ระเบียบและข้อบังคับสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง(องค์การมหาชน)

Page 1





















เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๑ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

พระราชบัญญัติ

องค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นปีที่ ๗๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ ขึ้ น ไว้ โ ดยคํ า แนะนํ า และยิ น ยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ เ รี ย กว่ า “พระราชบั ญ ญั ติ อ งค์ ก ารมหาชน (ฉบั บ ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “คณะกรรมการ” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการของแต่ละองค์การมหาชน” มาตรา ๔ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น วรรคสามของมาตรา ๕ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “การพิจารณากิจการตามวรรคสองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนดโดยข้อเสนอแนะ ของ กพม.”


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๒ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๕/๑ มาตรา ๕/๒ มาตรา ๕/๓ มาตรา ๕/๔ มาตรา ๕/๕ มาตรา ๕/๖ มาตรา ๕/๗ และมาตรา ๕/๘ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๕/๑ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชนคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “กพม.” ประกอบด้วย (๑) ประธานกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตําแหน่ง จํานวนสี่คน ได้แก่ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการ คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี และผู้ อํ า นวยการ สํานักงบประมาณ (๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจํานวนไม่เกินเจ็ดคน โดยในจํานวนนี้ ต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในการบริหารองค์การมหาชนอย่างน้อยสองคน ให้เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นกรรมการและเลขานุการ ให้สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นผู้รับผิดชอบในงานธุรการและงานวิชาการ ของ กพม. มาตรา ๕/๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ พรรคการเมือง (๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ มาตรา ๕/๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะดํารงตําแหน่งกรรมการ ที่ปรึกษา หรือตําแหน่งอื่นใด ขององค์การมหาชนในเวลาเดียวกันไม่ได้ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการ ที่ปรึกษา หรือผู้ดํารงตําแหน่งอื่นใดขององค์การมหาชนให้เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้กรรมการผู้นั้นลาออกจากตําแหน่งกรรมการ ที่ปรึกษา หรือตําแหน่งอื่นใด ขององค์ ก ารมหาชนภายในสิ บ ห้ าวั น นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง แต่ ถ้ า ผู้ นั้ น มิ ไ ด้ ล าออก ให้ ถื อ ว่ า ผู้ นั้ น ไม่เคยได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมาตั้งแต่ต้น มาตรา ๕/๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๓ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากตํ า แหน่ ง ก่ อ นวาระและมี ก ารแต่ ง ตั้ ง กรรมการแทน หรื อ ในกรณี ที่ คณะรั ฐ มนตรี แ ต่ง ตั้ ง กรรมการเพิ่ ม ขึ้ น ในระหว่ า งที่ กรรมการซึ่ ง แต่ง ตั้ ง ไว้แ ล้ ว ยั งมี ว าระ อยู่ในตําแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนหรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้น อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระ ที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้ กรรมการผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิซึ่ งพ้ นจากตํา แหน่งตามวาระนั้ น อยู่ในตํ าแหน่ งเพื่อ ดําเนิ นงานต่อ ไปจนกว่ า กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๕/๕ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๕/๒ (๔) กระทําการอันต้องห้ามตามมาตรา ๕/๓ วรรคหนึ่ง (๕) คณะรั ฐ มนตรี ใ ห้ อ อก เพราะบกพร่ อ งต่ อ หน้ า ที่ มี ค วามประพฤติ เ สื่ อ มเสี ย หรื อ หย่อนความสามารถ มาตรา ๕/๖ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้แต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิแทนภายในสามสิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้ กพม. ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด ที่มีอยู่ มาตรา ๕/๗ ให้นําบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุมของ กพม. โดยอนุโลม มาตรา ๕/๘ กพม. มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบในการจัดตั้ง การรวม หรือการยุบเลิก องค์การมหาชน (๒) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดนโยบาย แนวทาง และหลักเกณฑ์กลางที่เกี่ยวกับ การจัดตั้ง การรวม การยุบเลิก การบริหารและพัฒนา และการประเมินผลขององค์การมหาชน (๓) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกําหนดหลักเกณฑ์กลางเกี่ยวกับการสรรหาประธานกรรมการ กรรมการในคณะกรรมการ และผู้อํานวยการ (๔) เสนอแนะหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน การถือหุ้นหรือการเข้าเป็นหุ้นส่วน การเข้าร่วมทุน ในกิจการของนิติบุคคลอื่น และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีเป็นสูญตามมาตรา ๑๘ ต่อคณะรัฐมนตรี


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๖ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

บ้านเมืองที่ดี ซึ่งต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ ความซื่อสัตย์สุจริต การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การกระจายอํานาจการตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน” มาตรา ๑๑ ให้ ย กเลิ ก ความในมาตรา ๒๕ และมาตรา ๒๖ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๕ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษาของคณะกรรมการได้ ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชน และมีอํานาจแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ตามมาตรา ๒๔ (๓) (ฉ) และคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ คณะกรรมการมอบหมายได้ มาตรา ๒๖ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการตรวจสอบ และอนุกรรมการ ได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด” มาตรา ๑๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๒๗/๑ ในการแต่งตั้งผู้อํานวยการต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่ วันที่มีเหตุต้องแต่งตั้งผู้อํานวยการ และหากมีเหตุผลจําเป็นให้คณะกรรมการขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกิน หกสิบวัน หากดําเนินการไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าวให้คณะกรรมการรายงานผลให้ กพม. เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา” มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๘ ผู้อํานวยการนอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ ในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งแล้ว ยังต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์ (๓) สามารถทํางานให้แก่องค์การมหาชนได้เต็มเวลา (๔) ไม่ เ ป็ น บุ ค คลล้ ม ละลายหรื อ ไม่ เ คยเป็ น บุ ค คลล้ ม ละลายทุ จ ริ ต คนไร้ ค วามสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๖) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ พรรคการเมือง


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๗ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

(๗) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (๘) ไม่เป็นผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การมหาชนอื่น (๙) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา พนักงานหรือลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐ หรือผู้ปฏิบัติงานขององค์การมหาชนอื่น (๑๐) ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่กระทํากับองค์การมหาชนนั้น หรือในกิจการที่เป็นการแข่งขัน กับกิจการขององค์การมหาชนนั้น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม” มาตรา ๑๔ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น วรรคสามของมาตรา ๓๐ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “การขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๒๘ (๒) ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่งตามกําหนดเวลา ในสัญญาจ้าง” มาตรา ๑๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๑ ผู้อํานวยการมีหน้าที่บริหารกิจการขององค์การมหาชนให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ขององค์การมหาชน ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการ ภายใต้ บั งคั บมาตรา ๓๙ วรรคสอง ให้ ผู้ อํ านวยการเป็ นผู้ บั งคั บบั ญชาเจ้ าหน้ าที่ และลู กจ้ าง ขององค์การมหาชนทุกตําแหน่ง ผู้อํานวยการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการขององค์การมหาชน” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๕ เจ้าหน้าที่ขององค์การมหาชนนอกจากต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่กําหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งแล้ว ยังต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์ (๓) สามารถทํางานให้แก่องค์การมหาชนได้เต็มเวลา (๔) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๘ (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๑๐) (๕) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา พนักงานหรือลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐ หรือผู้ปฏิบัติงานขององค์การมหาชนอื่น เว้นแต่เป็นกรณีตามมาตรา ๓๖ ความใน (๑) มิให้ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ชาวต่างประเทศซึ่งองค์การมหาชนมีความจําเป็นต้องจ้าง ตามลักษณะงานขององค์การมหาชนนั้น”


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๘ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

มาตรา ๑๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๕/๑ การขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๓๕ (๒) ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่ง ตามกําหนดเวลาในสัญญาจ้าง” มาตรา ๑๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๘/๑ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๘/๑ เจ้าหน้าที่และลูกจ้างขององค์การมหาชนมีเสรีภาพในการรวมกลุ่ม แต่ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเนื่องในการจัดทําบริการสาธารณะ และต้องไม่มีวัตถุประสงค์ทางการเมือง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และรายละเอียดแห่งการใช้เสรีภาพในการรวมกลุ่มตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา” มาตรา ๑๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๙ การบัญชีขององค์การมหาชน ให้จัดทําตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกําหนด ซึ่งต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และต้องจัดให้มีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุขององค์การมหาชน ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบอย่างน้อย ปีละครั้ง ในการตรวจสอบภายใน ให้มีผู้ปฏิบัติงานขององค์การมหาชนทําหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะ และให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการตามระเบียบที่คณะกรรมการ กําหนด ในการแต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนเงินเดือน เลื่อนตําแหน่ง และลงโทษทางวินัยของผูต้ รวจสอบภายใน ให้ผู้อํานวยการและคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาร่วมกันแล้วเสนอให้คณะกรรมการให้ความเห็นชอบก่อน จึงดําเนินการได้” มาตรา ๒๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๒ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมประสิทธิภาพการดําเนินงานขององค์การมหาชน และเพื่อให้องค์การมหาชนมีความเป็นอิสระในการดําเนินกิจการตามความเหมาะสมภายใต้การกํากับดูแล โดยมีเป้าหมายที่แน่ชัด ให้องค์การมหาชนอยู่ภายใต้ระบบการประเมินผลขององค์การมหาชนตามที่ กพม. กําหนด มาตรา ๔๓ ให้รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชนมีอํานาจหน้าที่ กํากับดูแลการดําเนินกิจการขององค์การมหาชนให้เป็นไปตามกฎหมาย และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๙ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

ของการจัดตั้งองค์การมหาชน นโยบายของรัฐบาล มติของคณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ ที่เกี่ยวข้องกับองค์การมหาชนนั้น เพื่อการนี้ให้รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งให้องค์การมหาชนชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทํารายงาน หรือยับยั้งการกระทําขององค์การมหาชนที่ขัดต่อกฎหมาย วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์การมหาชน นโยบายของรัฐบาล มติของคณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับองค์การมหาชนนั้น ตลอดจนสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดําเนินการได้” มาตรา ๒๑ ให้องค์การมหาชนทุกแห่งดําเนินการเสนอร่างพระราชกฤษฎีกาเพื่อแก้ไขเพิ่มเติม พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ไปยังคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการดําเนินการแทนและเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการขององค์การมหาชนตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชน ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นคณะกรรมการขององค์การมหาชนนั้นจนครบวาระ การดํารงตําแหน่งตามที่กําหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งดังกล่าว การนับวาระการดํารงตําแหน่งของประธานกรรมการและกรรมการซึ่งมิใช่กรรมการโดยตําแหน่ง ขององค์การมหาชนตามวรรคหนึ่ง ให้นับต่อเนื่องกับการนับวาระตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชน และตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๓ ผู้ใดดํารงตําแหน่งกรรมการขององค์การมหาชนอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับเกินกว่าจํานวนที่กําหนดในมาตรา ๑๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้นั้นลาออกจากตําแหน่งกรรมการขององค์การมหาชนหนึ่ง องค์การมหาชนใด หรือมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน แล้วแต่กรณี จนเหลือไม่เกินจํานวนที่กําหนด ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ถ้ามิได้ดําเนินการดังกล่าว ในกรณีที่เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ถือว่าพ้ นจากตําแหน่งกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งทั้งหมดตั้งแต่วัน ถัดจากวันครบกําหนด สามสิบวัน ในกรณีที่เป็นกรรมการโดยตําแหน่ง ห้ามมิให้ได้รับเบี้ยประชุมหรือผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังครบกําหนดสามสิบวันจนกว่าจะได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทนจนเหลือ ไม่เกินจํานวนที่กําหนด มาตรา ๒๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัตินี้ ในวาระเริ่มแรก มิให้นํา บทบัญญัติมาตรา ๒๘ และมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับกับผู้อํานวยการหรือเจ้าหน้าที่ขององค์การมหาชนซึ่งดํารงตําแหน่ง อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และมีคุณสมบัติหรือไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๑๐ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ และตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การมหาชนซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น แล้วแต่กรณี เว้นแต่การขาดคุณสมบัติหรือการมีลักษณะต้องห้ามนั้นเกิดขึ้นภายหลังวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ มาตรา ๒๕ ในวาระเริ่มแรก มิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๒๘ (๒) แห่งพระราชบัญญัติ องค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บัง คับกับ ผู้อํานวยการ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยให้ผู้นั้นดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการต่อไป จนครบระยะเวลาตามที่กําหนดในสัญญาจ้าง มาตรา ๒๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี


เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๒ ก

หน้า ๑๑ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันการจัดตั้งองค์การมหาชน ยังขาดมาตรการส่งเสริมและการใช้ประโยชน์เกี่ยวกับทรัพยากรและบุคคล จึงไม่อาจบริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามหลักการบริหารงานภาครัฐแบบใหม่ สมควรกําหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน เพื่อรับผิดชอบในการเสนอแนะนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน การพัฒนา และหลักเกณฑ์กลางที่เกี่ยวกับ การจั ด ตั้ ง การรวม และการยุ บ เลิ ก องค์ ก ารมหาชนต่ อ คณะรั ฐ มนตรี ปรั บ ปรุ ง องค์ ป ระกอบ คุ ณ สมบั ติ และลักษณะต้องห้าม และอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการขององค์การมหาชนและผู้อํานวยการขององค์การมหาชน ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ตลอดจนกําหนดแนวทางการปฏิบัติงานขององค์การมหาชนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อันจะทําให้การบริหารงานและการปฏิบัติภารกิจขององค์การมหาชนมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
























หนา ๑ ราชกิจจานุเบกษา

เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

พระราชกฤษฎีกา

จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนปที่ ๖๐ ในรัชกาลปจจุบนั พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาภู มิพลอดุล ยเดช มีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล า ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงขึ้นเปนองคการมหาชนตามกฎหมาย วาดวยองคการมหาชน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกา ขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชกฤษฎีกานี้


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๒ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

“การวิจัยและการพัฒนา” หมายความวา การคนควาทดลอง การสํารวจหรือศึกษาตามหลักวิชาการ เพื่อใหไดขอมูล ความรู การประดิษฐ การพัฒนาผลิตภัณฑ ตลอดจนการแลกเปลี่ยน การถายทอด การประยุกต การสงเสริมและสนับสนุน เพื่อนําองคความรูและวิทยาการไปใชในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมของชุม ชนในพื้นที่สูง ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับการวิจัยและพัฒนาที่คณะกรรมการกําหนด “พื้นที่สูง” หมายความวา พื้นที่ที่เปนภูเขา หรือพื้นที่ที่มีความสูงกวาระดับน้ําทะเลหารอยเมตร ขึ้นไป หรือพื้นที่ที่อยูในระหวางพื้นที่สูงตามที่คณะกรรมการกําหนด “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถาบัน “คณะที่ปรึกษาพิเศษ” หมายความวา คณะที่ปรึกษาสถาบัน “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบัน “เจาหนาที่” หมายความวา เจาหนาที่สถาบัน “ลูกจาง” หมายความวา ลูกจางสถาบัน “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้ มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้ หมวด ๑ การจัดตั้ง วัตถุประสงค และอํานาจหนาที่ มาตรา ๕ ใหจัดตั้งองคการมหาชนขึ้นเรียกวา “สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน)” เรียกโดยยอวา “สวพส.” และใหใชชื่อภาษาอังกฤษวา “Highland Research and Development Institute (Public Organization)” เรียกโดยยอวา “HRDI” มาตรา ๖ ใหสถาบันมีที่ตั้งของสํานักงานแหงใหญอยูในจังหวัดเชียงใหมหรือจังหวัดใกลเคียง มาตรา ๗ ใหสถาบันมีวัตถุประสงค ดังตอไปนี้ (๑) สงเสริม สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนางานโครงการหลวง (๒) สนับสนุนการวิจัย รวบรวมและเก็บรักษานวัตกรรมใหม เสริมสรางและรักษาภูมิปญญา ทองถิ่น ตลอดจนรักษาคุณคาของความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๓ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

(๓) สงเสริมและประสานความรวมมือกับมูลนิธิโครงการหลวง สวนราชการ รั ฐวิสาหกิ จ หนวยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวของ และภาคเอกชนทั้งในประเทศและตางประเทศในการศึกษา คนควา วิจัย พัฒนาและการถายทอดขอมูลและเทคโนโลยีบนพื้นที่สูงที่เหมาะสมสูชุมชน (๔) จัดใหมีการศึกษา คนควา วิจัย พัฒนาและเผยแพรขอมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนา พื้นที่สูงอยางครบวงจร เชน ดานการผลิต การตลาด มาตรฐานผลิตภัณฑการขนสงสินคา ตลอดจน เปนศูนยประสานงานและสงเสริมการดําเนินการดังกลาว (๕) รวมมือและแลกเปลี่ยนการพัฒนาทางวิชาการดานการวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงในระดับ นานาชาติ (๖) ใหบริการดานการใหคําปรึกษาและการใหบริการในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒ นา พื้นที่สูงที่ไดจากการศึกษา คนควา วิจัย และพัฒนา (๗) สนับสนุนและดําเนินการใหมีการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑของสินคา โครงการหลวง และสินคาในโครงการของสถาบันจากหนวยงานในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งดําเนินการใหมี การจดทะเบียนสิทธิบัตร เครื่องหมายการคาและทรัพยสินทางปญญาอื่น ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ มาตรา ๘ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ ใหสถาบันมีอํานาจและหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง และมีทรัพยสิทธิตาง ๆ (๒) กอตั้งสิทธิ หรือทํานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพยสิน ตลอดจนทํานิติกรรมอื่น ใด เพื่อประโยชนในการดําเนินกิจการของสถาบัน (๓) จัดหาและใหทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อการพัฒนาและการอนุรักษฟนฟูพนื้ ทีส่ งู (๔) เขารวมทุนกับนิติบุคคลอื่นในกิจการที่เกี่ยวกับวัตถุประสงคของสถาบัน (๕) จําหนายสินคาหรือบริการที่ไดจากโครงการหลวงหรือโครงการของสถาบัน (๖) กูยืมเงินเพื่อประโยชนในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของสถาบัน (๗) ทําความตกลงและรวมมือกับองคการหรือหนวยงานในประเทศและตางประเทศในกิจการ ที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของสถาบัน (๘) เรียกเก็บคาธรรมเนียม คาบํารุง คาตอบแทน หรือคาบริการในการดําเนินกิจการ (๙) กระทําการอื่นใดซึ่งจําเปนหรือตอเนื่องเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของสถาบัน


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๔ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

การเขารวมทุนกับนิติบุคคลอื่นตาม (๔) และการกูยืมเงินตาม (๖) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๒ ทุน รายได และทรัพยสิน มาตรา ๙ ทุนและทรัพยสินในการดําเนินกิจการของสถาบัน ประกอบดวย (๑) เงินและทรัพยสินที่ไดรับโอนมาตามมาตรา ๔๔ (๒) เงินที่รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม (๓) เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรใหตามความเหมาะสมเปนรายป (๔) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่น รวมทั้งจากตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศ และเงินหรือทรัพยสินที่มีผูอุทิศให (๕) คาธรรมเนียม คาบํารุง คาตอบแทน คาบริการ สิทธิประโยชน หรือรายไดจากการดําเนินงาน (๖) ดอกผลของเงินหรือรายไดจากทรัพยสินของสถาบัน มาตรา ๑๐ ในกรณีที่สถาบันจัดใหมีบริการใดอันอยูในวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ของสถาบัน ใหสถาบันมีอํานาจเรียกเก็บคาธรรมเนียม คาบํารุง คาบริการ หรือคาตอบแทนจากกิจการนั้นไดตามอัตรา ที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๑๑ บรรดารายไดของสถาบันไมเปนรายไดที่ตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมาย วาดวยเงินคงคลัง และกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ในกรณีที่มีเหตุจําเปนหรือสมควร สถาบันโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาจนํารายได ของสถาบันในจํานวนที่เห็นสมควรสงกระทรวงการคลังเพื่อเปนรายไดของแผนดิน มาตรา ๑๒ ใหทรัพยสิน ซึ่งสถาบัน ไดมาจากการให หรือซื้อดวยเงิน รายไดของสถาบัน หรือโดยการแลกเปลี่ยน เปนกรรมสิทธิ์ของสถาบัน ใหสถาบันมีอํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใช จําหนาย และจั ด หาประโยชน จ าก ทรัพยสินของสถาบัน มาตรา ๑๓ การใชจายเงินของสถาบัน ใหใชจายไปเพื่อกิจการของสถาบันโดยเฉพาะ การเก็บรักษาและเบิกจายเงินของสถาบัน ใหเปนไปตามขอบังคับที่คณะกรรมการกําหนด


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๕ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

หมวด ๓ การบริหารและการดําเนินกิจการ มาตรา ๑๔ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง” ประกอบดวย (๑) ประธานกรรมการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูซึ่งมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณ สูงเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สูง (๒) กรรมการโดยตําแหนง จํานวนหาคน ไดแก ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และเลขาธิการมูลนิธิโครงการหลวง (๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ จํานวนไมเกินสี่คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูซึ่งมีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณสูงเปนที่ประจักษในดานการเกษตร การพัฒนาสังคม การอนุรักษและ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ การบริหารจัดการ หรือดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของและเปนประโยชนตอกิจการ ของสถาบัน โดยในจํานวนนี้จะตองเปนบุคคลซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ ที่มีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํารวมอยูดวย ใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการโดยตําแหนง และใหผูอํานวยการแตงตั้งผูชวยเลขานุการ ไดตามความจําเปน มาตรา ๑๕ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบหาปบริบูรณ และไมเกินเจ็ดสิบปบริบูรณ (๓) ไมเปนบุคคลลมละลาย คนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ (๔) ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิด ที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๕) ไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น กรรมการ ผูดํารงตําแหนงซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจาหนาที่พรรคการเมือง


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๖ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

(๖) ไมเปนเจา หนาที่หรือลู กจางของสถาบัน หรือที่ ปรึกษาหรือ ผูเชี่ยวชาญที่มีสัญญาจา ง กับสถาบัน (๗) ไมเปนผูมีสวนไดเสียในกิจการที่กระทํากับสถาบันหรือในกิจการที่เปน การแขงขันกับ กิจการของสถาบัน ไมวาทางตรงหรือทางออม เวนแตเปนผูซึ่งคณะกรรมการมอบหมายใหเปนประธาน กรรมการ กรรมการ หรือผูแทนของสถาบันในการเขารวมทุนกับบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นตามมาตรา ๘ (๔) ความใน (๑) มิใหใชบังคับแกกรรมการชาวตางประเทศซึ่งสถาบันจําเปนตองแตงตั้งตามขอผูกพัน หรือตามลักษณะกิจการของสถาบัน หรือเปนบุคคลที่มีคุณสมบัติดีเดนเหมาะสมกับงานของสถาบัน มาตรา ๑๖ ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ สามป ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนวาระหรือในกรณี ที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้น ในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระ อยูในตําแหนง ใหผูไดรับแตงตั้งแทนตําแหนงที่วางหรือเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยูในตําแหนง เทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งไวแลว เวนแตวาระที่เหลืออยูไมถึงเกาสิบวัน จะไมแตงตั้ง กรรมการผูทรงคุณวุฒิแทนก็ได เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังไมมีการแตงตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิขึ้นใหม ใหประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้น อยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวาประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับแตงตั้ง ใหมเขารับหนาที่ มาตรา ๑๗ ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับ แตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินสองวาระไมได ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหคณะกรรมการ ประกอบดวยกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยูจนกวาจะมีการแตงตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๑๖ วรรคสอง และในกรณีที่ประธานกรรมการพนจากตําแหนงกอนวาระใหกรรมการ ที่เหลือเลือกกรรมการคนหนึ่งทําหนาที่ประธานกรรมการเปนการชั่วคราว มาตรา ๑๘ นอกจากการพ น จากตํ า แหน ง ตามวาระ ประธานกรรมการและกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงเมื่อ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๗ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

(๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีใหออก เพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางหนึ่งอยางใดตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๑๙ คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของสถาบันใหเปนไป ตามวัตถุประสงค และโดยเฉพาะใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดทิศทาง เปาหมาย และนโยบายในการบริหารงานของสถาบัน (๒) อนุมัติแผนงาน แผนการลงทุน แผนการเงิน โครงการ และงบประมาณประจําปของ สถาบัน (๓) ดูแลฐานะและความมั่นคงทางการเงิน ใหความเห็นชอบรายงานการเงินพิจารณารายงาน ของผูตรวจสอบการเงิน และวางระเบียบ กฎเกณฑ หรือขอหามทางการเงิน (๔) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการใหกูยืมเงินและการระดมเงินทุนของสถาบัน (๕) ใหคําแนะนําหรือเสนอแนะการแกไขปญหาหรืออุปสรรคอันเกิดจากการบริหารจัดการ ตลอดจนเสนอตอคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปญหาหรืออุปสรรคเกี่ยวกับ การประสานงานในการดําเนินการตามวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ของสถาบัน (๖) ใหความเห็นชอบการกําหนดคาธรรมเนียม คาบํารุง คาตอบแทน คาบริการ และสิทธิ ประโยชนตาง ๆ ที่เกิดจากการดําเนินงานของสถาบัน (๗) จัดตั้งและยุบเลิกสํานักงานสาขาของสถาบัน ในกรณีที่มีความจําเปนและเห็น สมควร เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของสถาบัน และกําหนดวิธีการบริหารงานของสํานักงานสาขาของสถาบัน ดังกลาว (๘) สรรหา แตงตั้ง ประเมินผลการปฏิบัติงาน และถอดถอนผูอํานวยการ (๙) ออกระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด หรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไปของสถาบัน การประสานระหวางสถาบันกับสํานักงานสาขา การจัดแบงสวนงานของสถาบันและขอบเขตอํานาจหนาที่ ของสวนงานดังกลาว การบริหารงานบุคคล เงินเดือ นและคาจางผูปฏิบัติงานของสถาบัน การเงิน การพัสดุและทรัพยสิน การงบประมาณ การบัญชี การจําหนายทรัพยสินจากบัญชีเปนสูญ การตรวจสอบ ภายใน การสรรหาหรือ คัด เลื อ กผู อํา นวยการ การปฏิบั ติง านของผูอํ านวยการ การมอบใหผู อื่ น


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๘ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

รักษาการแทนหรือปฏิบัติการแทนผูอํานวยการ และการจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชนอื่นแกคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ผูอํานวยการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน ที่ปรึกษาคณะทํางาน เจาหนาที่ และลูกจางของสถาบัน (๑๐) ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อใหเปนไปตามพระราชกฤษฎีกานี้ (๑๑) กระทําการอื่นใดที่จําเปนเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ของสถาบัน หรือที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ระเบียบเกี่ยวกับการจําหนายทรัพยสินจากบัญชีเปนสูญตาม (๙) ตองเปนไปตามหลักเกณฑ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๒๐ การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม ในการประชุมคณะกรรมการ ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม ในการปฏิบัติหนาที่ ประธานกรรมการหรือกรรมการผูใดมีสวนไดเสียโดยตรงหรือโดยออม ในเรื่องที่คณะกรรมการพิจารณา ใหประธานกรรมการหรื อกรรมการผู นั้น แจงใหที่ ประชุมทราบ และใหที่ประชุมพิจารณาวาประธานกรรมการหรือกรรมการผูนั้นสมควรจะอยูในที่ประชุมหรือจะมีมติ ในการประชุมเรื่องนั้นไดหรือไม ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด มาตรา ๒๑ เพื่อประโยชนในการดําเนินงานของสถาบัน ใหมีคณะที่ปรึกษาพิเศษคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะที่ปรึกษาสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง” ประกอบดวย (๑) ประธานมูลนิธิโครงการหลวง เปนประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ (๒) ที่ปรึกษาพิเศษซึ่งประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษแตงตั้งจากผูแทนสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวของ จํานวนไมเกินหาคน (๓) ที่ปรึกษาพิเศษซึ่งประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒิซึ่งเปนนักวิชาการ หรือผูชํานาญการ จํานวนไมเกินหาคน


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๙ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

มาตรา ๒๒ ที่ปรึกษาพิเศษตามมาตรา ๒๑ (๒) และ (๓) มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ สามป ที่ปรึกษาพิเศษตามมาตรา ๒๑ (๒) และ (๓) ซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้ง อีกได มาตรา ๒๓ ใหคณะที่ปรึกษาพิเศษ มีหนาที่ใหความเห็น คําแนะนํา และคําปรึกษาแกคณะกรรมการ และผูอํานวยการในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชกฤษฎีกานี้ มาตรา ๒๔ คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเชี่ยวชาญเปน ที่ปรึกษา คณะกรรมการ และมี อํ า นาจแต ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการ คณะทํ า งาน และที่ ป รึ ก ษาคณะทํ า งาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายได ที่ปรึกษาคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน และที่ปรึกษาคณะทํางานจะตองไมเปน ผูมีสว นไดเสียในกิจการที่กระทํากับสถาบันหรือในกิจการที่เปนการแขงขันกับกิจการของสถาบัน ทั้งนี้ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม เวน แตเปนผูซึ่งคณะกรรมการมอบหมายใหเปนประธานกรรมการ กรรมการ หรือผูแทนของสถาบันในการเขารวมทุนกับบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นตามมาตรา ๘ (๔) การประชุมคณะอนุกรรมการและคณะทํางาน ใหนํามาตรา ๒๐ มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๕ ใหประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการไดรับเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอื่น ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ใหคณะทํางานและที่ปรึกษาคณะทํางานไดรับเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ ที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๖ ใหสถาบันมีผูอํานวยการคนหนึ่ง คณะกรรมการเปนผูมีอํานาจสรรหา แตงตั้ง และถอดถอนผูอํานวยการ ในกรณีที่ไมมีผูอํานวยการหรือผูอํานวยการไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหรองผูอํานวยการที่มีอาวุโส ตามลําดับปฏิบัติหนาที่แ ทน ถาไมมีรองผูอํานวยการใหคณะกรรมการแตงตั้งกรรมการคนหนึ่งเปน ผูปฏิบัติหนาที่แทน มาตรา ๒๗ ผูอํานวยการตองเปนผูสามารถทํางานใหแกสถาบันไดเต็มเวลาและตองเปนผูที่มี คุณสมบัติและไมมีลกั ษณะตองหาม ดังตอไปนี้


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๐ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

(๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมเกินหกสิบหาปบริบูรณในวันที่ไดรับการแตงตั้ง (๓) เปนผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความรู ความสามารถ และประสบการณเหมาะสมกับกิจการของสถาบัน ตามที่กําหนดไวในวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ตามมาตรา ๗ และมาตรา ๘ (๔) ไมมีลักษณะตองหามอยางหนึ่งอยางใดตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) มาตรา ๒๘ ผูอํา นวยการมีวาระอยูใ นตําแหนง คราวละสี่ป และอาจไดรับ แตง ตั้งอี กได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน มาตรา ๒๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ผูอํานวยการพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ออกตามกรณีที่กําหนดไวในขอตกลงระหวางคณะกรรมการกับผูอํานวยการ (๔) คณะกรรมการใหออก เพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอน ความสามารถ (๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางหนึ่งอยางใดตามมาตรา ๒๗ มติของคณะกรรมการใหผูอํานวยการออกจากตําแหนงตาม (๔) ตองประกอบดวยคะแนนเสียง ไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการเทาที่มีอยูโดยไมนับรวมผูอํานวยการ มาตรา ๓๐ ผูอํานวยการมีหนาที่บริหารกิจการของสถาบันใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ของสถาบัน ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการ และเปน ผูบังคับบัญชาเจาหนาที่และลูกจางทุกตําแหนง เวนแตผูดํารงตําแหนงผูตรวจสอบภายใน ตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง รวมทั้งใหมีหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอเปาหมาย แผนงาน และโครงการตอคณะกรรมการ เพื่อใหการดําเนินงานของสถาบัน บรรลุวัตถุประสงค (๒) เสนอรายงานประจําปเกี่ยวกับผลการดําเนินงานดานตาง ๆ ของสถาบัน รวมทั้งรายงาน การเงินและการบัญชี ตลอดจนเสนอแผนการเงินและงบประมาณของปตอไปตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณา (๓) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและการดําเนินงานของสถาบันใหมีประสิทธิภาพ และเกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคตอคณะกรรมการ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๑ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

ผูอํานวยการตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการในการบริหารกิจการของสถาบัน มาตรา ๓๑ ผูอํานวยการมีอํานาจ (๑) แตงตั้งรองผูอํานวยการหรือผูชวยผูอํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เพื่อเปนผูชวยปฏิบัติงานของผูอํานวยการตามที่ผูอํานวยการมอบหมาย (๒) บรรจุ แตงตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือคาจาง ลงโทษทางวินัยเจาหนาที่และลูกจาง ตลอดจนใหเจาหนาที่และลูกจางออกจากตําแหนง ทั้งนี้ ตามระเบียบหรือขอบังคับที่คณะกรรมการ กําหนด (๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการดําเนินงานของสถาบันโดยไมขัดหรือแยงกับกฎหมาย มติของ คณะรัฐมนตรี ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด ประกาศ นโยบาย หรือมติของคณะกรรมการ มาตรา ๓๒ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ใหผูอํานวยการเปนผูแทนของสถาบัน และ เพื่อการนี้ ผูอํานวยการจะมอบอํานาจใหบุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอยางแทนก็ได แตตองเปนไปตาม ระเบียบหรือขอบังคับที่คณะกรรมการกําหนด นิติกรรมใดที่ผูอํานวยการหรือผูรับมอบอํานาจจากผูอํานวยการกระทําโดยฝาฝนระเบียบหรือ ขอบังคับที่คณะกรรมการกําหนด ยอมไมผูกพันสถาบัน เวนแตคณะกรรมการใหสัตยาบัน มาตรา ๓๓ ใหคณะกรรมการเปนผูกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นของ ผูอํานวยการ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๔ การประสานการปฏิบัติการ มาตรา ๓๔ เพื่อประโยชนใ นการสงเสริมและสนับสนุน การวิจัยและการพัฒนาพื้น ที่สูง อยางบูรณาการและมุงใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ประสานการปฏิบัติการกับ สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐ เพื่อใหหนวยงานดังกลาว ใช ท รั พ ยากรบุค คล งบประมาณ และอํา นาจหน า ที่ ของตนให เ กิ ด ผลสํ า เร็ จ ตามแผนปฏิ บั ติ ก าร ของสถาบัน การประสานการปฏิบัติการตามวรรคหนึ่ง สถาบัน โดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการ มีอํานาจจัดทําบัน ทึกขอตกลงฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับระหวางสถาบัน กับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๒ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐ เพื่อกําหนดวิธีการเงื่อนไข การใชอํานาจหนาที่ และ ความรับ ผิดชอบของหนวยงานนั้น ไดต ามที่ เห็น สมควร รวมทั้ง การมอบอํา นาจของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐใหสถาบันดําเนินการใด ๆ แทนดวย ทั้งนี้ ภายใตกฎหมายวาดวยการนั้นและตามความเหมาะสม ในกรณีที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามวรรคหนึ่ง ไมยินยอมทําบันทึกขอตกลงหรือไมปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหคณะกรรมการ รายงานตอรัฐมนตรีหรือผูมีอํานาจบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลหนวยงานนั้น เพื่อพิจารณาสั่งการ หรือ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดและใหมีการดําเนินการตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติองคการ มหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ในกรณีที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามวรรคหนึ่ง ไดปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงอยางมีคุณภาพหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมาย ใหคณะกรรมการรายงาน ตอ ก.พ.ร. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเปนบําเหน็จความชอบหรือจัดสรรเงินรางวัล การเพิ่มประสิทธิภาพใหแกสวนราชการรัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐนั้น หรือใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐนั้นใชเงินงบประมาณ เหลือจายของตนเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานหรือจัดสรรเปนเงินรางวัลใหแกบุคลากรในสังกัด หรือรับสิทธิ หรือประโยชนตอบแทนอื่นตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๕ ผูปฏิบัติงานของสถาบัน มาตรา ๓๕ ผูปฏิบัติงานของสถาบันมีสามประเภทคือ (๑) เจาหนาที่และลูกจาง ไดแก ผูซึ่งปฏิบัติงานโดยไดรับเงินเดือนหรือคาจางจากงบประมาณ ของสถาบัน (๒) ที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ ไดแก ผูซึ่งสถาบันจางใหปฏิบัติงานเปนที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ โดยมีสัญญาจาง (๓) เจาหนาที่ของรัฐซึ่งมาปฏิบัติงานของสถาบันเปนการชั่วคราวตามมาตรา ๓๘


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๓ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

มาตรา ๓๖ เจาหนาที่ตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ และไมเกินหกสิบปบริบูรณ (๓) สามารถทํางานใหแกสถาบันไดเต็มเวลา (๔) มีคุณวุฒิหรือประสบการณเหมาะกับวัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ของสถาบัน (๕) ไมเปนขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการ พนักงานหรือลูกจางของรัฐวิสาหกิจหรือ หนวยงานอื่นของรัฐ หรือพนักงานหรือลูกจางของราชการสวนทองถิ่น (๖) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) ความใน (๑) มิใหใชบังคับแกเจาหนาที่ชาวตางประเทศซึ่งสถาบันจําเปนตองจางหรือแตงตั้ง ตามขอผูกพันหรือตามลักษณะกิจการของสถาบัน มาตรา ๓๗ เจาหนาที่พนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางหนึ่งอยางใดตามมาตรา ๓๖ (๔) ถูกใหออก เพราะไมผานการประเมินผลงานตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ กําหนดไวในขอบังคับ (๕) ถูกใหอ อกหรือ ปลดออก เพราะผิด วินั ยตามหลักเกณฑแ ละวิ ธีก ารที่ คณะกรรมการ กําหนดไวในขอบังคับ มาตรา ๓๘ เพื่อประโยชนในการบริหารงานของสถาบัน รัฐ มนตรีอาจขอใหขาราชการ พนักงาน เจาหนาที่ หรือผูปฏิบัติงานอื่นใดในกระทรวง ทบวง กรม ราชการส วนภู มิภ าค ราชการ สวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชนอื่น หรือหนวยงานอื่นของรัฐ มาปฏิบัติงานเปนเจาหนาที่ ของสถาบันเปนการชั่วคราวได ทั้งนี้ เมื่อไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชาหรือนายจางของผูนั้น และมี ขอตกลงที่ทําไวในการอนุมัติ ขาราชการ พนัก งาน เจา หนาที่ หรื อผูปฏิบั ติงานอื่น ใดซึ่งได รับอนุ มัติใ ห มาปฏิ บัติงาน เปนเจาหนาที่ของสถาบันเปนการชั่วคราวตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการไดรับอนุญาตใหออกจากราชการ หรือออกจากงานไปปฏิบัติงานใด ๆ และใหนับระยะเวลาระหวางที่มาปฏิบัติงานในสถาบันสําหรับ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๔ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

การคํานวณบําเหน็จบํานาญหรือประโยชนตอบแทนอยางอื่นทํานองเดียวกันเสมือนอยูปฏิบัติราชการ หรือปฏิบัติงานเต็มเวลาดังกลาว แลวแตกรณี เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติใหมาปฏิบัติงานในสถาบัน ใหเจาหนาที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิไดรับการบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงและรับเงินเดือนในสวนราชการหรือหนวยงานเดิม ไมต่ํากวาตําแหนงและเงินเดือนเดิมตามขอตกลงที่ทําไวในการอนุมัติ หมวด ๖ การบัญชี การตรวจสอบ และการประเมินผลงานของสถาบัน มาตรา ๓๙ การบั ญ ชี ข องสถาบั น ให จั ด ทํ า ตามหลั ก สากล ตามแบบและหลั ก เกณฑ ที่คณะกรรมการกําหนด และตองจัดใหมีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงินการบัญชี และการพัสดุ ของสถาบัน ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการทราบอยางนอยปละครั้ง ในการตรวจสอบภายใน ใหมี ผูป ฏิบั ติ งานของสถาบัน ทํา หน า ที่เ ปน ผูต รวจสอบภายใน โดยเฉพาะ และใหรับผิดชอบขึ้น ตรงตอคณะกรรมการตามระเบียบหรือขอบังคับที่คณะกรรมการ กําหนด มาตรา ๔๐ ใหส ถาบัน จัดทํ างบดุ ล งบการเงิ น และบั ญชี ทํา การสง ผูส อบบั ญชี ภายใน หนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีทุกป ในทุกรอบป ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือบุคคลภายนอกตามที่คณะกรรมการแตงตั้ง ดวยความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูสอบบัญชี และประเมินผลการใชจายเงินและ ทรัพยสินของสถาบัน โดยใหแสดงความคิดเห็นเปนขอวิเคราะหวาการใชจายดังกลาวเปนไปตามวัตถุประสงค ประหยัด และไดผลตามเปาหมายเพียงใด แลวบันทึกรายงานผลการสอบบัญชีเสนอตอคณะกรรมการ เพื่อการนี้ ใหผู สอบบัญชีมีอํานาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตาง ๆ ของสถาบัน สอบถามผูอํานวยการ ผูตรวจสอบภายใน เจาหนาที่และลูกจาง หรือบุคคลอื่น และ เรียกใหสงสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตาง ๆ ของสถาบันเปนการเพิ่มเติมไดตามความจําเปน มาตรา ๔๑ ใหสถาบันทํารายงานประจําปเสนอรัฐมนตรีทุกสิ้นปงบประมาณ รายงานนี้ ใหกลาวถึงผลงานของสถาบันในปที่ลวงมาแลว บัญชีทําการ พรอมทั้งรายงานของผูสอบบัญชี รวมทั้ง คําชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการ โครงการ และแผนงานที่จะจัดทําในภายหนา


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๕ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

มาตรา ๔๒ เพื่อประโยชนในการพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานของสถาบันใหมี ประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ สรางความรับผิดชอบและความเชื่อถือแกสาธารณชนในกิจการของสถาบัน ตลอดจนการติดตามความกาวหนาและการตรวจสอบการดําเนินงานของสถาบันใหเปนไปตามวัตถุประสงค โครงการ และแผนงานที่ไดจัดทําไว ใหสถาบันจัดใหมีการประเมินผลการดําเนินงานตามระยะเวลา ที่คณะกรรมการกําหนด แตตองไมนานกวาสามป การประเมินผลการดําเนินงานตามวรรคหนึ่ง ใหจัดทําโดยสถาบัน หน ว ยงาน องค ก ร หรื อ คณะบุคคลที่เปน กลางและมีความเชี่ยวชาญในดานการประเมิน ผลการดําเนินงานโดยมีการคัดเลือก หรือแตงตั้งตามวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด การประเมิ น ผลการดํ าเนิ น งานของสถาบัน จะต อ งแสดงข อ เท็ จ จริ ง ให ป รากฏทั้ ง ในด า น ประสิทธิผล ในดานประสิทธิภาพ และในดานการพัฒนาองคกร และในรายละเอียดอื่นตามที่คณะกรรมการ จะไดกําหนดเพิ่มเติมขึ้น ในกรณีที่มีเหตุผลจําเปนเปนการเฉพาะกาล คณะกรรมการจะจัดใหมีการประเมินผลการดําเนินงาน เปนครั้งคราวตามมาตรานี้ดวยก็ได หมวด ๗ การกํากับดูแล มาตรา ๔๓ ใหรัฐ มนตรีมีอํ านาจหน าที่กํ ากับ ดูแลการดํ าเนิ น กิจ การของสถาบัน ใหเป น ไปตามกฎหมาย และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถาบัน นโยบายของรัฐบาล และมติ คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับสถาบัน เพื่อการนี้ใหรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหสถาบันชี้แจงแสดงความคิดเห็น ทํารายงานหรือยับยั้งการกระทําของสถาบันที่ขัดตอวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถาบัน นโยบายของรัฐบาล หรือ มติ คณะรัฐ มนตรี ที่เ กี่ยวกับ สถาบัน ตลอดจนสั่ งสอบสวนขอ เท็ จจริงเกี่ย วกั บการดํ าเนิน การ ของสถาบันได บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๔ เมื่อพระราชกฤษฎีกานี้ใ ชบังคับ ใหรัฐมนตรีเสนอคณะรัฐมนตรีดําเนิน การ ตามมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่ออนุมัติใหมีการโอนบรรดากิจการ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๖ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

ทรัพยสิน สิทธิ หนี้ และงบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรที่สูงซึ่งเปนโครงการหลวงที่มีอยูในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ ใชบังคับ เวนแตงบประมาณหมวดเงินเดือนและคาจางประจําที่ยังมีผูครองอยูไปเปนของสถาบัน มาตรา ๔๕ เพื่อเปน ทุน ในการดําเนิน กิจการของสถาบัน ในระยะเริ่มแรก ใหรัฐ มนตรี เสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติใหมีการจัดสรรทุนประเดิมใหแกสถาบันภายในวงเงินที่รัฐมนตรีเห็นสมควร เพื่อใหสถาบันสามารถดําเนินการตามวัตถุประสงคได มาตรา ๔๖ ในวาระเริ่มแรก ใหคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงประกอบดวย ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เลขาธิการมูลนิธิ โครงการหลวง เปน กรรมการ ผูอํ านวยการสํ านักพั ฒนาเกษตรที่สูง สํานั กงาน ปลัด กระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปน กรรมการและเลขานุการ และประธานมู ลนิ ธิ โครงการหลวง เปนที่ปรึกษา ทั้งนี้ ใหปฏิบัติหนาที่ไปจนกวาจะมีคณะกรรมการตามพระราชกฤษฎีกานี้ ซึ่งตองไมเกินหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ มาตรา ๔๗ ใหผูอํานวยการสํานักพัฒนาเกษตรที่สูง สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวง เกษตรและสหกรณ ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการ เปนการชั่วคราวไปพลางกอนจนกวาจะมีการแตงตั้งผูอํานวยการตามพระราชกฤษฎีกานี้ ซึ่งตองไมเกิน หนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ มาตรา ๔๘ ภายใตบังคับมาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ใหขาราชการและลูกจางของสํานักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ในสวนที่เกี่ยวขอ งกับการพัฒนาเกษตรที่สูงซึ่งเป น โครงการหลวง ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ ยังคงเปนขาราชการและลูกจาง ของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ และปฏิบัติหนาที่ในสถาบันตามพระราชกฤษฎีกานี้ โดยใหถือวาการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวเปนการปฏิบัติหนาที่ราชการหรือปฏิบัติหนาที่ในฐานะลูกจาง ของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ มาตรา ๔๙ ขาราชการและลูกจางของสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ในสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเกษตรที่สูงซึ่งเปนโครงการหลวง ที่ดํารงตําแหนงอยูในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ ใชบังคับซึ่งสมัครใจเปลี่ยนไปเปนเจาหนาที่หรือลูกจางของสถาบัน ใหใชสิทธิแจงความจํานงเปนหนังสือ


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๗ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

ตอผูบังคับบัญชาตามระเบียบที่คณะกรรมการตามมาตรา ๔๖ กําหนด ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ พระราชกฤษฎีกานี้ใ ชบังคับ และตองผานการประเมิน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ ตามมาตรา ๔๖ กํ า หนด ซึ่ง หลัก เกณฑแ ละวิ ธีก ารดั ง กล าวจะต อ งไมขั ด หรื อ แย งกั บ หลั ก เกณฑ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนดตามมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ การบรรจุแ ละแตงตั้งผูที่ผานการคัดเลือกและการประเมิน ตามวรรคหนึ่ง ใหมีผ ลในวัน ที่ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติใหมีการดําเนินการตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๕๐ ใหผู ที่ไ ดรั บการบรรจุแ ละแต งตั้ งเปน เจา หน าที่ แ ละลู กจ างตามมาตรา ๔๙ ไดรับเงินเดือน คาจาง หรือคาตอบแทนตามตําแหนง อัตราเงินเดือน และคาจางตามที่คณะกรรมการ ตามมาตรา ๔๖ กําหนด รวมทั้งไดรับสวัสดิการและประโยชนอยางอื่น ซึ่งรวมกันแลวตองไมนอยกวา เงินเดือน คาจาง คาตอบแทน หรือสวัสดิการและประโยชนอยางอื่นที่ขาราชการหรือลูกจางผูนั้นเคยไดรับ จากสวนราชการ การเปลี่ยนจากขาราชการไปเปนเจาหนาที่ของสถาบัน ใหถือวาเปนการใหออกจากราชการ เพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการหรือกฎหมาย วาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ การเปลี่ยนจากลูกจางของสวนราชการไปเปนลูกจางของสถาบัน ใหถือวาเปนการออกจากงาน เพราะทางราชการยุ บ ตํ าแหน งหรื อ เลิ ก จ างโดยไม มี ค วามผิ ด และให ไ ดรั บ บํ าเหน็ จตามระเบี ย บ กระทรวงการคลัง วาดวยบําเหน็จลูกจาง มาตรา ๕๑ ในระหวางที่ยังไมมีระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือขอกําหนดของสถาบัน ใหนําระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับงานโครงการหลวง พ.ศ. ๒๕๔๗ ในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านตามขอบวั ต ถุ ป ระสงค ห รื อ อํ า นาจหน า ที่ ที่ จ ะเป น ของสถาบั น ตามพระราชกฤษฎีกานี้ที่ใชบังคับอยูกอนวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ มาใชบังคับโดยอนุโลม ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี


เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๙๕ ก

หนา ๑๘ ราชกิจจานุเบกษา

๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๘

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีก าฉบับนี้ คือ โดยที่เปนการสมควรสงเสริมและ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง การพัฒนาและเสริมสรางนักวิจัย การใหบริการดานการใหคําปรึกษา การถายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน การแลกเปลี่ยนผลงานวิชาการในระดับ นานาชาติ และการสนับสนุนงานโครงการหลวง เพื่อเปนการขยายผลงานโครงการหลวงใหเกิดประโยชน อยางกวางขวางในการปฏิบัติงานบนพื้นที่สูงที่หางไกลและทุรกันดาร โดยการจัดตั้งองคกรในรูปแบบองคการ มหาชนเพื่อทําหนาที่ดังกลาวซึ่งจะทําใหมีการบริหารจัดการที่กวางขวาง มีความคลองตัวในการดําเนินงาน และมีการประสานความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของเขาดวยกันไดดียิ่งขึ้น สมควรจัดตั้งสถาบันวิจยั และพัฒนาพื้นที่สูงขึ้นเปนองคการมหาชนเพื่อดําเนินภารกิจดังกลาว จึงจําเปนตองตราพระราชกฤษฎีกานี้





เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๗ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

พระราชกฤษฎีกา

จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง” ประกอบด้วย


เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๘ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

(๑) ประธานกรรมการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูง เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สูง (๒) กรรมการโดยตํ า แหน่ ง จํ า นวนสามคน ได้ แ ก่ ปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเลขาธิการมูลนิธิโครงการหลวง (๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวนไม่เกินหกคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูงเป็นที่ประจักษ์ในด้านการเกษตร การพัฒนาสังคม การอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ การบริหารจัดการ หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อกิจการ ของสถาบัน ให้ ผู้ อํ า นวยการเป็ น กรรมการและเลขานุ ก ารโดยตํ า แหน่ ง และให้ ผู้ อํ า นวยการแต่ ง ตั้ ง ผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจําเป็น กรรมการจํานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ต้องไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา พนักงานหรือลูกจ้างของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัย และพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๖ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๙ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการและการดําเนินการ ของสถาบัน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ อํานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) กําหนดทิศทาง เป้าหมาย นโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการดําเนินงาน ของสถาบัน (๒) อนุมัติแผนงาน แผนการลงทุน แผนการเงิน โครงการ และงบประมาณประจําปีของสถาบัน (๓) ดูแลฐานะและความมั่นคงทางการเงิน ให้ความเห็นชอบรายงานการเงิน พิจารณารายงาน ของผู้ตรวจสอบการเงิน และวางระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือข้อห้ามทางการเงิน (๔) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้กู้ยืมเงินและการระดมเงินทุนของสถาบัน (๕) ให้คําแนะนําหรือเสนอแนะการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคอันเกิดจากการบริหารจัดการ ตลอดจนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหาหรืออุปสรรคเกี่ยวกับ การประสานงานในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของสถาบัน


เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๙ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

(๖) ให้ ค วามเห็ น ชอบการกํา หนดค่ า ธรรมเนี ย ม ค่ าบํ ารุ ง ค่ า ตอบแทน ค่ า บริ ก าร และ สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่เกิดจากการดําเนินงานของสถาบัน (๗) จัดตั้งและยุบเลิกสํานักงานสาขาของสถาบันในกรณีที่มีความจําเป็นและเห็นสมควรเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบัน และกําหนดวิธีการบริหารงานของสํานักงานสาขาของสถาบันดังกล่าว (๘) สรรหา แต่งตั้ง ประเมินผลการปฏิบัติงาน และถอดถอนผู้อํานวยการ (๙) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อกําหนดเกี่ยวกับสถาบันในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การประสานระหว่างสถาบันกับสํานักงานสาขา (ข) การจัดแบ่งส่วนงานของสถาบัน และขอบเขตหน้าที่ของส่วนงานดังกล่าว (ค) การกําหนดตําแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะตําแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าจ้าง และเงินอื่น ของเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง (ง) การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน วินัยและการลงโทษทางวินัย การออกจากตําแหน่ง การร้องทุกข์และการอุทธรณ์การลงโทษของเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง รวมทั้งวิธีการ และเงื่อนไขในการจ้างลูกจ้าง (จ) การบริหารและจัดการการเงิน การพัสดุ ทรัพย์สิน และการงบประมาณของสถาบัน รวมทั้งการบัญชีและการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีเป็นสูญ (ฉ) การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นแก่เจ้าหน้าที่และลูกจ้าง (ช) การแต่งตั้งและอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ (ซ) การกํ า หนดขอบเขตเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้ตรวจสอบภายใน (ฌ) การกําหนดเครื่องแบบผู้อํานวยการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้าง และเครื่องหมายสถาบัน (ญ) การสรรหา การแต่งตั้ง และการถอดถอนผู้อํานวยการ การปฏิบัติงานของผู้อํานวยการ และการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทน (๑๐) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกานี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย (๑๑) กระทําการอื่นใดที่จําเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบัน ระเบียบเกี่ยวกับการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีเป็นสูญตาม (๙) (จ) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษา คณะกรรมการ และมีอํานาจแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบตามมาตรา ๑๙ (๙) (ช) และคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้


เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๑๐ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

ที่ปรึกษาคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะอนุกรรมการ จะต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ในกิจการที่กระทํากับสถาบัน หรือในกิจการที่เป็นการแข่งขันกับกิจการของสถาบัน ทั้งนี้ ไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้แทน ของสถาบันในการเข้าร่วมทุนกับนิติบุคคลอื่นตามมาตรา ๘ (๔) การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและคณะอนุกรรมการ ให้นํามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๕ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาพิเศษ ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานอนุ ก รรมการ และอนุกรรมการ ได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด” มาตรา ๗ ให้ ย กเลิ ก ความในมาตรา ๒๗ แห่ ง พระราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง สถาบั น วิ จั ย และพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๗ ผู้อํานวยการต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ เหมาะสมกับกิจการของสถาบันตามที่กําหนดไว้ในวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของสถาบัน รวมทั้ง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชนด้วย” มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของมาตรา ๒๙ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ “การขาดคุ ณ สมบั ติ เ พราะมี อ ายุ เ กิ น หกสิ บ ห้ า ปี บ ริ บู ร ณ์ ให้ ถื อ ว่ า เป็ น การพ้ น จากตํ า แหน่ ง ตามกําหนดเวลาในสัญญาจ้าง” มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๐ แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๙ วรรคสอง ให้ผู้อํานวยการมีหน้าที่บริหารกิจการ ของสถาบันให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ของสถาบัน ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการ และให้ผู้อํานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่และลูกจ้างทุกตําแหน่ง รวมทั้งให้มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอเป้าหมาย แผนงาน และโครงการต่อคณะกรรมการเพื่อให้การดําเนินงานของสถาบัน บรรลุวัตถุประสงค์ (๒) เสนอรายงานประจําปีเกี่ยวกับผลการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ของสถาบัน รวมทั้งรายงานการเงิน และการบัญชี ตลอดจนเสนอแผนการเงินและงบประมาณของปีต่อไปต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา (๓) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและการดําเนินงานของสถาบันให้มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสถาบันต่อคณะกรรมการ ผู้อํานวยการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของสถาบัน”


เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๑๒ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

การดําเนินงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เป็นไปตามระบบการประเมินผล ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับไปพลางก่อน ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี


เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก

หน้า ๑๓ ราชกิจจานุเบกษา

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติต่าง ๆ ในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้สอดคล้องกับ บทบัญญัติในพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติองค์การมหาชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อให้การบริหารงานและการปฏิบัติภารกิจของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้



















































ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นทีส่ ูง วาดวยการลาของเจาหนาที่และลูกจาง พ.ศ. 2549 -----------------------------------โดยที่ เ ป น การสมควรให มี ก ารออกระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การลาของเจ า หน า ที่ แ ละลู ก จ า งของ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (9) แหงพระราช กฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 และมติที่ประชุมคณะกรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงในการประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2549 จึงเห็นสมควรออก ระเบียบไวในวาระแรก ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง วาดวยการลา ของเจาหนาที่และลูกจาง พ.ศ. 2549” ขอ 2 ระเบียบนี้ ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “เจ า หน า ที่ แ ละลู ก จ า ง” หมายความว า ผู ซึ่ ง ปฏิ บั ติ ง านโดยรั บ เงิ น เดื อ นหรื อ ค า จ า งจาก งบประมาณของสถาบัน และหมายรวมถึงเจาหนาที่ของรัฐซึ่งมาปฏิบัติงานในสถาบันเปนการชั่วคราวตาม มาตรา 38 แหงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 “เขารับการตรวจเลือก” หมายความวา เขารับการตรวจเลือกเพื่อรับราชการเปนทหารกอง ประจําการ “เขารับการเตรียมพล” หมายความวา เขารับการระดมพล เขารับการตรวจสอบพลเขารับการ ฝกวิชาทหารหรือเขารับการทดลองความพรั่งพรอมตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร ขอ 4 ใหผูอํานวยการเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหา เกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 5 ใหผูอํานวยการเปนผูมีอํานาจอนุญาตการลาตามระเบียบนี้ ผูอํานวยการจะมอบหมายหรือมอบอํานาจ โดยทําเปนหนังสือใหแกผูดํารงตําแหนงใดเปน ผูอนุญาตแทนก็ได


การลาของผูอํานวยการตามระเบียบนี้ ใหประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงเปนผูอนุญาต ข อ 6 เพื่ อ ควบคุ ม ให เ ป น ไปตามระเบี ย บนี้ ใ ห ส ถาบั น จั ด ทํ า บั ญ ชี ล งเวลาปฏิ บั ติ ง านของ เจาหนาที่และลูกจาง หรือจะใชเครื่องบันทึกเวลาการปฏิบัติงานแทนก็ได ในกรณีจําเปน ผูอํานวยการจะกําหนดวิธีลงเวลาปฏิบัติงาน หรือวิธีควบคุมการปฏิบัติงานของ เจาหนาที่และลูกจางที่มีการปฏิบัติงานในลักษณะพิเศษเปนอยางอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได แตทั้งนี้จะตองมี หลักฐานใหสามารถตรวจสอบวัน เวลา การปฏิบัติงานไดดวย ขอ 7 การลาใหใชใบลาตามแบบที่ผูอํานวยการกําหนด เวนแตกรณีจําเปนหรือรีบดวนจะใช ใบลาที่มีขอความไมครบถวนตามแบบหรือจะลาโดยวิธีการอยางอื่นก็ได แตทั้งนี้ตองสงใบลาตามแบบในวัน แรกที่มาปฏิบัติงานไดดวย ขอ 8 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งประสงคจะไปตางประเทศในระหวางการลาตามระเบียบนี้ หรือใน ระหวางวันหยุดทําการ ใหเสนอขออนุญาตตอผูอํานวยการ ขอ 9 การลาทุกประเภทตามระเบียบนี้ ถามีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกําหนดเกี่ยวกับ การลาประเภทใดไวเปนพิเศษ ผูมีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตการลาจะตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติ คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการลาประเภทนั้น หมวดที่ 2 ประเภทการลา ขอ 10 การลาแบงออกเปน 7 ประเภท คือ (1) การลาปวย (2) การลาคลอดบุตร (3) การลากิจสวนตัว (4) การลาพักผอนประจําป (5) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย (6) การลาเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล (7) การลาประเภทอื่นตามที่คณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคลกําหนด สวนที่ 1 การลาปวย ขอ 11 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งประสงคจะลาปวยเพื่อรักษาตัว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอ ผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาตกอนหรือในวันที่ลา เวนแตในกรณีจําเปนจะเสนอหรือจัดสง ใบลาในวันแรกที่มาปฏิบัติงานก็ได /ในกรณี ...


ในกรณีที่เจาหนาที่และลูกจาง ผูขอลามีอาการปวยจนไมสามารถจะลงชื่อในใบลาได จะใหผูอื่น ลาแทนก็ได แตเมื่อสามารถลงชื่อไดแลว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว การลาปวยตั้งแต 30 วันขึ้นไปตองมีใบรับรองแพทยซึ่งเปนผูที่ไดขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลาดวย ในกรณีจําเปนหรือเห็นสมควรผูมีอํานาจอนุญาตจะสั่งให ใชใบรับรองแพทยซึ่งผูมีอํานาจอนุญาตเห็นชอบแทนก็ได ให เ จ า หน า ที่ แ ละลู ก จ า ง ได รั บ เงิ น เดื อ นระหว า งลาได ป ห นึ่ ง ไม เ กิ น หกสิ บ วั น ทํ า การ แต ถ า ผูอํานวยการเห็นสมควรจะจายเงินเดือนตอไปอีกก็ไดแตไมเกินหกสิบวันทําการ สวนที่ 2 การลาคลอดบุตร ขอ 12 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งประสงคจะลาคลอดบุตร ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับ บัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาตกอนหรือในวันที่ลา เวนแตไมสามารถจะลงชื่อในใบลาได จะใหผูอื่น ลาแทนก็ได แตเมื่อสามารถลงชื่อไดแลว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็วและมีสิทธิลาคลอดบุตร โดยไดรับ เงินเดือนครั้งหนึ่งได 90 วัน โดยไมตองมีใบรับรองแพทย การลาคลอดบุตรจะลาในวันที่คลอด กอนหรือหลังวันที่คลอดก็ได แตเมื่อรวมวันลาแลวตองไม เกิน 90 วัน เจาหนาที่และลูกจางที่ไดรับอนุญาตใหลาคลอดบุตร และไดหยุดงานไปแลว แตไมไดคลอดบุตร ตามกําหนด หากประสงคจะขอถอนวันลาคลอดบุตรที่หยุดไป ใหผูมีอํานาจอนุญาตใหถอนวันลาคลอดบุตรได โดยใหถือวาวันที่ไดหยุดงานไปแลว เปนวันลากิจสวนตัว การลาคลอดบุตรคาบเกี่ยวกับการลาประเภทใด ซึ่งยังไมครบกําหนดวันลาของการลาประเภท นั้น ใหถือวาการลาประเภทนั้นสิ้นสุดลง และใหนับเปนการลาคลอดบุตรตั้งแตวันเริ่มวันลาคลอดบุตร สวนที่ 3 การลากิจสวนตัว ขอ 13 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งประสงคจะลากิจสวนตัว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับ บัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจ และเมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงจะหยุดได เวนแตมีเหตุจําเปนไมสามารถรอรับ อนุญาตไดทัน จะเสนอหรือจัดสงใบลาพรอมดวยระบุเหตุจําเปนไวแลวหยุดงานไปกอนก็ได แตตองชี้แจง เหตุผลใหผูมีอํานาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพิเศษที่ไมอาจเสนอหรือจัดสงใบลากอนตามวรรคแรกได ใหเสนอหรือจัดสงใบลา พร อ มทั้ ง เหตุ ผ ลความจํ า เป น ต อ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาตามลํ า ดั บ จนถึ ง ผู มี อํ า นาจอนุ ญ าตทั น ที ใ นวั น แรกที่ ม า ปฏิบัติงาน /ขอ 14 …


ขอ 14 เจาหนาที่มีสิทธิลากิจสวนตัวโดยไดรับเงินเดือนปละไมเกิน 45 วันทําการ สําหรับลูกจาง มีสิทธิลากิจสวนตัวโดยไดรบั เงินเดือนปละไมเกิน 30 วันทําการ ตามเหตุผลและความจําเปน ขอ 15 เจาหนาที่และลูกจางที่ลาคลอดบุตรตามขอ 12 แลว หากประสงคจะลากิจสวนตัวเพื่อ เลี้ยงดูบุตร ใหมีสิทธิลาตอเนื่องจากการลาคลอดบุตรไดไมเกิน 150 วันทําการ โดยไมมีสิทธิไดรับเงินเดือน ระหวางลา ขอ 16 ผูที่ไดรับอนุญาตใหลากิจสวนตัว เวนแตกรณีการลากิจสวนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรตามขอ 15 ซึ่งไดหยุดงานไปยังไมครบกําหนด ถามีภารกิจจําเปนเกิดขึ้น ผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจอนุญาตจะเรียกตัว มาปฏิบัติงานก็ได สวนที่ 4 การลาพักผอนประจําป ขอ 17 เจาหนาที่และลูกจางมีสิทธิลาพักผอนประจําปในปหนึ่งได 10 วันทําการ ขอ 18 ถาในปใดเจาหนาที่ผูใดมิไดลาพักผอนประจําป หรือลาพักผอนประจําปแลว แตไมครบ 10 วันทําการ ใหสะสมวันที่ยังมิไดลาในปนั้นรวมเขากับปตอๆ ไปได แตวันลาพักผอนสะสมรวมกับวันลา พักผอนในปปจจุบันจะตองไมเกิน 20 วันทําการ ขอ 19 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งประสงคจะลาพักผอน ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชา ตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาตและเมื่อไดรบั อนุญาตแลวจึงจะหยุดงานได ขอ 20 ผูที่ไดรับอนุญาตใหลาพักผอนซึ่งหยุดงานไปยังไมครบกําหนด ถามีงานจําเปนเกิดขึ้น ผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจอนุญาตจะเรียกตัวมาปฏิบัติงานก็ได สวนที่ 5 การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย ขอ 21 เจาหนาที่และลูกจางซึ่งยังไมเคยใชสิทธิลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา หรือเจาหนาที่ และลู ก จ า งที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลามซึ่ ง ไม เ คยใช สิ ท ธิ ล าไปประกอบพิ ธี ฮั จ ย ณ เมื อ งเมกกะ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย หากประสงคจะใชสิทธิดังกลาว ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูมี อํานาจอนุญาตกอนวันอุปสมบท หรือกอนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยไมนอยกวา 60 วัน โดยไดรับเงินเดือน ระหวางลาไดไมเกิน 120 วัน แตในปแรกที่เริ่มปฏิบัติงานไมใหไดรับเงินเดือนระหวางลา ในกรณีมีเหตุพิเศษไมอาจเสนอหรือจัดสงใบลากอนตามวรรคหนึ่ง ใหชี้แจงเหตุผลความจําเปน ประกอบการลา และใหอยูในดุลยพินิจของผูมีอํานาจที่จะพิจารณาใหลาหรือไมก็ได /ขอ 22 …


ขอ 22 เจาหนาที่และลูกจางที่ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหลาอุปสมบทหรือไดรับ อนุญาตใหลาไปประกอบพิธีฮัจยตามขอ 21 แลว จะตองอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยภายใน 10 วัน นับแตวันเริ่มลา และจะตองกลับมารายงานตัวเขาปฏิบัติงานภายใน 5 วัน นับแตวันที่ลาสิกขา หรือวันที่ เดินทางกลับถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย เจาหนาที่และลูกจางที่ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหลาอุปสมบท หรือไดรับอนุญาต ใหลาไปประกอบพิธีฮัจยและไดหยุดงานไปแลว หากปรากฏวามีปญหาอุปสรรคทําใหไมสามารถอุปสมบทหรือ ไปประกอบพิธีฮัจยตามที่ขอลาไว เมื่อไดรายงานตัวกลับเขาปฏิบัติงานตามปกติและขอถอนวันลา ใหผูมี อํานาจอนุญาตใหถอนวันลาอุปสมบทหรือไปประกอบพิธีฮัจยได โดยใหถือวาวันที่ไดหยุดงานไปแลวเปนวันลา กิจสวนตัว สวนที่ 6 การลาเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ขอ 23 เจาหนาที่และลูกจางที่ไดรับหมายเรียกเขารับการตรวจเลือก ใหรายงานลาตอผูบังคับ บัญชากอนวันเขารับการตรวจเลือกไมนอยกวา 48 ชั่วโมง สวนเจาหนาที่และลูกจางที่ไดรับหมายเรียกเขารับ การเตรียมพล ใหรายงานลาตอผูบังคับบัญชาภายใน 48 ชั่วโมง นับแตเวลารับหมายเรียกเปนตนไป และใหไป เขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพลตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น โดยไมตองรอคําสั่งอนุญาตและให ผูบังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจอนุญาต การลาเขารับการตรวจเลือก ใหไดรับเงินเดือนระหวางลาไดไมเกิน 7 วัน ขอ 24 เมื่อเจาหนาที่และลูกจางที่ลาพนจากการเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล แลวใหมารายงานตัวกลับเขาปฏิบัติงานตามปกติตอผูบังคับบัญชาภายใน 7 วัน เวนแตกรณีที่มีเหตุจําเปน ผูมีอํานาจอนุญาตอาจขยายเวลาใหได แตรวมแลวไมเกิน 15 วัน ขอ 25 ระเบียบนี้ คณะกรรมการไดออกระเบียบไวในวาระแรกที่ยังไมมีคณะอนุกรรมการพัฒนา และบริหารงานบุคคล ในวาระตอไปใหเปนไปตามที่ขอบังคับคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง วาดวยการพัฒนาและบริหารงานบุคคลกําหนดไว



























































ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นทีส่ ูง วาดวยคาใชจายในการฝกอบรมและคาตอบแทน พ.ศ. 2549 -----------------------------------------------โดยที่เปนการสมควรกําหนดคาใชจายในการฝกอบรมและคาตอบแทน อาศัยอํานาจ ตาม ความในมาตรา 19 (9) แหงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง จึงกําหนดระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง วาดวย คาใชจายในการฝกอบรมและคาตอบแทน พ.ศ. 2549” ขอ 2 ใหใชระเบียบนี้ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถาบัน “คณะที่ปรึกษาพิเศษ” หมายความวา คณะที่ปรึกษาสถาบัน “ที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ” หมายความวา ที่ปรึกษา หรือผูเชี่ยวชาญ ตามมาตรา 35 (2) แหงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ.2548 “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบัน “การฝกอบรม” หมายความวา การเพิ่มพูนความรู การอบรม การประชุม การสัมมนา การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การบรรยาย การฝ ก ภาคปฏิบั ติ หรื อ ที่ เรี ย กชื่ อ อย า งอื่ น โดยมี โ ครงการ วัตถุประสงค และชวงเวลาจัดที่แนนอน และหมายรวมถึงการไปดูงานที่เกี่ยวเนื่องกับการฝกอบรมดวย “ผูเขารับการฝกอบรม” หมายความวา ผูปฏิบัติงานของสถาบัน เจาหนาที่หนวยงาน ตางๆ เกษตรกร หรือบุคคลอื่นๆ ที่เขารับการฝกอบรมตามหลักสูตรที่สถาบันจัดขึ้น “คาอาหาร” หมายความวา คาอาหารเชา อาหารกลางวัน อาหารเย็น อาหารวางและเครื่องดื่ม “วิทยากร” หมายความวา ผูมีความรู ทักษะ ความสามารถ หรือประสบการณที่เปน ประโยชนตอการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ตามบทบาทหนาที่ ที่สถาบันกําหนด ขอ 4 โครงการฝกอบรม การจัดฝกอบรม การเดินทางไปจัดการฝกอบรม และการเดินทางไปดู งานตามที่กําหนดในหลักสูตรตองไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการ หรือผูที่ผูอํานวยการมอบหมาย /ขอ 5...


2

ขอ 5 คาใชจายในการฝกอบรม ไดแก (1) คาเชาสถานที่ (2) คาวิทยากร (3) คาอาหาร (4) คาเชาที่พัก (5) คาใชจายในการเดินทาง (6) คาใชจายอื่นที่เกี่ยวของกับการฝกอบรม คาใชจายตาม (1)( 2) (5) และ (6) ใหจายไดเทาที่จายจริง คาใชจายตาม (3) และ (4) ใหจายไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตราที่กําหนด ขอ 6 คาอาหาร ไดแก (1) คาอาหารเชา กลางวัน เย็น ไมเกินคนละ 1,000 .- บาท/วัน (2) คาอาหารวางและเครื่องดื่ม ไมเกินคนละ 250 .- บาท/วัน ขอ 7 คาวิทยากร ใหจายไดตามที่จายจริงโดยคํานึงถึงคุณวุฒิ ความรู ประสบการณ หรือสาขา ที่ขาดแคลนของวิทยากรและประโยชนที่สถาบันไดรับ ขอ 8 คาเชาที่พักของผูเขาฝกอบรมใหจายไดเทาที่จายจริงโดยประหยัดไมเกินคนละ 1,500 บาท/คืน เวนแตคาเชาที่พักวิทยากร ผูบริหารตั้งแตระดับสํานักขึ้นไปของสถาบัน หรือผูบริหารของ หนวยงานอื่นที่เกี่ยวของใหเบิกจายไดเทาที่จายจริง สําหรับคณะกรรมการสถาบัน คณะที่ปรึกษาพิเศษ และที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญของสถาบัน ใหเบิกจายไดตามอัตราที่ระบุไวในระเบียบสถาบันวิจัยและ พัฒนาพื้นที่สูง (องค การมหาชน) วาดวยการเบิกจายเงิน คาตอบแทนการปฏิบั ติงานลวงเวลาและ คาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ.2549 ขอ 9 คาใชจายในการเดินทางสําหรับการโดยสารโดยเครื่องบินตองไดรับอนุมัติ จากผูอํานวยการ กอน ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงความจําเปนและเหมาะสม ขอ 11 ในกรณีที่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีความจําเปนตองจายเงินนอกเหนือจากเกณฑที่ กําหนดมาแลวขางตน หรือเปนการจัดฝกอบรมในตางประเทศ ใหเสนอผูอํานวยการอนุมัติเปนกรณี ๆ ไป ประกาศ ณ

วันที่ 11 เมษายน พ. ศ. 2549




-2-

ระเบียบสถาบันวิจยั และพัฒนาพื้นทีส่ ูง (องคการมหาชน) วาดวยการเบิกจายเงินคาตอบแทนการปฏิบัติงานลวงเวลา และคาใชจา ยในการเดินทางไปปฏิบตั ิงาน พ.ศ. 2549 ----------------------------------------------โดยที่ ร ะเบี ย บคณะกรรมการสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง ว า ด ว ยการพั ฒ นา และ บริหารงานบุคคล พ.ศ. 2549 ขอ 62 ระบุวา ในระหวางที่ยังไมมีระเบียบ หลักเกณฑ เงื่อนไข หรือวิธีการที่ ตองออกตามขอบังคับนี้ ใหผูอํานวยการ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กําหนดหลักเกณฑสําหรับ กรณีดังกลาว เพื่อใชบังคับไปพลางกอน จนกวาจะไดมีการออกระเบียบ หลักเกณฑ เงื่อนไขหรือวิธีการ สําหรับกรณีนี้ อาศัยอํานาจตามความในขอ 62 แหงขอบังคับคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่ สูง วาดวยการพัฒนา และบริหารงานบุคคล พ.ศ.2549 ประกอบกับมติที่ประชุมคณะกรรมการสถาบันวิจัย และพัฒนาพื้นที่สูง ครั้งที่ 2/2549 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2549 จึงเห็นสมควรออกระเบียบไวดังตอไปนี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง(องคการมหาชน) วา ดวยการเบิกจายเงินคาตอบแทนการปฏิบัติงานลวงเวลา และคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ. 2549” ขอ 2 ระเบียบนี้ ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “รองผูอํานวยการ” หมายความวา รองผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “ผูอํานวยการสํานัก” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักของสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องคการมหาชน) “เจาหนาที่ระดับบริหาร” หมายความวา ผูอํานวยการสํานัก กลุม ศูนย ผูเชี่ยวชาญ และเจาหนาที่อาวุโส “เจาหนาที่” หมายความวา บุคคลที่สถาบันอนุมัติใหทําสัญญาปฏิบัติงานและแตงตั้ง เป น เจ า หน า ที่ รวมทั้ ง ผู ที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง เป น เจ า หน า ที่ ต ามมาตรา 35 แห ง พระราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 / ลู ก จ า ง ...


-3-

-2“ลูกจาง” หมายความวา บุคคลที่สถาบันไดวาจางใหปฏิบัติงาน โดยมีกําหนดระยะเวลา เริ่มตนและวันสิ้นสุดที่แนนอน หมวด 2 การปฏิบัติงานลวงเวลา ขอ 4 ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป น เร ง ด ว นเพื่ อ ประโยชน แ ห ง งาน สถาบั น อาจกํ า หนดให เจาหนาที่และหรือลูกจางปฏิบัติงานเกินเวลาทํางานปกติ หรือทํางานในวันหยุดไดตามความจําเปนโดยให เจาหนาที่ และหรือลูกจางที่จะปฏิบัติงานลวงเวลา ขออนุมัติตอผูอํานวยการสํานักโดยกรอกรายละเอียดลง ในใบรายงาน ตามที่ผูอํานวยการกําหนด เมื่อไดรบั การอนุมัติแลวจึงจะอยูปฏิบัติงานดังกลาวได ขอ 5 เมื่อผูอํานวยการสํานัก อนุมัติแลว ใหแจงเจาหนาที่ในบังคับบัญชาทราบและเก็บ แบบใบรายงานไว ขอ 6 ใหเจาหนาที่ระดับบริหาร ที่มีหนาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานลวงเวลาใหบรรลุผล สําเร็จของงาน ขอ 7 ผู มี สิ ท ธิ เ บิ ก เงิ น ค า ล ว งเวลาได แ ก เจ า หน า ที่ ทุ ก ระดั บ และลู ก จ า ง ยกเว น รอง ผูอาํ นวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก และผูเชี่ยวชาญ ขอ 8 อัตราการจายคาลวงเวลา ใหใชอัตราตามบัญชีหมายเลข 1 ทั้งนี้การเบิกจายคา ลวงเวลารวมกันตองไมเกิน 3,000 บาท/เดือน/คน หรือตามที่คณะกรรมการกําหนด ขอ 9 เจ า หนา ที่และหรื อลู กจา งที่ไดรับ อนุมัติใหป ฏิบัติง านลว งเวลา จะตอ งจั ดทํา ใบ รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยบันทึกเวลาของการทํางานลวงเวลาจริงในแตละวัน พรอมรายละเอียดของ งานที่ปฏิบัติ และเสนอเจาหนาที่ระดับบริหารตรวจสอบ ขอ 10 ให ผู อํ า นวยการสํ า นั ก อํ า นวยการ ทํ า รายงานสรุ ป รวมทั้ ง ค า ใช จ า ยของการ ปฏิบัติงานลวงเวลาของสํานัก/ศูนย เสนอผูอํานวยการเพื่อทราบทุกเดือน หมวด 3 การเดินทางไปปฏิบัติงาน ขอ 11 การเดินทางไปปฏิบัติงาน หมายความวา การเดินทางเพื่อไปปฏิบัติงานใหสถาบัน ตามที่ไดรับมอบหมาย และหมายความรวมถึง การสัมมนา การดูงาน การไปจัดนิทรรศการ การไปรวมงาน รัฐพิธี การปฏิบัติงานภาคสนาม การปฏิบัติงานวิจัย การเปนวิทยากรในหลักสูตรฝกอบรมหรือสัมมนา การ เดินทางไปประชุม และการเขารับการฝกอบรม /ขอ 12 ...


-2-

ขอ 12 การฝกอบรม หมายความวา การเขารับการฝกอบรม เขารวมประชุมหรือสัมมนา ทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การเขารับฟงการบรรยายพิเศษ โดยมีโครงการหรือหลักสูตร และชวงเวลา จัดที่แนนอนและมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคคล หรือประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และหมายความ รวมถึงการไปดูงาน ฝกงาน ตามหลักสูตรการฝกอบรมดวย ขอ 13 กรรมการสถาบั น ผูอํานวยการ ที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสถาบัน เจาหนาที่และหรือลูกจางผูเดินทางไปปฏิบัติงานของสถาบัน ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน ไดตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้ หรือตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ขอ 14 กรรมการสถาบัน ผูอํานวยการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสถาบัน เจาหนาที่และหรือ ลูกจางที่เดินทางไปปฏิบัติงาน ใหสามารถเบิกเงินยืมทดรองจายไดในสวนที่เกี่ยวของกับการเดินทางไป ปฏิ บั ติ ง านในอั ต ราที่ เ หมาะสม สํ า หรั บ ผู ที่ เ ดิ น ทางไปปฏิ บั ติ ง านในต า งประเทศจะต อ งดํ า เนิ น การ แลกเปลี่ยนเปนเงินตราตางประเทศดวยตนเอง ขอ 15 การเดินทางไปปฏิบัติงาน ใหเบิกคาเชาที่พักตามหลักเกณฑ บัญชีหมายเลข 2 ทาย ระเบียบนี้ ขอ 16 การเบิกคาเชาที่พัก ใหใชวิธีเหมาจาย หรือใหใชใบแจงรายการและใบเสร็จรับเงิน ของโรงแรมเปนหลักฐานการเบิกจาย กรณีใบแจงรายการมีขอความหรือรายการอื่นใดที่แสดงวาโรงแรมได ชํ า ระเงิ น เรี ย บรอ ยแล ว ให ใ ช ใ บแจ ง รายการนั้ น เป น หลั ก ฐานการขอเบิ ก จา ยค า เช า ที่ พั ก โดยไมต อ งมี ใบเสร็จรับเงินก็ได ตามบัญชีหมายเลข 2 ขอ 17 แบบรายงานการเดินทางเพื่อขอเบิกคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน และ เอกสารประกอบที่ใชในการเบิกจายเงิน ตลอดจนวิธีใช ใหเปนไปตามที่สถาบันกําหนด ขอ 18 การเดินทางไปปฏิบัติงานที่เปนการฝกอบรม ใหเจาหนาที่และหรือลูกจางผูเขารับ การฝ ก อบรมจั ด ทํ า รายงานสรุ ป ผลการฝ ก อบรมตามแบบรายงานผลการฝ ก อบรมสั ม มนา เสนอต อ ผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น ขอ 19 คาใชจายในการฝกอบรม อาทิ คาลงทะเบียน คาธรรมเนียม หรือคาใชจายทํานอง เดียวกันที่เรียกชื่ ออยางอื่น ใหเบิ กจายไดเทาที่จายจริงในอัตราที่ผูจัดเรียกเก็บโดยความเห็นชอบของ ผูอาํ นวยการ กรณี ที่ ค า ลงทะเบี ย นตามวรรคแรกได ร วมค า ที่ พั ก และหรื อ ค า พาหนะแล ว ให ง ดเบิ ก คาใชจายในสวนนั้นๆ ขอ 20 กรณีเจาหนาที่และหรือลูกจางที่ไดรับมอบหมายใหไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ ให ไดรบั เบี้ยเลี้ยงในอัตราเหมาจายตอวัน ตามบัญชีหมายเลข 2 ทายระเบียบนี้ ขอ 21 ผูอํานวยการหรือผูที่ไดรับมอบหมาย เปนผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติการเดินทางไป ปฏิบัติงานในประเทศ /ขอ 22 ...


-3-

ขอ 22 ผูอาํ นวยการเปนผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ สําหรับการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศของผูอํานวยการ ใหผูอํานวยการนําเสนอ ประธานกรรมการเปนผูอนุมัติ สวนที่ 1 การเดินทางไปปฏิบัติงานในประเทศ ขอ 23 คาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงานในประเทศ ประกอบดวย (1) คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (2) คาเชาที่พัก (3) คาพาหนะเดินทาง ไดแก (ก) รถยนตสาธารณะ (รถยนตปรับอากาศ รถรับจาง รถประจําทาง ฯลฯ) ตามความจําเปน (ข) รถไฟ ผูอาํ นวยการ/รองผูอํานวยการ ใหเบิกอัตรานั่ง/นอนปรับอากาศชั้น 1 เจาหนาที่ระดับบริหาร ใหเบิกอัตรานั่ง/นอนปรับอากาศ ชั้น 2 เจาหนาที่และลูกจาง ใหเบิกอัตรานั่ง/นอนปรับอากาศ ชั้น 2 (ค) เครื่องบิน ผูอาํ นวยการ/รองผูอํานวยการ ใหเบิกจายชั้นธุรกิจ เจาหนาที่ระดับบริหาร ใหเบิกจายชั้นประหยัด เจาหนาที่และลูกจาง ใหเบิกจายชั้นประหยัด (สายการบินตนทุนต่ํา) การเดินทางโดยเครื่องบิน สําหรับเจาหนาที่ หรือลูกจาง อาจเบิกจายชั้นประหยัด สายการบินธรรมดาได ทั้งนี้ใหผูอํานวยการเปนผูมีอํานาจในการพิจารณาอนุมัติ ตามเหตุผลและความจําเปนของการปฏิบัติงาน (ง) คายานพาหนะสวนตัว (จ) คาใชจายอื่นๆ ไดแก คาธรรมเนียมสนามบิน คาผานทาง คาที่จอดรถ (4) คาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการเดินทางไปปฏิบัติงาน ใหนําเสนอผูอํานวยการอนุมัติ ขอ 24 การเดินทางไปปฏิบัติงานในประเทศใหเบิกคาใชจายไดตามจํานวนเงินและเงื่อนไข ที่กําหนดไวในบัญชีหมายเลข 2 ทายระเบียบนี้ /การเขารับ ...


-4-

การเขารับการฝกอบรม ประชุม สัมมนา ไมวาจะจัดอาหารใหหรือไม ใหเบิกคาเบี้ยเลี้ยง เดินทางไดเต็มจํานวน กรณีบุคคลภายนอก ซึ่งไดรับการมอบหมายใหไปปฏิบัติงานตามภารกิจของสถาบันใหมสี ทิ ธิ เบิกคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงานไดเทากับเจาหนาที่พึงไดรับ หากมีสิทธิเบิกจากตนสังกัดไดใหเบิก เพิ่มเฉพาะสวนตาง ขอ 25 การนับเวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในประเทศ เพื่อคํานวณคาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ให นับตั้งแตเวลาออกจากบานพักหรือสถานที่ปฏิบัติงานตามปกติ จนกลับถึงบานพักหรือสถานที่ปฏิบัติงาน ตามปกติ แลวแตกรณี เวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในกรณีที่มีการพักแรม ใหนับยี่สิบสี่ชั่วโมงเปนหนึ่งวัน ถาไมถึง ยี่สิบสี่ชั่วโมง หรือเกินยี่สิบสี่ชั่วโมงและสวนที่ไมถึงหรือเกินยี่สิบสี่ชั่วโมงนั้นถานับไดเกินสิบสองชั่วโมงใหถือ เปนหนึ่งวัน เวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในกรณีที่มิไดมีการพักแรม หากนับไดไมถึงยี่สิบสี่ชั่วโมงและสวน ที่ไมถึงนั้นนับไดเกินสิบสองชั่วโมงใหถือเปนหนึ่งวัน หากนับไดไมเกินสิบสองชั่วโมงแตเกินหกชั่วโมงขึ้นไป ใหถือเปนครึ่งวัน ขอ 26 การเบิกจายคาพาหนะรับจางใหสามารถกระทําได โดยการเดินทางไปปฏิบัติงาน จะตองไดรบั อนุมัติจากผูอํานวยการสํานักขึ้นไปใหใชพาหนะรับจาง มาประกอบการเบิกจาย ขอ 27 การใชยานพาหนะสวนตัวในการเดินทางจะกระทําไดในกรณีที่ไดรับอนุมัติจาก ผูอํานวยการหรือผูที่ไดรบั มอบหมาย ดังตอไปนี้ (1) รถสวนกลางของสถาบันไมสามารถใหบริการได โดยจะตองมีเอกสารยืนยันจากสํานัก อํานวยการมาประกอบการพิจารณา หรือ (2) การเดินทางไปปฏิบัติงานตามคําสั่งของผูอํานวยการหรือผูที่ไดรบั มอบหมาย (3) การเดินทางไปปฏิบัติงานตาม (1) หรือ (2) ที่ไดรับอนุมัติตามวรรคแรกแลวใหเจาหนาที่ หรือลูกจางเบิกเงินคาชดเชยคาน้ํามันเชื้อเพลิง และคาบํารุงรักษารถยนตในอัตรา 5 บาท ตอ 1 กิโลเมตร สวนที่ 2 การเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ ขอ 28 คาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ ไดแก (1) คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (2) คาเชาที่พัก (3) คาพาหนะเดินทาง ไดแก /(ก) ...


-5-

(ก) รถยนตสาธารณะ (รถยนตปรับอากาศ รถรับจาง รถประจําทาง ฯลฯ) เบิกไดเทาที่ จายจริงตามความจําเปน (ข) รถไฟ เบิกไดเทาที่จายจริงตามความจําเปน (ค) เครื่องบิน ผูอํานวยการ ใหเบิกจายชั้นหนึ่ง รองผูอํานวยการ ใหเบิกจายชั้นธุรกิจ เจาหนาที่ระดับบริหาร ใหเบิกจายชั้นประหยัด เจาหนาที่และลูกจาง ใหเบิกจายชั้นประหยัด การเดินทางโดยเครื่องบินใหผูอํานวยการเปนผูมีอํานาจในการพิจารณาอนุมัติ (ง) คาใชจายอื่นๆ ไดแก คาธรรมเนียมสนามบิน คาผานทาง คาที่จอดรถ (4) คารับรองสําหรับผูเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ ในการเดินทางไปเจรจาธุรกิจ ปรึกษาหารือ หรือเขารวมการประชุมสัมมนาในฐานะผูแทนของสถาบัน โดยไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการให เบิกตามที่จายจริงตามความจําเปนและเหมาะสม ภายในวงเงินตามบัญชีหมายเลข 5 ในกรณีที่เดินทางไปเปนคณะ ใหจายแกหัวหนาคณะในนามของคณะผูเดินทาง (5) คาใชจายอื่นๆ ที่จําเปนตองจายเพื่อประโยชนแกการปฏิบัติงาน เชน คาลงทะเบียน คาธรรมเนียมการใชหองรับรอง ฯลฯ ใหเบิกไดเทาที่จายจริง โดยความเห็นชอบของผูอํานวยการ (6) ค า เครื่ อ งแต ง ตั ว ให เ บิ ก ค า เครื่ อ งแต ง ตั ว ไปปฏิ บั ติ ง านในต า งประเทศได ต ามบั ญ ชี หมายเลข 6 และผูซึ่งเคยไดรับคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศแลว จะมีสิทธิ เบิกคาเครื่องแตงตัวไดอีก จะตองมีระยะเวลาหางจากการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศครั้งสุดทาย เกินกวา 2 ป นับแตวันเดินทางกลับถึงประเทศไทย (7) คาทําความสะอาดเสื้อผา ในการเดินทางไปเจรจาธุรกิจ ปรึกษาหารือ หรือเขารวมการ ประชุมสัมมนาในฐานะผูแทนของสํานักงาน ใหเบิกไดเทาที่จายจริงไมเกินวันละ 300 บาท และตองเปนการ เดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศตั้งแต 7 วันขึ้นไป (8) คาของขวัญสําหรับผูเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ ในการเดินทางไปเจรจาธุรกิจ ปรึกษาหารือ หรือเขารวมการประชุมสัมมนาในฐานะผูแทนของสถาบัน เพื่อมอบใหแกบุคคลสําคัญใน ต า งประเทศตามประเพณี และเพื่ อ กระชับ สั ม พั น ธไมตรี ให เบิ ก ได ต ามที่ จ า ยจริ ง โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความ เหมาะสม และประหยัด ภายในวงเงินตามบัญชีหมายเลข 7 ในกรณีที่ผูรับดํารงตําแหนงแตกตางไปจาก บัญชีหมายเลข 7 ใหนําเสนอคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล พิจารณาเปนกรณีไป /ขอ 29 ...


-6-

ขอ 29 การนับเวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ เพื่อคํานวณคาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ใหนับตั้งแตประทับตราหนังสือเดินทางออกจากประเทศไทย จนถึงเวลาที่ประทับตราหนังสือเดินทางเขา ประเทศไทย เวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในกรณีที่มีการพักแรม ใหนับยี่สิบสี่ชั่วโมงเปนหนึ่งวัน ถาไมถึง ยี่สิบสี่ชั่วโมงหรือเกินยี่สิบสี่ชั่วโมงและสวนที่ไมถึงหรือเกินยี่สิบสี่ชั่วโมงนั้นถานับไดเกินสิบสองชั่วโมงใหถือ เปนหนึ่งวัน เวลาเดินทางไปปฏิบัติงานในกรณีที่มิไดมีการพักแรม หากนับไดไมถึงยี่สิบสี่ชั่วโมง และสวน ที่ไมถึงนั้นนับไดเกินสิบสองชั่วโมงใหถือเปนหนึ่งวัน หากนับไดไมเกินสิบสองชั่วโมงแตเกินหกชั่วโมงขึ้นไป ใหถือเปนครึ่งวัน ขอ 30 การเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ ใหเบิกคาใชจายไดตามจํานวนเงินและ เงื่อนไขที่กําหนดไวในบัญชีหมายเลข 3 และ 4 แนบทายระเบียบนี้ ขอ 31 การเบิกค าเชาที่พั กสําหรับการประชุมระหวางประเทศ ที่เจ าภาพจัดประชุมใน โรงแรมใดโรงแรมหนึ่ง ผูเดินทางหรือคณะผูเ ดินทางจะเลือกในโรงแรมที่จัดการประชุม หรือเลือกพักใน โรงแรมใกลเคียงกับโรงแรมที่จัดประชุมก็ได โดยใหเบิกคาเชาที่พักไดเทาที่จายจริง ไมเกินอัตราคาเชา หองพักคนเดียว หรืออัตราหองพักคูของโรงแรมที่จัดประชุม หรือจะเบิกตามสิทธิของตนก็ได การประชุมระหวางประเทศ ที่ประเทศเจาภาพกําหนดใหผูเขารวมประชุมพักในโรงแรมหรือ สถานที่ที่จัดเตรียมไวให โดยผูเขารวมประชุมไมอาจเลือกหรือหลีกเลี่ยงได ใหเบิกคาเชาที่พักเทาที่จายจริง ตามที่ประเทศเจาภาพเรียกเก็บ หรืออัตราคาเชาหองพักคนเดียวหรืออัตราคาเชาหองพักคูของโรงแรมนั้น แลวแตกรณี ขอ 32 ที่ปรึกษาหรือผูที่มาปฏิบัติงานใหแกสถาบัน ใหเบิกคาใชจายในการเดินทางตาม ระเบียบนี้โดยอนุโลม โดยวินิจฉัยของผูอํานวยการ ขอ 33 ใหผูอํานวยการเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ หรือสั่งการยืดหยุนเกณฑที่กําหนด เปนการเฉพาะคราว ตามความเหมาะสม และมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาด คําวินิจฉัยของผูอํานวยการใหถือวา เปนที่สุด

บัญชีหมายเลข 1





-9บัญชีหมายเลข 3

สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน้ ที่สูง (องคการมหาชน) อัตราคาเบี้ยเลี้ยงเหมาจายในการเดินทางไปปฏิบตั ิงานในตางประเทศ

1. กรรมการ, ผูอํานวยการ,ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 2. รองผูอํานวยการ,เจาหนาที่ระดับบริหาร 3. เจาหนาที่ระดับปฏิบัติการ,ลูกจาง

บาทตอวัน 4,500 3,500 2,800


- 10 บัญชีหมายเลข 4

สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน้ ที่สูง (องคการมหาชน) อัตราคาเชาที่พักในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ

1) กรรมการ, ที่ปรึกษา, ผูอํานวยการ 2) เจาหนาที่ระดับบริหาร, ผูเชี่ยวชาญ ,เจาหนาที่, และลูกจาง

ประเภท ก บาท/วัน

ประเภท ข บาท/วัน

ประเภท ค บาท/วัน

ไมเกิน 10,000

ไมเกิน 7,000

ไมเกิน 4,500

ไมเกิน 7,500

ไมเกิน 5,000

ไมเกิน 3,100

หมายเหตุ ประเทศทีม่ ีสทิ ธิเบิกคาเชาที่พกั จากประเภท ก. อีกไมเกินรอยละ 40 ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง 1. สาธารณรัฐฝรั่งเศส 2. สหพันธรัฐรัสเซีย 3. ญี่ปุน ประเทศทีม่ ีสทิ ธิเบิกคาเชาที่พกั จากประเภท ก. อีกไมเกินรอยละ 25 ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง 1. สหรัฐอเมริกา 4. สาธารณรัฐอิตาลี 2. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ 5. สาธารณรัฐสิงคโปร 3. ราชอาณาจักรสเปน ประเภท ก ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง 1. เครือรัฐออสเตรเลีย 18. ราชรัฐลักเซมเบิรก 2. สาธารณรัฐออสเตรีย 19. สาธารณรัฐชิลี 3. ราชอาณาจักรเดนมารก 20. นิวซีแลนด 4. สาธารณรัฐฟนแลนด 21. ฮองกง 5. สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน 22. สาธารณรัฐฟลิปปนส 6. ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด 23. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 7. ราชอาณาจักรนอรเวย 24. สาธารณรัฐตุรกี 8. ราชอาณาจักรสวีเดน 25. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส


- 11 -

9. สมาพันธรัฐสวิส 10. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 11. แคนาดา 12. สาธารณรัฐเกาหลี 13. สาธารณรัฐโปรตุเกส 14. ไตหวัน 15. สหพันธสาธารณรัฐบราซิล 16. สาธารณรัฐโปแลนด 17. กัมพูชา

26. สาธารณรัฐฮังการี 27. สหพันธสาธารณรัฐยูโกสลาเวีย 28. สาธารณรัฐไอซแลนด 29. ราชอาณาจักรโมร็อกโก 30. มอริเซียส 31. สาธารณรัฐเช็ก 32. สาธารณรัฐสโลวัก 33. ราชรัฐโมนาโก

หมายเหตุ ประเทศทีม่ ีสทิ ธิเบิกคาเชาที่พกั จากประเภท ข. อีกไมเกินรอยละ 25 ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง 1. สาธารณรัฐประชาชนจีน 4. สาธารณรัฐอินเดีย 2. รัฐอิสราเอล 5. เนการาบรูไนดารุสซาลาม (บรูไน) 3. สาธารณรัฐอารเจนตินา ประเภท ข ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง 35. สาธารณรัฐอาหรับอียิปต 1. รัฐบาหเรน 2. สาธารณรัฐไซปรัส 36. สาธารณรัฐแกมเบีย 3. สาธารณรัฐอิสลามอิหราน 37. สาธารณรัฐกานา 4. สาธารณรัฐอิรัก 38. สาธารณรัฐเคนยา 5. ราชอาณาจักรฮัทไมดจอรแดน 39. สาธารณรัฐมาลี 40. สาธารณรัฐอิสลามนอริเตเนีย 6. รัฐคูเวต 7. สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน 41. สาธารณรัฐไนเจอร 8. รัฐสุลตานโอมาน 42. สาธารณรัฐเซเนกัล 43. สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย 9. รัฐกาตาร 10. ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย 44. สาธารณรัฐราลีโอน 11. สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ 45. สาธารณรัฐแทนซาเนีย 12. สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย 46. สาธารณรัฐเบนิน 13. ราชอาณาจักรตองกา 47. เครือรัฐบาฮามาส 48. สาธารณรัฐคอสตาริกา 14. ราชรัฐดอรรา 15. สาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ) 49. สาธารณรัฐปานามา


- 12 -

16. โรมาเนีย 17. สาธารณรัฐบุรนุ ดี 18. สาธารณรัฐแคเมอรูน 19. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง 20. สาธารณรัฐชาด 21. สาธารณรัฐโกตคิวัวร (ไฮเวอรี่โคส) 22. สาธารณรัฐจีบูตี 23. สาธารณรัฐอารเมเนีย 24. สาธารณรัฐอาเซอรไบจาน 25. สาธารณรัฐเบลารุส 26. สาธารณรัฐเอสโตเนีย 27. จอรเจีย 28. สาธารณรัฐคาซัคสถาน 29. สาธารณรัฐคีรกิซสถาน 30. สาธารณรัฐลัตเวีย 31. สาธารณรัฐลิทวั เนีย 32. สาธารณรัฐมอลโดวา 33. สาธารณรัฐทาจิกิสถาน 34. เติรกเมนิสถาน

50. สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก 51. จาเมกา 52. สาธารณรัฐโครเอเซีย 53. สาธารณรัฐสโลวีเนีย 54. สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอรเซโกวีนา 55. สาธารณรัฐมาซิโดเนีย 56. ยูเครน 57. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน 58. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา 59. สหรัฐเม็กซิโก 60. มาเลเซีย 61. ราชอาณาจักรเนปาล 62. สาธารณรัฐแอฟริกาใต 63. สาธารณรัฐบัลแกเรีย 64. สาธารณรัฐยูกันดา 65. สาธารณรัฐแซมเปย 66. สาธารณรัฐซิมบับเว 67. สาธารณรัฐคูนิเซีย

ประเภท ค ไดแก ประเทศ รัฐ เมืองอืน่ ๆนอกจากที่กาํ หนดในประเภท ก และประเภท ข


- 13 บัญชีหมายเลข 5

สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน้ ที่สูง (องคการมหาชน) อัตราคารับรองในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ เดินทางไมเกิน 15 วัน ไมเกิน 5,000 บาท

1. กรรมการ,ผูอ ํานวยการ, ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 2. รองผูอํานวยการ,เจาหนาที่ระดับบริหาร ไมเกิน 4,000 บาท 3. เจาหนาที่ระดับปฏิบัติการที่ทําหนาที่หวั หนาคณะ ไมเกิน 3,000 บาท

เดินทางเกิน 15 วัน ไมเกิน 7,500 บาท ไมเกิน 6,000 บาท ไมเกิน 4,500 บาท


- 14 บัญชีหมายเลข 6

สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน้ ที่สูง (องคการมหาชน) อัตราคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ 1) ผูอํานวยการ ,รองผูอํานวยการ 2) เจาหนาที่ระดับบริหาร 3) เจาหนาที่และลูกจาง

15,000 บาท 12,000 บาท 9,000 บาท

บัญชีรายชื่อประเทศทีไ่ มมีสิทธิเบิกคาเครื่องแตงตัว ในการเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

สาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพพมา เนกราบรูไนดารุสซาลาม (บรูไน) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร สาธารณรัฐศรีลงั กา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ฟจิ ปาปวนิวกีนี ซามัวตะวันตก


- 15 บัญชีหมายเลข 7

สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน้ ที่สูง (องคการมหาชน) อัตราคาของขวัญของผูเดินทางไปปฏิบัติงานในตางประเทศ เพื่อมอบใหบุคคลสําคัญในตางประเทศ ผูรับดํารงตําแหนง 1) ระดับอธิบดีหรือเทียบเทาขึ้นไป 2) ระดับผูอํานวยการสํานักหรือเทียบเทา 3) ระดับเจาหนาที่ทวั่ ไป

คนละไมเกิน/บาท 2,000 บาท 1,500 บาท 1,000 บาท















































ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นทีส่ ูง วาดวยเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอื่นสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษา พ.ศ. 2549 --------------------------------------------โดยที่เปนการสมควรออกระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง วาดวยเบี้ย ประชุม และประโยชนตอบแทนอื่นสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษา อาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 19 (9) และมาตรา 25 แหงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ.2548 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2547 เกี่ยวกับหลักเกณฑการกําหนดเบี้ยประชุม และ ประโยชนตอบแทนอื่น สําหรับกรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษา คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่ สูง จึงออกระเบียบไวดังนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง วาดวย เบี้ยประชุม และประโยชนตอบแทนอื่นสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษา พ.ศ. 2549” ขอ 2 ระเบียบนี้ ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการแตงตั้ง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ขอ 4 ให ป ระธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ ป รึ ก ษาพิ เ ศษ ที่ ป รึ ก ษาพิ เ ศษ ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษา ไดรับเบี้ยประชุม ตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร และสหกรณกําหนด สําหรับผูอํานวยการและเจาหนาที่ไมมีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมตามระเบียบนี้ ขอ 5 ให ผู ช ว ยเลขานุ ก ารของคณะกรรมการ เลขานุ ก าร หรื อ ผู ช ว ยเลขานุ ก ารของ คณะอนุกรรมการ มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมไดเหมือนกรรมการ และอนุกรรมการแลวแตกรณี กรณีเลขานุการหรือผูชวยเลขานุการของคณะอนุกรรมการ เปนอนุกรรมการดวย ใหมีสิทธิ ไดรับเบี้ยประชุมในคณะนั้นเพียงตําแหนงเดียว ขอ 6 การเบิกเบี้ยประชุมตามระเบียบนี้ ผูมีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมในเดือนใดจะตองเขารวม ประชุมในเดือนนั้นอยางนอยหนึ่งครั้ง /ขอ 7 ...


-2ขอ 7 ในกรณีที่ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาพิเศษ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการ ซึ่งเปนประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ ที่ ปรึกษาพิเศษ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการโดยตําแหนง มอบหมายใหผูใดมาประชุมแทน ใหถือ เปน องคป ระชุ ม และให เบิ ก จ า ยเบี้ย ประชุ ม ให ผู ที่ ได รับ มอบหมายให ม าประชุ ม แทนได โดยมี ห นั ง สื อ มอบหมายจากประธานกรรมการ กรรมการ ประธานที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาพิเศษ ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ ขอ 8 ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ ที่ปรึกษาพิเศษ กรรมการ และเลขานุการ ผูชวยเลขานุการของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ คณะอนุกรรมการ และผูช วยเลขานุการของคณะอนุกรรมการ ใหไดรับประโยชนตอบแทนอื่น ตามที่ คณะรัฐมนตรีกําหนด กรณีที่ไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติงานหลายคณะใหมีสิทธิไดรับประโยชนตอบแทนอืน่ ได เพียงตําแหนงเดียว ขอ 9 ใหผูอํานวยการเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ ในกรณี ที่ มี ป ญ หา ให ผู อํ า นวยการเสนอให ค ณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย และคํ า วิ นิ จ ฉั ย ของ คณะกรรมการใหถือเปนที่สุด


ระเบียบคณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นทีส่ ูง วาดวยคาตอบแทนผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราว พ.ศ.2549 --------------------------------------------โดยที่ เ ป น การสมควรออกระเบี ย บคณะกรรมการสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง ว า ด ว ย คาตอบแทนผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (6) และ (9) แหงพระราช กฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 คณะกรรมการสถาบันวิจัยและ พัฒนาพื้นที่สูง จึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ข อ 1 ระเบี ย บนี้ เ รี ย กว า “ ระเบี ย บคณะกรรมการสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง ว า ด ว ย คาตอบแทนผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราว พ.ศ. 2549” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความวา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง “ผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราว” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคลที่มา ชวยปฏิบัติงานใหกับสถาบันซึ่งมิใชผูปฏิบัติงานของสถาบันตามมาตรา 35 แหงพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พ.ศ. 2548 ขอ 4 ใหผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราวใหกับสถาบันตามที่ไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการ หรือ ประธานกรรมการ เพื่อปฏิบัติงานหรือใหบริการในดานตางๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สูง มีสิทธิไดรับ คาตอบแทนเปนคาปวยการ คาพาหนะเดินทางและคาที่พัก ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารงาน บุคคลที่กําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ขอ 5 ในการเบิกคาตอบแทนตามขอ 4 ใหผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราวจัดทํารายงานผล การปฏิบัติงานเพื่อประกอบการเบิกจายเงินคาตอบแทน ขอ 6 ใหผูอํานวยการเสนอขออนุมัติขึ้นทะเบียนผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราวตอประธาน กรรมการ และการขึ้นทะเบียนดังกลาวใหถือวา เปนการอนุมัติใหปฏิบัติงานตามขอ 4 /ขอ7 ...


-2ขอ 7 ในกรณีที่มีความเรงดวนและจําเปนตองมีผูมาชวยปฏิบัติงานเปนครั้งคราวใหกับสถาบัน นอกเหนือจากขอ 6 แตมิอาจขออนุมัติไดในขณะนั้น ใหสถาบันดําเนินการขออนุมัติตอประธานกรรมการใน ภายหลังจากที่ปฏิบัติงานไปแลวก็ได และใหถือวาเปนการขออนุมัติตั้งแตแรกแลว ขอ 8 ใหผูอํานวยการรักษาการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการดําเนินการตาม ระเบียบนี้ใหผูอํานวยการนําเรื่องเสนอคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด และคําวินิจฉัยนั้นใหถือเปนที่สุด




































เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๒ ง

หน้า ๑๖ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖

ประกาศสถาบันวิจยั และพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เรื่อง โครงสร้างและการจัดแบ่งส่วนงานและ สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสถาบัน

เพื่อให้เป็น ไปตามมาตรา ๗ (๑) (๒) (๓) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ที่จะให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดําเนิน งานของทางราชการ จึงขอประกาศโครงสร้างและการจัดแบ่งส่วนงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ดังนี้ ข้อ ๑ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีวัตถุประสงค์การก่อตั้ง โดยสรุป ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนางานโครงการหลวง (๒) สนับสนุนการวิจัย รวบรวม รักษาและพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งรักษาคุณค่า และสร้างประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง (๓) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือกับมูลนิธิโครงการหลวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ และพัฒนากระบวนการเรีย นรู้ข องชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสอดคล้องกับแนวทางของโครงการหลวง รวมทั้งการสนับสนุน กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการฟื้นฟูและรักษาสิ่งแวดล้อม (๔) จัด ให้มี ก ารศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย พั ฒ นาและเผยแพร่ ข้อ มู ล และสารสนเทศเกี่ย วกั บ การพัฒนาพื้นที่สูงอย่างครบวงจรตลอดจนเป็นศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการดําเนินการดังกล่าว (๕) เสริมสร้างเครือข่ายความร่ว มมือและแลกเปลี่ย นการวิจัย และพัฒ นาพื้น ที่สูงทั้งภายใน และต่างประเทศ (๖) พัฒนาอุทยานหลวงราชพฤกษ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้พืชสวน ความหลากหลายทางชีวภาพ และแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรและวัฒนธรรมที่มีคุณภาพ ข้อ ๒ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีการบริหารงาน ดังนี้ (๑) คณะกรรมการสถาบัน วิจัย และพัฒนาพื้น ที่สูง มีอํานาจหน้าที่ค วบคุมดูแ ลกิจการทั่ว ไป ของสถาบันให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และโดยเฉพาะให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ ๑) กําหนดทิศทาง เป้าหมาย และนโยบายในการบริหารงานของสถาบัน ๒) อนุมัติแผนงาน แผนการลงทุน แผนการเงิน โครงการ และงบประมาณประจําปีของสถาบัน ๓) ดูแลฐานะและความมั่นคงทางการเงิน ให้ความเห็นชอบรายงานการเงิน พิจารณารายงาน ของผู้ตรวจสอบการเงิน และวางระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือข้อห้ามทางการเงิน ๔) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้กู้ยืมเงินและการระดมเงินทุนของสถาบัน


เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๒ ง

หน้า ๑๗ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖

๕) ให้คําแนะนําหรือเสนอแนะการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคอันเกิดจากการบริหารจัดการ ตลอดจนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหาหรืออุปสรรคเกี่ย วกับ การประสานงานในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของสถาบัน ๖) ให้ความเห็นชอบการกําหนดค่าธรรมเนียม ค่าบํารุง ค่าตอบแทน ค่าบริการ และ สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่เกิดจากการดําเนินงานของสถาบัน ๗) จัด ตั้งและยุบเลิกสํานักงานสาขาของสถาบันในกรณีที่มีความจําเป็นและเห็นสมควร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบัน และกําหนดวิธีการบริหารงานของสํานักงานสาขาของสถาบัน ๘) สรรหา แต่งตั้ง ประเมินผลการปฏิบัติงาน และถอดถอนผู้อํานวยการ ๙) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด หรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไปของสถาบัน การประสานระหว่างสถาบันกับสํานักงานสาขา การจัดแบ่งส่วนงานของสถาบันและขอบเขตอํานาจหน้าที่ ของส่วนงานดังกล่าว การบริหารงานบุคคล เงินเดือนและค่าจ้างผู้ปฏิบัติงานของสถาบัน การเงินการพัสดุ และทรัพย์สิน การงบประมาณ การบัญชี การจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีเป็นสูญ การตรวจสอบภายใน การสรรหาหรือคัดเลือกผู้อํานวยการ การปฏิบัติงานของผู้อํานวยการ การมอบให้ผู้อื่นรักษาการแทนหรือ ปฏิบัติการแทนผู้อํานวยการ และการจัดสวัสดิการและสิท ธิประโยชน์อื่น แก่ค ณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการ ผู้อํานวยการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน ที่ปรึกษาคณะทํางาน เจ้าหน้าที่และ ลูกจ้างของสถาบัน ๑๐) ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง พ.ศ. ๒๕๔๘ ๑๑) กระทําการอื่นใดที่จําเป็นเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ของสถาบัน หรือที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย (๒) ผู้อํานวยการสถาบัน มีอํานาจ ดังต่อไปนี้ ๑) แต่งตั้งรองผู้อํานวยการหรือผู้ช่ว ยผู้อํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เพื่อเป็นผู้ช่วยปฏิบัติงานของผู้อํานวยการตามที่ผู้อํานวยการมอบหมาย ๒) บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง ตลอดจนให้เจ้าหน้าที่และลูกจ้างออกจากตําแหน่ง ทั้งนี้ ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการกําหนด ๓) วางระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น งานของสถาบั น โดยไม่ ขั ด หรื อ แย้ ง กั บ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกําหนด ประกาศ นโยบาย หรือมติของคณะกรรมการ ข้อ ๓ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีโครงสร้างและการจัดแบ่งส่วนงาน ดังต่อไปนี้ (๑) หน่วยตรวจสอบภายใน มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๑.๑) ตรวจสอบการดําเนิน งานของสถาบัน ในด้านการบริหารจัด การ การงบประมาณ การเงิน การบัญชี หลักฐานเอกสารเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับ แผนงานโครงการและนโยบาย


เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๒ ง ที่เกี่ยวข้อง

หน้า ๑๘ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖

๑.๒) ให้คําปรึกษาแนะนํา การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย

๑.๓) วิเคราะห์ เพื่อการประเมิ น ความเสี่ ย ง และประสิท ธิภ าพของการควบคุมภายใน รวมทั้งเพิ่มมูลค่าและปรับปรุงการดําเนินงานของสถาบันให้ดีขึ้น ๑.๔) รายงานผลการปฏิบัติงาน ปัญหา ข้อบกพร่องที่ตรวจพบและเสนอแนวทางการป้องกัน และแก้ไขต่อผู้อํานวยการโดยเร็ว (๒) สํานักอํานวยการ มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๒.๑) บริหารจัด การเกี่ย วกับการเงินและบัญ ชี พัสดุ บริหารทรัพยากรมนุษย์ ธุร การ และประชาสัมพันธ์ อาคารสถานที่ และนิติการ ๒.๒) ปฏิบัติงานอื่นในส่วนที่มิได้อยู่ในอํานาจหน้าที่ของส่วนงานใดโดยเฉพาะ เพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ของสถาบัน ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ นโยบาย และมติของคณะกรรมการ ๒.๓) ปฏิบัติง านร่ว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติง านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ย วข้อง หรือ ที่ได้รับมอบหมาย (๓) สํานักยุทธศาสตร์และแผน มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๓.๑) จัดทํานโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ งบประมาณ และแผนปฏิบัติงาน แผนบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาพื้นที่สูง รวมถึงการศึกษาและพัฒนาด้านการตลาด ๓.๒) ศึกษาและเสนอแนะในการปรับใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารบนพื้นทีส่ ูง ระบบฐานข้อมูล รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สูง ๓.๓) ติด ตาม รายงานผล และประเมินผลการดําเนิ น งานตามยุท ธศาสตร์ แผนงาน และโครงการ ๓.๔) ร่ว มมือ และแลกเปลี่ ย นการพั ฒ นาทางวิช าการด้ านการวิ จั ย และพัฒ นาพื้น ที่ สู ง ในระดับนานาชาติ ๓.๕) สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถาบัน คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน ที่เกี่ยวข้อง ๓.๖) ปฏิบัติง านร่ว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติง านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ย วข้อง หรือ ที่ได้รับมอบหมาย (๔) สํานักวิจยั มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๔.๑) จัดทํายุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงานวิจัยบนพื้นที่สูง ๔.๒) ศึกษาวิจัย และสนับสนุนส่งเสริมการทําวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ๔.๓) ร่ว มมือกับมูลนิธิโ ครงการหลวง หน่ว ยงานของรัฐ และสถาบัน การศึกษา และ ภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒ นาและจัด การองค์ความรู้ ที่เหมาะสมสู่ชุมชนบนพื้นที่สูง


เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๘๒ ง

หน้า ๑๙ ราชกิจจานุเบกษา

๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖

๔.๔) ปฏิบัติง านร่ว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติง านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ย วข้อง หรือ ที่ได้รับมอบหมาย (๕) สํานักพัฒนา มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๕.๑) จัดทํายุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงานพัฒนาบนพื้นที่สูง ๕.๒) สนับสนุนการดําเนินงานในพื้นที่โครงการหลวงและส่งเสริมให้เป็นศูนย์เรียนรู้การพัฒนา พื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ๕.๓) ขยายผลความสําเร็จของโครงการหลวงไปสู่ชุมชนบนพื้นที่สูงอื่น ๕.๔) บูรณาการการปฏิบัติงานระหว่างชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๕.๕) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง มีการรวมกลุ่ม โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕.๖) จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อความสมดุลของการพัฒนาที่ยั่งยืน ๕.๗) สนับสนุนและดําเนินการด้านการตลาด โดยให้มีการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ของ สินค้าโครงการหลวง และสินค้าของสถาบันจากหน่วยงานในประเทศ และต่างประเทศ ๕.๘) ปฏิบัติง านร่ว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติง านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ย วข้อง หรือ ที่ได้รับมอบหมาย (๖) อุทยานหลวงราชพฤกษ์ มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ๖.๑) ดําเนิน การให้อุท ยานหลวงราชพฤกษ์ เป็น ศูน ย์การเรีย นรู้ท างการเกษตร และ การอนุรักษ์พันธุ์พืช ๖.๒) จัดแสดงนิทรรศการด้านการเกษตร ความหลากหลายทางชีวภาพและด้านอื่น ๆ ๖.๓) ดําเนินการบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว และพักผ่อนทางด้านการเกษตรและวัฒนธรรม ที่มีคุณค่าในระดับนานาชาติ ๖.๔) ปฏิบัติง านร่ว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติง านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ย วข้อง หรือ ที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๔ สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) คือ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เลขที่ ๖๕ หมู่ ๑ ถ.สุเทพ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๕๓ – ๓๒๘๔๙๖ - ๘ เบอร์โทรสาร ๐๕๓ - ๓๒๘ - ๒๒๙ และ ๐๕๓ - ๓๒๘ - ๔๙๔ เว็บไซต์ www.hrdi.or.th ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง


เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๙๔ ง

หน้า ๔๑ ราชกิจจานุเบกษา

๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ประกาศสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เรื่อง การดําเนินการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สงู (องค์การมหาชน) เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเป็นไปตามมาตรา ๒๓ (๓) แห่งพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งกําหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล โดยจัดให้มีการนําลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา และตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้อง อยู่เสมอ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) จึงได้จัดทําระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ดังนี้ ๑. กลุ่มงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ สํานักอํานวยการ (ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ - เจ้าหน้าที่ของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) (ข) ประเภทของระบบข้อมูลส่วนบุคคล - แฟ้มประวัติ (ค) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ - ใช้ในการบริหารงานบุคคล (ง) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล - สามารถขอตรวจดูข้อมูลส่วนบุคคลได้ที่กลุ่มงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ สํานักอํานวยการ (จ) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล - แสดงความจํานงขอแก้ไขข้อมูลพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง (ฉ) แหล่งที่มาของข้อมูล - เจ้าของข้อมูล - เอกสารราชการ ๒. กลุ่มงานพัสดุ สํานักอํานวยการ (ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ - เจ้าหน้าที่จ้างเหมาบริการ


เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๙๔ ง (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ)

หน้า ๔๒ ราชกิจจานุเบกษา

๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗

- เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานโครงการ ประเภทของระบบข้อมูลส่วนบุคคล - แฟ้มประวัติ ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ - ใช้ในการบริหารงานบุคคล วิธีการขอตรวจดูข้อมูลข่าวสารของเจ้าของข้อมูล - สามารถขอตรวจดูข้อมูลส่วนบุคคลได้ที่กลุ่มงานพัสดุ สํานักอํานวยการ วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล - แสดงความจํานงขอแก้ไขข้อมูลพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แหล่งที่มาของข้อมูล - เจ้าของข้อมูล - เอกสารราชการ ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.