การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES
(GAP)
อ้างอิงจากมาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ. 9001 - 2556)
ค�ำน�ำ ปัจจุบันการผลิตพืชผลทางการเกษตรเพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพดี และปลอดภัยเป็นหัวใจส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึง โดยเน้นให้กระบวนการผลิต มีความปลอดภัยต่อผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม ระบบการเพาะปลูกที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP) เป็นระบบการจัดการด้านการผลิตทางการเกษตรที่มีความส�ำคัญ โดยมี การควบคุมกระบวนการผลิตเพือ่ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ปลอดภัย ปราศจาก การปนเปือ้ นของสารเคมีปอ้ งกันก�ำจัดศัตรูพชื โลหะหนักและจุลนิ ทรียท์ กี่ อ่ ให้ เกิดโรค โดยเน้นการผลิตที่เป็นระบบ และมีการจัดการแปลงปลูกที่ถูกต้อง เหมาะสม โดยค�ำนึงถึงสุขภาพของผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เอกสารฉบับนี้เหมาะส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งเกษตรกร ผู้ปลูก และ เจ้าหน้าทีภ่ ายใต้ระบบการผลิตพืชตัง้ แต่แปลงปลูกจนถึงการจ�ำหน่ายผลผลิต ซึ่งหากน�ำไปปฏิบัติใช้จะน�ำไปสู่การผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและ ปลอดภัยรวมถึงการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
งานพัฒนาและส่งเสริมผัก มูลนิธิโครงการหลวง
สารบัญ หน้า มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ขอบข่าย
4
ข้อก�ำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) 1. น�้ำ 2. พื้นที่ปลูก 3. วัตถุอันตรายทางการเกษตร 4. การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว 5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 6. การพักผลิตผล การขนย้ายในแปลงปลูก และการเก็บรักษา 7. สุขลักษณะส่วนบุคคล 8. การบันทึกข้อมูลและการตามสอบ
5 7 9 13 16 19 21 22
3 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
ขอบข่าย มาตรฐานสิ น ค้ า เกษตรนี้ ค รอบคลุ ม ข้ อ ก� ำ หนดการปฏิ บั ติ ท าง การเกษตรทีด่ สี ำ� หรับการผลิตพืช เพือ่ เก็บเกีย่ วผลิตผลส�ำหรับใช้เป็นอาหาร เช่น พืชผัก ไม้ผล พืชไร่ พืชเครื่องเทศ พืชสมุนไพร ในทุกขั้นตอนของการผลิต ในระดับฟาร์ม และการจัดการหลัง การเก็บเกีย่ ว ซึง่ มีการบรรจุ และ/หรือ รวบรวมผลิตผล เพื่อจ�ำหน่ายโดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ผลที่ ปลอดภั ย มี คุ ณ ภาพเหมาะสมต่ อ การบริโภค โดยค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และสุ ข ภาพความปลอดภั ย และ สวัสดิภาพของผู้ปฏิบัติงาน
4 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
ข้อก�ำหนด การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) มูลนิธิโครงการหลวง
น�้ำ
1
1.1 น�้ำที่ใช้ในแปลงปลูก และ/หรือ ใช้ในกระบวนการผลิต ต้องมาจากแหล่งน�ำ้ ที่ ไม่มสี ภาพแวดล้อม ซึง่ ก่อให้เกิดการปนเปือ้ น ของวัตถุหรือสิ่งที่เป็นอันตรายต่อผลิตผล
5 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
1.2 ไม่ ใช้ น�้ ำ เสี ย จาก โรงงานอุ ต สาหกรรมและ/หรื อ กิจกรรมอื่น ๆ เช่น แหล่งชุมชน โรงพยาบาล ที่อาจก่อให้เกิดการ ปนเปือ้ นวัตถุหรือสิง่ ทีเ่ ป็นอันตราย กรณีแหล่งน�้ำมีความเสี่ยงต้องมี หลักฐานหรือข้อพิสจู น์ ว่าน�ำ้ นัน้ ได้ ผ่า นการบ� ำ บั ด น�้ ำ เสียแล้ว และ สามารถน�ำมาใช้ในกระบวนการ ผลิตได้
1.3 กรณีแหล่งน�้ำมีสภาพแวดล้อม ที่เ สี่ยงต่อการปนเปื ้ อ นจากวั ตถุ ห รื อ สิ่งที่เ ป็นอันตรายให้ วิเ คราะห์ น�้ำ โดย ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของทางราชการหรื อ ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองระบบ คุ ณ ภาพเพื่ อ วิ เ คราะห์ ก ารปนเปื ้ อ น ของอันตราย และเก็บผลการวิเคราะห์ น�ำ้ ไว้เป็นหลักฐาน
6 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
2
พื้นที่ปลูก
2.1 พื้นที่ปลูกไม่อยู่ในสภาพแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดการปนเปื้อนวัตถุ หรือสิ่งที่เป็นอันตรายต่อผลิตผล
2.2 กรณีท่ีพื้นที่มีสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนจากวัตถุหรือ สิ่งที่เป็นอันตรายให้วิเคราะห์ดิน โดยส่งห้องปฏิบัติการของทางราชการหรือ ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพเพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อน ของอันตราย และเก็บผลการวิเคราะห์ดินไว้เป็นหลักฐาน 7 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
2.3 หากมีการใช้สารเคมีทใี่ ช้รมหรือราดดินเพือ่ ฆ่าเชือ้ ในดินและวัสดุปลูก ให้บันทึกข้อมูลชนิดสารเคมี วันที่ใช้ อัตราส่วนและวิธีใช้ และชื่อผู้ปฏิบัติงาน ลงในแบบบันทึก GAP พร้อมทั้งเก็บบันทึกไว้เป็นหลักฐาน 2.4 จัดท�ำแผนที่แปลงปลูก และรายละเอียดบริเวณรอบแปลงปลูก ให้ชัดเจน
2.5 กรณีพื้นที่มีความลาดชัน ควรมีแนวอนุรักษ์หรือปลูกหญ้าแฝก เพื่อป้องกันการพังทลายของดิน
8 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
3 วัตถุอนั ตรายทางการเกษตร 3.1 เกษตรกรและผู้ปฏิบัติงานต้องได้ รับการอบรมเรื่อง การใช้วัตถุอันตรายทางการ เกษตรที่ถูก ต้ อ งและปลอดภัย และหลัก การ จัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) 3.2 ก่อนใช้สารเคมีทางการเกษตรควร ได้รับค�ำแนะน�ำจากหมอพืชของโครงการหลวง 3.3 ใช้สารเคมีทางการเกษตรตามรายการ ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ และตามอัตราที่เหมาะสม ตามค� ำ แนะน� ำ จากศู น ย์ อ ารั ก ขาพื ช ของมูลนิธิ โครงการหลวงเท่านั้น 9 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
3.4 อุปกรณ์พ่นสารเคมี ได้แก่ ถังพ่น สายยาง และเครื่องพ่น ต้องล้าง ก่อนพ่นและหลังพ่นสารเคมีทุกครั้ง 3.5 แต่งกายให้มดิ ชิดในขณะที่ มีการพ่นสารเคมีทางการเกษตรเพื่อ ป้องกันการได้รับสาร
3.6 ตรวจสอบสภาพเครื่องมือ และอุปกรณ์ เช่น เครือ่ งพ่น สายยาง หัวฉีด ฯลฯ ก่อนและหลังใช้งานเพือ่ ให้อยูส่ ภาพ พร้อมใช้ 3.7 เฝ้าระวังและป้องกันการ ปนเปื้อนของละอองสารเคมีจากบริเวณ แปลงข้างเคียง
10 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
3.8 จัดเก็บสารเคมีในตู้ ทีเ่ หมาะสม และสามารถป้องกัน การปนเปื้อนสู่สภาพแวดล้อมได้
3.9 เว้ น ระยะเก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต หลั ง พ่ น สารเคมี ต ามเวลาที่ ร ะบุ บนฉลากหรื อ ตามประกาศของศูนย์อารักขาพืชมูลนิธิโครงการหลวง
3.10 จุดผสมสารเคมีต้องไม่อยู่ใกล้แหล่งน�้ำ และ/หรือพื้นที่ชุมชน
11 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
3.11 ล้างท�ำความสะอาด ภาชนะบรรจุสารเคมีอย่างน้อย 3 ครั้ง ก่อนท�ำลาย
3.12 ห้ามน�ำภาชนะบรรจุสารเคมีกลับมาใช้ใหม่
3.13 ภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้แล้ว ให้น�ำมาทิ้งในบริเวณที่รวบรวม ขยะพิษที่มูลนิธิโครงการหลวงก�ำหนด
12 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิต ก่อนการเก็บเกี่ยว
4
4.1 ผลิตตามแผนที่ได้รับจากศูนย์ฯ/สถานีฯ
4.2 ใช้เมล็ดพันธุ์ และ/หรือต้นพันธุ์ ตรงตามที่โครงการหลวงก�ำหนด
13 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
4.3 สามารถระบุแหล่งที่มาของปัจ จัยการผลิ ต ได้ (ปุ๋ยเคมี สารเคมี ปุ๋ยคอก อาหารเสริม ฯลฯ) 4.4 ปุย๋ คอก ปุย๋ หมัก ต้องผ่านการย่อยสลายโดยสมบูรณ์ ก่อนน�ำไปใช้ในแปลงปลูกพืช (หมักไว้อย่างน้อย 1 เดือน)
4.5 ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตร (รถไถพรวน จอบ เสียม ฯลฯ) ให้สามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสม
14 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
4.6 มีการจัดการระบบ การผลิ ต (การขึ้ น แปลงปลู ก การท�ำค้าง ระยะปลูก การตัดแต่ง การดูแลรักษา ฯลฯ) เพื่อให้ได้ ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพตรงตาม ความต้องการของตลาด
4.7 หมั่นส�ำรวจโรคแมลงในแปลงปลูก และมีการจัดการศัตรูพืช ทีเ่ หมาะสม ตามหลักการจัดการศัตรูพชื แบบผสมผสาน (IPM) หมัน่ ตรวจสอบ และระมัดระวังการใช้สารเคมีบริเวณแปลงปลูกข้างเคียง เพื่อป้องกัน การปนเปื้อนผลผลิตในแปลง 4.8 รักษาความสะอาดของแปลงปลูก มีการก�ำจัดขยะของเสีย (เศษพืช ขยะ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ) ให้เหมาะสมเพื่อลดปริมาณศัตรูพืช
15 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
5.1 วิเคราะห์ผลผลิต ในแปลงปลูก ก่อนการเก็บเกีย่ ว ทุกครั้ง 5.2 เก็บเกี่ยวผลผลิต ในระยะที่เหมาะสม และ/หรือ ระยะที่ตรงกับความต้องการ ของลูกค้า (ขนาด สี ความหวาน ฯลฯ) 16 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
5
5.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว และวิธีการเก็บเกี่ยว ถูกสุขลักษณะ เหมาะสมต่อพืชแต่ละชนิด
5.4 ไม่เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม (มีฝนตก แดดร้อนจัด ฯลฯ)
17 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
5.5 ไม่วางผลิตผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว สัมผัสกับพื้นดินโดยตรง
5.6 ภาชนะที่ใช้บรรจุผลิตผลต้องสะอาด ห้ามน�ำภาชนะบรรจุผลผลิต ไปใส่ขวดสารเคมีหรืออื่นๆ ที่ไม่ใช่ผลผลิต
5.7 คัดแยกผลิตผลที่ไม่ได้คุณภาพออก
18 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
การพักผลิตผล การขนย้ายในแปลงปลูก และการเก็บรักษา 6.1 จุ ด พั ก ผลิ ต ผล ต้ อ งสะอาดถู ก สุ ข ลั ก ษณะ (ไม่มสี ตั ว์พาหะ ขยะ ฯลฯ) 6.2 รถขนส่งผลิตผล ต้องสะอาด ถูกสุขลักษณะ
19 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
6
6.3 จัดเรียงผลิตผลให้เหมาะสม ไม่กดทับ หรือส่งผลให้ผลิตผลเสียหาย
6.4 สถานที่ตัดแต่งผลิตผลต้องเหมาะสม สะอาด ถูกสุขลักษณะ
20 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
7 สุขลักษณะส่วนบุคคล 7.1 เกษตรกรและผูป้ ฏิบตั งิ าน ต้องได้รบั การฝึกอบรม เรือ่ งสุขลักษณะ ส่วนบุคคลในการปฏิบัติงาน 7.2 อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการตัดแต่ง ผลิตผล ต้องสะอาดและเพียงพอต่อ การปฏิบตั งิ าน (ชุดแต่งกาย มีด ถุงมือ ที่ปิดจมูก อ่างล้างมือ ฯลฯ)
21 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
8 บันทึกข้อมูลและการตามสอบ
8.1 ต้องบันทึกกิจกรรมการเพาะปลูก ให้ครบถ้วนตามแบบบันทึก GAP 8.2 จัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ GAP ไว้ อย่างน้อย 2 ปี 8.3 ต้องระบุแหล่งทีม่ าของผลิตผล ได้แก่ ชือ่ ศูนย์ฯ/สถานีฯ ชือ่ เกษตรกร และวันทีเ่ ก็บเกีย่ ว ฯลฯ
8.4 สามารถตามสอบและเรียกคืนผลิตผลได้เมือ่ เกิดปัญหากับผลิตผลนัน้
22 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา ดร.ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์ นายสุทัศน์ ปลื้มปัญญา รศ.ดร.นุชนาฏ จงเลขา
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หัวหน้าฝ่ายพัฒนา มูลนิธิโครงการหลวง ผู้อ�ำนวยการศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง
คณะผู้จัดท�ำ ดร.อัญชัญ ชมภูพวง ผู้ประสานงานพัฒนาและส่งเสริมผัก มูลนิธิโครงการหลวง นายอนุชา ศรีมา นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นายศีลวัต พัฒโนดม นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางสาวศิริลักษณ์ ศิริกุล นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางสาววิลาวรรณ ขอมา นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นายนาวิน สุขเลิศ นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางประไพพรรณ ขันแก้ว นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางวันเพ็ญ โลหะเจริญ นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางสาวสรนรา ชวคุณาภรณ์ นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นายบัญประชา ทองโชติ นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง
23 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)
นางสาวเพชรดา อยู่สุข นักวิชาการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) นางสาวดวงดาว กันทรัตน์ นักวิชาการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) นางสาวสุพรรณี ขอดเฝือ นักวิชาการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) นางสาวนงนุช คูสันเทียะ เจ้าหน้าทีโ่ ครงการฯ สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน)
เรียบเรียง นายนาวิน สุขเลิศ นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง นางประไพพรรณ ขันแก้ว นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง
ออกแบบรูปเล่ม นายนาวิน สุขเลิศ
นักวิชาการผัก มูลนิธิโครงการหลวง
จัดท�ำโดย งานพัฒนาและส่งเสริมผัก มูลนิธิโครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 65 หมู่ 1 ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 24 การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GOOD AGRICULTURAL PRACTICES (GAP)