คู่มือเรื่องการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกาแฟ

Page 1

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สำหรับกาแฟอราบิกา Good Agricultural Practice (GAP) For Arabica Coffee


คำนำ การบริโภคกาแฟในประเทศไทยและของโลก ปจจุบันพบวามีความ ตองการเพิม่ มากขึน้ เปนลําดับ เพือ่ ใหตลาดกาแฟมีการขยายตัวอยางมาก ทําใหความตองการใชเมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรูปในประเทศเพิ่มขึ้น และเมื่อมีการคาแบบเสรี มีการนําเขาเมล็ดกาแฟจากตางประเทศ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมเขาสู AEC สําหรับผูผลิตกาแฟอราบิกา จึงตองมีการปรับตัวในขั้นตอนในการผลิตกาแฟใหไดคุณภาพเพิ่มมากขึ้น จากพื้นฐานของศักยภาพและอัตลักษณของกาแฟไทย เชน การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ลดตนทุนการผลิตและการพัฒนาเมล็ดกาแฟ ใหมคี ณ ุ ภาพดีเพือ่ ไปสูม าตรฐานสากล การผลิตกาแฟเฉพาะถิน่ และเปน ศูนยกลางอุตสาหกรรมแปรรูปกาแฟ เพื่อกาวไปสูความเปนผูนําทางดาน สินคากาแฟในอาเซียน มูลนิธโิ ครงการหลวงและสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) โดยโครงการสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีและการเรียนรูการปลูกชา และกาแฟอราบิกา จึงไดจัดทําคูมือ เรื่อง “การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี สําหรับกาแฟอราบิกา” Good Agricultural Practice (GAP) For Arabica Coffee ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใชในการถายทอดและเผยแพรองคความรู และเทคโนโลยีการปลูกกาแฟอราบิกาของโครงการหลวงสูเกษตรกร บนพื้นที่สูง คณะผูจัดทํา เมษายน 2558

2 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


สารบัญ ขอกําหนด

หนา

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา แหลงนํ้า พื้นที่ปลูก การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตกอนการเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาและการขนยาย สุขลักษณะสวนบุคคล การบันทึกขอมูลและการตามสอบ คณะผูจัดทํา

4 4 5 6 7 8 10 12 13 14

3 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกาแฟอราบิกา ขอบขาย

มาตรฐานสินคาเกษตรนี้ ครอบคลุมการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ สี าํ หรับกาแฟ อราบิกา ซึง่ มีชอ่ื วิทยาศาสตรวา ( Coffea arabica L. ) ทุกขัน้ ตอนของการผลิตจาก แปลงปลูกจนถึงการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อใหไดเมล็ดกาแฟ/กาแฟกะลา ที่มีคุณภาพปลอดภัย และเหมาะสมตอการแปรรูปเพื่อบริโภค โดยคํานึงถึง สิ่งแวดลอม สุขภาพความปลอดภัยและสวัสดิภาพของปฏิบัติงาน มาตรฐานนี้ ใชรวมกับ มกษ. 5701 มาตรฐานสินคาเกษตร เมล็ดกาแฟอราบิกา

1. แหลงน้ำ

คำแนะนำเกษตรกร

100 ml 50 ml 20 ml

นํ้ า ที่ ใช ต อ งมาจากแหล ง ที่ ไ ม มี ส ภาพ แวดลอมซึ่งกอใหเกิดการปนเปอนวัตถุหรือ สิ่งที่เปนอันตราย หากอยูในสภาวะเสี่ยงให วิเคราะหคุณภาพนํ้า

4 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


2. พื้นที่ปลูก

คำแนะนำเกษตรกร

พื้นที่ปลูกตองเปนพื้นที่ซึ่งไมมีวัตถุหรือ สิ่งที่เปนอันตรายที่จะทําใหเกิดการตกคาง หรือปนเปอนในผลิตผล หากอยูในสภาวะ เสี่ยงใหวิเคราะหคุณภาพดินและพื้นที่ตองมี เอกสารสิทธิ์การใชประโยชนพื้นที่ทํากิน

การเก็บตัวอยางดิน

การเก็บตัวอยางดินควรใชจอบเปดหนาดินกอนเก็บตัวอยาง

5 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


3. การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร คำแนะนำเกษตรกร

3.1 ผูป ฏิบตั งิ านตองมีความรูเ บือ้ งตนเรือ่ งชนิดศัตรูพชื ของกาแฟและการใชวตั ถุ อันตรายทางการเกษตรที่ถูกตอง

มอดเจาะผลกาแฟ

เพลี้ยหอยสีเขียว

หนอนเจาะลําตน

หนอนกาแฟสีแดง

หนอนเจาะลําตน

โรคราสนิม

โรคเนาดํา

3.2 หากจําเปนตองใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร ใหใชตามคําแนะนําหรือ อางอิงคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือตามคําแนะนํา ในฉลากทีข่ น้ึ ทะเบียนอยางถูกตองกับกรมวิชาการเกษตร

6 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


4. การจัดการคุณภาพ ในกระบวนการ ตกอนการเก็บเกี่ยว ในกระบวนการผลิ คำแนะนำเกษตรกร

4.1 ปลูกกาแฟชนิดเดียว (อราบิกา ) และตนพันธุควรมาจากแหลงที่เชื่อถือได ตรงตามพันธุท ต่ี ลาดตองการ 4.2 สํารวจการเขาทําลายของ ศั ต รู พ ื ช ในกรณี จ ํ า เป น ต อ งใช ว ั ต ถุ อันตรายทางการเกษตร ใหปฏิบัติตาม ขอ 3

4.3 กําจัดสวนของตนกาแฟรวม ทั้งผลกาแฟที่เปนโรคหรือแมลงทําลาย ออกจากแปลงปลูก

7 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


5. การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว คำแนะนำเกษตรกร

5.1 เก็บเกี่ยวผลกาแฟที่สุกแกเต็มที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากสีของผลกาแฟ

5.2 มีการจัดการแปลงปลูกภายหลังการเก็บเกี่ยว โดยกําจัดผลกาแฟสุกหรือผลแหงที่ติดคางบนกิ่ง หรือรวงหลนใตตนกาแฟออกจากแปลงปลูก

8 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


คำแนะนำเกษตรกร

5.3. กรณีทไ่ี มจาํ หนายในรูปผลกาแฟสด ผลกาแฟทีเ่ ก็บเกีย่ วตองเขาสูก ระบวน การผลิตเมล็ดกาแฟ/กาแฟกะลาภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแตเก็บเกี่ยวจริง 5.3.1 การแปรรูปผลผลิตกาแฟแบบเปยก - มีกระบวนการคัดแยกผลกาแฟที่ไมสมบูรณ ผลกาแฟที่สุกแกไมเหมาะสม (เชน ผลออน ผลแหง) หรือถูกแมลงศัตรูพืชทําลายออก - สถานที่ตากกาแฟกะลาตองไดรับแสงแดดเต็มที่ อากาศถายเทไดสะดวก ถูกสุขลักษณะและไมทําใหเกิดการปนเปอนที่จะทําใหเกิดอันตรายตอ ตอผูบริโภค - กรรมวิธีการตากจะตองสามารถทําใหผลกาแฟแหงทั่วถึง และมีการปองกัน การเปยกฝนและนํ้าคาง โดยเฉพาะหลังจากตากกาแฟกะลาแลว 6 วัน - ระยะเวลาลดของกาแฟกะลาในชวงแรกใหเหลือความชื้นเมล็ดกาแฟ ตํ่ากวา 13 % ไมเกิน 12 วัน - เมล็ดกาแฟกอนเก็บรักษาในรูปแบบกาแฟกะลามีความชื้น เปนไปตาม ขอกําหนดใน มกษ. 5701 มาตรฐานสินคาเกษตร เรือ่ ง เมล็ดกาแฟอราบิกา - เครือ่ งสีกาแฟกะลาไดรบั การบํารุงรักษาใหอยูใ นสภาพไมเสีย่ งตอการทําให เมล็ดกาแฟปนเปอนสิ่งที่เปนอันตราย เชน สนิม นํ้ามันหลอลื่น 9 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


6. การเก็บรักษาและการขนยาย

คำแนะนำเกษตรกร

6.1 การเก็บรักษา 6.1.1 สถานทีเ่ ก็บเมล็ดกาแฟ/กาแฟกะลา ตองถูกสุขลักษณะ แหง อากาศถายเทสะดวก สามารถปองกันความชื้นจากภายนอก และ การปนเปอนจากวัตถุอันตราย และสัตวพาหะ นําโรคได 6.1.2 ภาชนะบรรจุสะอาด ปราศจากสิ่ง ที่เปนอันตรายและกลิ่นไมพึงประสงค 6.1.3 มีวสั ดุรองพืน้ กอนวางภาชนะบรรจุ เมล็ดกาแฟ/กาแฟกะลา 6.1.4 มีมาตรการปองกันศัตรูพชื ในโรงเก็บ ในกรณีที่จําเปนตองใชวัตถุอันตราย 10 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา

ดวงเมล็ดกาแฟ


คำแนะนำเกษตรกร

6.2 การขนยาย 6.2.1 พาหนะในการขนยายสะอาดปราศจาก สิ่งที่เปนอันตรายและกลิ่นไมพึงประสงค 6.2.2 มีมาตรการปองกันไมใหเมล็ดกาแฟ/ กาแฟกะลา มีความชื้นเพิ่มขึ้นระหวางขนสง

11 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


7. สุขลักษณะสวนบุคคล

คำแนะนำเกษตรกร

7.1 ผูปฏิบัติงานมีความรูเกี่ยวกับสุขลักษณะที่เหมาะสมหรือผานการอบรม การปฏิบัติที่ถูกตองและถูกสุขลักษณะ

12 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


8. การบันทึกขอมูลและการตามสอบ คำแนะนำเกษตรกร

เกษตรกรตองมีการบันทึกขอมูล เพื่อใหสามารถตรวจประเมินและตามสอบ ในระดับฟารมได ดังนี้ (1) ที่มาของปจจัยการผลิต (2) การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร (3) การสํารวจศัตรูพืชและการปองกันกําจัดศัตรูพืช (4) การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว (5) ขอมูลผูรับซื้อผลิตผล หรือแหลงที่นําผลิตผลในแตละรุนไปจําหนาย

13 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


คณะผูจัดทำ พิมพครั้งที่ 1 เมษายน 2558 จํานวน 500 เลม ผูจัดพิมพ โครงการสนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีและการเรียนรูการปลูกชาและกาแฟอราบิกา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) 65 หมู 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 โทรศัพท 053-328496-8 โทรสาร. 053-810111 www.hrdi.or.th ที่ปรึกษา นางสาวรุจิรา ริมผดี ศ.ดร.พงษศักดิ์ อังกสิทธิ์ เรียบเรียงและจัดทํา นายชัยวัฒน ชุมปน นางสาวอิสรีย พันธจันทร ดร.สิทธิเดช รอยกรอง นางสาวดวงดาว กันทะรัตน วาที่ ร.ต.หญิงกชกร พุทธะ

ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) ผูอํานวยการโครงการกาแฟอราบิกา มูลนิธิโครงการหลวง (องคการมหาชน) มูลนิธิโครงการหลวง มูลนิธิโครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง

ออกแบบและดําเนินการผลิต บริษัท ทรีโอ แอดเวอรไทซิ่ง แอนด มีเดีย จํากัด 412/31 เชียงใหมแลนด ถ.ชางคลาน ต.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท : 053-272079 แฟกซ : 053-272081 E-mail : iamtrio@gmail.com

14 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับกาแฟอราบิกา


บันทึก ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................


บันทึก ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.