman (Jacq.) Merr.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 1 5 3 310 4 1 38 61 1 1 1 7 5 3 2 40 19 21 2 193 293 4 1 3 1 1 1 202 2 78 27 62 3 4 7

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 33.332 293.221 2909.648 4336.951 840.522 160.162 1679.019 3185.441 63.819 194.675 4.736 205.096 92.335 53.271 31.822 1035.428 347.008 3809.719 244.765 20881.881 9832.294 244.994 20.735 13.538 436.891 172.340 96.875 4881.408 72.401 1850.126 4918.496 14307.667 129.752 93.582 1499.982

คาร์บอน (กิโลกรัม) 15.666 137.814 1367.535 2038.367 395.045 75.276 789.139 1497.157 29.995 91.497 2.226 96.395 43.397 25.038 14.957 486.651 163.094 1790.568 115.039 9814.484 4621.178 115.147 9.745 6.363 205.339 81.000 45.531 2294.262 34.029 869.559 2311.693 6724.603 60.983 43.984 704.991


58

ตารางที่ 14 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

ชื่อสกุล Couroupita Cratoxylun Dalbergia Debregeasia Delonix Dillenia Diospyros Dipterocarpus Dolichandrone Dyera Erythrina Fagraea Ficus Flacourtia Gardenia Gliricidia Holarrhena Holoptelea Homalium Hopea Irvingia Jacaranda Lagerstroemia Lannea Leucaena Litsea Mangifera Manilkara Mansonia Melodorum Mesua Michelia Millettia Millingtania Mimusops

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 37 91 1 1 52 68 7 57 50 7 7 89 112 2 101 3 5 1 1 6 3 310 104 1 1 1 7 5 3 2 40 19 23 191 293

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 10559.825 1860.440 173.018 591.728 6382.389 1793.305 1950.283 2228.225 14882.619 52.740 376.812 1632.194 81812.827 33.418 1810.806 79.900 1003.192 150.186 144.944 326.554 2909.648 4336.951 5865.145 63.819 194.675 4.736 205.096 92.335 53.271 31.822 1035.428 347.008 4054.484 17034.048 9832.294

คาร์บอน (กิโลกรัม) 4963.118 874.407 81.318 278.112 2999.723 842.853 916.633 1047.266 6994.831 24.788 177.102 767.131 38452.029 15.706 851.079 37.553 471.500 70.588 68.124 153.480 1367.535 2038.367 2756.618 29.995 91.497 2.226 96.395 43.397 25.038 14.957 486.651 163.094 1905.607 8006.003 4621.178


57

ตารางที่ 14 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ (กิโลกรัม) จ�าแนกรายสกุล (genus) จากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อสกุล Acacia Adenanthera Aegle Afzelia Albizia Alstonia Amherstia Anneslea Artocarpus Azadirachta Barringtonia Bauhinia Bombax Brownea Butea Callerya Calliandra Callistemon Calophyllum Canarium Carallia Careya Cassia Casuarina Catunaregam Ceiba Cerbera Chrysophyllum Chukrasia Cinnamomum Citharexylum Cochlospermum Conocarpus Cordia Cotylelobium

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 3 1 2 1 3 119 3 3 1 8 9 7 1 30 63 1 12 1 1 2 2 2 872 29 1 1 24 4 3 6 1 1 10 1 1

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 770.824 74.837 57.291 177.393 2471.103 10066.637 116.965 111.064 118.246 586.251 146.220 763.094 1103.926 688.801 3027.008 184.353 89.635 10.536 55.009 44.678 1247.563 2038.399 59171.502 2961.222 135.036 450.299 532.845 157.662 799.798 239.167 42.735 205.830 83.771 269.725 9.585

คาร์บอน (กิโลกรัม) 362.287 35.173 26.927 83.375 1161.418 4731.320 54.974 52.200 55.575 275.538 68.723 358.654 518.845 323.737 1422.694 86.646 42.128 4.952 25.854 20.999 586.354 958.047 27810.606 1391.774 63.467 211.640 250.437 74.101 375.905 112.409 20.086 96.740 39.373 126.771 4.505


60

ตารางที่ 15 มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ (กิโลกรัม) จ�าแนกรายวงศ์ (family) จากกลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา ภายใน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ล�าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ชื่อสกุล Anacardiaceae Annonaceae Apocynaceae Bignoniaceae Bixaceae Boraginaceae Burseraceae Calophyllaceae Casuarinaceae Combretaceae Dilleniaceae Dipterocarpaceae Ebenaceae Fabaceae - Mimosoideae Fabaceae - Papilionoideae Fabaceae – Caesalpinioideae Gentianaceae Guttiferae Irvingiaceae Lamiaceae Lauraceae Lecythidaceae Lythraceae Magnoliaceae Malvaceae Meliaceae Moraceae Moringaceae Myrtaceae Myrtaceae Ochnaceae Phyllanthaceae Pinaceae Polygonaceae Rhizophoraceae

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 7 80 157 718 1 1 2 1 29 11 68 76 7 1449 28 187 89 131 3 96 7 48 104 19 6 174 113 4 39 1 3 1 2 6 2

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 205.096 1881.948 11711.413 42794.793 205.830 269.725 44.678 55.009 2961.222 175.355 1793.305 6920.215 1950.283 5216.122 27121.737 83347.615 1632.195 2895.868 2909.648 28597.773 243.903 12744.443 5865.145 347.008 1648.803 37348.760 81931.072 244.994 6120.161 10.536 13.538 96.875 72.401 430.680 1247.563

คาร์บอน (กิโลกรัม) 96.395 884.516 5504.364 20113.553 96.740 126.771 20.999 25.854 1391.774 82.417 842.853 3252.501 916.633 2451.577 12747.217 39173.379 767.131 1361.058 1367.535 13440.953 114.634 5989.888 2756.618 163.094 774.937 17553.917 38507.604 115.147 2876.476 4.952 6.363 45.531 34.029 202.419 586.354


59

ตารางที่ 14 (ต่อ) ล�าดับ 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106

ชื่อสกุล Moringa Neobalanocarpus Ochna Peltophorum Phyllanthus Phyllocarpus Pinus Polyalthia Pterocarpus Radermachera Salix Samanea Saraca Senna Shorea Sindora Spathodea Swietenia Syzgium Syzygium Tabebuia Tamarindus Tectona Terminalia Thespesia Triplaris unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Vatica Wrightia Xylia

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 4 1 3 2 1 204 2 78 89 3 4 7 273 5 5 1 1 163 21 18 160 1 96 1 1 6 1 5 2 1 1 1 4 6 2 1 4104

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 244.994 20.735 13.538 609.231 96.875 8729.241 72.401 1850.126 19226.162 129.752 93.582 1499.982 9531.120 749.383 3426.732 159.390 23.311 35962.711 1743.086 4377.076 2476.459 116.940 28597.773 91.583 41.307 430.680 95.341 85.010 69.179 13.071 29.680 633.290 35.788 908.384 55.998 115.068 385270.151

คาร์บอน (กิโลกรัม) 115.147 9.745 6.363 286.338 45.531 4102.743 34.029 869.559 9036.296 60.983 43.984 704.991 4479.626 352.210 1610.564 74.914 10.956 16902.474 819.250 2057.226 1163.936 54.962 13440.953 43.044 19.414 202.419 44.810 39.955 32.514 6.144 13.950 297.646 16.820 426.941 26.319 54.082 181076.971


62

ตารางที่ 16 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้นในบริเวณ ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ ให้ร่มเงา และ ไม้ริมทางเดิน อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก 0 5 5 10 10 15 15 20 20 25 25 30 30 35 35 40 40 45 45 50 50 55 55 60 60 65 65 70 75 70 80 75 85 80 85 90 90 95 95 100 100 105 105 110 110 115 115 120 120 125 125 130 130 135 135 140 140 145 145 150

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวนต้น 428 1336 1110 640 276 134 56 38 9 12 9 7 10 10 6 5 5 5 4 1 1 1 1 4104

มวลชีวภาพ 1493.354 22957.789 52571.980 65233.385 49943.295 38252.744 20725.400 18920.024 5730.625 11720.652 7247.863 8617.808 11151.898 11794.508 8762.140 8007.241 8520.577 9634.369 8728.605 1824.958 3380.840 4208.825 5841.268 385270.148

การกักเก็บคาร์บอน 701.876 10790.161 24708.831 30659.691 23473.349 17978.790 9740.938 8892.411 2693.394 5508.706 3406.496 4050.370 5241.392 5543.419 4118.206 3763.403 4004.671 4528.153 4102.444 857.730 1588.995 1978.148 2745.396 181076.970


61

ตารางที่ 15 (ต่อ) ล�าดับ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

ชื่อสกุล Rubiaceae Rutaceae Salicaceae Sapotaceae Theaceae Ulmaceae unidentified 1 unidentified 2 unidentified 3 unidentified 4 unidentified 5 unidentified 6 unidentified 7 Urticaceae Verbenaceae

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวน (ต้น) 102 2 7 302 3 1 1 5 2 1 1 1 4 1 1 4104

มวลชีวภาพ (กิโลกรัม) 1945.841 57.291 271.944 10082.290 111.064 150.186 95.341 85.010 69.179 13.071 29.680 633.290 35.788 591.728 42.735 385270.151

คาร์บอน (กิโลกรัม) 914.545 26.927 127.814 4738.676 52.200 70.588 44.810 39.955 32.514 6.144 13.950 297.646 16.820 278.112 20.086 181076.971


64

ตารางที่ 17 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้กลุ่มสี บริเวณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก 0 5 5 10 10 15 15 20 20 25 25 30 30 35 35 40 40 45 45 50 50 55 55 60 60 65 65 70 75 70 80 75 85 80 85 90 90 95 95 100 100 105 105 110 110 115 115 120 120 125 125 130 130 135 135 140 140 145 145 150

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวนต้น 211 527 339 191 74 38 12 15 6 8 5 4 2 4 2 1 1439

มวลชีวภาพ 698.5097 8753.654 17703.23 21459.94 12202.49 9820.395 4059.845 6491.816 3781.857 8643.245 4029.25 5591.152 2612.817 5722.927 4231.121 1863.952 117666.2

การกักเก็บคาร์บอน 328.2996 4114.217 8320.519 10086.17 5735.169 4615.585 1908.127 3051.154 1777.473 4062.325 1893.747 2627.841 1228.024 2689.776 1988.627 876.0573 55303.12


63

ภาพที่ 12 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้นในบริเวณไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา

ภาพที่ 13 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้นในบริเวณไม้กลุ่มสี ไม้ริมทางเดิน และไม้ให้ร่มเงา

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


66

ตารางที่ 18 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน บริเวณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก 0 5 5 10 10 15 15 20 20 25 25 30 30 35 35 40 40 45 45 50 50 55 55 60 65 60 65 70 75 70 75 80 80 85 85 90 90 95 95 100 100 105 105 110 110 115 115 120 120 125 125 130 130 135 135 140 140 145 150 145

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวนต้น 122 596 615 287 86 27 12 8 1 1 1 1756

มวลชีวภาพ 438.900 10754.603 27600.849 25409.883 15147.370 7125.643 3629.529 4035.610 517.825 410.178 1587.745 96658.134

การกักเก็บคาร์บอน 206.283094 5054.66355 12972.3989 11942.6451 7119.26385 3349.05226 1705.87844 1896.73684 243.377562 192.783472 746.239915 45429.323


65

ภาพที่ 14 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้กลุ่มสี บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

ภาพที่ 15 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้กลุ่มสี บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


68

ตารางที่ 19 การกระจายของมวลชีวภาพเหนือ้ พืน้ ดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ให้ร่มเงา บริเวณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก 0 5 5 10 10 15 15 20 20 25 25 30 30 35 35 40 40 45 45 50 50 55 55 60 60 65 70 65 70 75 80 75 80 85 85 90 90 95 95 100 100 105 105 110 110 115 120 115 120 125 125 130 130 135 135 140 140 145 145 150

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

จ�านวนต้น 95 213 156 162 116 69 32 15 3 3 3 2 8 6 4 5 4 5 4 1 1 1 1 909

มวลชีวภาพ 355.944 3449.532 7267.899 18363.558 22593.437 21306.707 13036.027 8392.598 1948.769 2559.582 2808.436 1438.912 8539.081 6071.581 4531.019 8007.241 6656.625 9634.369 8728.605 1824.958 3380.840 4208.825 5841.268 170945.813

การกักเก็บคาร์บอน 167.294 1621.280 3415.912 8630.872 10618.916 10014.152 6126.933 3944.521 915.921 1203.004 1319.965 676.289 4013.368 2853.643 2129.579 3763.403 3128.614 4528.153 4102.444 857.730 1588.995 1978.148 2745.396 80344.532


67

ภาพที่ 16 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

ภาพที่ 17 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


70

สรุปผลและข้อเสนอแนะ 4.1 จ�านวนชนิด สกุล วงศ์ และพื้นที่หน้าตัด จ�านวนชนิด สกุล วงศ์ของไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา พบจ�านวน ทั้งสิ้น 137 ชนิด 106 สกุล 50 วงศ์ 4,104 ต้น โดยในจ�านวนดังกล่าวพบจ�านวนต้นไม้มากที่สุดใน บริเวณเวทีวฒ ั นธรรม จ�านวน 514 ต้น รองลงมา คือ บริเวณถนนทางเข้าหลัก จ�านวน 390 ต้น บริเวณ สวนสวัสดี พบจ�านวนต้นไม้น้อยที่สุด จ�านวน 11 ต้น ชนิดพรรณไม้ในวงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae มีจา� นวนชนิดมากทีส่ ดุ มีจา� นวนทัง้ สิน้ 17 ชนิด ได้แก่ กัลปพฤกษ์ ขีเ้ หล็ก ชงโค ชัยพฤกษ์ นนทรี นนทรี ป ่ า ประดู ่ แ ดง มะขาม มะค่ า แต้ มะค่ า โมง ราชพฤกษ์ โศกเหลื อ ง โสกเขา โสกระย้า หางนกยูงฝรั่ง อโศกน�้า อโศกพวง แยกเป็น ไม้กลุ่มสี พบ 1,439 ต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน พบ 1,756 ต้น และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา พบ 909 ต้น จ�านวนไม้ยืนต้นแยกในแต่ละวงศ์ พบว่า วงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae มีจ�านวนต้นสูงสุด เท่ากับ 1,449 ต้น และ กระจายตัวอยู่ในกลุ่ม ไม้กลุ่มสี จ�านวน 628 ต้น กลุ่มไม้ริมทางเดิน จ�านวน 744 ต้น และอยู่ในกลุ่มไม้ให้ร่มเงาจ�านวน 77 ต้น ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัด (ตารางเมตร) แยกในแต่ละวงศ์ (family) พบว่าขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดสูงสุด อยู่ในวงศ์ Moraceae มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 24.807 ตารางเมตร ขนาดพื้นที่หน้าตัดรวมทุกชนิด เท่ากับ 94.073 ตารางเมตร ในรายชนิด (species) พบว่า Ficus lacor Buch. ขนาดพื้นที่หน้าตัด รวมสูงสุดเท่ากับ 22.017 ตารางเมตร รองลงมาคือ Cassia fistula L. . ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดรวมเท่ากับ 8.484 ตารางเมตร 4.2 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก การกระจายตามชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก และ ความสูง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด (เซนติเมตร) แยกในแต่ละชนิดตามประเภท ไม้กลุม่ สี ไม้รมิ ทางเดิน และไม้ให้รม่ เงา พบว่าประเภทไม้กลุม่ สี Shorea roxburghii G.Don. มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 81.2 เซนติเมตร ต้นไม้ริมทางเดิน พบ Cassia fistula L. มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 57.8 เซนติเมตร และ ในกลุ่มของไม้ให้ร่มเงา พบ Ficus lacor Buch. มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกสูงสุด เท่ากับ 140.1 เซนติเมตร ทั้งนี้การ กระจายของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (dbh) ของไม้ยนื ต้น พบว่าชัน้ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก 5.0-10.0 เซนติเมตร พบจ�านวนต้นสูงสุด (1,336 ต้น หรือ คิดเป็นร้อยละ 32.55) ในด้านความสูงไม้ยืนต้นสูงสุด (เมตร) พบว่า ไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ ให้ร่มเงา มีความสูงสูงสุดเท่ากับ 27 เมตร (กาสะลอง), 13.4 เมตร (ราชพฤกษ์) และ 20.8 เมตร กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


69

ภาพที่ 18 การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ให้ร่มเงา บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

ภาพที่ 19 การกระจายของการกักเก็บคาร์บอน (ตัน) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น กลุ่มไม้ให้ร่มเงา บริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


72

ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ ของไม้กลุ่มริมทางเดิน (1756 ต้น) มีค่าเท่ากับ 96658.134 และ 45429.323 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้นขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 10.0-15.0 เซนติเมตร (615 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 27600.849 และ 12972.3989 กิโลกรัม ตามล�าดับ ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ ของไม้กลุ่ม ให้ร่มเงา (909 ต้น) มีค่าเท่ากับ 170945.813 และ 80344.532 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้นขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 20.0-25.0 เซนติเมตร (116 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพืน้ ดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 22593.437 และ 10618.916 กิโลกรัม ตามล�าดับ 4.5 ข้อเสนอแนะ การส�ารวจพรรณไม้ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ภายใต้โครงการพัฒนาฐานข้อมูล พรรณไม้ ยื น ต้ น เชิ ง พื้ น ที่ ซึ่ ง เป็ น การด� า เนิ น เพี ย งแค่ ต รวจสอบชนิ ด และจ� า นวน แยกตาม การใช้ประโยชน์ของทางอุทยานฯ คือ กลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และกลุ่มไม้ให้ร่มเงา และ น�าข้อมูลที่ได้ มาศึกษาลักษณะเชิงปริมาณด้านขนาด ปริมาณมวลชีวภาพ และการกักเก็บคาร์บอน โดยในการนี้ ก ารประมาณค่ า มวลชี ว ภาพ ได้ ใช้ ส มการที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานาชาติ แต่อย่างไรก็ดี ทางคณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะหรือข้อค�านึงดังนี้ - ควรที่จะต้องมีการติดตามการเติบโตของต้นไม้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ควรที่จะหลีกเลี่ยง การสูญหาย แผ่นป้ายระบุหมายเลขประจ�าต้น เพื่อถูกต้องการด�าเนินงานในรอบต่อๆ ไป - ความสูงของต้นไม้ ถือได้ว่าเป็นข้อมูลส�าคัญ ที่จะน�ามาใช้ในการประมาณมวลชีวภาพ ซึ่งจาการส�ารวจในครั้งนี้พบว่ามีไม้หลายชนิด จ�านวนมาก ได้รับการตัดแต่ง เพื่อให้ได้รูปทรงที่ เหมาะสมกับลักษณะทางภูมิทัศน์ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงในการวิเคราะห์มวลชีวภาพ ทั้งในส่วน ล�าต้น กิ่ง และใบ ดังนั้นค่ามวลชีวภาพที่ได้ในการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นข้อมูลที่อ้างอิงจากต้นไม้ที่เติบโต ตามสภาพธรรมชาติ ดังนั้นหากต้องการความถูกต้องให้มากขึ้น ควรศึกษาถึงปริมาณมวลชีวภาพที่ ได้รับการตัดแต่งออกจากพื้นที่ - ในส่วนของข้อมูลความหนาแน่นของเนือ้ ไม้ ซึง่ การศึกษาในครัง้ นีไ้ ด้ศกึ ษาได้เพียง 26 ชนิด เนือ่ งจากมีขอ้ จ�ากัดของขนาดความโตของต้นไม้ภายในอุทยาน ดังนัน้ การวิเคราะห์ปริมาณมวลชีวภาพ จึงจ�าเป็นทีจ่ ะต้องใช้คา่ เฉลีย่ รวมมาท�าการวิเคราะห์แทนชนิดพันธุไ์ ม้อนื่ ซึง่ อาจส่งผลต่อความถูกต้อง ในการประมาณการมวลชีวภาพโดยรวม - เพื่อให้การศึกษาและพัฒนาฐานข้อมูลพรรณไม้ยืนต้นเชิงพื้นที่ ที่สามารถใช้งานได้เกิด ประโยชน์สูงสุดและ สามารถน�ามาใช้ในการวางแผนการจัดการต้นไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


71

(จามจุรี และ สัก) ตามล�าดับ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) และ ความสูงทั้งหมด (เมตร) ของไม้ตัวแทนในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ พบค่าสูงสุดของต้นไม้ที่จะเกิดขึ้น ได้ในพื้นที่นี้ (H*) มีค่าเท่ากับ 27.23 เมตร 4.3 ความหนาแน่นเนื้อไม้ กระพี้จั่น (Millettia brandisiana Kurz. ) มีค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้สูงสุด เท่ากับ 0.86242 กรัมต่อลูกบาศ์เซนติเมตร รองลงมา คือ ราชพฤกษ์ (Cassia fistula L.) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus Kurz.) พิกุล (Mimusops elengi Linn.) และ พฤกษ์ (Albizia lebbeck (L.) Benth.) มีค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้เท่ากับ 0.79728, 0.76768, 0.76438 และ 0.76035 กรัม ต่อลูกบาศ์เซนติเมตร ตามล�าดับ โดยในการส�ารวจครั้งนี้พบว่า ผักเฮือด (Ficus lacor Buch.) มีค่า ความหนาแน่นของเนือ้ ไม้ตา�่ สุด เท่ากับ 0.37890 กรัมต่อลูกบาศ์เซนติเมตร และจากจ�านวนตัวอย่าง ทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยในระดับชนิด เท่ากับ 0.570310 กรัมต่อลูกบาศ์เซนติเมตร ในด้านความผันแปรของความหนาแน่นของเนื้อไม้ในระดับชนิด พบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง 0.37890 - 0.86242 กรัมต่อลูกบาศ์เซนติเมตร โดยจ�านวนตัวอย่างมีค่าอยู่ระหว่าง 0.5 – 0.55 กรัม ต่อลูกบาศ์เซนติเมตร จ�านวนมากที่สุด เท่ากับ 34 ตัวอย่าง ใน 4 ชนิดพันธุ์ ได้แก่ ทองกวาว แคนา อโศกอินเดีย และ ไทร 4.4 มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ ในระดับชนิดพันธุ์ (Species) ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสม ในมวลชีวภาพ พบว่า ผักเฮือด (Ficus lacor Buch.) มีผลรวมสูงสุด เท่ากับ 71006.662 และ 33373.131 กิโลกรัม ตามล�าดับ ระดับสกุล (Genus) พบว่า สกุล Ficus มีผลรวมสูงสุด เท่ากับ 81812.827 และ 38452.029 กิโลกรัม ตามล�าดับ ระดับวงศ์ (Family) พบว่า วงศ์ Fabaceae – Caesalpinioideae เท่ากับ และ 83347.615 และ 39173.379 กิโลกรัม ตามล�าดับ การกระจายของมวลชีวภาพเหนื้อพื้นดิน (กิโลกรัม) และ การกักเก็บคาร์บอน (กิโลกรัม) ในแต่ละชั้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ของไม้ยืนต้น พบว่าชั้นขนาด 15.0-20.0 เซนติเมตร (640 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 65233.385 และ 30659.691 กิโลกรัม ตามล�าดับ ในส่วนของกลุม่ ไม้กลุม่ สี (1,439 ต้น) พบว่า ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพืน้ ดิน และ ปริมาณ คาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ เท่ากับ 117666.2 และ 55303.12 กิโลกรัม ตามล�าดับ โดยชั้นขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก ขนาด 15.0-20.0 เซนติเมตร (191 ต้น) มีปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพื้นดิน และ ปริมาณคาร์บอนสะสมในมวลชีวภาพ สูงสุด เท่ากับ 21459.94 และ 10086.17 กิโลกรัม ตามล�าดับ กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


74

บรรณานุกรม คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2551. รายงานฉบบสมบูรณ์โครงการประเมินมูลค่า และการพึ่งพิงทรัพยากรป่าชายเลน. เสนอต่อกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. ชิงชัย วิริยะบัญชา. 2550. การศึกษาการปลูกไม้โตเร็วส�าหรับใช้ผลิตไฟฟ้าในชุมชน, น. 164-207. ใน การสัมมนาเผยแพรผลงานวิจัย โรงไฟฟ้าต้นแบบชีวมวลขนาดเล็กส�าหรับชุมชนแบบ ครบวงจร. มหาวิทยาลัยสุรนารี. นครราชสีมา. สาพิศ ดิลกสัมพันธ์. 2550. การกักเก็บคาร์บอนของป่าไม้กับสภาวะโลกร้อน. วารสารอนุรักษ์ดิน และน�้า22(3): 40-49. Chave, J., Andalo, C., Brown, S., Cairns. Ml.A., Chambers, J.Q., Eamus, D., Fölster, H., Fromard, F., Higuchi, N., Kira, T., Lescure, J.P., Nelson, B.W., Ogawa, H., Puig, H., Riéra, B. &Yamakura, T. 2005. Tree allometry and improved estimation of carbon stocks and balance in tropical forests. Oecologia 145: 87–99. Chave, J., Condit, R., Aguilar, S., Hernandez, A., Lao, S. & Perez, R. 2004. Error propagation and scaling for tropical forest biomass estimates. Philosophi cal Transactions of the Royal Society, series B Biological Science 359: 409−420. Chave, J., Condit, R., Lao, S., Caspersen, J.P., Foster, R.B. & Hubbell, S.P. 2003. Spatial and temporal variation of biomass in a tropical forest: results from a large census plot in Panama. Journal of Ecology 91: 240−252. Chave, J., Condit, R., Muller-Landau, H. C., Thomas, S.C., Ashton, P.S., Bunyave jchewin, S., Co, L.L., Dattaraja, H.S., Davies, S.J., Esufali, S., Ewango, C.E.N., Feeley, K.J., Foster, R.B., Gunatilleke, N., Gunatilleke, S., Hall, P., Hart, T. B., Hernandez, C., Hubbell, S.P., Itoh, A., Kiratiprayoon, S., Lafrankie, J.V., Loo De Lao, S., Makana, J.R., Noor, M.N. S., Kassim, A. R., Samper, C., Sukumar, R., Suresh, H.S, Tan, S., Thompson, J., Tongco, M. D.C., Valencia, R., Vallejo, M., Villa, G., Yamakura, T., Zimmerman, J.K.& Losos, E.C. 2008. Assessing evidence for a pervasive alteration in tropical tree communities. Plos Biology 6: 455−462.

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


73

ควรศึกษาถึงการกระจายและต�าแหน่งที่ตั้งของพรรณไม้ให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ - ในแง่ ข องข้ อ มู ล ด้ า นขนาดความโตที่ ไ ด้ จ ะเห็ น ได้ ว ่ า ต้ น ไม้ ส ่ ว นใหญ่ มี ข นาดเล็ ก ไม้ขนาดใหญ่ ยังมีจ�านวนต้นอยู่น้อยมาก ซึ่งหากไม้ขนาดใหญ่ และมีจ�านวนที่มากพอจะช่วยลด ความร้อนพื้นผิวภายในอุทยานได้มาก จากข้อมูลที่ได้ในการศึกษาครั้งนี้พบต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียงอกมากกว่า 100 เซนติเมตรเพียง 3 ต้นเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มีขนาด 5.0 – 15.0 เซนติเมตร ถึงร้อยละ 59.6 - จ�านวนต้นไม้ในแต่ละกลุ่ม คือ กลุ่มไม้กลุ่มสี กลุ่มไม้ริมทางเดิน และ กลุ่มไม้ให้ร่มเงา พบว่า ยังมีจา� นวนอยูน่ อ้ ย โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุม่ ไม้ให้รม่ เงานัน้ จากการส�ารวจพบจ�านวน 909 ต้น และส่วนมากยังเป็นไม้ยืนที่มีขนาดเล็ก ซึ่งอาจส่งผลต่อสภาวะความร้อน และการให้บริการของทาง อุทยานหลวงราชพฤกษ์

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


76

ภาคผนวก

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


75

Chave, J., Muller-Landau, H. C., Baker, T. R., Easedale, T. A., Ter Steege, H. & Webb, C. O. 2006. Regional and phylogenetic variation of wood density across 2456 neotropical tree species. Ecological Application 16: 2356−2367. Condit, R. 1998. Tropical forest census plot: methods and results from Barro Colorado Island, Panama and a comparison with other plots. Springer-Ver lag Berling Heidelberg. 211 pp. IPCC. 2006. Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories – A primer, Pre pared by the National Greenhouse Gas Inventories Programme, Eggleston H.S., Miwa K., Srivastava N. and Tanabe K. (eds). Published: IGES, Japan. Kira, T. 1991. Forest ecosystems of east and southeast Asia in a global perspective. Ecological Research 6: 185−200. Muller-Landau, H. C. 2004. Interspecific and inter-site variation in wood specific gravity of tropical trees. Biotropica 36: 20−32. Ogawa H, Kira T. 1977. Methods of estimating forest biomass. Pp. 15−25, 35−36 in Shidei T, Kira T (eds.). Primary productivity of Japanese forests. Productivi ty of terrestrial communities. University of Tokyo Press, Tokyo. Sungpalee, W., Itoh, A., Kanzaki, M., Sri-Ngernyuang, K., Nanami, S., Yamakura, T. & Sorn-Ngai, A. 2015. Spatial Biomass Variation, Biomass Dynamics and Species Diversity in Relation to Topographic Factors of Lower Tropical Montane Forest. Thai Journal of Forestry 34(3): 69-82. Sungpalee, W., Itoh, A., Kanzaki, M., Sri-Ngernyuang, K., Noguchi, H., Mizuno, T., Teejuntuk, S., Hara, M., Chai-Udom, K., Ohkubo, T., Sahunalu, P., Dhanm manonda, P., Nanami, S., Yamakura, T. & Sorn-Ngai, A. 2009. Intra- and interspecific variation in wood density and fine-scale spatial distribution of stand-level wood density in a northern Thai tropical montane forest. Journal of Tropical Ecology 25: 359−370. Wiemann, M. C. & Williamson, G.B. 2002. Geographic variation in wood specific gravity: effects of latitude, temperature, and precipitation. Wood and Fiber Science 34: 96−107. Wiemann, M. C. & Williamson, G.B. 2010. Measuring wood specific gravity … correct ly American Journal of Botany 97(3): 519–524. กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


78

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย กัลปพฤกษ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia bakeriana Craib. วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 96 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 25.9 มวลชีวภาพ (kg) 9214.040 4330.599 คาร์บอน (kg)

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย ศรีตรัง ชื่อวิทยาศาสตร์ Jacaranda obtusifolia Humb. & Bonpl. วงค์ Bignoniaceae 310 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 15.9 มวลชีวภาพ (kg) 4336.951 2038.367 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


77

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


80

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย ประดู่แดง ชื่อวิทยาศาสตร์ Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 202 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 36.6 มวลชีวภาพ (kg) 4881.408 2294.262 คาร์บอน (kg)

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย อโศกน้�า ชื่อวิทยาศาสตร์ Saraca indica L. วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 266 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 31.4 มวลชีวภาพ (kg) 9384.295 4410.619 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


79

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย ราชพฤกษ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia fistula L. วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 701 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 57.8 มวลชีวภาพ (kg) 48570.645 22828.203 คาร์บอน (kg)

ไม้กลุ่มสี

ชื่อไทย เหลืองอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia chrysantha Nichols. วงค์ Bignoniaceae 155 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 17.3 มวลชีวภาพ (kg) 1826.203 858.315 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


82

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ตีนเป็ดน้�า ชื่อวิทยาศาสตร์ Cerbera odollam Gaertn. วงค์ Apocynaceae 24 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 15 มวลชีวภาพ (kg) 532.845 250.437 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ประดู่บ้าน ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus indicus Willd. วงค์ Fabaceae - Papilionoideae 27 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 37.7 มวลชีวภาพ (kg) 4918.496 2311.693 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


81

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย กาสะลอง ชื่อวิทยาศาสตร์ Millingtania hortensis L.f วงค์ Bignoniaceae 193 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 59.0 มวลชีวภาพ (kg) 20881.881 9814.484 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย สนประดิพัทธ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Casuarina junghuhniana Mig. วงค์ Casuarinaceae 29 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 21.7 มวลชีวภาพ (kg) 2961.222 1391.774 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


84

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ติ้ว ชื่อวิทยาศาสตร์ Cratoxylun sp. วงค์ Guttiferae 14 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 54.4 มวลชีวภาพ (kg) 365.943 171.993 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย หางนกยูงฝรั่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Delonix regia (Bojer ex Hook) Raf. วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 52 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 39.2 มวลชีวภาพ (kg) 6382.389 2999.723 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


83

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ประดู่ป่า ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus macrocarpus Kurz. วงค์ Fabaceae 62 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 38.52 มวลชีวภาพ (kg) 14307.667 6724.603 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย แต้ว ชื่อวิทยาศาสตร์ Cratoxylun maingayi Dyer. วงค์ Guttiferae 77 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 54.4 มวลชีวภาพ (kg) 1494.497 702.414 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


86

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย กันเกรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Fagraea fragrans Roxb. วงค์ Gentianaceae 89 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 21 มวลชีวภาพ (kg) 1632.194 767.131 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย บุนนาค ชื่อวิทยาศาสตร์ Mesua ferrea L. วงค์ Guttiferae 40 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 13.8 มวลชีวภาพ (kg) 1035.428 486.651 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


85

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ค�ามอกหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์ Gardenia sootepensis Hutch. วงค์ Rubiaceae 52 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 39.2 มวลชีวภาพ (kg) 6382.389 2999.723 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย อินทนิลน้�า ชื่อวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. วงค์ Lythraceae 61 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 25.6 มวลชีวภาพ (kg) 3185.441 1497.157 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


88

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย ชัยพฤกษ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassia javanica L. วงค์ Fabaceae – Caesalpinioideae 75 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 13.1 มวลชีวภาพ (kg) 1386.816 651.803 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย มะตาด ชื่อวิทยาศาสตร์ Dillenia indica L. วงค์ Dilleniaceae 68 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 20.9 มวลชีวภาพ (kg) 1793.305 842.853 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


87

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย อินทนิลบก ชื่อวิทยาศาสตร์ Lagerstroemia macrocarpa Wall. วงค์ Lythraceae 38 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 46.5 มวลชีวภาพ (kg) 1679.019 789.139 คาร์บอน (kg)

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย จ�าปา ชื่อวิทยาศาสตร์ Michelia champaca L. วงค์ Magnoliaceae 19 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 12.9 มวลชีวภาพ (kg) 347.008 163.094 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


90

ไม้ให้ร่มเงา

ชื่อไทย ผักเฮือด ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus lacor Buch. วงค์ Moraceae 50 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 140.1 มวลชีวภาพ (kg) 71006.662 33373.131 คาร์บอน (kg)

ไม้ให้ร่มเงา

ชื่อไทย มะฮอกกานี ชื่อวิทยาศาสตร์ Swietenia macrophylla King. วงค์ Meliaceae 163 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 46.9 มวลชีวภาพ (kg) 35962.711 16902.474 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


89

ไม้ริมทางเดิน

ชื่อไทย พิกุล ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi Linn. วงค์ Sapotaceae 293 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 22.8 มวลชีวภาพ (kg) 9832.294 4621.178 คาร์บอน (kg)

ไม้ให้ร่มเงา

ชื่อไทย ทองกวาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Butea monosperma (Lam.) Taub. วงค์ Fabaceae - Papilionoideae 63 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 56.7 มวลชีวภาพ (kg) 3027.008 1422.694 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


92

หลากสีสันพรรณไมกลุมสี หลากสีสันพรรณไมกลุมสี

เพื่อการทองเที่ยวอุทยานหลวงราชพฤกษ เพื่อการทองเที่ยวอุทยานหลวงราชพฤกษ

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


91

ไม้ให้ร่มเงา

ชื่อไทย สัก ชื่อวิทยาศาสตร์ Tectona grandis Linn.f. วงค์ Lamiaceae 96 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 66.4 มวลชีวภาพ (kg) 28597.773 13440.953 คาร์บอน (kg)

ไม้ให้ร่มเงา

ชื่อไทย พญาสัตบรรณ ชื่อวิทยาศาสตร์ Alstonia scholaris (L.) R. Br. วงค์ Apocynaceae 118 จ�านวนต้น ความโตสูงสุด (cm) 36.8 มวลชีวภาพ (kg) 9973.909 4687.737 คาร์บอน (kg) กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


94

ชื่อหนังสือ การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้ยืนต้นบางชนิด ภายในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ เจ้าของ

ที่ปรึกษา

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 65 หมู่ 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0 5332 8496-8 โทรสาร 0 5332 8494 www.hrdi.or.th นางสาวรุจิรา ริมผดี ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ดร. อาณดา นิรันตรายกุล ผู้อ�านวยการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ นางสาวปริม เนตรทิพย์ นักวิชาการส่งเสริมและพัฒนา หัวหน้ากลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์

คณะผู้จัดท�า กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ นายวรเชษฐ์ วรเวชกุล นักวิชาการส่งเสริมและพัฒนา นางสาวณปภัช วงศ์น่าน นักวิชาการส่งเสริมและพัฒนา นางสาววิกาญดา สายวงค์ใจ นักวิชาการส่งเสริมและพัฒนา ขอขอบคุณ ข้อมูลพรรณไม้ จากกลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ รูปภาพพรรณไม้ จากกลุ่มกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ ผังแสดงต�าแหน่งพรรณไม้ จากกลุ่มพัฒนาและดูแลบ�ารุงรักษาสวน

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์


93

คณะที่ปรึกษาร่วม ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศวิทยาป่าไม้

รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ง แวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-5350 โทรสาร 0-5387-5355 Email kriangsak@mju.ac.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศวิทยาของพืช

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชญ์ภาส สังพาลี คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-3631 โทรสาร 0-5349-8168 Email sci.ocu@gmail.com

ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนิษฐา เสถียรพีระกุล สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-5641 โทรสาร 0-5387-5600 Email kanitta@mju.ac.th

กลุ่มวิชาการและการเรียนรู้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.