การผลิตวัสดุเพาะกล้าอินทรีย์คุณภาพสูง

Page 1

การผลิตวัสดุเพาะกลาอินทรีย

คุณภาพสูง


¡ÒüÅÔμÇÑÊ´Øà¾ÒСŌÒÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ ISBN : ขอมูลทางบรรณานุกรม สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) พิมพครั้งที่ 1 กันยายน 2552 จำนวน 500 เลม ผูจัดพิมพ

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) 65 หมู 1 ถนนสุเทพ ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทรศัพท 0 5332 8496-8 โทรสาร 0 5332 8494 ออกแบบ/พิมพที่ วนิดาการพิมพ 14/2 หมู 5 ต.สันผีเสื้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 โทรศัพท 0 5311 0503-4, 08 1783 8569 โทรสาร 0 5311 0504 ตอ 15


¤Ó¹Ó สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการ มหาชน) ไดใหความสนใจศึกษาเกีย่ วกับจุลนิ ทรีย ในดิ น ที่ เ ป น ประโยชน แ ละอาศั ย อยู ใ นระบบ รากพื ช ที่ เ พาะปลู ก บนพื้ น ที่ สู ง เนื่ อ งจากเป น ทรัพยากรดานความหลากหลายทางชีวภาพของ ประเทศ ทีน่ บั ถึงปจจุบนั ยังมีการนำมาใชประโยชน นอยมาก การศึกษาวิจยั ในระยะทีผ่ า นมาสามารถ คัดเลือกชนิดของจุลินทรียที่มีศักยภาพในการ ยอยสลายเศษซากพืชใหเปนปุย และสามารถ ย อ ยสลายหิ น แร เพื่ อ ปลดปล อ ยธาตุ อ าหาร ประเภทฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมใหอยูในรูป ที่รากพืชสามารถนำไปใชประโยชนได ตลอดจน สามารถคั ด แยกชนิ ด ของจุ ลิ น ทรี ย ที่ ส ามารถ ควบคุ ม เชื้ อ โรคในดิ น จุ ลิ น ทรี ย เ หล า นี้ จึ ง มี ประโยชนเมื่อนำมาบมเพาะไวในปุยหมัก และ นำไปใชเปนวัสดุเพาะกลา ซึ่งจะสงผลใหตนกลา แข็งแรง มีโอกาสรอดตายสูงเมื่อยายปลูก และ ต น พื ช จะทนต อ โรคพื ช จากดิ น ทำให ช ว ยลด การใชปยุ เคมีและสารเคมีกำจัดโรคไดดว ย เอกสาร วิชาการนี้จัดพิมพขึ้นเพื่อเผยแพรเทคนิคสำหรับ ใชประโยชนจากความหลากหลายของจุลินทรีย ในดินบนพื้นที่สูง ในลักษณะของการผลิตเปน วัสดุเพาะกลาชีวภาพ


ÊÒúÑÞ บทนำ 1. หลักการผลิตปุยหมักคุณภาพสูง 1.1 คุณสมบัติของปุยหมักที่พึงประสงค 1.2 คุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการผลิตปุยหมัก 1.3 กระบวนการยอยสลายวัสดุอินทรีย 2. เทคนิคการผลิตปุยหมักคุณภาพสูง 2.1 การเตรียมสถานที่ 2.2 การเตรียมวัสดุอินทรียเพื่อเปนวัตถุดิบ 2.3 วิธีการกองปุยหมัก 2.4 การปฏิบัติดูแลกองปุยหมัก 2.5 คุณสมบัติของปุยหมักหลังผานการยอยสลาย ที่สมบูรณแลว 3. การผลิตวัสดุเพาะกลาอินทรียคุณภาพสูง จากปุยหมัก 3.1 การเพิ่มปริมาณธาตุอาหาร ในวัสดุเพาะกลาอินทรีย 3.2 การเพิ่มประสิทธิภาพวัสดุเพาะกลา ดวยเชื้อจุลินทรีย 3.3 การบมหัวเชื้อจุลินทรียที่เปนประโยชน ในปุยหมัก ผลการทดสอบวัสดุเพาะกลาอินทรียคุณภาพสูง ในการเพาะกลากะหล่ำปลี และมะเขือเทศ เอกสารอางอิง

1 2 2 4 5 9 9 9 9 13 16 17 17 18 21 24 27


¡ÒüÅÔμÇÑÊ´Øà¾ÒСŌÒÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ º·¹Ó วัสดุเพาะกลาคุณภาพสูง เปนปจจัยการผลิต พืน้ ฐานทีค่ วรใหความสำคัญเปนอันดับตนๆ โดยเฉพาะ อยางยิง่ ในระบบการผลิตผักคุณภาพสูงทีม่ งุ เนนความ ปลอดภัยตอผูบ ริโภค ดวยการลดการใชสารเคมีเกษตร หรือในระบบการผลิตผักอินทรีย ที่ไมอนุญาตใหใช ปุยเคมีหรือสารเคมีปองกันกำจัดโรคและแมลงในการ เพาะปลู ก ทั้ ง สองกรณี จ ำเป น ต อ งมุ ง เน น ดู แ ลให ตนกลามีความแข็งแรง มีระบบรากทีส่ มบูรณเปนพิเศษ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการรอดตายเมือ่ ยายปลูก ตลอดจน เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและความสามารถในการ ทนทานตอโรคและแมลงได ซึง่ ในกรณีการผลิตผักอินทรีย วัสดุเพาะจำเปนตองเปนวัสดุเพาะอินทรียดวย


การผลิตวัสดุเพาะกลาอินทรียคุณภาพสูง ประกอบดวย การดำเนินงาน 2 ขัน้ ตอน คือ 1) การผลิตปุยหมักคุณภาพสูง จากวัสดุอินทรีย และ 2) การผสมจุลินทรียที่เปนประโยชนลง ในปุย หมัก เชน เชือ้ แบคทีเรียทีส่ ามารถตรึงไนโตรเจน หรือเชือ้ รา ในดินทีส่ ามารถควบคุมจุลนิ ทรียส าเหตุโรคของตนกลา เปนตน

1. ËÅÑ¡¡ÒüÅÔμ»Ø‰ÂËÁÑ¡¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ 1.1 คุณสมบัติของปุยหมักที่พึงประสงค (1) มีสีคล้ำ (สีน้ำตาลเขม – ดำ) และมีกลิ่นคลายดิน (2) มีอุณหภูมิต่ำใกลเคียงกับอุณหภูมินอกกองปุย (3) มี ป ริ ม าณธาตุ อ าหาร ได แ ก ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรั ส (P 2 O 5 ) และ โพแทสเซี ย ม (K 2 O) ไมต่ำกวา 1.0, 0.5 และ 0.5 เปอรเซ็นตโดยน้ำหนัก ตามลำดับ (4) มีสัดสวนของสารประกอบคารบอนตอไนโตรเจน ไมเกิน 20:1 (5) มีปริมาณอินทรียวัตถุไมต่ำกวา 20 เปอรเซ็นตโดย น้ำหนัก (6) มีความเปนกรดดาง (pH) ประมาณ 5.5 – 8.5 (7) มีคาการนำไฟฟา (Electro Conductivity หรือ E.C.) หรือ คาความเค็มไมเกิน 10 เดซิซีเมน/เมตร (8) มีความชื้นไมเกิน 35 เปอรเซ็นต 2


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

(9) มี ค า ดั ช นี ค วามงอกของเมล็ ด พื ช มากกว า 80 เปอรเซ็นต (Germination Index) (10) ไม มี วั ส ดุ อื่ น เจื อ ปน เช น เศษแก ว พลาสติ ก หิน กรวด และทราย เปนตน

ปุยหมักที่ยอยสลายสมบูรณ มีลักษณะเปอยยุย ออนนุม มีสีน้ำตาลดำ คลายดินดำ และมีกลิ่นดิน

3


1.2 คุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการผลิตปุยหมัก คุณสมบัติที่ดีของปุยหมักดังกลาวขางตน จะขึ้นอยูกับ ประเภทของวัสดุที่นำมาผลิตเปนปุยหมักดวย วัสดุที่แตกตางกัน ทำใหระยะเวลาและความยากงายในการยอยสลายตางกัน วัสดุที่มี องคประกอบทางเคมีที่จุลินทรียนำไปใชเปนอาหารไดงายก็จะยอย สลายเร็ ว เช น ฟางข า ว และตอซั ง ถั่ ว ต า งๆ แต วัสดุบางชนิดที่ จุลนิ ทรียน ำไปใชเปนอาหารไดยากก็จะยอยสลายชา เชน ขุยมะพราว และขี้เลื่อย เปนตน เราสามารถแบงกลุมวัสดุเพื่อผลิตปุยหมัก ไดเปนสองกลุมคือ วัสดุอินทรียที่ยอยสลายงาย คือ วัสดุอินทรียที่มี สัดสวนเปอรเซ็นตของสารประกอบคารบอนตอเปอรเซ็นตของ สารประกอบไนโตรเจน (C/N ratio) นอยกวา ~100:1 ดังนี้ ตัวอยางวัสดุอินทรียที่ยอยสลายงาย ÇÑÊ´ØÍÔ¹·ÃÕÂ ตอซังขาวโพด ฟางขาว เปลือกเมล็ดกาแฟ เปลือกถั่วลิสง

4

à»Íà à«ç¹μ à»Íà à«ç¹μ ÊѴʋǹ¤Òà ºÍ¹/ ¤Òà ºÍ¹ ä¹âμÃਹ ä¹âμÃਹ 33.0 0.53 62 48.8 0.55 89 65.1 0.93 70 58.4 0.73 75


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

วัสดุอินทรียที่ยอยสลายยาก คือวัสดุอินทรียที่มีสัดสวน เปอรเซ็นตของสารประกอบคารบอน ตอเปอรเซ็นตของสารประกอบ ไนโตรเจน (C:N ratio) มากกวา ~100:1 ดังนี้ ตัวอยางวัสดุอินทรียที่ยอยสลายยาก ÇÑÊ´ØÍÔ¹·ÃÕÂ แกลบ ขุยมะพราว ขี้เลื่อย

à»Íà à«ç¹μ à»Íà à«ç¹μ ÊѴʋǹ¤Òà ºÍ¹/ ¤Òà ºÍ¹ ä¹âμÃਹ ä¹âμÃਹ 54.7 0.36 152:1 60.1 0.36 167:1 62.7 0.32 196:1

1.3 กระบวนการยอยสลายวัสดุอินทรีย วัสดุอินทรียที่นำมาเปนวัตถุดิบในการผลิตปุยหมักจะถูก ยอยสลายดวยกระบวนการทั้งทางเคมีและทางชีวภาพที่มีความ ซับซอนและคอยเปนคอยไป ซึ่งในระหวางกระบวนการยอยสลาย จะเกิดความรอนสะสมอยูในกองปุยหมัก ซึ่งความรอนนี้จะเปน ประโยชนในการกำจัดจุลนิ ทรียท ป่ี นเปอ นมากับวัตถุดบิ โดยเฉพาะ อยางยิ่งจุลินทรียสาเหตุโรคพืช นอกจากนี้อุณหภูมิสูงยังชวยกำจัด เมล็ ด วั ช พื ช อี ก ด ว ย ผลผลิ ต สุ ด ท า ยเมื่ อ กระบวนการย อ ยสลาย สมบู ร ณ แ ล ว จะได อิ น ทรี ย วั ต ถุ ที่ มี สี น้ ำ ตาลดำและมี ก ลิ่ น ดิ น สารสีคล้ำนี้ บางครั้งเรียกวา ฮิวมัส

5


การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในกองปุยหมักและการเจริญเติบโต ของจุลินทรียในแตละระยะชวงอายุของการกองปุยหมัก

6


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

เราสามารถเรงกระบวนการยอยสลายวัสดุอินทรีย โดย วิธีเติมหัวเชื้อจุลินทรียที่มีคุณสมบัติพิเศษลงในกองปุยหมัก เชน จุลินทรียกลุมรา สามารถยอยสลายวัสดุอินทรียชิ้นใหญ หรือหนาให เล็ ก ลง เชื้ อ รายั ง สามารถย อ ยสลายวั ส ดุ อิ น ทรี ย ที่ ค อ นข า งแห ง เปนกรด หรือมีไนโตรเจนต่ำ ซึ่งก็จะเปดโอกาสใหกลุมแบคทีเรีย ทำหน า ที่ ย อ ยสลายต อ ไปได เ ป น อย า งดี ในระยะที่ ก องปุ ย หมั ก มีอุณหภูมิสูง เชื้อราสวนใหญจะเจริญเติบโตอยูบริเวณรอบนอก กองปุยหมัก จุลินทรียกลุมแบคทีเรีย ในระยะเริม่ แรกของกระบวนการยอยสลายวัสดุอนิ ทรีย ซึ่งอุณหภูมิในกองปุยหมักยังไมสูงมาก (ไมเกิน 40 องศาเซลเซียส) จะมีจุลินทรียกลุม mesophilic bacteria มากและมีบทบาท โดดเดน แบคทีเรียกลุมนี้เปนชนิดที่สามารถพบไดในดินชั้นบน เมื่อ กองปุยหมักมีอุณหภูมิสูงมากกวา 40 องศาเซลเซียส จุลินทรียกลุม Thermophilic bacteria จะทำหนาที่แทน ซึ่งสวนใหญจะเปน แบคทีเรียสกุล Bacillus และ Thermus หลากหลายสายพันธุ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงอุณหภูมิ 50 - 60 องศาเซลเซียส แบคทีเรีย กลุม Bacillus นี้จะมีวิธีการอยูรอดในสภาพแวดลอมไมเหมาะสม ดวยการสรางเอนโดสปอร (endospores) ซึง่ เปนสปอรทมี่ ผี นังหนา ทำใหสามารถทนทานตอความรอน ความหนาวเย็น ความแหงแลง

7


หรือสภาพการขาดอาหารไดเปนอยางดี ซึ่งจะสามารถงอกและ เจริญเติบโตไดดีเมื่อสภาพแวดลอมเอื้ออำนวย เมื่ อ อุ ณ หภู มิ ข องกองปุ ย หมั ก ลดลงแบคที เรี ย กลุม mesophilic bacteria ก็จะกลับมามีบทบาทอีกครั้งหนึ่ง จุลินทรียกลุมแอคติโนมัยซีท มีบทบาทสำคัญในการยอยสลายสารประกอบ อิ น ทรี ย ที่ โ ครงสร า งทางโมเลกุ ล ซั บ ซ อ น เช น เซลลู โ ลส ลิกนิน ไคติน และโปรตีน ดังนั้นเอนไซมของแอคติโนมัยซีท จึงชวยยอยสลายวัสดุอินทรียที่แข็ง เหนียว เชน กิ่งของไม เนื้อแข็ง และเปลือกไม เปนตน การทำงานของจุลินทรียกลุม แอคติ โ นมั ย ซี ท จะพบทั้ ง ในช ว งที่ ก องปุ ย หมั ก มี อุ ณ หภู มิ สู ง และในชวงสุดทายที่มีอุณหภูมิต่ำลง เชื้อรา

เชื้อแบคทีเรีย

เชื้อแอคติโนมัยซีท ลักษณะสปอร เสนใย หรือโคโลนี ของเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อแอคติโนมัยซีท

8


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

2. à·¤¹Ô¤¡ÒüÅÔμ»Ø‰ÂËÁÑ¡¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ 2.1 การเตรียมสถานที่ บริเวณตั้งกองปุยหมักควรอยูใกลแหลงวัตถุดิบ มีการ คมนาคมขนสงสะดวก มีนำ้ สะอาดเพียงพอแกการใชรกั ษาความชืน้ ใหกับกองปุยหมัก และเปนพื้นที่เรียบไมขังน้ำ 2.2 การเตรียมวัสดุอินทรียเพื่อเปนวัตถุดิบ วัสดุที่ใชในการผลิตปุยหมัก ประกอบดวย เศษวัสดุอินทรีย เชน เศษพืชแหงตางๆ และเศษพืช ที่ มี ไ นโตรเจนและธาตุ อ าหารสู ง เช น เศษผั ก เศษตนยาสูบ จอกแหน แหนแดง มูลสัตว เชน มูลวัว ซึ่งถือวาเปนทั้งแหลงของ ไนโตรเจน และแหลงของจุลินทรียที่ชวยในการ ยอยสลายเศษวัสดุอินทรียดวย หัวเชื้อจุลินทรีย ประเภทเชื้อรา แบคทีเรีย และ แอคติโนมัยซีท 2.3 วิธีการกองปุยหมัก การกองปุยหมักมีหลากหลายวิธี เชน การกองบนพื้น การกองในคอก การกองในหลุม เปนตน แตในที่นี้ขอแนะนำวิธี การกองปุย หมักอยางงายและสามารถทำไดเองโดยไมตอ งใชอปุ กรณ มากนัก คือ แบบกองบนพื้น ซึ่งแบงไดเปน 2 แบบ ตามขนาดของ วัสดุอินทรีย ไดแก 9


(1) การกองวัสดุอินทรียแบบแยกเปนชั้น วัสดุอินทรีย หลายชนิดมีขนาดใหญ เชน ฟางขาว เศษใบไมแหง และตอซังขาวโพด เปนตน การผสมรวมกับวัสดุอื่น ทั น ที ท ำได ย าก ดั ง นั้ น จึ ง ควรกองเป น ชั้ น ๆ โดย หลั ง จากกองแล ว ขนาดกองทุ ก ชั้ น รวมกั น จะมี ความกว า งประมาณ 2.5 เมตร ยาวประมาณ 3-4 เมตร และสูงประมาณ 1.2-1.5 เมตร โดยมี ขั้นตอนดังนี้ ชั้ น แรกหรื อ ชั้ น ล า งสุ ด กองเศษพื ช ให สู ง ประมาณ 30-35 เซนติ เ มตร ให ก ว า งยาว ตามคำแนะนำ รดน้ ำ ให ชุ ม พอดี ไ ม แ ฉะหรื อ แห ง เกิ น ไป อาจผสมหั ว เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ที่ มี คุณสมบัติชวยยอยเศษพืช เชน พด.-1 (อัตรา 1 ซองตอเศษพืชหนัก 1,000 กิโลกรัม) ชั้ น ต อ ไปจะเป น ชั้ น ของมู ล สั ต ว เช น มู ล วั ว มูลไก เปนตน โรยมูลสัตวประมาณ 1 บุงกี๋ ต อ พื้ น ที่ 1 ตารางเมตร แล ว รดน้ ำ เพื่ อ เพิ่ ม ความชื้ น โดยปกติ สั ด ส ว นที่ เ หมาะสม คื อ มูลสัตว 100 กิโลกรัมตอเศษพืช 500 กิโลกรัม ชั้ น ต อ ไป เป น การกองเศษพื ช เช น เดี ย วกั บ ชั้นลางสุด และตามดวยการกองชั้นของมูลสัตว ดังทีไ่ ดอธิบายไวขา งตน โดยทำการกองสลับกัน เชนนี้จนไดความสูงกองตามตองการ

10


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

ชั้นบนสุด หลังจากกองเศษพืชทุกชั้นแลว ควรป ด ทั บ กองปุ ย หมั ก ด ว ยดิ น ดำ และ คลุมดานบนกองดวยเศษพืช หรือพลาสติก เพื่อรักษาความชื้นภายในกอง

การกองวัสดุอินทรียชั้นแรกหรือชั้นลางสุด

11


การกองชั้นมูลสัตว

การปดทับกองปุยหมักดวยดินดำ และคลุมดวยเศษพืช

12


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

(2) การกองวัสดุอินทรียแบบผสมรวมกันทั้งหมด วัสดุ อินทรียบางชนิดมีขนาดเล็ก หรือเปนผงละเอียด เชน แกลบ และ ขีเ้ ลือ่ ย สามารถกองรวมกันไดทนั ที โดยไมตองกองเปนชั้น โดยใชสัดสวนของวัสดุ 500 กิโลกรัม ตอมูลสัตว 100 กิโลกรัม เชนเดียวกันแลว คลุกเคลาใหเขากัน พรอมทั้งเพิ่มหัวเชื้อจุลินทรีย และปรับความชื้นโดยรดน้ำใหพอเหมาะ กอนคลุม ดวยเศษพืชหรือพลาสติก เพื่อรักษาความชื้น 2.4 การปฏิบัติดูแลกองปุยหมัก จุ ลิ น ทรี ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การย อ ยสลายวั ส ดุ อิ น ทรี ย ต อ งการก า ซออกซิ เ จนและความชื้ น สำหรั บ การหายใจและ การเจริญเติบโต ในระหวางกระบวนการยอยสลาย จะทำใหเกิด ก า ซคาร บ อนไดออกไซด และความร อ นสะสมในกองปุ ย หมั ก ซึ่ ง ความร อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น บางครั้ ง สู ง ถึ ง 60 – 80 องศาเซลเซี ย ส ซึ่งจะกออันตรายตอจุลินทรียที่เปนประโยชนดวย ดังนั้นจึงควร ปฏิบัติดูแลกองปุยหมัก ดังนี้ กลั บ กองปุ ย หมั ก เป น ครั้ ง คราว เพื่ อ ช ว ยระบาย กาซคารบอนไดออกไซด เพิม่ ปริมาณออกซิเจน และ ลดอุณหภูมิ ทำใหกิจกรรมยอยสลายวัสดุอินทรีย โดยจุลินทรียรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยปกติควรกลับกอง ทุก 10 – 20 วัน จำนวน 3 – 4 ครัง้ จนวัสดุอนิ ทรีย ยอยสลายดีและอุณหภูมิของกองปุยหมักลดต่ำลง

13


รักษาระดับความชื้นในกองปุยหมักใหสม่ำเสมอ ควรรดน้ ำ กองปุ ย หมั ก ในเวลาเดี ย วกั บ การ กลับกอง โดยเฉพาะอยางยิ่งการหมักปุยในชวง ฤดูแลง แตในฤดูฝนควรระวังปญหาความชื้นสูง เกินไป

การกลับกองปุยหมักเพื่อระบายอากาศ

14


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

รดน้ำใหมีความชื้นพอเหมาะกรณีที่กองปุยหมักแหงเกินไป

15


16 7.04 6.59 6.71 6.47 6.99 6.11

pH

EC ds/m 0.45 0.76 0.38 0.51 1.04 0.41

OM (%) 11.9 22.5 19.6 30.7 36.6 46.8

Ca (%) 0.97 2.91 1.03 1.27 1.21 1.03

Mg (%) 0.22 0.43 0.25 0.32 0.39 0.26

GI (%) 158.7 168.1 141.4 187.9 172.8 161.4

หมายเหตุ 1 pH = คาความเปนกรดและดาง; EC = คาการนำไฟฟา – Electro Conductivity; OM ปริมาณอินทรียวัตถุ; ปริมาณธาตุอาหารหลัก วิเคราะห 3 ตัวหลักคือ ไนโตรเจนทั้งหมด (N) ฟอสฟอรัสทั้งหมด (P2O5) และโพแทสเซียมทั้งหมด (K2O) และธาตุอาหารรองอีกสองธาตุคือ แคลเซียม ทั้งหมด (Ca) และแมกนีเซียมทั้งหมด (Mg); อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C/N ratio) เปนอัตราสวนที่คำนวณจากคาวิเคราะห เปอรเซ็นต คารบอนทั้งหมด ตอเปอรเซ็นตไนโตรเจนทั้งหมด; คาดัชนีความงอกของเมล็ด (GI = Germination Index)

ฟางขาว ขี้เลื่อยหลังเพาะเห็ด เปลือกถั่วลิสง เปลือกเมล็ดกาแฟ แกลบดิบ ขุยมะพราว

วัสดุอินทรีย

คุณสมบัติของปุยหมัก1 C/N N P2O5 K2O ratio (%) (%) (%) 10.8 0.64 0.20 0.26 11.20 1.26 0.79 0.32 10.8 1.20 0.27 0.24 18.8 0.96 0.41 0.33 16.1 1.32 0.59 0.49 33.94 0.79 0.09 0.24

2.5 คุณสมบัติของปุยหมักหลังผานการยอยสลายที่สมบูรณแลว


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

3. ¡ÒüÅÔμÇÑÊ´Øà¾ÒСŌÒÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ ¨Ò¡»Ø‰ÂËÁÑ¡ 3.1 การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในวัสดุเพาะกลาอินทรีย โดยปกติปุยหมักมีธาตุอาหารตางๆ ครบทุกชนิด แตมี ปริมาณนอย เมื่อนำมาผลิตเปนวัสดุเพาะกลาควรเพิ่มธาตุอาหาร ใหเพียงพอกับการเจริญเติบโตของตนกลา ทั้งในเชิงปริมาณและ รู ป แบบที่ ร ากของต น กล า สามารถนำไปใช ป ระโยชน ไ ด ทั น ที ซึ่ ง ในกรณี ข องวั ส ดุ เ พาะกล า อิ น ทรี ย ไ ม อ นุ ญ าตให เ ติ ม ปุ ย เคมี จึงควรดำเนินการดังตอไปนี้ 1) การเพิ่มไนโตรเจนดวยจุลินทรียตรึงไนโตรเจน ตัวอยางจุลินทรียในกลุมนี้ ไดแก แบคทีเรียซึ่งมี ทั้งที่สามารถอยูในดินไดโดยอิสระ และตองอยูรวมกับพืช เชน อโซสไปริลลัม ไรโซเบียม แฟรงเคีย ไบเจอรริงเกีย และไซยาโน แบคทีเรีย ทีอ่ ยูร ว มกับแหนแดง เปนตน จุลนิ ทรียเ หลานีส้ ามารถตรึง กาซไนโตรเจนจากอากาศและเปลีย่ นใหอยูใ นรูปทีพ่ ชื ใชประโยชนได 2) การเพิ่มธาตุฟอสฟอรัสโดยใชจุลินทรียยอยสลาย หินฟอสเฟต จุลนิ ทรียห ลายชนิดสามารถสรางเอนไซมฟอสฟาเทส หรื อ กรดอิ น ทรี ย ที่ ย อ ยสลายหิ น ฟอสเฟต และปลดปล อ ยธาตุ ฟอสฟอรัสทีเ่ ปนประโยชนตอ พืช พบทัง้ กลุม จุลนิ ทรียท เ่ี ปนแบคทีเรีย และเชื้อรา เชน เพนิเซลเลียม โดยเชื้อราสามารถยอยสลายหิน ฟอสเฟตไดมากกวาแบคทีเรีย ประมาณ 3-100 เทา

17


3) การเพิม่ ธาตุโพแทสเซียมโดยใชจลุ นิ ทรียย อ ยสลาย หินแรเฟลดสปาร จุลินทรียในกลุมที่ชวยเพิ่มความเปนประโยชนของ ธาตุโพแทสเซียมจากหินแรเฟลดสปาร จะทำหนาที่คลายคลึงกับ กลุมที่ชวยเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุฟอสฟอรัส โดยการ ผลิ ต กรดหรื อ เอนไซม ม าย อ ยสลายหิ น แร และปลดปล อ ยธาตุ โพแทสเซียมในรูปที่พืชนำไปใชประโยชนได 3.2 การเพิ่มประสิทธิภาพวัสดุเพาะกลาดวยเชื้อจุลินทรีย 1) จุ ลิ น ทรี ย ก ลุ ม เอนโดไมคอร ไรซา ซึ่ ง เป น เชื้ อ รา ที่ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวบริเวณราก ทำใหรากของตนกลา สามารถดูดตรึงธาตุอาหารไดมากขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิ่งธาตุฟอสฟอรัส จึงชวยสงเสริมการเจริญ เติ บ โตของต น กล า และของต น พื ช เมื่ อ ย า ยปลู ก ในแปลง

18


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

เสนใยและสปอรของเชื้อเอนโดไมคอรไรซาที่อาศัยอยู บริเวณรากพืช

19


ผลของการใสเชื้อเอนโดไมคอรไรซาและปุยฟอสฟอรัส ตอปริมาณธาตุอาหารในตนขาวโพด ธาตุอาหาร P K Ca Mg Zn Cu Mn Fe

ไมใสปุยฟอสฟอรัส ใสปุยฟอสฟอรัส 25 ppm P ไมใสเชื้อ 750 6,000 1,200 430 28 7 72 80

ใสเชื้อ 1,340 9,700 1,600 630 95 14 101 147

ไมใสเชื้อ 2,970 17,500 2,700 990 48 12 159 161

ใสเชื้อ 5,910 19,900 3,500 1,750 169 30 238 277

หมายเหตุ: ปริมาณในสวนลำตนและใบ (μg)

2) จุลนิ ทรียก ลุม แบคทีเรียทีส่ ามารถสรางฮอรโมนพืช กลุ ม อ็ อ กซิ น (Auxin) และจิ บ เบอริ ล ลิ ค แอซิ ด (Gibberilic Acid) หรือสารประกอบอื่นๆ ซึ่งทำให พื ช สามารถเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาผลผลิ ต ได ดี มากกว า เดิ ม ส ว นใหญ แ ล ว จุ ลิ น ทรี ย ใ นกลุ ม นี้ มักเปนแบคทีเรียที่อาศัยอยูบริเวณรอบรากพืช เชน เชื้ออโซสไปริลลัม และอะโซโตแบคเตอร 3) จุลินทรียกลุมที่สรางสารยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชือ้ สาเหตุโรคพืช จุลนิ ทรียใ นกลุม นีม้ กั จะสราง สารปฏิชีวนะและ/หรือเอนไซมยอยผนังเซลลของ 20


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

เชื้อโรคพืช จึงสามารถควบคุมหรือยับยั้งการเจริญ ของประชากรเชื้ อ โรคพื ช เชื้ อ ในกลุ ม นี้ ได แ ก ไตรโคเดอร ม า และกลุ ม แอคทิ โ นมั ย ซี ท เช น เสตรปโตมัยซีส 3.3 การบมหัวเชื้อจุลินทรียที่เปนประโยชนในปุยหมัก นำหัวจุลนิ ทรียท เี่ ปนประโยชนขา งตน มาผสมกับปุย หมัก ที่ผานการหมักอยางถูกตองและสมบูรณดีแลว โดยผสมรวมกับ หินแรฟอสเฟต และเฟลดสปาร โดยมีอัตราสวนผสม ดังนี้ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)

ปุยหมัก 1,000 หินแรฟอสเฟต 150 หินแรเฟลดสปาร 50 หัวเชื้ออะโซแบคเตอร 8 หัวเชื้อไบเจอรริงเกีย 8 หัวเชื้ออโซสไปริลลัม 8 หัวเชื้อบาซิลลัส 8 หัวเชื้อราเพนิซิลเลียม 10

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม ลิตร (ตรึงไนโตรเจน) ลิตร (ตรึงไนโตรเจน) ลิตร (ตรึงไนโตรเจน) ลิตร (ยอยผงแรเฟลดสปาร) ถุง (ยอยผงแรหินฟอสเฟต)

หมายเหตุ: ปริมาณเชื้อเริ่มตน 107 (cell/g) ปรับความชื้นประมาณ 60% บมไวนาน 1 เดือน

21


การเพาะเลี้ยงหัวเชื้อแบคทีเรีย (บน) และเชื้อรา (ลาง)

22


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

การบมหัวเชื้อจุลินทรียที่เปนประโยชนในกองปุยหมัก

23


¼Å¡Ò÷´ÊͺÇÑÊ´Øà¾ÒСŌÒÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾Ê٧㹡ÒÃà¾ÒСŌҡÐËÅèÓ»ÅÕáÅÐÁÐà¢×Íà·È กะหล่ ำ ปลี จากการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของวั ส ดุ เพาะกล า อิ น ทรี ย คุ ณ ภาพสู ง เปรี ย บเที ย บกั บ วั ส ดุ เ พาะที่ มี จำหนายในทองตลาด พบวา กลากะหล่ำปลีที่เพาะในวัสดุ เพาะกลาอินทรีย มีนำ้ หนักสด-แหง ความสูงตน ความยาวราก และความหนาแนนราก มากกวากลาที่เพาะในวัสดุเพาะที่มี จำหนายในทองตลาด

กลากะหล่ำปลีที่เพาะในวัสดุเพาะที่มีจำหนายทั่วไปในทองตลาด (ก) และวัสดุเพาะกลาอินทรียคุณภาพสูง (ข)

24


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

มะเขื อ เทศ จากการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของวั ส ดุ เพาะกลาอินทรียค ณ ุ ภาพสูงเปรียบเทียบกับวัสดุเพาะทีม่ จี ำหนาย ในทองตลาด พบวา กลามะเขือเทศที่เพาะในวัสดุเพาะกลา อินทรียที่ผสมเชื้อจุลินทรียยอยสลายฟอสฟอรัส มีน้ำหนัก สด-แหง ความสูงตน ความยาวราก และความหนาแนนราก มากกวากลาที่เพาะในวัสดุเพาะที่มีจำหนายในทองตลาด

กลากะหล่ำปลีที่เพาะในวัสดุเพาะกลาอินทรียคุณภาพสูงที่ผสมเชื้อจุลินทรีย ยอยสลายฟอสฟอรัส (ก) และวัสดุเพาะที่มีจำหนายทั่วไปในทองตลาด (ข)

25


àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§

26

ธงชั ย มาลา. 2550. ปุ ย อิ น ทรี ย แ ละปุ ย ชี ว ภาพ: เทคนิ ค การผลิตและการใชประโยชน. สำนักพิมพมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 300 น. สมพร ชุนหลือชานนท, อรวรรณ ฉัตรสีรุง, ชูชาติ สันธทรัพย และสมศักดิ์ จีรตั น. 2548. เอกสารประกอบการฝกอบรม การผลิตปุย อินทรีย- ชีวภาพ. งานวันชาวสวนลำไยลำพูน ครั้งที่ 2. วันที่ 1-3 กรกฎาคม 2548 ณ ศูนยศึกษาและ พัฒนาลำไยหริภุญชัย ตำบลเหลายาว อำเภอบานโฮง จังหวัดลำพูน. 24 น. สมพร ชุนหลือชานนท, อรวรรณ ฉัตรสีรุง, ชูชาติ สันธทรัพย และสมศักดิ์ จีรัตน. 2549. ผลของปุยอินทรีย-ชีวภาพ ตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชเศรษฐกิจบางชนิด. โปสเตอรงานวิชาการ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. สมพร ชุนหลือชานนท, อรวรรณ ฉัตรสีรุง, สมศักดิ์ จีรัตน, ยุทธศักดิ์ ยืนนอย และมัทนา อภัยมูล. 2550. รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ. โครงการศักยภาพของปุยอินทรีย ตอการเพิ่มผลผลิตขาวโพดฝกออนรุนที่ 2 ในที่ดอน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั สำนักงานเขตภาคเหนือ. 20 น. สมศั ก ดิ์ วั ง ใน. 2541. การตรึ ง ไนโตรเจน: ไรโซเบี ย ม-พื ช ตระกู ล ถั่ ว . สำนั ก พิ ม พ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร . 252 น.


¡ÒüÅÔμ ÇÑÊ´Øà¾ÒÐ¡ÅŒÒ ÍÔ¹·ÃÕ ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§

อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2548. ปุยกับการเกษตรและสิ่งแวดลอม. สำนักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 156 น. อรวรรณ ฉัตรสีรุง. 2457. รายงานฉบับสมบูรณ. โครงการ ให บ ริ ก ารด า นการผลิ ต หั ว เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ส ำหรั บ พื ช ตระกูลถั่ว. คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 21 น. อรวรรณ ฉัตรสีรุง. 2549. แปงขี้เหยื้อหื้อเปนทุน. เอกสาร ประกอบคำบรรยายการประชุมสัมมนา “โครงการแกไข ปญหาไฟปาดินถลม และน้ำทวมฉับพลันบนดอยสุเทพ เฉลิมพระเกียรติ 60 ป” ณ หองประชุม วัดพระธาตุ ดอยสุเทพราชวรวิหาร วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2549. 9 น. อรวรรณ ฉัตรสีรุง. 2550a. อินทรียวัตถุ (Soil organic matter). เอกสารประกอบการสอนวิชาความอุดมสมบูรณของดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตรฯ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. 15 น. อรวรรณ ฉัตรสีรุง. 2550b. ปุยและสารปรับปรุงดิน (Fertilizer and soil amendments). เอกสารประกอบการสอนวิชา ความอุ ด มสมบู ร ณ ข องดิ น . ภาควิ ช าปฐพี ศ าสตร ฯ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 21 น.

27



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.