Fit for 2020 The new Cleanness for Wat
& Hygiene Concept
Sakaeo Orphanage
On behalf of The ICEMAN CHARITY Volker Capito / Johannes Strasser / Chartchai Thammikakun April 2016
Preface After Volker Kevin Capito had supported the Wat Sakaeo Orphanage by providing rice and donations in kind for over twelve years, the Iceman Charity was established. The Iceman Charity is not a registered charity, but rather a personal mission undertaken by Volker Capito, together with his friends and business partners, to support the children at the orphanage. The Iceman Charity still concerns itself primarily with buying rice for daily meals; however, over the last few years enough money has been raised through sponsors to enable the charity to widen its activities to include improving living standards for the children living at the orphanage. Over the last few years, more than 300,000 € has been spent on furnishings and renovation works or planned renovation works. Detailed information about this can be found at www.icemancharity.com. Last year a total of 150,000 € was invested in the renovation of two buildings for boys. Despite careful consideration and planning about how best to use the sponsorship funds, it was ascertained just a few months after the renovation work was completed that the funds had not been used sustainably enough. The Iceman Charity attributes this to insufficient cleaning and hygiene provisions, as well as inadequate control over the correct use of fixtures and fittings. For this reason a set amount of money was then put aside to develop a new cleaning and hygiene concept. In order to implement this comprehensive concept as costeffectively as possible, student Johannes Strasser was engaged as a volunteer to help with the project. In addition, the company Kärcher Thailand agreed to support the project and help with implementation. The following report first details the existing shortcomings so that all the changes can be followed and to allow better understanding of the importance of the new cleanliness and hygiene plan. Furthermore, the report also puts forward a new cleaning concept for the orphanage. The new cleaning concept is based on recommendations and guidelines from international health organisations. It has been adapted to meet the needs of the temple and its feasibility has been tested by the report’s author. First and foremost, the recommendations from the Iceman Charity serve to prepare the Wat Sakaeo orphanage for Thailand’s imminent implementation of health and hygiene guidelines for public facilities. These guidelines are already applied in hotels and tourist facilities, hospitals, international companies and other public areas that are also regularly controlled by the Thai health authority. It is therefore only a question of time before these guidelines are also generally implemented in all such facilities.
The prompt implementation of our recommendations will allow the orphanage to prepare itself both financially and practically for future changes. Furthermore, sponsors of the Iceman Charity expect funds to be used in a more efficient and sustainable way in the future. If this is not the case, the sponsors will drastically cut their sponsorship.
Volker Capito The Iceman
วัดสระแก้ว-ประเทศไทย 1. วัดสระแก้ว วัดสระแก้วได้เริ่มก่อตั้งขึ้ นในฐานะสถานสงเคราะห์เด็กกาพร้า นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2485 เป็ นต้นมา โดยผูร้ ิเริ่มในการให้ความอุปการะแก่เด็กๆ ก็คือ หลวงพ่อฉบับ แรกเริ่มนั้นมีเด็กในความดูแลเพียง 10 คน แต่ปัจจุบนั มีมากกว่า 2,400 คน วัดสระแก้วตั้งอยูใ่ นภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 80 กิโลเมตร เป็ นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาสาหรับพุทธศาสนิ กชนผูม้ จี ิตศรัทธา ภายใต้การดูแลของท่านเจ้าอาวาส ดร. พระมหาไพเราะ กฤษณาวดี ปั จจุบนั มีเด็กอยูใ่ นความดูแลทั้งสิ้ นจานวน 2,446 คน อยูใ่ นช่วงอายุระหว่าง 3-19 ปี ทั้งนี้ ไม่เพียงแค่เด็กกาพร้าเท่านั้นที่ได้รบั การดูแล แต่ยงั รวมถึงเด็กที่ดอ้ ยโอกาสทางสังคมหรือมีปัญหาด้วย ซึ่งรองรับเด็กที่มาจากทัว่ ประเทศ ส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่ยากไร้ทางภาคเหนื อของประเทศไทย วัดสระแก้วไม่เพียงเป็ นที่พกั พิงอาศัยสาหรับเด็กๆเท่านั้น แต่ยงั เป็ นสถานที่ให้ความรู้ เด็กๆที่นี่มีโอกาสได้รบั การศึกษาขัน้ พื้ นฐานที่เหมาะสม ได้รบั การเรียนการสอนวิชาหลักทั้งหมดจากคุณครู นอกเหนื อไปจากกิจกรรมกีฬาในช่วงเวลาว่าง เด็กๆยังมีโอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาการของพวกเขา ในวันหยุดสุดสัปดาห์ได้เรียนรูท้ กั ษะด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน หรือพัฒนาความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็ นข้อได้เปรียบที่ทาให้วดั สระแก้วแตกต่างจากโรงเรียนอื่นๆทัว่ ไป พื้ นที่ท้งั หมดประกอบด้วยส่วนที่เป็ นวัด (สาหรับพระสงฆ์เท่านั้น) ที่พกั อาศัยสาหรับเด็กๆ ที่มีโรงอาหาร และโรงครัว ห้องพยาบาล สถานอนุ บาลเด็กเล็กและโรงเรียน เช่นเดียวกับโรงพละศึกษาและสนามกีฬา
หน้า 1 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
1.1. สถานสงเคราะห์เด็กกาพร้าวัดสระแก้ว สถานสงเคราะห์เด็กกาพร้าวัดสระแก้วประกอบด้วยอาคารต่างๆ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทได้ดงั นี้ คือ เรือนนอนเด็กชาย เรือนนอนเด็กหญิง สถานอนุ บาลเด็กเล็ก โรงครัว และโรงอาหาร นอกจากนี้ ยังมี อาคารรับรองแขกผูม้ ีจิตเมตตาที่มาเยีย่ มเยือน ซึ่งมีหอ้ งน้ าอยูใ่ นตัวอาคาร และยังมีรา้ นกาแฟไว้ให้บริการอีกด้วย ในหัวข้อถัดไป เป็ นการแสดงให้เห็นถึงสภาพของอาคารต่างๆ ทั้งหมดที่อยูใ่ นสถานสงเคราะห์ ให้เห็นถึงสภาพความเป็ นอยูข่ องเด็กๆ และสภาพบริเวณโรงครัวและโรงอาหาร สาหรับผูอ้ า่ นที่ยงั ไม่เคยเดินทางมายังสถานสงเคราะห์ฯ ก็จะมีภาพถ่ายพร้อมคาอธิบายประกอบ
1.2. สถานอนุบาลเด็กเล็ก สาหรับเด็กที่มีอายุต้งั แต่ 3 ขวบขึ้ นไป จะมีอาคารเลี้ ยงดูเด็กเล็กที่อยูภ่ ายในสถานสงเคราะห์ มีสองอาคารซึ่งเป็ นทั้งที่อาศัยและเล่นสาหรับเด็กๆ นอกจากนี้ ภายในยังมีหอ้ งน้ าและห้องอาบน้ า (อ่างน้ าขนาดใหญ่สาหรับทุกๆคน) ภายในบริเวณที่พกั อาศัยยังมีสนามเด็กเล่น (พื้ นทราย) พร้อมด้วย ม้าหมุน ชิงช้า ราวไต่ และกระดานลื่น ซึ่งเครื่องเล่นดังกล่าวได้รบั ความอนุ เคราะห์จาก Iceman Charity เมื่อปี 2557 นอกจากนี้ ยังมีสนามเด็กเล่นอื่นๆในบริเวณรอบๆที่พกั ซึ่งมีท้งั ในที่ร่มและที่อยูก่ ลางแจ้ง ส่วนใหญ่ของเล่นสาหรับเด็กๆ มาจากการรับบริจาค ดังนั้นจึงไม่ใช่ท้งั หมดที่จะได้มาตรฐานสุขอนามัยที่ดี
หน้า 2 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
1.3. เรือนนอนเด็กชาย เรือนนอนเด็กชายมีจานวน 4 หลัง ที่อยูใ่ นบริเวณเดียวกัน ซึ่งแต่ละหลังแบ่งเป็ น 2 ชั้น มีเพียงเรือนนอนเด็กชาย 5 เท่านั้นที่อยูแ่ ยกออกไป ภายในบริเวณเรือนนอนเป็ นที่พกั อาศัย และที่พกั ผ่อนในเวลาว่างของเด็กๆ พื้ นที่ภายในบริเวณรอบๆเรือนนอนไม่มีหลังคา ทาให้รอ้ นและใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ในบริเวณเรือนนอนมีหอ้ งน้ ารวมขนาดใหญ่ 2 ห้อง ห้องซักล้าง และตูน้ ้ าดื่ม
1.4. เรือนนอนเด็กหญิง เรือนนอนเด็กหญิงประกอบด้วยอาคารหลักที่มี 3 ชั้น และอาคารเล็กๆอีก 3 หลัง ซึ่งเป็ นที่นอนที่พกั อาศัยของเด็กๆ ภายใต้ตวั อาคารหลักมีพนที ื้ ่อเนกประสงค์ ซึ่งใช้เป็ นที่พกั ผ่อนและจัดกิจกรรมแทนบริเวณพื้ นที่กลางแจ้ง ในวันที่อากาศร้อนจัดหรือมีแดดจ้า เรือนนอนหลักแบ่งเป็ น 6 พื้ นที่พกั อาศัย (2 พื้ นที่พกั อาศัยต่อชั้น) แต่ละชั้นก็จะมีบริเวณซักล้าง และห้องน้ า ห้องสุขาอยูด่ ว้ ย นอกจากนี้ ด้านนอกอาคารยังมีบริเวณพื้ นที่ซกั ล้างขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกัน พร้อมอ่างน้ าขนาดใหญ่ 3 อ่าง และเรือนนอนเล็กๆอีกสองหลังก็มีบริเวณพื้ นที่ซกั ล้างของตัวเอง บริเวณที่จดั วางตูน้ ้ าดื่มมีอยูใ่ นเรือนนอนทุกหลัง
หน้า 3 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
1.5. โรงครัว ในโรงครัวมีผปู้ ระกอบเลี้ ยงทั้งหมด 7 คน ซึ่งต้องเตรียมอาหารสาหรับเด็กๆทั้งหมด มากกว่า 2,400 คน โดยโรงครัวถูกแบ่งออกเป็ นสองแผนกใหญ่ๆ ดังนี้ แผนกแรกเป็ นห้องเตรียมอาหาร (หัน่ ผัก, ปอกไข่, อื่นๆ) ในห้องเตรียมอาหารจะมีตแู้ ช่ขนาดเล็กที่ทนั สมัย แผนกที่สองเป็ นห้องปรุงอาหาร ภายในแผนกนี้ จะมีหม้อหุงข้าวขนาดใหญ่ และเตาแก็สที่ใช้ประกอบอาหารประเภทอื่นๆด้วย
โรงครัวสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2558 ภายใต้แนวความคิดที่ทนั สมัยและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งแก็สที่ใช้สาหรับหุงต้มอาหารก็เป็ นแก็สที่ได้มาจากการเน่ าเปื่ อยหรือย่อยสลายของเศษอาหาร นอกจากเป็ นผลดีต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังเป็ นการลดค่าใช้จา่ ยอีกทางหนึ่ งด้วย
1.6. โรงอาหาร การรับประทานอาหารในโรงอาหารมีการแยกเด็กชายและเด็กหญิงออกเป็ นสัดส่วน โดยมีจานวนเด็กๆทั้งสิ้ น 2,446 คน เด็กๆรับประทานอาหารที่นี่ท้งั เช้า กลางวัน และเย็น ภายในโรงอาหารมีตนู้ ้ าดื่มจานวน 4 เครื่อง ซึ่งเด็กๆสามารถใช้บริการได้ตามสะดวก (เครื่องทาน้ าดื่มที่ได้มาตรฐาน ซึ่งยังไม่มีใช้ในโรงเรียนรัฐบาลหลายแห่ง) หลังจากรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เด็กๆทุกคนมีหน้าที่นาภาชนะที่ใช้แล้วของตัวเอง เช่น จาน แก้ว และช้อนส้อม ไปล้างในบริเวณที่จดั ไว้ให้ (จาน แก้ว และช้อนส้อม ภาชนะเหล่านี้ เด็กๆต้องนาไปเก็บไว้ที่หอ้ งพักตัวเองและดูแลรักษาให้ดี) ในระหว่างรับประทานอาหาร มีผใู้ หญ่อย่างน้อย 3 คน คอยดูแล และให้ความช่วยเหลือเมื่อจาเป็ น เด็กที่มีอายุมากกว่า มีหน้าที่ช่วยดูแลรุ่นน้องตอนตักอาหาร หรือหากวันนั้นมีผมู้ จี ิตเมตตามาบริจาคอาหาร ก็จะรับหน้าที่นี้ไป ทั้งนี้ ทั้งนั้นก็ยงั ขาดบทบัญญัติเกี่ยวกับหลักสุขอนามัยในการตักหรือแบ่งอาหาร
หน้า 4 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
2. ตารางแสดงการจัดกลุ่มเด็กๆ เด็กชาย
เด็กหญิง
สุขาภิบาล
การเคหะ
ตร.ม.
ตร.ม.
60
183
อายุ
สถานอนุ บาลเด็กเล็ก
40
3-5
เรือนนอนเด็กชาย 1.2
120
14-15
เรือนนอนเด็กชาย 2.1
60
16-17
เรือนนอนเด็กชาย 2.2
100
10
พื้ นที่สุขาภิบาล2/3
605 40
587 627
326
เรือนนอนเด็กชาย 3.1
60
13-14
609
เรือนนอนเด็กชาย 3.2
89
11-14
609
เรือนนอนเด็กชาย 4.2
40
16-19
200
พื้ นที่สุขาภิบาล 4/1
254
เรือนนอนเด็กชาย 5.1
70
6-15
252
เรือนนอนเด็กชาย 5.2
70
6-15
252
พื้ นที่สุขาภิบาล 5
140
เรือนนอนเด็กหญิง 1.1 ฝัง่ ซ้าย
84
3-16
120
240
เรือนนอนเด็กหญิง 1.1 ฝัง่ ขวา
86
5-18
120
240
เรือนนอนเด็กหญิง 1.2 ฝัง่ ซ้าย
83
3-18
120
240
เรือนนอนเด็กหญิง 1.2 ฝัง่ ขวา
67
5-17
120
240
เรือนนอนเด็กหญิง 1.3 ฝัง่ ซ้าย
71
3-18
120
240
เรือนนอนเด็กหญิง 1.3 ฝัง่ ขวา
67
5-18
120
240
พื้ นที่สุขาภิบาลด้านนอกอาคารเรือนนอนเด็กหญิง 1
414
เรือนนอนเด็กหญิง 2.2(บ้าน Nalin)
66
3-18
เรือนนอนเด็กหญิง 3.1(บ้าน Alice)
92
5-18
พื้ นที่สุขาภิบาลด้านนอกอาคารเรือนนอนเด็กหญิง3
224
930 133
เรือนนอนเด็กหญิง4
110
13-19
215
โรงครัว
1818 407
โรงอาหาร จานวนเด็กทั้งหมด
406
2,275 649
726
2.526 m²
หน้า 5 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
10.918 m²
3. สภาพโดยทั ่วไป 3.1. สถานอนุบาลเด็กเล็ก (K1, K2, KW) อาคารพื้ นปูน ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงหน้าต่างที่สามารถเปิ ดระบายอากาศได้ เห็นได้ชดั เจนว่าพื้ นในห้องนัง่ เล่นและบริเวณรอบๆ มีการรักษาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ แต่หน้าต่าง พัดลม และตูเ้ ก็บของ ถูกปล่อยทิ้ งไม่ได้รบั การดูแล พื้ นมีสภาพสกปรกเกินไปสาหรับเด็กเล่น
สภาพพัดลมที่สกปรก
สภาพหน้าต่าง
หน้า 6 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สภาพลูกกรงที่สกปรก
คราบเกรอะกรังบนพื้ นโรงนอน
หน้า 7 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตูน้ ้ าดื่มที่สกปรก มีคราบหินปูน เชื้ อรา และเต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
ตูน้ ้ าดื่มที่สกปรกมาก
ตะไคร่น้ าด้านหลังตูน้ ้ าดื่ม
หน้า 8 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
บริเวณด้านนอกมักจะมีอุจจาระสุนัข เพราะสุนัขอาศัยอยูบ่ ริเวณนี้ ทั้งกลางวันและกลางคืน
อุจจาระสุนัขกลางสนามเด็กเล่น
ความสะอาดของห้องสุขาไม่ถูกสุขอนามัย มีขยะ ของเสีย ขันตักน้ าที่ชารุด
ห้องสุขาที่ขนั น้ าชารุด
หน้า 9 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้องสุขาที่สกปรกและมีขยะ
เดือนมีนาคม 2557 ได้มีการทาความสะอาดอ่างน้ าด้วยเครื่องฉีดน้ าแรงดันสูง พร้อมกาจัดตะไคร่น้ า แต่ดเู หมือนว่าอ่างน้ ายังไม่ได้รบั การทาความสะอาดที่ถูกต้อง จึงได้เกิดตะไคร่น้ าขึ้ นอีก คุณภาพของน้ า ไม่เป็ นไปตามหลักสุขอนามัย
อ่างที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
หน้า 10 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สแลนกรองแสงที่ชารุด ไม่สามารถกันแดดได้ ทาให้เกิดตะไคร่น้ า
สภาพสแลนกรองแสงที่ชารุด
อุปกรณ์ทาความสะอาดส่วนใหญ่ชารุด หรืออยูใ่ นสภาพที่ใช้งานไม่ได้ และที่จดั หามาใหม่ในเดือนมีนาคม ยังไม่ได้รบั การเปลี่ยน
สภาพอุปกรณ์ที่เก่าไม่พร้อมใช้งาน
หน้า 11 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สุนัขที่ขนไปนอนบนชั ึ้ ้นเก็บที่นอน ทาให้สมั ผัสกับผ้าปูที่นอนและผ้าเช็ดตัว
สุนัขบนชั้นเก็บที่นอน
การจัดเก็บผ้าห่มและหมอน
หน้า 12 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ลาดับแรกหากมีการปูพนกระเบื้ ื้ องด้านนอกจะทาให้การทาความสะอาดทั้งหมดของสถานอนุ บาลทาได้ง่ายขึ้ น
สภาพพื้ น
พื้ นด้านหน้าห้อง
หน้า 13 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
โดยทัว่ ไปอาจสันนิ ษฐานได้ว่าการขาดสุขอนามัยที่ดีเป็ นสาเหตุของผดผื่นตามผิวหนังที่พบได้บ่อย ก๊อกน้ าที่มีน้ าหยดและตะไคร่น้ าที่ก่อตัวขึ้ นด้านล่างแสดงให้เห็นว่าขาดการทาความสะอาดในบริเวณที่เปี ยกชื้ น
ตะไคร่น้ าบริเวณพื้ นที่ซกั ล้าง พื้ นที่ดา้ นหลังของห้องน้ าไม่ได้ใช้งาน ถูกปล่อยทิ้ งร้างและเต็มไปด้วยขยะ ทาให้กลายเป็ นสระน้ าที่มีตะไคร่น้ า และเป็ นที่วางไข่ของยุง ซึ่งไม่สามารถตรวจสอบว่าเป็ นน้ ามาจากไหนและทาไมไม่มีทางระบายออกไป
บริเวณที่กลายเป็ นสระน้ าด้านหลังโรงเรียนอนุ บาล
หน้า 14 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
บริเวณที่เกลื่อนไปด้วยขยะและแมลงวัน
บริ เวณพื้ นที่ซกั ล้างเดิมแต่ตอนนี้ ไม่ได้ใช้ประโยชน์
หน้า 15 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
โดยทัว่ ไปควรมีการตรวจสอบระบบการระบายน้ าทิ้ งของห้องน้ าและพื้ นที่ซกั ล้าง
ท่อระบายน้ าในสภาพที่เปิ ดทิ้ งไว้
หลุมบริเวณท่อระบายน้ า
หลุมบริเวณสนามเด็กเล่น หน้า 16 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
3.2 เรือนนอนเด็กชาย (B3.1, B3.2, B2.1, B2.2, B4.2, B1.2, ตูน้ ้ าดื่ม, พื้ นที่สุขาภิบาล 3 และ 2, พื้ นที่สุขาภิบาล 4 และ 1, B5.1, B5.2, พื้ นที่สุขาภิบาล 5)
อาคารพื้ นปูน แต่มีบางเรือนนอนที่เป็ นพื้ นไม้ ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่าง
B3.1 และ B3.2
เรือนนอน
ในห้องนี้ มีเด็กๆอาศัยอยูจ่ านวน 89 คน ที่อยูใ่ นช่วงอายุระหว่าง 11-14 ปี ในเดือนพฤษภาคม 2557 ห้องนี้ ได้ถูกปรับปรุงใหม่ท้งั หมด ด้วยการทาสีใหม่ มีการเปลี่ยนชุดเครื่องนอน และตูเ้ ก็บของใหม่สาหรับเด็กๆ
หน้า 17 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตูท้ ี่ชารุดไม่ได้ใช้ประโยชน์
ห้องสุขา ห้องสุขาดูเหมือนจะได้รบั การทาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ แต่ผา้ เช็ดเท้าที่วางอยูด่ า้ นหน้า ยังไม่ถูกหลักสุขอนามัยที่ดี
ผ้าเช็ดเท้าที่สกปรกหน้าห้องสุขา หน้า 18 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สังเกตได้ว่าแปรงขัดห้องน้ าไม่ได้มีอยูท่ ุกห้อง ห้องที่มีแปรงขัดห้องน้ าอยูเ่ ห็นได้ชดั เจนว่า สะอาดมากกว่าห้องที่ไม่มี
ตัวอย่างที่ดีของการสุขาภิบาล
บันได บันไดสกปรกมาก ไม่ใช่มาจากสิ่งสกปรกที่ติดมาจากรองเท้าทุกวัน แต่เป็ นคราบสกปรกที่ผงั แน่ นอยูบ่ นพื้ นผิว
ส่วนที่สกปรกของบันได
หน้า 19 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ด้านหน้าทางขึ้ นบันได
ความสะอาดของตูเ้ ก็บของส่วนตัว ตูเ้ ก็บของส่วนตัวไม่เคยได้รบั การตรวจจากครูผดู้ แู ล จึงไม่มีความเป็ นระเบียบ ถูกใช้เป็ นที่ทิ้งขยะและสกปรกมาก
ตูเ้ ก็บของที่ชารุดและเต็มไปด้วยขยะ นอกจากนี้ พื้ นที่ระหว่างตูเ้ ก็บของแต่ละตูก้ ็ไม่เคยได้รบั การทาความสะอาดเลยในช่วงเวลาหนึ่ งปี
หน้า 20 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สิ่งสกปรกที่อยูท่ ้งั ด้านข้างและด้านบนของตูเ้ ก็บของ ชั้นในตูเ้ ก็บของอันใหม่ที่เปลี่ยนเป็ นสีขาวถูกใช้เป็ นที่ทิ้งขยะ และยังพบเศษของอาหารที่เน่ าเสียด้วย
พัดลม พัดลมติดเพดานที่ไม่ค่อยได้ทาความสะอาด เห็นได้ชดั เจนจากฝุ่นที่จบั ตัวกันจนเป็ นชั้นๆ
พัดลมที่สกปรก
หน้า 21 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
หน้าต่างที่สกปรก พัดลมตัวอื่นๆก็ใช้งานไม่ได้ และไม่ได้รบั การซ่อมแซม นอกจากนี้ ยังมีพดั ลมบางตัวที่ไม่ได้มาตรฐานความปลอดภัย และพบว่าไม่มีเจ้าหน้าที่หรือใครที่คอยดูแลรับผิดชอบอุปกรณ์เทคนิ คในแต่ละห้อง
หน้า 22 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
B 2.1 และ B 2.2
เรือนนอนนี้ มีสองชั้น มีเด็กๆอาศัยอยูท่ ้งั สิ้ นจานวน 160 คน ชั้นล่างเป็ นพื้ นปูน ส่วนชั้นบนเป็ นพื้ นไม้ ในเรือนนอนหลังนี้ เห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนในเรื่องของความสะอาด
พื้ นที่บริเวณด้านหน้าเรือนนอนและด้านข้างบันไดถูกใช้เป็ นที่ทงขยะและเก็ ิ้ บของ
ขยะที่ขนย้ายลาบากและอุปกรณ์ทาความสะอาดเก่าๆ
ท่อน้ าที่รวั ่ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เกิดน้ าท่วมขังที่อาจทาให้เด็กๆลื่นล้ม เพราะบริเวณนี้ เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า โดยด้านหลังของแอ่งน้ าที่ท่วมขังนี้ เป็ นประตูทางเข้าชั้นล่าง
แอ่งน้ าหน้าเรือนนอน 2 ชั้นล่างที่เป็ นพื้ นปูนเห็นได้ชดั ว่าไม่ค่อยได้ทาความสะอาด มีคราบสกปรกที่เก่าและฝังแน่ น
หน้า 23 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้ องโถงเรือนนอน
พื้ นที่สกปรกมาก
หน้า 24 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
บริเวณทางเข้ากับกล่องเก่าๆ
พื้ นและเสาที่มีคราบเก่าสกปรก
ตูเ้ ก็บของที่เก่าและสกปรกแสดงให้เห็นว่าห้องหรือเฟอร์นิเจอร์ไม่ค่อยได้ทาความสะอาด นอกจากนี้ ตูเ้ ก็บของใช้งานไม่ได้ เป็ นสนิ ม และมีชิ้นส่วนของโลหะที่ยนื่ ออกมาที่อาจเป็ นอันตรายได้ บริเวณด้านหน้าตูเ้ ก็บของก็สกปรกมาก ชั้นวางรองเท้าสกปรกและเล็กเกินไปสาหรับเด็ก 60 คน
หน้า 25 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สกปรกและตูเ้ ก็บของเก่าๆ
ตูเ้ ก็บของที่ชารุดและถังที่ใช้ในห้องน้ า
ชั้นวางรองเท้ากับไม้กวาดเก่าๆ
หน้า 26 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
บริ เวณที่นอนของเด็กๆ
ในพื้ นที่พกั อาศัยมีท้งั พัดลมเก่าที่ชารุดและขยะที่ขนย้ายได้ลาบาก ไม่มีใครมีความรูส้ ึกรับผิดชอบ ในการรักษาความสะอาด
กองขยะใกล้ๆของใช้ส่วนตัว
หน้า 27 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พัดลมติดเพดานที่ไม่ค่อยได้ทาความสะอาด เห็นได้ชดั เจนจากฝุ่นที่จบั ตัวกันจนเป็ นชั้นๆ
พัดลมที่สกปรกมาก
สภาพหน้าต่าง (หรือบานเกล็ด??)
หน้า 28 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ชั้นบนของเรือนนอนเป็ นพื้ นไม้ มีเด็กๆอาศัยอยู่ 100 คน มีหน้าต่างและพัดลมช่วยในการระบายอากาศ
ห้องโถงเรือนนอน
ที่น่าสังเกตคือชั้นนี้ แตกต่างกันอย่างมากกับชั้นล่าง หน้าต่างบางส่วนได้รบั การทาความสะอาด แต่ก็ยงั มีบางส่วนที่ไม่ได้ทา
ฝุ่นที่หน้าต่าง
หน้า 29 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ใยแมงมุมและฝุ่นละอองบนหน้าต่าง
นอกจากนี้ ยังเห็นได้ว่าพัดลมก็สกปรกมากๆ
พัดลมที่ไม่เคยได้รบั การทาความสะอาด
หน้า 30 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นดูเหมือนจะได้รบั การทาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ บนพื้ นไม้มีเพียงแค่รอยสกปรกใหม่เท่านั้น
ร่องรอยสกปรกบนพื้ นไม้
เพดานบริเวณทางเข้าเป็ นช่องโหว่มานานแล้ว ทาให้สิ่งสกปรกหล่นลงมายังโถงเรือนนอน และอาจทาให้บุคคลที่ไม่ประสงค์ดีเข้ามาได้ง่ายขึ้ น
ช่องโหว่บนเพดาน
หน้า 31 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
B 4.2
เรือนนอนหลังนี้ แบ่งเป็ นสองชั้นมีเด็กๆอาศัยอยู่จานวน 40 คน โถงเรือนนอนจะอยูช่ ้นั บน บันไดทางขึ้ นไปชั้นบนของเรือนนอนสกปรกมาก ไม่ค่อยได้รบั การทาความสะอาด นอกจากนี้ ขัน้ บันไดยังมีร่องรอยชารุดที่เกิดจากการใช้งาน
บันไดที่สกปรก
ด้านข้างบันไดมีขยะถูกเก็บและทิ้ งเอาไว้ ไม่มีใครรูส้ ึกว่าต้องรับผิดชอบ
ขยะและล้อรถเก่าๆ
หน้า 32 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สภาพพื้ นบริเวณที่พกั อาศัยเห็นได้ชดั ว่าไม่ค่อยได้รบั การทาความสะอาด หน้าต่าง พัดลม และตูเ้ ก็บของก็ถูกปล่อยทิ้ งไม่ได้รบั การดูแล
ภาพในห้ องพัก
มุมที่ทิ้งขยะ
หน้า 33 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
นอกจากนี้ เฟอร์นิเจอร์ในเรือนนอนหลังนี้ ยังชารุดและสกปรกมาก บางส่วนของเรือนนอนก็ถูกใช้เป็ นแค่เพียง ที่เก็บขยะ ในตูเ้ ก็บของก็มีเศษอาหารเก่าๆ
เฟอร์นิเจอร์ในบริเวณที่พกั อาศัย
มุมนอนของเด็กๆ
หน้า 34 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
เศษอาหารเก่าข้างๆผ้าห่ม
ที่เรือนนอนนี้ ยังขาดชั้นวางรองเท้าสาหรับเด็กๆ
ชั้นเก็บรองเท้ากับผ้าเช็ดตัว
หน้า 35 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
B1.2
ห้องสุขาไม่ได้รบั การทาความสะอาด ประตูก็ชารุดเสียหายอย่างหนัก นอกจากนี้ อุปกรณ์และเครื่องมือทาความสะอาดเก่าๆก็ถูกทิ้ งอยูใ่ นบริเวณห้องน้ า
ห้องสุขาที่สกปรกมาก
เครื่องมือในบริเวณห้องน้ า หน้า 36 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ในเรือนนอน B 4.2 มีเฟอร์นิเจอร์ที่ชารุดอย่างหนักและสกปรกมาก บางส่วนของเรือนนอนถูกใช้เป็ นแค่เพียง ที่ทิ้งขยะ สภาพตูเ้ ก็บของก็มีความเสี่ยงสูงที่อาจทาให้เกิดการบาดเจ็บได้
ตูเ้ ก็บของที่เก่าและไม่มีประตู
ชิ้ นส่วนโลหะที่ยนื่ ออกมาข้างตูเ้ ก็บของ
หน้า 37 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นในบริเวณที่พกั อาศัยไม่ได้รบั การทาความสะอาดที่เพียงพอ หน้าต่างและพัดลมก็ถูกปล่อยปละละเลย นอกจากนี้ ที่นี่ก็ยงั ไม่มีช้นั เก็บรองเท้าด้วย
สภาพพื้ นที่สกปรก
คราบสกปรกที่เก่าและฝังแน่ น
หน้า 38 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
รองเท้าทั้งหมดวางอยูบ่ นพื้ น
หน้าต่างและพัดลมที่ดเู หมือนจะไม่ค่อยได้รบั การทาความสะอาด
พัดลมที่สกปรก
หน้าต่างที่เต็มไปด้วยฝุ่นและใยแมงมุม
หน้า 39 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ก็อกน้ าและท่อน้ าที่รวั ่ อาจก่อให้เกิดอันตราย เกิดเป็ นแอ่งน้ าขนาดใหญ่ที่เด็กๆอาจลื่นล้มได้ บริเวณนี้ ยังเต็มไปด้วยตะไคร่น้ าและเชื้ อรา เป็ นแหล่งเพาะพันธุข์ องยุงและแมลงวัน นอกจากนี้ ตูเ้ ก็บของเก่าๆ ถูกนาไปทิ้ งไว้ดา้ นหลังเรือนนอน อาจทาให้เด็กๆที่ไปเล่นเกิดการบาดเจ็บได้ง่าย
แอ่งน้ าสกปรกขนาดใหญ่
ตูเ้ ก็บของเก่าๆที่ทิ้งแล้ว
หน้า 40 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตูน้ ้ าดื่มที่ท้งั สกปรก มีคราบหินปูน เกิดเชื้ อรา และเต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
ตูน้ ้ าดื่มและแอ่งน้ าข้างๆ
ตูน้ ้ าดื่มที่สกปรก
หน้า 41 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 3 และ 2
ทั้งบริเวณพื้ นที่ซกั ล้างและห้องสุขาได้รบั การปรับปรุงใหม่ท้งั หมดในเดือนมีนาคม 2557 มีการปูกระเบื้ องอ่างน้ า และติดตั้งโถปั สสาวะใหม่
อ่างน้ าที่สกปรกมาก
อ่างน้ าที่สกปรกและมีขยะ
หน้า 42 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
เชื้ อราข้างอ่างน้ า
ความสะอาดของบริเวณห้องสุขายังไม่เป็ นไปตามหลักสุขอนามัยที่ดี มีขยะอยูต่ ามห้องสุขา และขันน้ าพลาสติก ที่เด็กๆใช้ก็ชารุด
โถปั สสาวะบางอันก็ชารุดเสียหายหรือใช้งานไม่ได้
โถปั สสาวะที่ชารุด
หน้า 43 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ภาพห้องสุขา
ห้องน้ าที่สกปรก ไม่มีแปรงขัดห้องน้ า
อุจจาระในห้องน้ า ไม่มีแปรงขัดห้องน้ า หน้า 44 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 4 และ 1
ความสะอาดของบริเวณห้องสุขายังไม่เป็ นไปตามหลักสุขอนามัยที่ดี มีขยะอยูใ่ นห้องสุขา และขันน้ าพลาสติกที่ชารุด โถปั สสาวะบางอันก็ชารุดเสียหายหรือใช้งานไม่ได้
ห้องสุขาที่สกปรก
ห้องสุขาที่ชารุดและสกปรก
หน้า 45 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
โถปั สสาวะที่ชารุด
ตะไคร่น้ าบริเวณโถปั สสาวะ
หน้า 46 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ในเดือนมีนาคม 2557 ได้มีการทาความสะอาดอ่างน้ าและพื้ นบริเวณพื้ นที่สุขาภิบาลด้วยเครื่องฉีดน้ าแรงดันสูง พร้อมกาจัดตะไคร่น้ าในอ่าง แต่ดเู หมือนว่าอ่างน้ ายังไม่ได้รบั การทาความสะอาดที่ถูกต้อง จึงได้เกิดตะไคร่น้ าขึ้ นอีก คุณภาพของน้ าไม่เป็ นไปตามหลักสุขอนามัย
หน้า 47 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างน้ าที่สกปรกมาก
ทางระบายน้ าที่อุดตัน
หน้า 48 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื ้นสกปรกมาก
พื้ นสกปรกถูกใช้เป็ นที่รองซักผ้า
หน้า 49 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
B5.1 และ B5.2
เรือนนอนหลังนี้ แบ่งเป็ นสองชั้น มีเด็กๆอาศัยอยูจ่ านวน 140 คน แต่ละชั้นมีสามห้องนอน พื้ นเป็ นพื้ นปูน ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่าง พื้ นอยูใ่ นสภาพดี มีการทาความสะอาดอยูส่ มา่ เสมอ ส่วนเฟอร์นิเจอร์ก็ไม่ได้มีความชารุดเสียหายมากมาย มีแค่เพียงรอยขีดข่วนจากการใช้งานเท่านั้น
ห้องนอนที่สะอาดและเป็ นระเบียบ
พื้ นห้องนอนที่สะอาด
ในเรือนนอนหลังนี้ มีความแตกต่างอย่างชัดเจน เด็กๆไม่ได้รบั อนุญาตให้รบั ประทานอาหารหรือดูโทรทัศน์ ในห้องนอน ห้องรับประทานอาหารและดูโทรทัศน์จะถูกจัดแยกไว้ตา่ งหาก ซึ่งเป็ นการป้องกันไม่ให้เด็กๆ ทาห้องนอนสกปรก หน้า 50 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้องรับประทานอาหารและดูโทรทัศน์
นอกจากนี ้ บานหน้ าต่างก็สกปรกเต็มไปด้ วยฝุ่ นเช่นกัน ซึง่ ดูได้ จากพัดลมที่มีฝนเกาะเต็ ุ่ มใบพัด อาจเกิดจากการขาดการดูแลทาความสะอาด
สภาพพัดลมที่เต็มไปด้วยฝุ่น
หน้า 51 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
หน้าต่างที่สกปรก
บันไดทางเดินที่ขาดการดูแลทาความสะอาด ได้กลายเป็ นที่เก็บของไปเรียบร้อย จากภาพจะเห็นว่า พัดลมที่ชารุดเสียหาย จักรยานเก่าที่ใช้การไม่ได้ ถูกวางทิ้ งไว้ โดยไม่มีใครให้ความดูแลรับผิดชอบ
พัดลมเก่าๆที่ใช้งานไม่ได้
หน้า 52 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
จักรยานเก่าๆ ชั้นวางรองเท้าที่ถูกวางไว้หน้าห้องนอนของเด็กๆ
ชั้นวางรองเท้า
หน้า 53 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื ้นและผนังห้ องสุขา เต็มไปด้ วยตะไคร่น ้าและคราบสกปรก
ห้องสุขาที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
พื้ นห้องสุขาที่สกปรก
หน้า 54 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 5
บริเวณพื้ นที่ซกั ล้างและห้องน้ าห้องสุขายังอยูใ่ นสภาพที่ดดู ี ไม่มีคราบหรือสิ่งสกปรก
อ่างน้ าที่สะอาด
อ่างน้ าที่ไม่ได้ใช้งานก็ยงั อยูใ่ นสภาพที่ดี
หน้า 55 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ถัดมาเป็ นห้องสุขาที่ยงั มีคราบสกปรกติดที่พนและผนั ื้ ง ซึ่งยังดีที่บริเวณนี้ ไม่พบขยะหรือของเสียหาย
ห้องน้ าที่สกปรก
สภาพห้องน้ าที่มีคราบสกปรก
หน้า 56 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
3.3 เรือนนอนเด็กหญิง (G1.1, G1.2, G1.3, G2.2, G3.1, G4.2,) ตูน้ ้ าดื่ม, พื้ นที่สุขาภิบาล 1, พื้ นที่สุขาภิบาล 2, พื้ นที่สุขาภิบาล 3
อาคารพื้ นปูน มีสองห้องนอนใหญ่ที่เป็ นพื้ นไม้ ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่าง
G1.1, G1.2 และ G1.3 (บ้าน Sievert Larsson)
ในเรือนนอนหลังนี้ มีสามชั้น มีเด็กจานวนทั้งหมด 458 คน โดยแต่ละชั้นมีเด็กอาศัยอยูม่ ากกว่า 100 คน อายุต้งั แต่ 3-18 ปี พื้ นห้องมีรอยคราบสกปรกอย่างเห็นได้ชดั ซึ่งเป็ นคราบสกปรกถาวร ยากต่อการ ทาความสะอาด ห้องนัง่ เล่นเป็ นที่อยูข่ องสุนัขและแมว ทาให้บางครั้งพบอุจจาระสุนัขเต็มไปหมด
บันไดที่สกปรก
หน้า 57 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สุนัขที่อยูบ่ ริเวณทางเดิน
อุจจาระสุนัขบริเวณบันได
หน้า 58 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ทุกชันในเรื ้ อนนอนปูพื ้นด้ วยกระเบื ้อง มีสภาพที่สะอาดเนื่องจากเด็กๆ ทาความสะอาดเป็ นประจา
พื้ นเรือนนอนที่สะอาด
ตัวอย่างพื้ นที่สะอาด
หน้า 59 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
แต่ก็ยงั พบคราบสกปรกในโถงเรือนนอน ส่วนใหญ่เป็ นบริเวณตูเ้ ก็บของ ที่มีสภาพเก่า ชารุด และเต็มไปด้วยข้าวของเครื่องใช้
คราบสกปรกบริเวณขอบตูเ้ ก็บของ
ตูเ้ ก็บของที่เก่าและเต็มไปด้วยข้าวของเครื่องใช้
หน้า 60 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
เนื่ องจากต้องเปิ ดหน้าต่างเป็ นประจา ทาให้พดั ลมมีฝ่ นุ เกาะได้งา่ ย และยังขาดการดูแลทาความสะอาด
พัดลมที่สกปรกมาก
หน้าต่างที่สกปรก
หน้า 61 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ทุกชั้นของเรือนนอนจะมีส่วนที่เป็ นห้องน้ าห้องสุขา ซึ่งได้มีการทาความสะอาดครั้งใหญ่เมื่อเดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 2557
จากภาพจะเห็นว่า หลังจากมีการทาความสะอาดครั้งใหญ่เมื่อปี พ.ศ 2557 ส่วนที่เป็ นห้องน้ าห้องสุขากลับมาสกปรกเหมือนเดิม อ่างน้ าที่ไม่ได้ใช้งานก็ถูกปกคลุมไปด้วยตะไคร่น้ า ห้องสุขาบ้างห้องก็ไม่สามารถใช้การได้เนื่ องจากเกิดการอุดตัน
อ่างน้ าที่ไม่ได้ใช้งาน
ขยะและคราบสกปรกในอ่างน้ าเก่า
หน้า 62 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้ องน ้าที่สกปรกมาก
ห้ องน ้าที่ชารุดเสียหาย ใช้ งานไม่ได้
หน้า 63 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
สภาพห้องน้ า
พื้ นที่มีน้ าท่วมขัง
หน้า 64 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 1
อ่างน้ าทั้งสามอ่างของเรือนนอน ได้รบั การทาความสะอาดครั้งสุดท้ายเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ 2557 แต่ขาดการดูแลทาความสะอาดอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ผนังของอ่างเต็มไปด้วยตะไคร่น้ า ซึ่งเป็ นผลให้น้ าที่อยูใ่ นอ่างไม่สะอาด และไม่ถูกหลักสุขอนามัย
ตะไคร่น้ าและขยะในอ่าง
ผนังของอ่างที่สกปรกมาก
หน้า 65 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
เนื่ องจากทางระบายน้ าของอ่างน้ าอุดตันและมีคราบสกปรก ทาให้เป็ นแหล่งก่อเชื้ อราและตะไคร่น้ า
ชิ้ นส่วนเสื้ อผ้าที่ปิดทางระบายน้ า
ทางระบายน้ ากลายเป็ นที่ทิ้งขยะ
หน้า 66 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ถัดมา เป็ นส่วนของห้องสุขาสาหรับเด็กผูห้ ญิง ที่มีอ่างล่างหน้า ซึ่งก็ไม่ถูกสุขลักษณะ ห้องสุขาเต็มไปด้วยขยะ และขันน้ าพลาสติกที่ชารุดใช้งานไม่ได้
อ่างล้างหน้าที่ใช้งานไม่ได้
ห้องน้ าที่สกปรก
หน้า 67 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
ทางระบายน้ าสกปรกและอุดตัน ทาให้พบคราบเชื้ อราและตะไคร่น้ าทัว่ บริเวณ
ทางระบายน้ าที่เต็มไปด้วยขยะและตะไคร่น้ า
หน้า 68 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
G2.2 (บ้าน Nalin)
ในบ้านหลังนี้ มีเด็กๆพักรวมกัน 66 คน แบ่งออกเป็ น 2 ห้องนอน ที่เป็ นพื้ นไม้ ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่างที่สามารถเปิ ดระบายอากาศได้
บันไดบริเวณด้านหน้าทางเข้ามีคราบสกปรก และตะไคร่น้ า
บริเวณทางเข้าที่เต็มไปด้วยขยะและสิ่งสกปรก
บันไดทางขึ้ นห้องนอนที่สกปรก หน้า 69 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ประตูดา้ นหน้าทางเข้าห้องนอนกลายป็ นที่ทิ้งขยะ
กองขยะบริเวณประตูทางเข้า
ถาดอาหารของเด็กๆที่วางรวมไว้กบั รองเท้าและกองขยะ
หน้า 70 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ที่อาศัยของสัตว์เลี้ ยงในบ้าน จะอยูบ่ ริเวณขัน้ บันไดและส่วนที่เป็ นห้องนอน
แมวที่นอนรวมกับหมอนและรองเท้า จากภาพจะเห็นได้ว่าพื้ นในส่วนของห้องพักไม่ได้มีการทาความสะอาดเป็ นประจา หน้าต่าง พัดลมและตูเ้ ก็บของ เต็มไปด้วยคราบสกปรก
โถงเรือนนอน
อาหารและขยะที่เกลื่อนพื้ น หน้า 71 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พัดลมที่เต็มไปด้วยฝุ่น
เสื้ อผ้าที่ตากไว้ตามประตูที่สกปรก
หน้า 72 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 2
ส่วนนี้ อยูบ่ ริเวณฝัง่ ขวาของบ้าน มีหอ้ งน้ าห้องสุขา อ่างน้ า และอ่างล้างหน้า ซึ่งส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ถูกสุขลักษณะ ขยะถูกกองทิ้ งไว้ รวมทั้งผ้าอนามัยที่ใช้แล้วก็ถูกทิ้ งไว้ตามพื้ น
ขยะและผ้าอนามัยที่อยูต่ ามพื้ น
ขยะที่เกลื่อนอยูท่ วั ่ บริเวณ
หน้า 73 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้องน้ าที่สกปรกและเต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
อ่างที่มีขยะ
หน้า 74 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
ขยะที่ทาให้ทางระบายน้ าอุดตัน
หน้า 75 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างน้ าที่ไม่ได้ใช้งาน
ประตูหอ้ งน้ าที่ชารุด
หน้า 76 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาลส่วนที่สองอยูบ่ ริเณฝัง่ ซ้ายของเรือนนอนเด็กหญิง ซึ่งก็เห็นได้ว่าห้องน้ าห้องสุขาไม่ถูกสุขลักษณะ และน้ าก็ไม่สะอาดไม่ถูกสุขอนามัย
ห้ องน ้าที่ถกู ใช้ งาน
สภาพห้ องน ้าที่ชารุด
หน้า 77 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างน ้าที่สกปรก
คราบสกปรกที่ฝั่งแน่นบนพื ้นห้ องน ้า
หน้า 78 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
G3.1 (บ้าน Alice)
บ้านทรงตัวยูหลังนี้ มีเด็กผูห้ ญิงอาศัยอยูร่ วมกันทั้งหมด 92 คน แบ่งออกเป็ น 3 ห้องนอน ซึ่งพื้ นห้องนอนแต่ละห้องเป็ นพื้ นกระเบื้ องที่ถูกทาความสะอาดเป็ นประจา บ้านหลังนี้ ก็คงเหมือนทุกๆหลังที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่างที่เปิ ดระบายอากาศได้
พื ้นที่ได้ รับการทาความสะอาด
หน้า 79 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
เด็กๆกาลังทาความสะอาด บริ เวณตู้เก็บของยังคงพบคราบสกปรก ซึง่ ส่วนใหญ่อยูใ่ นสภาพเก่า ชารุดและเต็มไปด้ วยสิง่ ของเครื่องใช้ ไม่มีการเก็บให้ เป็ นจัดระเบียบหรือทาความสะอาด
คราบสกปรกที่พบบริเวณตู้
หน้า 80 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตูเ้ ก็บของที่เก่าและชารุด
หน้า 81 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
นอกจากพัดลมที่เต็มไปด้วยฝุ่นละอองเนื่ องจากการเปิ ดหน้าต่างตลอดเวลา ยังมีพดั ลมบางตัวที่อยูใ่ นสภาพ ไม่เหมาะต่อการใช้งาน เนื่ องจากหลุดออกมาจากเพดานห้องและถูกห้อยไว้เพียงสายไฟเส้นเดียว แต่ก็ยงั มีการใช้งานอยู่
พัดลมที่ชารุด
สวิตซ์พดั ลมที่เต็มไปด้ วยคราบสกปรก
หน้า 82 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
พื้ นที่สุขาภิบาล 3
ในส่วนนี้ ก็ยงั คงพบว่า ห้องน้ าห้องสุขาไม่ถูกสุขลักษณะ เต็มไปด้วยคราบสกปรก รวมทั้งสัตว์เลี้ ยงก็อาศัยอยูใ่ นบริเวณนี้ ด้วย นอกจากนี้ ขยะและแปรงขัดห้องน้ าเก่าๆถูกทิ้ งไว้ในอ่างล้างหน้าที่ไม่ได้ใช้งาน
ห้องน้ าห้องสุขาที่เต็มไปด้วยขยะ
ห้องน้ าที่มีคราบสกปรก หน้า 83 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ประตูและผนังห้องน้ าเต็มไปด้วยคราบสกปรก เชื้ อราและตะไคร่น้ า
ห้องน้ าที่สกปรก
หน้า 84 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
บริเวณด้านข้างของอ่างน้ าพบเชื้ อราและตะไคร่น้ า
หน้า 85 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
มีคราบสกปรก ตะกรัน เชื้ อราและตะไคร่น้ าบริเวณตูน้ ้ าดื่มและก๊อกน้ า
ก๊อกน้ าที่เต็มไปด้วยคราบสกปรกและปิ ดไม่สนิ ท
ตูน้ ้ าดื่มที่ไม่ถูกสุขลักษณะ
พื้ นที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
หน้า 86 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
G 4.2
ตั้งแต่ปี พ.ศ 2557 บริเวณส่วนนี้ มีเด็กๆอาศัยอยูท่ ้งั หมดจานวน 100 คน แบ่งเป็ น 2 ห้องนอน พื้ นห้องนอนเป็ นกระเบื้ อง ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีเพียงพัดลมและหน้าต่าง ในบริเวณเรือนนอนจะมีหอ้ งน้ าห้องสุขาในตัว พื้ นที่ซกั ล้างจะอยูแ่ ยกออกไป ส่วนด้านล่างของเรือนนอนเป็ นโรงอาหาร
พื้ นห้องนอนเต็มไปด้วยคราบสกปรก ที่เป็ นเศษอาหาร ทาให้มมี ดเต็มไปหมด
โถงเรือนนอน
พื้ นที่สกปรกและเต็มไปด้วยขยะ
หน้า 87 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ถาดอาหารที่ยงั มีเศษอาหารถูกวางทิ้ งไว้
พัดลมยังคงเต็มไปด้วยฝุ่นและคราบสกปรก เนื่ องจากขาดการดูแลทาความสะอาด
พัดลมที่เต็มไปด้วยฝุ่น
หน้า 88 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้องน้ าที่ไม่ถูกสุขลักษณะ โถและพื้ นเต็มไปด้วยคราบสกปรก น้ าที่ใช้มาจากน้ าจากอ่างน้ าที่เต็มไปด้วยตะไคร่น้ า
ห้องน้ าที่ชารุด
พื้ นห้องน้ า
หน้า 89 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
อ่างน้ าที่ไม่ได้ทาความสะอาด
น้ าท่วมขังบริเวณพื้ น
ตะไคร่น้ าในอ่าง
หน้า 90 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ส่วนทางเดินบันไดเต็มไปด้วยคราบสกปรกฝังแน่ น ชั้นวางรองเท้าอยูใ่ นสภาพเก่าและชารุด อาจก่อให้เกิดอันตราย นอกจากนี้ ยังพบเศษอาหารบริเวณตูเ้ ก็บของ
ขยะถูกกองทิ้ งไว้บริเวณทางเดิน
บันไดที่สกปรก
หน้า 91 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตูเ้ ก็บของที่ชารุด
ราขึ้ นจานอาหารที่ถูกวางทิ้ งไว้บนตู้
หน้า 92 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
3.4 โรงครัวและโรงอาหาร ในโรงครัวมีผปู้ ระกอบเลี้ ยงทั้งหมด 7 คน ซึ่งต้องเตรียมอาหารสาหรับเด็กๆทั้งหมด มากกว่า 2,400 คน โดยโรงครัวถูกแบ่งออกเป็ นสองส่วนด้วยกัน คือ ส่วนแรกเป็ นห้องเตรียมอาหาร พื้ นที่ในส่วนนี้ สะอาดเนื่ องจากมีการทาความสะอาดตลอดเวลา แต่ในส่วนของอ่างน้ าใช้สาหรับเตรียมอาหาร ก็ยงั คงไม่สะอาด
อ่างน้ าที่สกปรก
บริเวณโรงครัว
หน้า 93 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ส่วนที่สองของโรงครัว คือส่วนของการปรุงอาหาร ซึ่งมีหม้อหุงข้าวขนาดใหญ่ และเตาแก๊สจานวนหนึ่ ง
พื้ นที่ปรุงอาหาร
พื้ นที่ประกอบอาหาร
อาจจะดูแปลกกว่าที่เคยพบเห็นทัว่ ไป ที่ในบริเวณวัดจะมีสิ่งมีชีวติ ทั้งคนและสัตว์อาศัยอยูร่ ่วมกัน เช่นในบริเวณ โรงครัวก็พบสุนัขอาศัยอยูท่ วั ่ ไป ซึ่งจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีการป้องกันไม่ให้สุนัขหรือแมวเข้ามาในพื้ นที่โรงครัว
หน้า 94 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
การรับประทานอาหารในโรงอาหารมีการแยกเด็กชายและเด็กหญิงออกเป็ นสัดส่วน โดยมีจานวนเด็กๆทั้งสิ้ น 2,446 คน เด็กๆรับประทานอาหารที่นี่ท้งั เช้า กลางวัน และเย็น
พื้ นของโรงอาหารจาเป็ นต้องมีการดูแลรักษาความสะอาดเป็ นพิเศษทุกวัน แต่ก็ยงั ไม่สามารถทาได้ เนื่ องจากขาดแคลนอุปกรณ์ในการทาความสะอาดที่เหมาะสม ซึ่งหากมองในทางปฏิบตั ิก็ทาได้ยากเพราะพื้ นของโรงอาหารมีคราบสกปรกฝังแน่ นที่เกิดจากการใช้งานมานานมาก กว่า 3 เดือน ในส่วนของโรงอาหารยังพบสุนัขที่เข้ามารออาหารจากเด็กๆ
พื้ นที่โรงอาหาร
พื้ นที่สกปรก
หน้า 95 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
คราบสกปรกบริเวณใต้โต๊ะ
ในโรงอาหารมีตนู้ ้ าดื่มจานวน 4 เครื่อง ที่ยงั มีสภาพใหม่และสะอาดไม่เหมือนกับในส่วนของบริเวณที่พกั ของเด็กๆ แต่อย่างไรก็ตามจาเป็ นต้องมีการดูแลรักษาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ (ตูน้ ้ าดื่มใช้งานมาแล้ว 3 เดือน)
ตูน้ ้ าดื่มในโรงอาหาร
หน้า 96 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ตัวอย่างที่ดีของความสะอาดคือ บริเวณอ่างล้างจานที่เด็กๆต้องนาภาชนะที่ใช้แล้วมาล้าง เพราะทามาจากแสตนเลส ซึ่งง่ายต่อการทาความสะอาด แม้จะมีการใช้งานทุกวันแต่ก็ไม่พบคราบตะไคร่น้ าหรือเชื้ อราในบริเวณนี้
อ่างล้างจานที่สะอาด
ห้องน้ าในโรงอาหารมีจานวน 4 ห้อง แบ่งเป็ นห้องน้ าชาย 2 ห้อง และห้องน้ าหญิง 2 ห้อง สาหรับแขกที่มา เยีย่ มเยือน ซึ่งมีสภาพที่สะอาดและถูกสุขลักษณะ
อ่างล้างหน้าในห้องน้ า
หน้า 97 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้ องน ้าสาหรับแขก
โถปั สสาวะที่สะอาด
ห้องน้ าสาหรับเด็กๆและสาหรับแขกที่มาเยีย่ มเยือนนั้นแตกต่างกันอย่างชัดเจน ซึ่งห้องน้ าสาหรับเด็กๆนั้นสกปรก และชารุดเสียหาย
หน้า 98 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
ห้องน้ าที่สกปรกมาก
คราบสกปรกที่ผนังห้องน้ า
คราบสกปรกและคราบอาเจียนด้านล่างอ่างล้างหน้า หน้า 99 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
3.5 บทคัดย่อ เรือนนอน พื้ นที่ในเรือนนอนส่วนใหญ่ยงั ขาดการดูแลทาความสะอาด ไม่วา่ จะเป็ นในส่วนของเรือนนอนเด็กหญิงหรือเด็กชาย ยังก็ไม่สะอาดเพียงพอต่อการอยูอ่ าศัย สิ่งของเครื่องใช้ที่ชารุดเสียหายไม่ได้รบั การซ่อมแซม เช่น พัดลมที่หลุดจากเพดานที่ยงั ใช้งานอยูอ่ าจเป็ นอันตรายต่อชีวิตได้ รวมทั้งรูหรือช่องโหว่ต่างๆบนเพดาน ก็ไม่ได้มีการซ่อมแซมแก้ไข
ทางเดินและบันได ส่วนที่เป็ นทางเดินและบริเวณบันไดก็ยงั ขาดการดูแลทาความสะอาดเช่นเดียวกับบริเวณที่พกั อาศัย นอกจากนั้นบริเวณนี้ ยังถูกใช้เป็ นที่ทิ้งขยะและเก็บอุปกรณ์ต่างๆ
พื้ นที่สุขาภิบาล พื้ นที่สุขาภิบาลในส่วนของที่พกั อาศัยและโรงอาหารยังขาดการดูแลทาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ ไม่ว่าจะในส่วนของเด็กหญิงหรือเด็กชาย พื้ นที่สุขาภิบาลก็ยงั ไม่สะอาดและถูกหลักสุขอนามัย
หน้า 100 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
3.6 บทสรุป
สภาพของพื้ นที่สุขาภิบาลและส่วนที่พกั อาศัยไม่ถูกสุขลักษณะ เนื่ องจากขาดคนที่ดแู ลรับผิดชอบโดยตรง หรือผูด้ แู ลยังขาดความรูค้ วามเข้าใจในหลักสุขอนามัยที่ถูกต้อง ดังนั้นการจัดฝึ กอบรมสาหรับผูด้ แู ลจึงเป็ นสิ่งสาคัญ นอกจากนี้ ยังขาดการควบคุมดูแลในเรื่องการรักษาความสะอาด บริเวณตูเ้ ก็บของส่วนตัวของเด็กๆ ในเรือนนอน ไม่มีผดู้ แู ลเข้ามาตรวจตรา รวมทั้งเด็กๆก็ไม่ได้รบั คาแนะนาเรื่องการดูแลรักษาความสะอาดที่ถกู ต้อง ห้องน้ าห้องสุขาที่สกปรก เนื่ องมาจากผูด้ แู ลขาดความรูค้ วามเข้าใจในหลักสุขอนามัยที่ถูกต้อง เนื่ องจากขาดแผนการดูแลรักษาความสะอาดที่ถูกต้อง ทาให้เด็กๆไม่มีความเข้าใจและไม่สามารถฏิบตั ิตามได้ เด็กๆหลายคนยังไม่รวู้ ่า สุขอนามัยหรือความสะอาดคืออะไร เนื่ องจากไม่มีการให้ความรูก้ ารขาดแรงจูงใจในการรักษาความสะอาดบริเวณพื้ นที่ซกั ล้างและส่วนที่พกั อาศัย ก็เป็ นอีกหนึ่ งปั จจัยที่ทาให้เกิดความสกปรก (แรงจูงใจอาจมาจากผูด้ แู ล) เมื่อไม่มีการวางแผนและกาหนดแนวทางในการรักษาความสะอาดหรือขาดความรูค้ วามเข้าใจในหลักสุขอนามัย ทาให้ยงั ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาเรื่องความสะอาดได้ ซึ่งควรมีการให้คาแนะนาในเรื่องของหลักสุขอนามัยและการรักษาความสะอาดที่ถูกต้อง ดังจะกล่าวต่อไปในหัวข้อที่ 4 รวมทั้งวิธีการนามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละพื้ นที่ ในหัวข้อที่ 5
หน้า 101 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (ผูเ้ ขียน JOHANNES STRASSER)
4.0
ขอบเขต-การวางแผนการอนามัย
คำแนะนำของ Iceman Charity โฟลเคอร์ คำพิโต (Volker Capito) / โยฮันเนส ซตรำสเซอร์ (Johannes Strasser) โครงกำรกำรอนำมัย และ ทำควำมสะอำดในวัดสระแก้ ว
4.1 คานา กำรใช้ เครื่ องเรื อน สิ่งของร่วมกันของเด็กและเยำวชนที่อำศัยอยู่ร่วมกันและกำรทำงำนร่วมกันของบุคคลจำนวนมำกนันต้ ้ องให้ คว ำมสำคัญแก่สขุ ภำพอนำมัยกำรป้องกันกำรระบำดของโรคเป็ นอย่ำงมำก ดังนันท่ ้ ำนต้ องมีควำมตังใจเพื ้ ่อควำมสุข สุขภำพอนำมัยที่ดี และเพื่อกำรอบรมสัง่ สอน กำรวำงตัวในเรื่ องสุขภำพอนำมัย- โดยเฉพำะกำรป้องกันกำรติดเชื ้อ กำรหลีกเลี่ยงโรคติดต่อของคน ทำได้ เมื่อรู้ว่ำเป็ นกำรติดเชื ้อโดยเร็วทันท่วงที และป้องกันกำรระบำดได้ ทนั กำรณ์นนั่ คือวัตถุประสงค์ แนวความคิดเรื่องสุขภาพ และ ความสะอาด (HEALTH & CLEANNESS CONCEPT) ของ Iceman Charity จึงขอแนะนำว่ำ มำตรฐำนที่ก้ำวไปไกลมีผลที่ดีตอ่ โครงกำรใหม่ของกำรอนำมัย ตัวอย่ำงโครงกำรที่วำงอยูน่ ี ้จะช่วยได้ ซึง่ มีตวั อย่ำงกำรดำเนินกำรมำตรกำรในเรื่ องกำรอนำมัยอยู่ด้วย ที่ได้ ปรับให้ เข้ ากับสภาวะสถานการณ์ แต่ ละบ้ าน และโดยเจำะจงรำยละเอียดของบ้ ำน และ ระบุ ใคร ต้ องทำในโครงกำรอนำมัยนี ้ควรมีกำรกล่ำวถึงกำรให้ ควำมสนับสนุนเรื่ องสุภำพและกำรรักษำสุขภำพด้ วย ซึง่ เป็ นกำรป้องกันไม่ให้ เกิดกำรติดต่อของเชื ้อโรคของเด็กๆ ซึง่ อยูภ่ ำยใต้ กำรดูแล และของบุคคลำกร สิ่งต่อไปคือกำรดำเนินกำรทำงำนในบ้ ำน สิ่งที่ต้องคำนึงถึงต้ องให้ ควำมระมัดระวังในเรื่ องระเบียบข้ อบังคับของท้ องถิ่น หรื อภูมิภำคนันๆ ้ กำรช่วยพัฒนำเด็ก- และเยำวชนด้ วยกำรตกแต่งบ้ ำนเด็ก เครื่ องเรื อนที่ใช้ แบบ ”คลำสสิค” ปั จจุบนั ถูกแทนที่ด้วยกำรตกแต่งด้ วยบ้ ำนเครื่ องเรื อนเครื่ องใช้ สมัยใหม่ วันนี ้กำรจัดทำที่อยู่อำศัยส่วนใหญจัดทำให้ อยูเ่ ป็ นกลุมใหญ่ๆ คล้ ำยครอบครัว เช่น ในรูปแบบ ”อำศัย ดูแลให้ ควำมช่วยเหลือ “ ดังนันโดยวิ ้ ธีแบบนี ้ เด็กๆ และ เยำวชน จึงได้ รับกำรดูแลเป็ นพิเศษ ดังนันโครงกำรกำรอนำมั ้ ยนี ้จึงควรเป็ นพื ้นฐำนสำหรับกำรอยู่อำศัยในรูปแบบใหม่เพื่อง่ำยในกำรทำควำมเข้ ำใ จต่อไปนี ้จะใช้ คำว่ำ ”บ้ ำน“ แทนรูปแบบกำรอำศัยทังหมด ้
SEITE 104 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CHARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.2 วิธีดาเนินการอนามัย ผู้อำนวยกำรของบ้ ำนเด็กรับผิดชอบ ยืนยันว่ำจะมีกำรส่งเสริมกำรอนำมัยจริงและรับผิดชอบโดยใช้ คำแนะนำ และตรวจสอบกำรทำงำนจริ ง ผู้อำนวยกำรบ้ ำนเด็กอำจได้ รับควำมสนับสนุนโดยมอบหน้ ำที่นีแ้ ก่ผ้ อู ื่น หรื อเสนอ ทีมอนำมัย ก็ได้ บุคคลที่รับผิดชอบซึง่ เป็ นผู้มีชื่อในโครงกำรกำรอนำมัยนี ้ต้ องเป็ นบุคคลที่สำมำรถติดต่อได้ ด้วย หน้ ำที่รับผิดชอบของกำรจัดกำรอนำมัยคือดังต่อไปนี ้: กำรจัดทำ และปรับปรุงโครงกำรอนำมัย ตรวจตรำ เฝ้ำดูแล กำรรักษำมำตรำกำรที่วำงไว้ ในโครงกำรสุขอนำมัย ทำกำรสอนเกี่ยวกับสุขอนำมัย ติดต่อกับหน่วยงำนสำธำรณสุขอย่ำงสม่ำเสมอ โครงกำรสุขอนำมัยนี ้ต้ องได้ รับกำรตรวจสอบปี ละหนึง่ ครัง้ โดยปรับโครงกำรให้ เข้ ำสถำนกำรณ์ปัจจุบนั และถ้ ำจำ เป็ นอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้ กำรตรวจสอบ ดูแลว่ำมีกำรรักษำตำมมำตรกำรที่วำงไว้ ในโครงกำรนี ้ ด้ วยกำรเข้ ำไปตรวจสอบในบ้ ำน โดยผู้ได้ รับมอบหมำย หรื อ โดยทีมอนำมัย อย่ำงน้ อยปี ละครัง้ ถ้ ำมีควำมจำเป็ นให้ ตรวจเพิ่ม พร้ อมกันนี ้ควรคำนึงถึงมำตรกำรเกี่ยวกับกำรรักษำสิ่งก่อสร้ ำงให้ อยูใ่ นสภำพที่ดี ปรับปรุง หรื อ ทำใหม่ และให้ นำเข้ ำมำในโครงกำร ผลกำรตรวจให้ ทำเป็ นเอกสำร ผู้ทำงำนทุกคนในโครงกำรอนำมัยต้ องเข้ ำถึงรำยละเอียดของโครงกำร และสำมำรถดูได้ ผู้ทำงำนในโครงกำรจะต้ องได้ รับกำรชี ้แจงเกี่ยวกับมำตรกำรอนำมัยอย่ำงน้ อยปี ละครัง้ หรื อมำกกว่ำนันถ้ ้ ำจำเป็ น คาสั่งสอน ชีแ้ จง ให้ ทำเป็ นหนังสือ
SEITE 105 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CHARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.3 อนามัยพืน้ ฐาน 4.3.1 การอนามัยที่ถูกสุขลักษณะต้ องคานึงถึง สถานที่ตงั ้ , อาคาร, ห้ องต่ างๆ การตกแต่ ง
ลักษณะกำรสร้ ำงห้ องต่ำงๆ ต้ องอยู่ภำยใต้ ระเบียบข้ อบังคับทีมีในประเทศไทย, ให้ เป็ นไปตำมระเบียบข้ อบังคับในกำรป้องกันอุบตั เิ หตุ (เมื่อประเทศไทยมีระเบียบข้ อบังคับนี ้แล้ ว) , รวมทังระเบี ้ ยบว่ำด้ วยกำรป้องกันอัคคีภยั
สิ่งที่อำจสำคัญต่อกำรอนำมัยคือ:
สถานที่ตัง้ (มีเสียงรบกวน, มลพิษ ในอำกำศ และ ภูมิอำกำศ, มลพิษทำงดิน )
พืน้ ที่ว่าง/ที่ตงั ้ สนามกีฬา (ขนำด, กำรประกอบ, กำรปลูกพืช, พืชเป็ นพิษ, ควำมปลอดภัยของเครื่ องเล่น และ – กำรตรวจสอบ ซ่อมแซม, น ้ำ- และสถำนที่เล่นทรำย)
วิธีการสร้ าง, การประกอบภายนอก และ การตกแต่ ง ออกแบบในแต่ ละห้ อง พื ้นที่ใช้ อยู่อำศัยที่ปิดได้ : ห้ องที่ใช้ อยูอ่ ำศัยเป็ นกลุม่ , ห้ องนัง่ เล่น-/ ห้ องที่ใช้ หลับนอน, ห้ องที่เป็ นห้ องน ้ำ ห้ องสุขำ, ครัว, ห้ องบุคคลำกร, ที่เก็บของ; ห้ องสำหรับสิ่งดังต่อไปนี ้: ห้ อ ง ใ ช้ ใ น เวลำว่ำง- และส ถ ำ น ที่ เ ล่ น กี ฬ ำ ห้ องปรึกษำ และอื่นๆ ; ห้ อ ง ต่ ำ ง ต ำ ม ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ก ำ ร ใ ช้ ง ำ น ข อ ง บ้ ำ น
กำรรักษำและปรับปรุงสิ่งก่อสร้ ำงให้ อยูใ่ นสภำพที่ดีอยูเ่ สมอเป็ นสิ่งที่จำเป็ นต้ องทำเพื่อให้ กำรทำควำมสะอำดแ ละฆ่ำเชื ้อให้ ได้ ผลทุกครัง้ ในอดีตที่ผำ่ นมำได้ นำมำปรับใช้ แต่ทำได้ ไม่ดีและ ในอนำคตหน้ ำที่นี ้เป็ นงำนหลักที่ทีมทำควำมสะอำดและอนำมัย ต้ องให้ ทำควำมสะอำดพื ้นชันนอกซึ ้ ง่ เช็ดด้ วยผ้ ำเปี ยกได้ และ สิ่งที่ปอู ยูก่ บั พื ้น ทังสองอย่ ้ ำงเป็ นสิ่งแรกที่ต้องทำก่อน ตรงที่มีเชือ้ รา- และ ขึน้ ตะไคร่ นา้ ต้ องมีกำรปรับปรุงแก้ ไขหรื อทำใหม่ทนั ที
SEITE 106 HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CHARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.4
ทาความสะอาดและ การกาจัดเชือ้
SEITE 107
การทาความสะอาดอย่ างถูกต้ องและสม่าเสมอ โดยเฉพำะทำควำมสะอำดมือและบริเวณพื ้นที่และสิ่งของที่ใช้ บอ่ ยๆ เป็ นคุณสมบัตทิ ี่สำคัญของกำรอนำมัยที่ดี
กำร เจาะจงกาจัดเชือ้ เฉพาะที่ จำเป็ นต้ องทำตรงบริเวณที่ๆ เชื ้อโรคอำจเกิดขึ ้นได้ (เช่น บริเวณที่มี อำเจียน, เลือด, อุจจำระ, ปั สสวะ ซึง่ เป็ นบริเวณที่ไม่ได้ รับกำรทำควำมสะอำด) และ มีควำมเป็ นไปได้ ว่ำมีกำรติดต่อ สัมผัส กับบริเวณนี ้ ซึง่ ทำให้ มีกำรติดเชี ้อมำกยิ่งขึ ้น
กำรกำจัดเชื ้อที่จะได้ ผลสำเร็ จก็ตอ่ เมื่อผู้มีควำมต้ องกำรกำจัดเชื ้อใช้ น ้ำยำกำจัดเชื ้อที่มีสว่ นผส มที่ถกู ต้ องและมีระยะเวลำที่ทำปฏิกิริยำตำมที่กำหนดไว้
เรื่องนา้ ยาฆ่ าเชือ้ ให้ เลือกตกลงกับผู้เชี่ยวชำญผู้ผลิตได้ ซึง่ บริ ษัทผู้ร่วมงำนด้ วยขณะนี ้คือ แคร์ เชอร์ ประเทศไทย (KÄRCHER Thailand)
ให้ เก็บ น ้ำยำทำควำมสะอำด- และน ้ำยำฆ่ำเชื ้อ ให้ พ้นมือเด็ก
ในบ้ ำนทุกหลังต้ องมีกำรทำ ตารางการทาความสะอาด- และการกาจัดเชือ้ และจะต้ องแขวนไว้ ให้ เห็น (ดูสิ่งที่แนบมำด้ วย 1)
ในตำรำงนี ้ต้ องระบุถึงกำรทำควำมสะอำดและในกรณีมีกำรกำจัดเชื ้อ ว่ำ (ทำอะไร, เมื่อไร, ทำด้ วยอะไร, ใคร) รวมทังต้ ้ องมีกำรชี ้แจงถึงกำรตรวจสอบ / กำรตรวจสอบด้ วยตนเอง – โดยเฉพำะเมื่อมีกำรมอบหมำยงำนทำควำมสะอำดให้ แก่บริษัทอื่นทำ (ร่ำงระเบียบเป็ นสัญญำกับบริษัทนันๆ) ้
หน้ าที่ต้องแจ้ งเมื่อมี โรคติดต่ อเกิดขึน้ หรื อ มีสำเหตุให้ สนั นิษฐำนว่ำมีโรคติดต่อ ในกรณีเช่นนี ้ต้ องมีมำตรกำรพิเศษ ดำเนินกำรตำมที่โรงยำบำลในท้ องถิ่นกำหนดให้ ทำ หรื อ ทำตำมที่ได้ ตกลงกับโรงพยำบำลดังกล่ำวนันแล้ ้ ว
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
และโรงพยำบำลไม่ได้ โต้ แย้ งกำรดำเนินกำรนันๆ ้
SEITE 108
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.4.1
มือสะอาด
ด้ วยเหตุวำ่ มือมีประโยชน์หลำยอย่ำงใช้ ในกำร ติดต่อ สัมผัส ทังกั ้ บสิ่งแวดล้ อม และ กับบุคคลอื่นๆ มือจึงเป็ นตัวนำหลักของกำรติดเชื ้อโรคกำรล้ ำงมือ และ ในอีกกรณี กำรกำจัดเชื ้อที่มือ จึงเป็ นส่วนสำคัญของมำตรกำร กำรป้องกัน และต่อต้ ำนกำรติดเชื ้อโรค ซึง่ สิ่งที่กล่ำวมำขณะนี ้ บกพร่องเป็ นอย่ำงมำก และไม่มีกำรปฏิบตั เิ ลย!
การล้ างมือ ลดจำนวนเชื ้อ (จุลินทรี ย์) ที่มือ
ที่ล้างมือที่ใหม่ ต้ องตังในที ้ ่ๆ จำเป็ นต้ องใช้ โดยเฉพำะ ในครัว และ โรงอำหำร !
ให้ ใช้ ของเหลวที่เตรี ยมไว้ ให้ ล้ำงมือ และ น ้ำยำถนอมผิว จำกภำชนะ
ในส่วนที่ต้องใช้ ร่วมกัน (เช่น ส้ วม) ให้ ใช้ กระดาษเช็ดมือแบบใช้ ครั ง้ เดียวแล้ วทิง้ หรื อ ใช้ เครื่ องเป่ ำมือให้ แห้ ง ดังนันจึ ้ งไม่ให้ มีกำรใช้ ผ้ำเช็ดมือร่วมกัน
การฆ่ าเชือ้ ที่มือ ทำให้ เชื ้อโรคตำย
หลังจำกมือสัมผัสกับเชื ้อโรค สิ่งดังต่อไปนี ้ต้ องทำเพื่อฆ่ำเชื ้อ: • ใส่น ้ำยำฆ่ำเชื ้อ 3-5 มิลลิลิตร ลงใน มือที่แห้ ง แล้ วถูมือด้ วยกันไปมำให้ ทวั่ ถึง ที่ปลำยนิ ้ว, ระหว่ำงนิ ้วมือ, หัวแม่มือ, และ โดยเฉพำะหนังด้ ำนข้ ำงของเล็บมือ • ในระหว่ำงที่น ้ำยำทาปฏิกิริยาตำมที่ผ้ ผู ลิตรน ้ำยำระบุไว้ (ปกติ ½ นำที) มือต้ องชื ้นด้ วยน ้ำยำฆ่ำเชื ้อ • ถ้ ำขันตอนสุ ้ ดท้ ำยระบุว่ำให้ ทำควำมสะอำดมือ (ด้ วยกำรล้ ำงมือ) กำรล้ ำงมือนี ้ต้ องทำหลังจำกที่น ้ำยำฆ่ำเชื ้อทำปฏิกิริยำสิ ้นสุดลงแล้ ว • ถ้ ำเป็ นสิ่งที่สกปรกมำกมองเห็นได้ (เช่น สิ่งที่ขบั ถ่ำยออกมำจำกร่ำงกำย) ให้ ทำกำรฆ่ำเชื ้อโดยแช่ สิ่งนัน้ เพื่อทำให้ เปลื่อยตำยด้ วยน ้ำยำฆ่ำเชื ้อ หรื อกำจัดโดยใช้ กระดำษแบบใช้ ครัง้ เดียวแล้ วทิ ้ง • กำรใช้ ถงุ มือแบบใช้ ครัง้ เดียวแล้ วทิ ้งแนะนำให้ ใช้ ในกรณีที่เห็นได้ ลว่ งหน้ ำว่ำจะมีกำรสัมผัสกับ ของเสียที่ขบั ถ่ำยออกมำจำกร่ำงกำย และ เลือด
SEITE 109
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
บุคลากร: กำรทำควำมสะอำดมืออย่ำงถูกต้ องควรทำ • ก่อนเริ่มทำงำน, • ทุกครัง้ หลังจำกที่มือสกปรก, • หลังจำกใช้ ห้องสุขำ (ส้ วม), • ก่อนมีกำรสัมผัสกับอำหำร • ก่อนและหลังจำกทำนอำหำร, • หลังมีกำรติดต่อกับเด็กๆ ที่ติดเชื ้อโดยทำงเดินหำยใจ (ไอ, เป็ นโรคหวัด) • และหลังจากมีการติดต่ อกับสัตว์ - กำรฆ่ำเชื ้อที่มือจำเป็ นต้ องทำ • หลังจำกมีกำรสัมผัสกับเลือด, อุจจำระ, ปั สสวะ, อำเจียน, และสิ่งอื่นๆ ที่ออกมำจำกร่ำงกำย (เช่น มำตรกำรที่เกี่ยวข้ องกับกำรใช้ ห้องสุขำโดยเด็กๆ) • หลังมีกำรติดต่อกับเด็กๆ ที่เจ็บป่ วยด้ วยโรคท้ องเสีย, • ก่อนติดพลำสเตอร์ ยำ, ผ้ ำพันแผล หรื อ สิ่งที่มีลกั ษณะเดียวกัน (เมื่อจำเป็ นต้ องกำรทำ ควำมสะอำดมือ ให้ ทำดังนี ้: ล้ ำงมือ – เช็ดมือให้ แห้ ง –ฆ่ำเชื ้อ
SEITE 110
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ผู้อยู่อาศัย: กำรทำควำมสะอำดมืออย่ำงละเอียดถูกต้ องควรทำ • ทุกครัง้ หลังจำกที่มือสกปรก (เช่นกัน หลังจำกกำรเล่น) • หลังจำกใช้ ห้องสุขำ (ส้ วม)-/ กระโถนอุจจำระ • หลังจำกมีกำรติดต่อกับสัตว์ • และ ก่ อนทานอาหาร โดยกำรรักษำมือให้ สะอำดนี ้ต้ องได้ รับกำรดูแลจำกบุคคลำกร 4.4.2 พืน้ ห้ อง และพืน้ ที่อ่ ืนๆ รวมทัง้ สิ่งของต่ างๆ คุณสมบัตทิ ี่สำคัญตำมระเบียบข้ อบังคับกำรทำควำมสะอำดของพื ้นที่ และสิ่งของที่สำคัญทังหมด ้ คือควำมเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยของบ้ ำน หลักดังต่อไปนี ้คือสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในมำตรกำรกำรทำควำมสะอำด- และ กำจัดเชื ้อ: เยำวชน (เด็กๆ เช่นกัน)ที่อยูภ่ ำยใต้ กำรดูแลต้ องทำควำมสะอำดบริเวณที่พกั อำศัยของตนด้ วยตนเอง วิธีกำรปฏิบตั กิ ำรทำควำมสะอำด คือกำรป้องกันไม่ให้ นำสิ่งสกปรกมำด้ วย (ตัวอย่ำงเช่น วิธีกำรกระป๋ อง-สองใบ หรื อ กำรใช้ เครื่ องทำควำมสะอำดแบบอุตสำหกรรม) ในกำรทำงำนฆ่ำเชื ้อให้ สวมใส่เสื ้อผ้ ำป้องกันที่เหมำะสม (ถุงมือ, ผ้ ำกันเปื อ้ น /เสื ้อคลุมกันเปื อ้ น) อุปกรณ์ที่นำมำใช้ ได้ อีกในกำรทำควำมสะอำด (ผ้ ำม๊ อบไว้ เช็ด ถู ผ้ ำไว้ เช็ด...) หลังกำรใช้ สิ่งเหล่ำนี ้ ทำให้ แห้ งแล้ วเก็บ จนกระทัง่ นำกลับมำใช้ ใหม่ (อย่ำงแรกให้ ล้ำงก่อนและวำงลงในน ้ำยำฆ่ำเชื ้อที่เหมำะสม)
SEITE 111
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
เครื่ องมือ และน ้ำยำที่ใช้ ทำควำมสะอำด และใช้ ฆำ่ เชื ้อ เพื่อป้องกันไม่ให้ ผ้ ไู ม่มีสิทธิเข้ ำถึงต้ องเก็บสิ่งเหล่ำนี ้ในห้ องที่แยกออกมำเป็ นสัดส่วน ในระหว่ำงที่น ้ำยำฆ่ำเชื ้อกำลังทำปฏิกิริยำ ห้ ำมเช็ดบริเวณนันให้ ้ แห้ ง- หรื อตำมปั ด หลังจำกกำรฆ่ำเชื ้อประสบควำมสำเร็จให้ ระบำยอำกำศ การทาความสะอาดมากน้ อย แค่ไหนขึ ้นอยู่กบั ลักษณะกำรใช้ สถำนที่ สิ่งของ และกำรใช้ นนบ่ ั ้ อยครัง้ แค่ไหน ควำมสกปรกที่มองเห็นให้ ทำควำมสะอำดทันที สำหรับกำรทำควำมสะอำดที่ต้องทำเป็ นกิจวัตรให้ ทำดังต่อไปนี :้ พืน้ ห้ องที่ถกู ใช้ โดยคนเป็ นกลุม่ ทุกวัน- และพื ้นห้ องน ้ำ ห้ องส้ วม ต้ องได้ รับกำรเช็ดถูด้วยผ้ ำเปี ยก ชื ้น ทุกวัน เครื่ องเรื อน- และสิ่งของต่ำงๆ ควรได้ รับกำรทำควำมสะอำดทุกสัปดำห์ ถ้ ำสกปรกต้ องทำควำมสะอำดทันที ปลอกผ้ ำสำหรับเสื่อ (ฟูกไม่หนำ) ที่ใช้ สำหรับเล่น- และ นอนพัก ปลอกผ้ ำนี ้ถอดออกได้ ต้ องเปลี่ยนทุกสัปดำห์และนำไปซัก เสื่อ (ฟูก) ที่เช็ดได้ ต้องทำควำสะอำดทุกสัปดำห์ ประตู รวมทัง้ ที่เปิ ดประตูแบบมีด้าม / กลอนประตู ในห้ องน ้ำ ห้ องส้ วม ต้ องทำควำมสะอำด ทุกวัน อ่ างล้ างมือ, โถส้ วม และ –ฝารองนั่งชักโครก, ทีดึง หรือ ถังพักนา้ ชักโครกและช่ องระบายอุจจาระลงท่ อของโถส้ วม ต้ องทำควำมสะอำดทุกวัน แปรงขัดโถส้ วม ต้ องทำควำมสะอำดทุกวัน (ล้ ำงออก) หรื อไม่ก็ต้องเปลี่ยนใหม่ตำมควำมจำเป็ น กำรเก็บกระโถนเด็ก (ซึง่ เป็ นของใช้ สว่ นตัว) ต้ องทำควำมสะอำด (ล้ ำงอุจจำระออก) และเช็ดให้ แห้ งหลังกำรใข้ ทกุ ครัง้
SEITE 112
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
แก้ ว/ขันตักนา้ ที่ไว้ ใช้ แปรงฟั น และ -แปรงสีฟัน, หวี และแปรงหวีผม เป็ นของใช้ สว่ นตัว ต้ องทำควำมสะอำดทุกสัปดำห์ และเปลี่ยนใหม่เป็ นประจำ แปรงสีฟันเมื่อใช้ แล้ วต้ องล้ ำงออกให้ สะอำด เก็บรักษำในแก้ ว/ขัน โดยให้ ขนแปรงอยู่ด้ำนบน พรม เสื่อ ที่ทาจากผ้ า ในห้ องที่ตำมปกติใช้ ร่วมกัน ห้ องนัง่ เล่น / ห้ องนอน ให้ ดดู ฝุ่ นสัปดำห์ ละ 1 ครัง้ 2 ครัง้ ต่อปี เช่นกัน เมื่อสกปรกต้ องทำควำมสะอำดแบบเปี ยกชื ้นทันที (วิธีทำควำมสะอำดพรม Spray-Extraction) การทาความสะอาดอย่ างละเอียดให้ ทำปี ละ 2 ครัง้ ในที่นี ้หมำยถึงกำรทำควำมสะอำดหลอดไฟ หน้ ำต่ำง ประตู ท่อ- สำยต่ำงๆ สิ่งตกแต่งบ้ ำน (เช่น ข้ ำงฝำด้ วยลำมิเนต เพดำน เป็ นต้ น) ชันวำงของ ้ และอื่นๆ การฆ่ าเชื ้อ ที่ จาเป็ นต้ องทาทั น ที ตรงพื น้ ที่ แ ละกั บ สิ่ ง ของที่ ส กปรกมองเห็ น ได้ ว่ ำเป็ นอำเจี ยน อุ จ จำระ ปั สสวะ เลื อด และอื่ นๆ เมื่อ เกิดโรคติดต่ อ หลังจำกได้ มีกำรตกลงกับโรงพยำบำลท้ องถิ่นแล้ วให้ ดำเนินกำรตำมมำตรกำรฆ่ำเชื ้อซึ่งเป็ นมำตร กำรป้องกันไม่ให้ มีกำรแพร่เชื ้อของโรคต่อไป 4.4.3
เสือ้ ผ้ า, ความสะอาดของเสือ้ ผ้ า
SEITE 113
บุคคลำกรที่ดแู ลเด็กต้ องจัดให้ เด็กมีเสื ้อผ้ ำที่เหมำะสมกับภูมิอำกำศ ที่อยู่อำศัย อีกทังเสื ้ ้อผ้ ำที่เหมำะสมปิ ดเทอม พักร้ อน ด้ วย กำรเปลี่ยนเสื ้อผ้ ำบ่อยแค่ไหนนันขึ ้ ้นอยูกบั ควำมสกปรกมำกน้ อยของเสื ้อผ้ ำ ตำมปกติแล้ วเสื ้อผ้ ำสกปรกต้ องได้ รับกำรซักล้ ำงทันที นอกจำกนันอำจท ้ ำได้ ตำมคำแนะนำดังนี ้: ผ้ ำเช็ดมือ (ของใช้ สว่ นตัว)* ทุกๆ สัปดำห์ ชุดนอน ทุกๆ สัปดำห์ ปลอกผ้ ำของเสื่อสำหรับเล่น ทุกๆ สัปดำห์ ผ้ ำปูเตียง ทุกๆ สองสัปดำห์
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ผ้ ำห่ม ฟูก, หมอน และ อื่นๆ ชุดชันใน ้ (สลิป)
ทุกๆ 3 เดือน ทุกๆ ครึ่งปี ทุกๆ วัน
* ขึ ้นอยูกบั ว่ำแห้ งเร็วขนำดไหนหลังใช้ !
เสื ้อผ้ ำที่สะอำด และสกปรกต้ องแยกออกจำกกัน ห้ ำมนำเสื ้อผ้ ำที่สะอำดไปตำกให้ แห้ ง และเก็บ ในบริเวณที่มีเสื ้อผ้ ำสกปรก
ให้ ซกั ผ้ ำเช็ดมือ ชันใน ้ ชุดนอน และอื่นๆ แต่ละครัง้ อย่ำงน้ อย 60 องศำ ต่อผู้อำศัยหนึง่ คน ห้ ำมซักรวม (ทำได้ เมื่อมีเครื่ องซักผ้ ำอยูแ่ ล้ ว – ลงทุนซื ้อหำในอนำคต !) 4.5 การเกี่ยวข้ อง สัมผัส กับอาหาร ในกำรอยูร่ ่วมกันเพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดโรคภัยไข้ เจ็บ และโรคที่เกิดขึ ้นบ่อยๆ โดยมีสำเหตุมำจำกอำหำร ด้ วยเหตุนี ้ต้ องให้ ควำมสำคัญกับกำรเกี่ยวข้ อง สัมผัสกับอำหำรเป็ นอย่ำงสูง
SEITE 114
ก่อนเตรี ยม และให้ แจกจ่ำยอำหำร ต้ องล้ างมือก่ อน
เมื่อมือมีบำดแผล จะต้ องใส่ ถุงมือ ก่อนสัมผัสกับอำหำร
ห้ ำมบุคคลที่มีแผลที่มือซึง่ เป็ นหนองสัมผัสกับอำหำร
ห้ ำไอ หรื อ จำมใส่อำหำร
ใน การเตรียมอาหาร และ แจกจ่ ายอาหาร ต้ องใช้ ภำชนะที่สะอำดเท่ำนัน้
จานชาม- และช้ อน ส้ อม มีด หลังใช้ แล้ ว ต้ องทำควำมสะอำดทุกครัง้
โต๊ ะ และถาดต่ างๆ หลังจำกทำนอำหำรแล้ วต้ องทำควำมสะอำด
เศษอำหำรที่เหลือจำกกำรเตรี ยมอำหำรต้ องกำจัด
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ห้ ำมเก็บอำกำรในห้ องที่เป็ นที่พกั อำศัย
ห้ ำมเก็บอำหำรที่หมดอำยุในที่พกั อำศัยและอำหำรที่หมดอำยุต้องอยูใ่ นกล่องที่ปิดเท่ำนัน้
4.6 สิ่งอื่นๆ ที่ต้องทาเพื่ออนามัย 4.6.1 การกาจัดขยะมูลฝอย เท่ำที่ทำได้ ควรให้ มีกำรสอนแยกขยะ และให้ แยกขยะด้ วย
4.6.2
ให้ วำงมำตรกำร การหลีกเลี่ยงก่ อให้ เกิดขยะ และ – ให้ มีการแยกขยะ
ควรกำจัดขยะโดยนำไปใส่ใน ถังขยะ ของส่ วนกลาง วันละหนึง่ ครัง้
การกาจัดขยะ รวมทังขยะจำกในครั ้ วต้ องกำจัดเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ มีกำรรบกวนโดยเฉพำะกำรรบกวนจำกกลิ่ นเน่ำเหม็น แมลง สัตว์ฟันแทะ
การเลีย้ งสัตว์ กำรเลี ้ยงสัตว์ในสถำนที่ๆ อยู่ร่วมกันเป็ นกำรเสี่ยงภัยต่อสุขอนำมัยเสมอ
SEITE 115
ควำมเชื่อตำมศำสนำพุทธและคำตัดสินก่อนของอำจำรย์ต้องนำมำชัง่ วัดกับเรื่ องสุขภำพ (กำรติดเชื ้อ ภูมิแพ้ ขนสัตว์ )
หน้ าที่รับผิดชอบในการดูแลเลีย้ งสัตว์ ต้ องแบ่งหน้ ำที่ให้ อย่ำงชัดเจน โดยบุคคลำกรต้ องตรวจตรำควบคุมหน้ ำที่ๆ ให้ ด้วย
ไม่ ควนนาสัตว์ เข้ ามาใน กลุ่ม-, ห้ องอาหาร-, ห้ องนอน- และในที่พักอาศัยส่ วนรวม
ไม่ควรกักขัง หมำ, แมว และ นกต่ำงๆ ในห้ องที่ถกู ปิ ด
ห้ องต่ างๆ ที่มีสตั ว์อยูต่ ้ องระบำยอำกำศอย่ำงสม่ำเสมอ ในห้ องนันๆ ้ ต้ องมีพื ้นห้ องที่สำมำรถเช็ดถูด้วยผ้ ำเปี ยกได้
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.6.3
อาหาร และอุปกรณ์ การเลีย้ งสัตว์ (ฟำงเกลี่ยให้ สตั ว์นอน, ฟำง, เครื่ องทำควำมสะอำด) ต้ องเก็บ แยก ต่ำงหำก
หลังจำก สัมผัสกับสัตว์ ต้ องล้ ำงมือให้ สะอำด
เมื่อมีวำงแผนและดำเนินกำรเลี ้ยงสัตว์ขอแนะนำให้ มีกำรติดต่อกับ สัตวแพทย์ – และสำนักงำนสำธำรณะสุข ผู้มีหน้ ำที่รับผิดชอบด่วนที่สดุ
การป้องกันล่ วงหน้ า และ – ต่ อสู้กับสัตว์ รังควาน
กำรป้องกันล่วงหน้ ำไม่ให้ มีสตั ว์รังหวำนมำรบกวนทำได้ โดยกำรทำให้ สตั ว์รังควำนไม่มีโอกำสเ ข้ ำมำ- หรื อ หนีออกไปได้ นนั ้ ไม่ให้ มีที่หลบซ่อน กำรกำจัดสิ่งก่อสร้ ำงที่บกพร่อง และกำรรักษำ เครื่ องเรื อน สิ่งต่ำงๆ ภำยในบ้ ำน ในบริเวณครัว และพื ้นที่รอบๆ ตัวบ้ ำน ให้ เรียบร้ อย และสะอาด อยูเ่ สมอ
ต้ องมีการตรวจสอบการรังควานของสัตว์อย่ำงสม่ำเสมอแล้ วบันทึกเป็ นเอกสำร
หลังกำรทำงำนกำรวิเครำะห์อนั ตรำยในบริเวณครัวแล้ ว ให้ ควบคุมตรวจดูเป็ นจุดๆ กำรตรวจสอบอย่ำงสม่ำเสมอ (ทำเอกสำรเป็ นหลักฐำน) พร้ อมกันนันควรตรวจดู ้ ให้ เห็นทุกวัน
เมื่อเป็ นที่แน่นอนว่ำมีสตั ว์รังควำน ต้ องสืบทันทีให้ ร้ ูวำ่ เป็ นสัตว์รังควำนประเภทไหน
เมื่อมีสัตว์ รังควานก่ อความราคาญ ต้ องขอให้ ผ้ เู ชี่ยวชำญ ด้ ำนกำจัด ต่อสู้ กับสัตว์รังควำน ในตำรำงอนำมัยต้ องระบุ ที่อยู่ และเบอร์ โทรศัพท์ ผู้เชี่ยวชำญไว้ ด้วย
4.6.4
การหลีกเลี่ยงอันตรายจากพืชมีพษิ
SEITE 116
พืชมีพิษคือ ต้ นไม้ ไม้ พมุ่ และพืชล้ มลุก ซึง่ สำรในพืชที่กล่ำวนี ้อำจมีผลเสียต่อสุขภำพของมนุษย์ได้
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ห้ ำมไม่ให้ ปลูกพืชมีพิษภำยในห้ องต่ำงๆ (ไม้ ประดับในที่ร่ม) และ บนพื ้นที่วำ่ ง โดยเฉพำะพืชมีพิษเหล่ำนี ้ ผลของมันดึงดูดให้ เด็กๆ เข้ ำหำได้
พืชที่มีอยูแ่ ล้ วมีผล / เมล็ด ต้ องเป็ นที่ร้ ูจกั และมัน่ ใจว่ำไม่มีพิษ สำมำรถหำข้ อมูล เช่นได้ จำก สวนเพำะพันธุ์ไม้ และรักษำต้ นไม้ ในท้ องถิ่น
อำกำรของโรคที่เกิดขึ ้นบ่อยๆ จำกกำรได้ รับส่วนใดส่วนหนึง่ ของพืชมีพิษ: กำรคลื่นเหียน อำเจียน มีน ้ำลำยมำก อำกำรท้ องร่วงซึง่ ไม่ได้ เกิดขึ ้นบ่อย
อำกำรอื่นๆ ของโรค (ตำมแต่ชนิดของพืช) : เยื่อเมือกในปำกแห้ ง กำรขยำยใหญ่ของตำดำ ไม่สงบ เหงื่ออกมำกแต่ตวั เย็น เกิดอำกำรเหมือนอัมพำต มีตอ่ ผิวหนัง- และเยื่อเมือก
หลังกินส่วนใดส่วนหนึง่ ของพืชมิพิษด้ วยควำมเข้ ำใจผิดถึงแม้ ไม่มีอำกำรก็ต้องต้ องติดต่อผู้เชี่ย วชำญ (เภสัชกร ผู้เพำะพันธ์ไม้ )
ถ้ ำเป็ นพืชมีพิษต้ องโทรศัพท์หำหมอ หรื อ ศูนย์กลำงให้ ข้อมูลเกี่ยวกับพืชมีพิษ (บอกรำยละเอียดของรำยกำร ชนิดพืชมีพิษ จำนวน และ เวลำที่กินพืชมีพิษ) มาตรการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้ น:
• เอำพืชมีพิษออกจำกปำก (คำยออก หรื อ ล้ ำงออกด้ วยของเหลว) • ไม่มมีกำรอำเจียน! • สุดท้ ำยตื่มของเหลว (ไม่ใช่นม) • ถ้ ำสำรของพืชมีพิษทำให้ ผิวแสบคัน ต้ องล้ ำงผิวด้ วยน ้ำอุ่นและสบูอ่ อก • จัดกำรให้ แพทย์ทำกำรรักษำ
SEITE 117
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.6.5
4.6.6
นา้ ดื่ม
กำรใช้ น ้ำเย็นในศูนย์ชว่ ยเหลือเยำวชน สำหรับให้ คนใช้ (ในกำรชำระร่ำงกำย ทำควำมสะอำดสิ่งของ ใช้ ข้อบังคับเดียวกันกับอนำมัยคนที่เกี่ยวข้ อง สัมผัสกับอำหำร และกำรทำควำมสะอำดสิ่งของ ข้ อขังคับที่วำ่ นี ้ไม่ใช่ชอั บังคับชัว่ ครำวที่ใช้ กบั ร่ำงกำยคนสัมผัสกับน ้ำ แต่มีผลบังคับถึงกำรเตรี ยมหำน ้ำใหม่สะอำดด้ วย
ควำมเปลี่ยนแปลงที่เก็บน ้ำต้ องคอยสังเกตุให้ ดีๆ ถ้ ำก่อตัวเป็ นตะไคร่น ้ำ มีควำมจำเป็ นต้ องทำควำมสะอำดอย่ำงละเอียด ห้ ำมเก็บสิ่งของทุกชนิดในอ่ำงน ้ำ สิ่งของสกปรกต้ องเอำออกไปจำกอ่ำงน ้ำทันที
นา้ ฝน ตังแต่ ้ ปี 2561เป็ นต้ นไปเยำวชนในศูนย์ช่วยเหลือไม่ควรใช้ น ้ำฝนกับร่ำงกำย (นัน่ คือ ไม่ใช้ อำบ และ ไม่ใช้ ซกั เสื ้อผ้ ำ) ควรมีกำรตกลงกัน ให้ มีกำรลงทุนให้ มีกำรเตรี ยมได้ น ้ำ!
บริเวณนา้ เล่ น- และ บริเวณประสบการณ์ ท่ นี ่ าตื่นเต้ น ในมุมมองของกำรอนำมัยแล้ วน ้ำดื่มถูกเก็บไว้ กบั พื ้นที่ยดึ อยูก่ บั ที่ (เช่น พื ้นปูน พื ้นหินขัด (เทอรรำชโซ่) ส่วนพื ้นที่บริเวณน ้ำที่ใช้ เล่น – และประสบกำรณ์ที่นำ่ ตื่นเต้ นนันพื ้ ้นจะเปี ยกสกปรกหรื อเมือก ปั ญหำดังกล่ำวจะไม่เกิดถ้ ำปฏิบตั ิดงั นี:้
ในสถำนที่ใช้ เล่ นมอดเดอร์ ต้ องมีน ้ำใหม่สะอำดเท่ำนัน้ และน ้ำต้ องไหล
วัสดุที่ใช้ กบั พื ้นต้ องปรำศจำกกำรติดเชื ้อ ( ดู ทรำยสำหรับเล่น) ในระหว่ำงกำรแห้ งของทรำยทำให้ ป้องกันกำรเพิ่มเชื ้อโรคในทรำย ถ้ ำทรำยสกปรกมำกต้ องเปลี่ยนทรำยใหม่
อ่ำงน ้ำที่ไม่มีน ้ำสะอำดบริ สทุ ธิ์ และ ไม่มีกำรฆ่ำเชื ้อ ทำให้ กำรเสี่ยงภัยต่อกำรอนำมัยอย่ำงสูงขึ ้น อ่ำงน ้ำนันต้ ้ องใส่น ้ำใหม่ทกุ วัน และตอนเย็นก็ทำให้ อำ่ งว่ำงเปล่ำอีก เพื่อเป็ นกำรป้องกันไม่ให้ มีเชื ้อโรค หลังจำกอ่ำงไม่มีน ้ำแล้ วต้ องทำควำมสะอำดอ่ำงน ้ำอย่ำงละเอียดทุกวัน ก่อนจะใส่น ้ำลงในอ่ำงควรฆ่ำเชื ้อในอ่ำงก่อน เมื่อความสกปรกของนา้ (เช่น โดยอุจจำระ) ต้ องเปลี่ยนน ้ำทันที และ ทำควำมสะอำด และ ฆ่ำเชื ้อในอ่ำงน ้ำ!
SEITE 118
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.6.7
ทรายสาหรับเล่ น
เพื่อ เป็ นการป้องกันทราย ที่เล่นไม่ให้ สกปรกควรทำดังต่อไปนี ้: กันไม่ให้ คนแปลกหน้ ำใช้ ทรำยโดยไม่ถก ู ต้ อง และ กันไม่ให้ หมำ แมว วิ่งเข้ ำมำหำ ทรำยที่เล่น (ทำรัว้ กัน) ้
ตอนกลำงคืน และวันสุดสัปดำห์ ให้ ปิดกระบะทรำย
ใช้ ครำดทำควำมสะอำดทรำย บ่อยๆ และ ระบำยอำกำศให้ ทรำย
ตรวจสอบทรำยที่เล่นด้ วยสำยตำอย่ำงละเอียดทุกวันเพื่อหำสิ่งหลงเหลือจำกสิ่งมีชีวิต (อุจจำระของสัตว์, เศษอำหำร, ขยะ และ อื่นๆ) และสิ่งที่หลงเหลือไม่มีชีวิต (เช่น แก้ ว)
ถ้ ำมีกำรปฏิบตั ิอย่ำงจริงจังตำมที่ได้ เสนอแนะมำเป็ นจุดๆ ข้ ำงต้ น ให้ เปลี่ยนทรายที่เล่ นทัง้ หมด หลังจำก 3 ปี ไม่เช่นนันให้ ้ เปลี่ยนปี ละ 1 ครัง้
เมื่อทรำยที่เล่นมีอจุ จำระของ หมำ-, แมว-, และนก ปนอยู่ ให้ เปลี่ยนทรำย ภำยในระยะเวลำสันๆ ้
4.6.8 การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้ น ผู้อำนวยกำรบ้ ำนเด็ก/ตัวแทน ต้ องสัง่ ให้ ก่อนมีกำรรับบุคคลำกรเข้ ำมำทำงำน บุคคลเหล่ำนี ้ต้ องได้ รับเรี ยนรู้กำรปฐมพยำบำลเบื ้องต้ นมำแล้ ว หลังจำกรับเข้ ำทำงำนแล้ วบุคคลเหล่ำนันต้ ้ องเรี ยนรู้อย่ำงน้ อยปี ละหนึง่ ครัง้ อย่ำงน้ อยบุคคลำกรหนึง่ คนที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรปฐมพยำบำลเบื ้องต้ นต้ องทำหน้ ำที่ในบ้ ำนเด็ก บุคคลผู้นี ้ควรได้ รับกำรฉีดวัคซีนป้องกัน ตับอักเสบ บี แล้ ว ถ้ ำมีควำมเป็ นไปได้ วำ่ ผู้ให้ ควำมช่วยเหลือในกำรปฐมพยำบำลเบื ้องต้ นต้ อง ติดต่อ สัมผัส กับ ของเหลวออกจำกร่ำงกำย และ ของเสียที่ขบั ออกมำจำกร่ำงกำย หลังให้ ควำมช่วยเหลือต้ องล้ ำงมือฆ่ำเชื ้อทันที ควบคูก่ บั กำรปฐมพยำบำลเบื ้องต้ น ผู้ให้ ควำมช่วยเหลือคนไข้ ตดั สินใจเองว่ำ ผู้ป่วยต้ องได้ รับการช่ วยเหลือจาก แพทย์ หรื อไม: ในโครงการสุขอนามัยต้ องมี โทรศัพท์ แพทย์ ฉุกเฉิน โทรศัพท์ แพทย์ ชาวเยอรมัน: แพทย์ ประจาบ้ าน: SEITE 119
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
พื ้นที่บริเวณที่มีเลือดหรื ออุจจำระใดๆ ให้ จมุ่ ผ้ ำสำหรับเช็ดในยำฆ่ำเชื ้อ โดยให้ มีกำรใช้ ถงุ มือแบบใช้ ครัง้ เดียวแล้ วทิ ้ง ในกำรทำควำมสะอำด และบริเวณนันต้ ้ องได้ รับกำรฆ่ำเชื ้ออย่ำงถูกต้ องอีกครัง้ หนึง่ อุปกรณ์ที่ใช้ ได้ ในกำรปฐมพยำบำนเบื ้องต้ น เช่น กล่องปฐมพยำบำล ”C“ ตำมมำตรฐำน DIN 13157 สิ่งที่บรรจุภำยในกล่องปฐมพยำบำลต้ องได้ รับกำรตรวจสอบอย่ำงสม่ำเสมอ นอกจำกนันกล่ ้ องปฐมพยำบำลยังต้ องได้ รับกำรฆ่ำเชื ้อโดยแอลกอฮอล์ อีกด้ วย กำรฆ่ำเชื ้อล้ ำงมือ น ้ำยำฆ่ำเชื ้อต้ องอยูใ่ นขวดที่ปิดฝำได้ อุปกรณ์ที่ใช้ แล้ ว (เช่น ถุงมือแบบใช้ ครัง้ เดียวแล้ วทิ ้ง หรื อ พลำสเตอร์ ) ต้ องหำมำเพิ่มเติมแทนสิ่งที่ใช้ ไป ต้ องมีกำรตรวจสอบสิ่งที่บรรจุภำยในกล่องปฐมพยำบำลเบื ้องต้ นอย่ำงสม่ำเสมอ ต้ องมีกำรตรวจสอบวันหมดอำยุกำรใช้ งำนของน ้ำยำฆ่ำเชื ้อล้ ำงมือ และผลิตภัณฑ์ทำงกำรแพทย์ เมื่อหมดอำยุกำรใช้ งำนต้ องหำของใหม่มำทดแทน 4.6.9 ข้ อแนะนา ในเรื่องมาตรการป้องกันการติดต่ อของเชือ้ โรค สุขภำพของบุคคลำกรในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับในครัว-/ อำหำร บุคคลที่จะเข้ ำทำงำนในบ้ ำนเด็ก ในส่วนที่เป็ นครัว- หรื อส่วนที่เกี่ยวข้ องกับอำหำร ได้ นนก็ ั ้ ตอ่ เมื่อบุคคลนันๆ ้ ต้ องมีสขุ ภำพที่แข็งแรง
SEITE 120
ไม่ป่วย หรื อมีข้อสันฯษฐำนว่ำอำจเป็ น โรคไข้ รำกสำดน้ อย, ไข้ รำกสำดเทียม, อหิวำตกโรค, โรคบิดชิเกลล่ำ, ซำลโมเนลล่ำ, โรคอื่นที่มำจำกกำรติดเชื ้อโดยป่ วยเป็ นโรคลำไส้ หรื อ ไวรัสตับอักเสบ-เอ, หรื อ อี (ดีซำ่ น)
ป่ วยมีแผลที่ตดิ เชื ้อ หรื อ ป่ วยเป็ นโรคผิวหนัง ซึง่ สำเหตุที่ก่อให้ เกิดโรคอำจมีสำเหตุกำรติดต่อผ่ำนมำทำงอำหำร
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
4.6.10 บุคคลผู้ดูแล-, อบรมสั่งสอน-, ดูแล ตรวจตรา บุคคลที่ป่วยด้ วยโรคติดต่อซึ่งยังมีข้อสงสัย หรื อคำดว่ำป่ วยเนื่องมำจำก เห็บ หรื อ เหำ บุคคลเหล่ำนี ้ห้ ำมเข้ ำมำ ทำกำรสอน-, อบรมสัง่ สอน-, ตรวจตรำดูแล-, หรื อทำงำนอื่นๆ ที่ต้องติดต่อกับเด็กที่ต้องดูแลในบ้ ำนเด็ก จนกระทัง่ บุคคลผู้นี ้ได้ รับกำรตรวจรักษำจำกแพทย์วำ่ ไม่ต้องกลัวว่ำจะกำรติดต่อหรื อไม่มีเหำแล้ วเท่ำนัน้
4.6.11 เด็กๆ และเยาวชน (เด็กวัยรุ่น) กำรป่ วยที่เกิดขึ ้นกับอวัยวะที่ใช้ ขบั ถ่ำยของเสียออกจำกร่ำงกำยต้ องแจ้ งข้ อมูลนี ้แก่บคุ คลำกรสำธำรณสุข เพื่อให้ มำตรกำรเป็ นไปตำมเป้ำหมำย ในกรณีร้ำยแรงตำมสถำนกำรณ์ในขณะนันให้ ้ แยกผู้ป่วยออกมำให้ ได้ มำกที่สดุ เพื่อป้องกันกำรติดเชื ้อโรคภำยในบ้ ำนเด็ก
SEITE 121
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5. โครงสร้ างการทาความสะอาดแบบใหม่ ในข้ อความดังต่อไปนี ้จะมีการเสนอโครงสร้ างการทาความสะอาดใหม่ ทีย่ ดึ ข้ อบังคับสุขภาพ- และการทาความ สะอาดตามมาตรฐานสากลเป็ นหลัก (ดูจดุ x เช่นกัน, สุขภาพและความสะอาด) ในโครงสร้ างการทาความสะอาดจะคานึงถึงความแตกต่างของกลุม่ อายุและเพศ เพื่อที่จะสามารถนามาปรับให้ ใช้ ได้ ในทุกกลุม่ อายุอย่างเสมอภาคกัน เด็กที่แก่กว่าต้ องมีหน้ าที่รับผิดชอบมากกว่าเด็กที่มีอายุน้อยกว่า สาหรับผู้ดแู ล (ผู้รับจ้ างดูแล) ได้ จากัดความว่ามีหน้ าที่ทชี่ ดั เจน หน้ าที่สาคัญในการปรับนาโครงสร้ างการทาความสะอาดใหม่มาใช้ และให้ มีการตรวจสอบสภาพการทาความสะอาดมากขึ ้น รวมทังสภาพทั ้ ว่ ๆ ไปของที่พกั อาศัยด้ วย ระเบียบข้ อบังคับดังต่อไปนี ้ชี ้แจงให้ เห็นถึงการทาความสะอาดประจาวัน / สัปดาห์ / เดือน / ปี โดยคาจากัดความการทาความสะอาดอย่างชัดเจนนี ้ไม่ใช้ แค่การยืนยันว่าเป็ นที่พกั อาศัยและสถานที่อยูท่ ี่สะอาดเท่านัน้ แต่เป็ นการยืนยันว่าการทาความสะอาดแต่ครัง้ ง่ายขึ ้นด้ วย ในสิง่ ที่แนบมาด้ วยจะมีแผนผังการตรวจสอบและรายการของเครื่องมือในการทาความสะอาดที่มอี ยูต่ อ่ ห้ องให้ เห็น
SEITE 121
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.1 การประมวลภาพโครงการ
ทุกวัน
การทาความสะอาดห้ องทีใ่ ช้ อยูอ่ าศัยและบันไดบ้ าน การทาความสะอาดห้ องน ้า ห้ องสุขาและกระโถนอุจจาระทีใ่ ช้ ในตอนกลางคืน กาจัดขยะมูลฝอย
ทุก 3 เดือน
ทุก 6 เดือน
SEITE 122
การทาความสะอาดห้ องน ้า ห้ องสุขา อย่างละเอียด(ใช้ เครื่ องทาความสะอาดของแคร์ เชอร์ ) การทาความสะอาดและเก็บตู้เก็บของทังภายในและนอก ้ การทาความสะอาดตู้น ้าดื่ม (ตู้น ้าดื่มของแคร์ เชอร์ ) การซ่อมแซมเครื่ องไฟฟ้ าทุกอย่างภายในบ้ าน การซ่อมแซมสิง่ ของทุกอย่างที่เสียหายภายในบ้ าน การซ่อมแซมฝาผนังและเพดาน การทาความสะอาดที่ระบายน ้าเสียในบริ เวณทุกที่ๆ ใช้ ซกั ล้ าง, ในกรณีจาเป็ นทาความสะอาดด้ วยเครื่ องมือเพื่อการนี ้โดยเฉพาะ การทาความสะอาดสิง่ ของที่อยูก่ บั เตียง ( ผ้ าห่ม, หมอน, ฟูก). ทาความสะอาดอย่างละเอียดในโรงนอนรวมทังบั ้ นไดบ้ าน ทาความสะอาดหน้ าต่างและมุ้งลวด ทาความสะอาดพัดลมและหลอดไฟ โคมไฟ (การทาให้ หลอด โคมไฟอยูใ่ นสภาพที่ดี) ทาความสะอาดอย่างละเอียดบริเวณด้ านนอก และสถานที่เล่น ทาความสะอาดทรายในบริ เวณทีเ่ ล่น การซ่อมแซมทุกสิง่ ที่เสียหายในตัวบ้ าน การซ่อมแซมสิง่ ที่เสียหายทุกอย่างในบริ เวณด้ านนอกและเครื่ องเล่น การซ่อมแซมและทาให้ อยูใ่ นสภาพเดิมของหลังคากันแดดเหนือบริเวณซัก ล้ าง
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ทุก 9 เดือน
ทุก 12 เดือน
การซ่อมแซมและปรับปรุงประตูทงหมด ั้ การซ่อมแซมและปรับปรุงห้ องสุขาและอ่างล้ างมือทังหมด ้ การซ่อมแซมและปรับปรุงพัดลมทังหมด ้ การซ่อมแซมและปรับปรุงหน้ างต่างและมุ้งลวดทังหมด ้ การตรวจสอบอุปกรณ์ความปลอดภัย (ถังดับเพลิง, อุปกรณ์พยาบาลเบื ้องต้ น, ไฟฉุกเฉิน, ฯลฯ)
ในบ้ านทุกหลังต้ องมีกระดานคาแนะนาที่มีมาตรการการทาความสะอาดแต่ละส่วนชี ้แจงให้ เห็น กระดานคาแนะนาช่วยให้ เด็กๆ และผู้ดแู ล ใช้ ในการนาร่างแนวความคิดใหม่ของการทาความสะอาดมาใช้ ปรับ เช่นกันในสถานที่สาคัญๆ จะมีการนาสติกเกอร์ คาชี ้แจง การรักษาสิง่ ของให้ อยูใ่ นสภาพที่ดี คาชี ้แจงการทาความสะอาด และป้ายห้ าม (ตัวอย่างเช่น: ห้ ามหมาเข้ า) ป้ายชี ้แจงนี ้ควรมีอยูใ่ นโครงการย้ ายสาหรับเหตุฉกุ เฉินด้ วย
SEITE 123
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ผู้ดูแล ผู้ดแู ลต้ องเป็ นบุคคลผู้มีความรับผิดชอบอย่างสูง จัดการปรับบ้ านที่ตนรับผิดชอบให้ สะอาด และรักษาให้ อยูใ่ นสภาพที่ดีด้วยตนเอง ผู้ดแู ลมีอานาจสัง่ ชี ้แนะ เด็กๆ และสามารถวางเกณฑ์ ข้ อบังคับ / ลงโทษ ต่อเด็กเป็ นคนๆ ไป หรื อ เป็ นกลุม่ ได้ ผู้ดแู ลต้ องปฏิบตั ิตนตามแผนผังการทาความสะอาดที่ให้ ไว้ การหลีกเลีย่ งการปฏิบตั ิตามแผนผังต้ องได้ ตกลงกับนักการภารโรงก่อน ในอนาคตไม่อนุญาติให้ มกี ารหลีกเลีย่ งไม่ปฏิบตั ติ ามแผนผังการทาความสะอาด ในกรณีมีความเสียหายเกิดขึ ้นกับบัญชีทรัพย์สนิ ผู้ดแู ลต้ องแจ้ งให้ นกั การภารโรงทราบ นักการภารโรง (บุคคลผู้นี ้ยังไม่มี) นักการภารโรงเป็ น „ผู้ดแู ล“ รับผิดชอบบ้ านเด็กกาพร้ าทังหมด ้ และบ้ านทุกหลังทีใ่ ช้ เป็ นที่พกั อาศัย ครัว และห้ องทังหมดที ้ ่ใช้ อยู่ นักการภารโรงตรวจสอบความสะอาด และความเสียหายของห้ องต่างๆ ตัดสินใจในเรื่ องขอบเขตงบเงินซึง่ ยังต้ องระบุ และนักการภารโรงประสานงานการซ่อมแซมสิง่ ของในห้ องต่างๆ ทังหมด ้ รวมทังการซ่ ้ อมแซมตัวบ้ าน นักการภารโรงตรวจสอบการทางานของพนักงานทาความสะอาดทังภายในและภายนอก ้ นักการภารโรงมีอานาจสัง่ ชี ้แนะ ผู้ดแู ล และสุดท้ ายนักการภารโรงรับผิดชอบการปฏิบตั ิการตามที่ระบุไว้ ในแผนผังการทาความสะอาด นักการภารโรงรายงานคณะกรรมาธิการ และพระสงฆ์ผ้ รู ับผิดชอบ นักการภารโรงจะได้ รับความช่วยเหลือเพิ่มเติมจากผู้ให้ คาแนะนาซึง่ อยูใ่ นขอบเขตของการให้ ความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
SEITE 124
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.1.2 บริเวณรับผิดชอบของผู้ดูแล (ผู้รับจ้ างดูแล) และของนักการภารโรง ในสัญญาต้ องมีผ้ ดู แู ลรับผิดชอบหนึง่ คนต่อบ้ านหนึง่ หลัง ผู้ดแู ลรับผิดชอบในเรื่ องความสะอาดด้ วยตนเองและรักษาบ้ านหลังที่ตนต้ องรับผิดชอบให้ อยูใ่ นสภาพที่ดี ผู้ดแู ลรับผิดชอบแบ่งเด็กๆให้ เป็ นทีม „Team 2 Clean “ นักการภารโรงมีอานาจสัง่ ชี ้แนะผู้ดแู ล และตรวจสอบสภาพบ้ านรวมทังตรวจสอบว่ ้ าได้ มกี ารปฏิบตั ิตามที่ได้ ระบุไว้ ในแผนผังการทาความสะอาด ผู้ดแู ลทุกคนมีหน้ าที่รับผิดชอบให้ มีการปฏิบตั ิตามที่ได้ ระบุไว้ ในระเบียบการทาความสะอาดของบ้ าน ผู้ดแู ลตรวจสอบทุกวันว่าได้ มีการปฏิบตั ิตามที่ระบุไว้ ในระเบียบการทาความสะอาดและตีคา่ ความสะอาดบ ริ เวณนันๆ ้ ผู้ดแู ลมีหน้ าที่รับผิดชอบหลักฐานการตรวจสอบที่อยูบ่ นใบแจ้ งทีเ่ ขียนไว้ แล้ ว ผู้ดแู ลต้ องรับผิดชอบในบ้ านของตนให้ มีผลิตภัณฑ์ สิง่ ของ ทีใ่ ช้ ในการเช็ด ถู- และทาความสะอาด ตามที่ระบุในระเบียบ และให้ มีอย่างเพียงพอ ผู้ดแู ลยืนยันได้ วา่ ได้ มีการกาจัดขยะมูลฝอยอย่างแน่นอนโดยนาไปทิ ้งที่ๆ รวมขยะที่มีไว้ ให้ นักการภารโรงมีหน้ าที่รับผิดชอบการนาขยะไปทิ ้งที่สถานที่รวมขยะและนาขยะไปทิ ้งตรงต่อเวลา นักการภารโรงมีหน้ าที่รับผิดชอบแบ่งและจัดการกับผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด ผู้ดแู ลมีหน้ าที่รับผิดชอบให้ การปฐมพยาบาลเบื ้องต้ นและควรได้ รับการอบรมเรียนรู้การปฐมพยาบาลขันพื ้ ้น ฐาน ผู้ดแู ลมีหน้ าที่แจ้ งให้ นกั การภารโรงทราบเกี่ยวกับความเสียหายทีต่ ้ องซ่อมแซม (ดูสงิ่ ที่แนบมาด้ วย x)
SEITE 125
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
นักการภารโรงมีหน้ าที่รับผิดชอบสมรรถภาพการทางานทังหมดของสิ ้ ง่ ที่เกี่ยวข้ องกับความปลอดภัยและการ ตรวจสอบสมรรถภาพประจาปี ของสิง่ เหล่านัน้ (ถังดับเพลิง ไฟฉุกเฉิน ประตูฉกุ เฉิน ฯลฯ) ผู้ดแู ลต้ องจัดการให้ สงิ่ ของที่เสีย บกพร่อง ทุกอย่าง ได้ รับการทดแทนด้ วยของใหม่ในระยะเวลาสันๆ ้ หรื อนาออกไปทันที ผู้ดแู ลต้ องระวังไม่ให้ สตั ว์อยูใ่ นทีพ่ กั อาศัย เป็ นระยะๆ นักการภารโรงต้ องจัดการให้ มีการต่อต้ าน ป้องกันสัตว์ที่ก่อให้ เกิดความเสียหาย อย่างสมา่ เสมอ ผู้ดแู ลกาหนดเวลาให้ ดทู วี ี และตรวจสอบว่ามีการปฏิบตั ิตามที่ ผู้ดแู ลเป็ นผู้รับผิดชอบการจัดการในกิจวัตรประจาวันของเด็กๆ โดยเฉพาะการเฝ้ าดูการทาการบ้ านหลังเลิกเรี ยน ผู้ดแู ลต้ องทารายชื่อเด็กทังหมดที ้ ่อาศัยอยูใ่ นบ้ านทังหมดหรื ้ อในบริ เวณที่ตนมีหน้ าที่เป็ นผู้ดแู ล ผู้ดแู ล และนักการภารโรงจะได้ รับค่าจ้ างเป็ นรางวัลของผลงาน (เงินเดือนหลัก+ความสาเร็จตามหน้ าที่)
SEITE 126
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.1.3 เขตหน้ าที่ของTeam 2 Clean (ไม่ ใช่ สาหรับเด็กอนุบาล) ในทุกสัปดาห์จะประสานจานวนเด็กต่อที่พกั อาศัยกับการทาความสะอาดประจาวัน จานวนเด็กขึ ้นอยูก่ บั ขนาดของที่พกั อาศัย เด็กๆ จะได้ รับหน้ าที่ให้ ทาความสะอาดทัว่ ๆ ไป เช่นการทาความสะอาดพื ้นของโรงนอนพร้ อมกับชันวางของ ้ การทาความสะอาด และการฆ่าเชื ้อในห้ องน ้า ห้ องสุขา และกระโถนที่ใช้ ในตอนกลางคืน การทาความสะอาดพื ้นบันได และกาจัดขยะมูลฝอยออกจากทีพ่ กั อาศัย การสร้ างทีมมาจากการจับสลาก จาเป็ นอย่างยิ่งที่เด็กๆ จะไม่สร้ างทีมขึ ้นภายในกลุม่ เพื่อน เพื่อด้ านหนึง่ ต้ องการให้ มีการทางานร่วมกันที่ดกี ว่าภายในบ้ าน และอีกด้ านหนึง่ เพื่อเป็ นการหลีกเลีย่ งการวางตัวที่ไม่ดีภายในกลุม่ เพื่อนที่รวมตัวกัน หลังการทาความสะอาดหนึง่ ส่วนสีส่ ิ ้นสุดลงแล้ วจะมีการจับสลากใหม่เพื่อสร้ างทีมอีก ผู้ใดเข้ ามาอยูใ่ น Team 2 Clean ก็จะมีกิจวัตรประจาวันเปลีย่ นไป เมื่อมีการระบุเวลาการทาความสะอาด ในเวลาดังกล่าวผู้ดแู ลต้ องอยูด่ ้ วย และตรวจสอบว่ากลุม่ อยูค่ รบ หลังสิ ้นสุดการทาความสะอาดประจาวัน ผู้ดแู ลจะตีคา่ ผลของการทางาน
SEITE 127
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.2 การจัดการใหม่ กับกิจวัตรประจาวันของเด็ก ตัวอย่างของกิจวัตรประจาวันสาหรับเด็กๆ ภายในหนึง่ สัปดาห์ใน Team 2 Clean เด็กๆ มีเวลาว่าง และไม่มีหน้ าที่ทาความสะอาดทัว่ ไป: เวลา Team 2 Clean เด็กไม่มีหน้ าที่ทาความสะอาด 5.00 นาฬิกา ปลุก ปลุก 5.00-6.00 นาฬิกา
ใช้ ห้องสุขาตอนเช้ า เก็บบริ เวณที่สว่ นตัว
ใช้ ห้องสุขาตอนเช้ า เก็บบริ เวณที่สว่ นตัว
6.00-7.00 นาฬิกา
ทานอาหารเช้ า
ทานอาหารเช้ า
7.40 นาฬิกา
โรงเรี ยน/ โรงเรี ยนเริ่ ม
โรงเรี ยน/ โรงเรี ยนเริ่ ม
11.30-12.00 นาฬิกา
ทานอาหารกลางวัน
ทานอาหรกลางวัน
12.00-15.00/30 นาฬิกา
เรี ยนภาคบ่าย
เรี ยนภาคบ่าย
15.00/30-16.30 นาฬิกา
ทาการบ้ าน
ทาการบ้ าน
16.30-17.00 นาฬิกา
เวลาว่าง
เวลาว่าง
17.00-17.30 นาฬิกา
ทานอาหารเย็น
ทานอาหารเย็น
17.30-18:30 นาฬิกา
120 นาที เวรทาความสะอาด จานวนสูงสุด (รวมทังการแก้ ้ งาน)
เวลาว่าง กีฬา / ฟุตบอล
18.30-19.30 นาฬิกา
เวรทาความสะอาด
เวลาว่าง (บางที หน้ าที่ทวั่ ๆ ไปในวัด)
20.30-21.00 นาฬิกา
อาบน ้า ซักเสื ้อผ้ า (ในกรณีจาเป็ น) และแปรงฟั น
อาบน ้า ซักเสื ้อผ้ า (ในกรณีจาเป็ น) และแปรงฟั น
21.00 นาฬิกา
ทุกห้ องปิ ดไฟ
ทุกห้ องปิ ดไฟ
SEITE 128
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.3 การให้ รางวัลหรือการลงโทษเมื่อไม่ ปฏิบัตติ ามระเบียบที่ระบุไว้ ทาลายสิ่งของ หรือไม่ ปฏิบัติตามแผนผังการ ทาความสะอาด
แต่ละกลุม่ ทาความสะอาด (Team 2 Clean) ในอนาคตผลของความสะอาดของบ้ านทังหลั ้ ง และการทางานของผู้ดแู ลแต่ละคนจะได้ รับการตีคา่ ตลอดเวลา จุดสะสมทังหมดตี ้ เป็ นค่าของบ้ านทังหลั ้ ง การตีคา่ ในแต่ละเดือนที่มีอยูใ่ นมือชี ้ให้ เห็นได้ วา่ บ้ านหลังไหนประสบความสาเร็ จบรรลุเป้าหมายในการทาความสะอาดและอนามัย หรื อกลุม่ ใดมีหน้ าทีต่ ้ องแก้ ไขงานที่ทา ผลงานที่ดีในอนาคตจะได้ รับรางวัล ในระหว่างที่ผลงานที่ไม่ดีอาจ „ถูกลงโทษ“
SEITE 129
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.3.1 รางวัล ได้ มาเพราะอะไร รางวัลแต่ละชิ ้น ได้ มาเพราะนามาซึง่ ผลงานที่ดีเด่นเป็ นพิเศษ
เด็กได้ อะไรมา ไปเที่ยวสวนสนุกน ้าหนึง่ วันในกรุงเทพ
ใครให้ ผู้ดแู ล
ไปเยี่ยมการจัดงานกีฬา เช่นการเล่นฟุตบอลในสนามกีฬา ผู้ดแู ล (ฟุตบอล ต่อย เตะมวย) โรงเรี ยนสอนขับรถสาหรับจักรยานยนต์หรื อรถยนต์ รางวัลเงินสด
รางวัลให้ เป็ นกลุม่ สาหรับเป้าหมายที่บรรลุผล หรื อ ผลงานที่ดีเด่นเป็ นพิเศษ
การลงทุนในการตกแต่งบ้ านที่ดที ี่สดุ การเดินทางด้ วยรถไป BIC C ด้ วยกันโดยให้ เลือกของกินในรูปแบบของใบขึ ้นของ ไปเยี่ยมการจัดงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมนอกเขตของวัด การตบแต่งด้ วยเสื ้อผ้ า หรื อ รองเท้ าใหม่ การลงทุนในสิง่ ที่ทาในเวลาว่าง เช่น ของเล่น เครื่ องเล่น กล้ อง ฯลฯ
SEITE 130
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ผู้ดแู ล ผู้ดแู ล Abbit
Abbit Abbit
Abbit
Abbit
5.3.2 ลงโทษ ได้ มาเพราะอะไร ไม่ทาความสะอาดประจาวัน
เด็กได้ อะไรมา
ใครให้
ให้ เวรทาความสะอาดด้ านนอกเพิ่มจาก ประจาวัน
ผู้ดแู ล
ให้ หน้ าที่พิเศษในบริ เวณทาความสะอาด เช่น ในสถานที่ทวั่ ๆ ไป รถของวัด
ผู้ดแู ล
เวรทาครัว
Abbit
จากัดเวลาดูทวี ี และให้ แก้ ไขงานแทน
ผู้ดแู ล
จากัดเวลาในการทากิจกรรมในเวลาว่าง และให้ ทาความสะอาดซ ้าแทน
ผู้ดแู ล
เด็กคนใดคนหนึง่ ไม่ยอมเข้ ากลุม่ ทาความสะอาด
ตีคา่ การทาความสะอาดใต้ „ธรรมดา“
ทาความสะอาด „ไม่ด“ี
ห้ ามดูทวี ี และให้ แก้ ไขงานแทน ให้ ปิดไฟก่อนหนึง่ ชัว่ โมง (ห้ ามเข้ าบ้ าน)
SEITE 131
Abbit
ผู้ดแู ล
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.4 แผนผังการทาความสะอาด / ประจาวัน ตัวอย่างสิง่ พิมพ์การทาความสะอาดประจาวัน และการแบ่งกลุม่ Team 2 Clean พร้ อมตารางการตีคา่ :
แผนผังการทาความสะอาดจะเปิ ดเผยที่กระดานขาว หรื อวางไว้ ให้ ดู
SEITE 132
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
SEITE 133
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ทุกทีมต้ องมีหลักฐานการทาความสะอาดในแต่ละครัง้ หลังเสร็ จจากการทาความสะอาดครูจะเป็ นผู้ตีคา่ คุณภาพของงาน ยืนยันการตรวจสอบลงในบันทึก และให้ ข้อสังเกตุ หรื อทาหมายเหตุ ถ้ าทีมใดทีมหนึง่ มีอปุ สรรค์ใดๆ ไม่สามารถทาความสะอาดในวันหนึง่ ได้ ให้ ผ้ ดู แู ลทาหมายเหตุไว้ ในรายการ/ตาราง และให้ ลงชื่อรับรอง
SEITE 134
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.5 แผนผังการทาความสะอาด / สัปดาห์ / เดือน / ปี ที่พกั อาศัยทุกที่มีหนังสือการทาความสะอาดภายในหนังสือจะมีบนั ทึกการทาความสะอาดประจาวันเก็บไว้ เช่นกันจะเก็บบันทึกงานการทาความสะอาดในระยะยาวด้ วย 5.5.1 หน้ าที่ในแต่ละสัปดาห์ ทาความสะอาด และเช็ดฟูกของตัวเอง เช็ดถูบริ เวณใต้ ฟกู ปั ด เช็ดฝุ่ นและตีฝนให้ ุ่ ออกจากทีเ่ ช็ดเท้ าทังข้ ้ างในและนอก ช่วยกันกวาดบริเวณหน้ าบ้ าน เก็บขยะจากถังรวมไปทิ ้งและเปลีย่ นถุงขยะใหม่ เช็ดฝุ่ นที่ประตู และหน้ าต่างด้ วยผ้ า ซักผ้ าเช็ดมือ และแขวน ซักเสื ้อผ้ า และแขวน ผ้ าถูและผ้ าเช็ดฝุ่ นต้ องทาความสะอาด และทาให้ แห้ ง 5.5.2 แผนผังทาความสะอาดประจาเดือน ขนของออกจากตู้และลิ ้นชักของตัวเองและทาความสะอาดทังหมด ้ เช็ด ถู ตู้ของตัวเองทังข้ ้ างใน และนอก ขนของออกจากตู้รองเท้ า และทาความสะอาด ล้ างที่เหยียบเท้ า และทาให้ แห้ ง พรมและพรมหน้ าเตียงทังหมดซั ้ ก และทาให้ แห้ ง ตรวจวสอบ กาฬโรค
SEITE 135
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.5.3 ทุกๆ สองเดือน ทาความสะอาด และตรวจสมรรถภาพการทางานของ พัดลม หน้ าต่าง หลอด โคมไฟ ทาความสะอาดสวิทช์ เปิ ด ปิ ดพัดลม และสวิทช์ไฟ ตรวจสอบว่ารัว้ กันบริ ้ เวณสนามที่เล่นเสียหาย และมีรูหรื อไม่ คาดทรายเล่นทังหมด ้ (โดยเฉพาะในโรงเรี ยนอนุบาล) ปั ด เช็ดฝุ่ นมุ้งลวด และตรวจสอบความเสียหาย ตรวจสอบสมรรถภาพเครื่ องทาความสะอาด และในกรณีจาเป็ นเปลีย่ นใหม่ ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดที่มีอยู่ 5.5.4 ทุกๆ สีเ่ ดือน (ตอนเริ่ มต้ นของโรงเรี ยนในเดือนพฤษภาคม) ทาความสะอาดพื ้นโรงนอนด้ วยเครื่ องทาความสะอาดแคร์ เชอร์ (Kärcher)(hard cleaning). ทาความสะอาดพื ้นของบันไดด้ วยเครื่ องทาความสะอาดแคร์ เชอร์ (Kärcher)(hard cleaning). ทาความสะอาดพื ้นห้ องน ้า ห้ องสุขาด้ วยเครื่ องทาความสะอาดแคร์ เชอร์ (Kärcher)(hard cleaning). ทาความสะอาด อ่างล้ างมือ และห้ องสุขาด้ วยเครื่ องทาควาสะอาดแคร์ เชอร์ (Kärcher)(hard cleaning). ทาความสะอาด และฆ่าเชื ้อถังขยะ เช่นกันฆ่าเชื ้อบริ เวณรอบๆ ถังขยะ 5.5.5 หนึ่งครัง้ ต่ อปี (ตอนสิน้ สุดของปี โรงเรียน) เปลีย่ นทรายที่สนามเด็กเล่นในโรงเรี ยนอนุบาล ในกรณีจาเป็ นให้ เปลีย่ นเครื่ องมือทาความสะอาดหลังการใช้ งานหนึง่ ปี ตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดที่หมดอายุ สบู่ และอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื ้องต้ น ในกรณีจาเป็ นเปลีย่ นใหม่
SEITE 136
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.5.6 ครัว และโรงอาหาร สาหรับครัวและโรงอาหารเรายังมีร่างแนวความคิดต่อไปของตนเองที่ขอเสนอแก่ทา่ น ในเดือนเมษายน 2557 เชฟกุ๊กผู้มีชื่อเสียง Hans Peter Kaserer จากกลุม่ โรงแรม อนันตรา (Anantara Hotel Gruppe) ได้ ให้ ความดลใจ ตามคาสัง่ ของ Iceman Charity แก่บริ เวณครัว และโรงอาหาร ที่นี่เห็นได้ ชดั ว่าขาดการทาความสะอาด- และอนามัยเป็ นอย่างมาก ตามระเบียบข้ อบังคับที่มีผลบังคับของไทยสาหรับบริ เวณโรงอาหาร- และครัวใหญ่ๆ ตามโรงแรม(ระเบียบข้ อบังคับนี ้ยังไม่มีผลบังคับแก่บ้านเด็กกาพร้ า โรงเรี ยน หรื อตามสถานที่ เอกชน /สาธารณะ) โดยเฉพาะบริ เวณโรงอาหารยังขาดเครื่ องทาความสะอาด และผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด-/ น ้ายาฆ่าเชื ้อ จากวงอุตสาหกรรม โต๊ ะไม่ได้ รับการฆ่าเชื ้อ และไม่มกี ารเช็ด ถู ตามคาแนะนาการทาความสะอาด ม้ านัง่ ไม่ได้ สร้ าง ออกแบบให้ สามารถพับได้ และจะทาความสะอาดใต้ โต๊ ะเท่าที่จาเป็ นเพียงหนึง่ ครัง้ ต่อวัน เท่านัน้ ขาดเครื่ องทาความสะอาดพื ้นโดยเฉพาะเครื่ องใช้ สาหรับห้ องขนาดใหญ่มากขนาดเกือบ 2000 ตารางเมตร และดูเหมือนว่าจะไม่มีการคานึงถึงในแผนการลงทุน ในการวางแผนการลงทุนของเราๆ พร้ อมที่จะใส่เครื่ องมือทีจ่ าเป็ นต้ องใช้ ดว่ นในการวางแผนของเราด้ วยทันที สาหรับสิง่ ที่แนบมาด้ วยในภายหลังที่เป็ นส่วนหนึ่งของแผนผังการทาความสะอาดทัว่ ๆ ไปสาหรับที่พกั อาศัย เรายังจะทาคาชี ้แจงต่างๆ โดยทางานร่วมกันกับนาย Kaserer
SEITE 137
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.6 กฎทองหกข้ อ 5.6.1 กฎทองหกข้ อสาหรั บการทาความสะอาดทั่วๆ ไป Read the labels of cleaning products, follow this information (e.g. compatibility of materials), and dose products according to the manufacturers' instructions (take into account the yield of concentrated products - lower volumes are needed if concentrated products are used!) Always keep cleaning products in their original containers - to prevent mix-ups. Generally use cold water in cleaning activities; use hot water only to remove greasy dirt. Keep cleaning textiles separate for kitchen, bathroom and the various objects to be cleaned (e.g. sinks, floors, toilets, wash basins). Do not use scrub sponges to clean plastic surfaces (e.g. shower cabins) or sensitive stainless steel surfaces (e.g. refrigerator doors) Regularly remove strainers from water taps to remove limescale. Use sink strainers to prevent clogging. 5.6.2 กฎทองหกข้ อสาหรับการทาความสะอาดห้ องนา้ และห้ องสุขา Dry showers and bath tubs after use with a cloth or a squeegee. Do not throw waste, food leftovers or personal hygiene articles in toilets. Clean toilets regularly and thoroughly, e.g. also under the edges of toilet bowls. Clean toilet brushes regularly (e.g. by allowing cleaning products in siphon water to act on toilet brushes). Usually it is not necessary to disinfect bathrooms and toilets. Hang towels in airy space - to enable fast drying.
SEITE 138
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.6.3 กฎทองหกข้ อสาหรับการทาความสะอาดครัว Check the contents of refrigerators at least once per month and clean the refrigerators - also inside. Remove immediately dirt from and around cooking stoves and baking ovens. Clean exhaust hoods regularly. Regularly remove lime scale from water kettles and coffee machines. Keep worktops free and clean. Clean food cupboards at least twice per year, check them for pests, check the storage life of foods, use food containers with tight seals. Empty and clean waste bins regularly.
SEITE 139
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
5.7 เพิ่มพนักงานทาความสะอาด ขอแนะนาให้ จ้างพนักงานทาความสะอาดซึง่ เป็ นมืออาชีพเพิ่มขึ ้นเป็ นการด่วน (ดูการวางแผนธุรกิจ) พนักงานทาความสะอาดทีเ่ พิ่มขึ ้นนี ้รับผิดชอบ: ช่วยเหลือในการทาความสะอาดประจาวันในโรงเรียนอนุบาล (สาหรับโรงเรี ยนอนุบาลต้ องทาแผนผังการทาความสะอาดเอง เป็ นมาตรการปลูกฝั งให้ เด็กเล็กๆ มีกิจกรรมง่ายทา) การใช้ งานกับเครื่ องทาความสะอาดแบบมืออาชีพของแคร์ เชอร์ (แผนผังการทาความสะอาดพิเศษ เพื่อทาความสะอาดอย่างละเอียดในทุกๆ 4 เดือนในบ้ านทุกหลัง และในห้ องน ้า ห้ องสุขา) ทาความสะอาดในกรณีพิเศษที่มสี งิ่ สกปรกเกิดขึ ้นโดยไม่อาจเห็นล่วงหน้ า 5.8 อาสาสมัคร พนักงานที่ไม่ต้องจ่ายค่าจ้ างด้ านหนึง่ สามารุจดั การได้ โดยผู้อปุ ถัมภ์ อีกด้ านหนึง่ ได้ รับข้ อเสนอจากผู้ร่วมงาน บุคคลเหล่านี ้ต้ องช่วยในการทาความสะอาดอย่างละเอียดเพื่อจะได้ ประหยัดค่าจ้ างแก่พนักงาน ตกลงกันเป็ นพิเศษในวันสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมงานที่อาสาอย่างเต็มใจให้ ความช่วยเหลือในการทาความสะอาดที่พกั อาศัย มาตรการนี ้วัดต้ องเสนอและ เผยแพร่ „เป็ นมาตรการผู้บริ จาค“ นักการภารโรงสามารถรับกลุม่ นี ้เข้ าทางานได้ และให้ ชว่ ยลูกจ้ างพนักงานทาความสะอาด ซึง่ ได้ เรียนรู้การใช้ งานกับเครื่ องทาความสะอาดแบบมืออาชีพแคร์ เชอร์ แล้ ว อีกทางหนึง่ คือการรับเงินบริ จาคจากผู้อปุ ถัมภ์และจ่ายค่าแรงงานแก่พนักงานทาความสะอาดที่เพิม่ ขึ ้นมา การบริ จาคแบบนี ้ในประเทศไทยสามารถออกใบเสร็ จบริ จาคเงินให้ ได้
SEITE 140
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
6.0 การติดต่ อประสานงานในบ้ าน โครงสร้ างใหม่ของการสือ่ สารภายใต้ ระหว่างผู้ดแู ลจะเป็ นสิง่ แรก หน้ าที่ๆ ยิ่งใหญ่ เพื่อเป็ นการหลีกเลีย่ งความเสียหายขยายใหญ่ การให้ กาลังใจทีด่ ีกว่าเป็ นการทาให้ มีสว่ นเข้ าร่วมในการทาความสะอาดและยืนยันให้ เห็นได้ วา่ จะมีอตั ราเพิ่มมากขึ ้น ภายในบ้ านมีอานาจการชักชวนมากมาย ที่อยูภ่ ายใต้ การสือ่ สารที่ต้องนามาสูค่ วามสาเร็จ ดังมีกลุม่ ต่างๆ ต่อไปนี ้ที่ต้องคานึงถึง: 6.1 เด็กๆ ทุกอย่างที่ทาเกี่ยวข้ องกับเด็กๆ ถึงจานวน 2000คน ที่อาศัยอยูท่ ี่นี่ร่วมกัน จากการถามเด็กๆ แล้ วได้ ชี ้ให้ เห็นว่า ความเป็ นเพื่อนภายใต้ เด็กๆ ต้ องลึกซึง่ มาก และต้ องสนับสนุนให้ เด็กๆ มีเชื่อใจซึง่ กันและกัน จากการถามเด็กๆ แล้ วเด็กมีสทิ ธิ์ มีเสียงน้ อยมาก ซึง่ นาไปสูค่ วามขาดแคนในการเข้ าร่วมมีสว่ นในการทางานร่วมกัน เด็กๆ สามารถทาโดยการเลือกหรื อโดยการระบุให้ เป็ น „ตัวแทนในปี ของตน“ ขึ ้นมาเป็ นปากเสียงแทนได้ โดยวิธีนี ้ความประสงค์และข้ อเสนอแนะของเด็กๆ จะได้ รับการคานึงถึง และการปรับนามาใช้ การกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ เด็กๆ จะได้ มีสว่ นเข้ าร่วมด้ วยได้ ควรมีเด็กชาย 2 คน เด็กหญิง 2 คน และเด็กที่มอี ายุแก่ที่สดุ จากโรงเรี ยนอนุบาล นับรวมเป็ น „5 เสียง“
SEITE 141
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
6.2 ผู้ดูแล ภายใต้ ผ้ ดู แู ลต้ องมีการสือ่ สารมากขึ ้นและในการตัดสินใจทาสิง่ ใดๆ ผู้ดแู ลมีหน้ าที่ร่วมด้ วย ภายใต้ ผ้ ดู แู ลต้ องมีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ซงึ่ กันและกัน ขณะนี ้เห็นได้ ชดั ว่าผู้ดแู ลบางท่าน (ส่วนน้ อย) ดูแลที่พกั อาศัยด้ วยเงินที่ได้ รับด้ วยความสานึกในหน้ าที่ แต่คนอืน่ ๆ ดูเหมือนว่าทางานเท่าทีต่ ้ องทาเท่านัน้ จากการตังค ้ าถามชี ้ให้ เห็นเช่นกันว่าไม่มกี ารแลกเปลีย่ นประสบการณ์ซงึ่ กันและกันและไม่มกี ารช่วยเหลือ ฝึ กฝน ด้ วยกัน ผู้ดแู ลต้ องแสดงให้ เห็นว่าเป็ นตัวแทนทาเพื่อผลประโยชน์ของเด็กๆ ความกระตือรื อร้ นนี ้กระตุ้นให้ ผ้ อู ปุ ถัมภ์ยอมบริ จาคเพื่อพัฒนาบ้ านทังหลั ้ งได้ ตอ่ ไป 6.3 นักการภารโรง นักการภารโรงซึง่ ยังต้ องระบุ ต้ องดารงตาแหน่งทีเ่ ป็ นกลาง เป็ นผู้เดียวที่มีหน้ าที่รับผิดชอบตรวจสอบการนาระเบียบข้ อบังคับมาปรับใช้ เป็ นผู้เดียวที่ประสานงานโดยสือ่ สารโดยตรงระหว่างเด็กๆ + ผู้ดแู ล และเป็ นผู้ตดั สินใจ + ผู้อปุ ถัมภ์ + คณะกรรมาธิการแห่งโลก 6.4 คณะกรรมาธิการแห่ งโรค (ประชาชน) ตามความเข้ าใจของเรามีคณะกรรมาธิการคณะหนึง่ มาจากตัวแทนของโลก และครูจากโรงเรี ยน (จากการค้ นหาของเราไม่สามารถอธิบายองค์ประกอบนี ้ได้ ) 6.5 พระสงฆ์ บ้ านเด็กกาพร้ าอยูภ่ ายใต้ การนา และดาเนินการของวัดสระแก้ ว พระสงฆ์เป็ นผู้นาและเป็ นบุคคลผู้ตดั สิน
SEITE 142
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
6.6 ผู้อุปถัมภ์ / ผู้บริจาค ตามหลักแล้ วผู้อปุ ถัมภ์ และผู้บริ จาคไม่มีสว่ นในการดาเนินชีวติ ในแต่ละวันในบ้ านบ้ านเด็กกาพร้ า ด้ วยความสนใจได้ บริ จาคอย่างเต็มที่ และได้ มีการนาเงินนันไปปรั ้ บใช้ บ่อยครัง้ ดูเหมือนว่าเงินนันได้ ้ นาไปปรับใช้ โดยไม่มีการตรวจสอบ และไม่มีการยืนยัน (ดูอย่างเช่นการก่อกวนในปี แรกหลังจากการลงทุน) ผู้อปุ ถัมภ์ควรมีสว่ นได้ เข้ าถกเถียงเกี่ยวกับผลในระยะยาวของการลงทุนจากเงินบริจาคของตน ในสองสามคดีในอดีตได้ มีการนาเงินบริ จาคมาปรับใช้ อย่างระมัดระวังกว่านี ้ (ตามความหมายของผลระยะยาว) ถ้ าผู้อปุ ถัมภ์ได้ รับคาชี ้แจงที่ดกี ว่า 6.7 ผู้ให้ คาปรึกษา ผู้ให้ คาปรึกษา (เช่น Iceman Charity พร้ อมด้ วย HEALTH & CLEANNESS CONCEPT) ควรคานึงถึงเป็ นอย่างยิ่งช่วยได้ ตดั สินใจ และสามารถชักจูงให้ คาแนะนาในการตัดสินใจ โดยสามารถเปรี ยบเทียบชี ้ให้ เห็นได้ จากโครงการอื่นๆ เพื่อลดความผิดพลาดในการลงทุน (ตัวอย่างเช่น กลุม่ ที่นงั่ ใหม่ทาจากเหล็ก ในบริ เวณโรงครัว ออกแบบโดยไม่สามารถพับได้ และทาให้ การทาความสะอาดพื ้นยากขึ ้น ในกรณีนี ้น่าจะมีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์กบั ผู้ดาเนินกิจการของโรงครัวและขอคาแนะนาจากบุคคลผู้นี ้อาจช่วยได้
SEITE 143
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
เพือ่ ให้ การสือ่ สารภายในการอยูร่ ่วมกันเป็ นไปอย่างปรองดอง ก็ต้องให้ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ตดั สินกับผู้ได้ รับผลกระทบกระเทือนปรองดองกันด้ วย พระ ผู้อปุ ถัมภ์ และ คณะกรรมาธิการ สามารถชักชวนในการตัดสินใจเกี่ยวกับส่วนรวมได้ แตกต่างกัน การตัดสินใจนี ้มีผลสาคัญต่อความกระตือรื อร้ นของผู้ดแู ลและเด็กๆ ด้ านหนึง่ เราเสนอการมีสทิ ธิมเี สียงในการเจรจาเพื่อผลประโยชน์ของเด็กๆ แต่โดยเฉพาะการชักจูงของผู้ให้ คาแนะนา ซึง่ โดยความสามารถของผู้ให้ คาปรึกษาทาให้ น ้าหนักทังสองข้ ้ างเท่ากัน เพื่อที่วา่ เด็กๆ ผู้ดแู ล พระสงฆ์ ผู้อปุ ถัมภ์ และคณะกรรมาธิการ เป็ นทีย่ อมรับในฐานะส่วนร่วม และโดยเฉพาะตัดสินนี ้ทาให้ ผ้ ดู แู ล และเด็กๆ กระตือรื อร้ นในการปรับนามาใช้ และปฏิบตั ิตามระเบียบข้ อบังคับ
SEITE 144
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
7.0 การทาลาย (เช่ นกันขาดการทาความสะอาด) การลงทุนและติดตังเครื ้ ่ องเรื อน เครื่ องใช้ ใหม่ไม่ได้ รับการทาความสะอาด และไม่รอ ความสกปรกที่เกิดขึ ้นเร็ วทาให้ สงิ่ ของเหล่านี ้สูญเสียค่า และความพร้ อมในการทาลายสิง่ ของๆ เด็กๆ ก็น้อยลงด้ วย เครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ หลังถูกทาให้ เสียหายจะไม่มกี ารซ่อมแซม ค่าของสิง่ ของเหล่านี ้ก็จะน้ อยลง ดูเหมือนว่าเด็กๆ จะไม่เห็นค่าในสิง่ ของเหล่านี ้ 7.1.1 การทาลายในการเล่น จริ งๆ แล้ วเด็กจานวนมาก ในระหว่างเล่นสามารถทาให้ สงิ่ ของเสียหายได้ ในที่นี ้ทาได้ โดยชี ้แจงให้ เด็กๆ เห็นการใช้ สงิ่ ของอย่างถูกต้ องสม่าเสมอเพื่อเป็ นการหลีกเลีย่ งความเสียหาย
เตียงเหล็กทีง่ อ
SEITE 145
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
7.1.2 การทาลายโดยการใช้ ไม่ถกู ต้ อง เครื่ องเรื อนสองสามชิ ้นได้ รับการทดแทนอย่างไม่ถกู ต้ อง ผลตามมีเหตุเนื่องมาจากการทาลายเครื่องเรื อน สิง่ ของใหม่ๆ ภายในบ้ าน เห็นได้ ชดั ว่าผู้ดแู ลเห็นการใช้ สงิ่ ของไม่ถกู ต้ อง แต่ไม่ได้ จดั การทาอะไรเลย ไม่มีการแจ้ งความเสียหายต่อหัวหน้ า และไม่มีการซ่อมแซม ไม่มีการเสนอวิธีการแก้ ปัญหาในการใช้ สงิ่ ของไม่ถกู ต้ อง ยอมรับการทาลายสิง่ ของมีคา่ และเครื่ องเรื อนใหม่อย่างง่ายๆ ถ้ าผู้ให้ การอุปถัมภ์รับรู้ ต้ องคาดการณ์ ไว้ เลยว่าเงินบริจาคก็จะได้ น้อยลง ตัวอย่าง 1: การติดตังตู ้ ้ การติดตังตู ้ ้ ใหม่ในเดือนมีนาคม 2557 …
SEITE 146
8 เดือนให้ หลัง
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ตัวอย่าง 2 ประตูต้ ทู ี่ถกู งัดและหลุดออกมา ด้ วยเหตุวา่ ในพื ้นที่วา่ งไม่มีราวตากผ้ าให้ ผ้าเช็ดมือ หรื อ เสื ้อผ้ าทีซ่ กั แล้ วตากให้ แห้ ง ได้ ก็จะตากเลื ้อผ้ าโดยแขวนบนบานประตู และทาให้ ตอนปิ ดประตูบานพับเบี ้ยวได้ การใช้ อย่างไม่ถกู ต้ องหลายๆ ครัง้ ทาให้ ประตูหกั ออกจากบานพับได้ ถึงแม้ วา่ ครูของ Icman Charity ในระยะหลายเดือนสุดท้ ายได้ ชี ้ให้ เห็นแต่ ก็ไม่มกี ารเสนอวิธีการทาให้ เสื ้อผ้ าแห้ งได้
SEITE 147
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
ตัวอย่าง 3 การติดตังที ้ ่วางการบ้ านใหม่ ในเดือนเมษายน 2557
ภาพจากเดือนตุลาคม 2557 (6 เดือนให้ หลัง)
จนกระทัง่ ถึงเดือนเมษายน 2558 ก็ยงั ไม่มกี ารซ่อมแซมที่วางเอกสาร
SEITE 148
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
7.1.3 ความพร้ อมในการทาลาย / การก่อกวน ภายใต้ การก่อกวนเราเข้ าใจว่าคือความพร้ อมในการทาลายเครื่ องเรื อน ตัวอย่างเช่นประตูห้องสุขา ในเดือนเมษายน 2558ได้ มกี ารทาบริเวณห้ องน ้า ห้ องสุขา ของบ้ านเด็กชาย ใหม่ทงหมด ั้ และห้ องสุขาได้ มีการติดตังประตู ้ ใหม่ ในเดือนธันวาคม 2558 นี่คือประตูทงหมดหรื ั้ อ (!) ประตูถกู ทาให้ พงั และประตูสว่ นมากถูกวางอยูในอ่างล้ าง เสมือนขยะ
ความเสียหายที่ประตู และประตูที่หายไปหลัง 8 เดือน
SEITE 149
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
7.2 ขนาดการทาลายที่วดั ได้ ในสามเดือนแรกของปี 2557ได้ มกี ารทาบ้ านเด็กชาย wurden 1.2, 3.1 และ 3.2 ใหม่เป็ นจานวนเงินทังหมด ้ 6 ล้ านบาทไทย ในเงินจานวนนี ้เป็ นเงินค่าตกแต่งเครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ จานวนเงิน 2 ล้ าน 8 แสนบาทไทย 8 เดือนให้ หลังได้ เกิดความเสียหายแก่เครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ เป็ นจานวนเงิน 0,95 ล้ านบาทไทย นัน่ คือ 30 % ของทังหมด ้ ความสัมพันธ์ที่มีผลออกมาเช่นนี ้เทียบกับการลงทุนในที่พกั อาศยคล้ ายๆ กันในระดับสากลไม่ได้ เลย 7.3 มาตรการต่ อต้ านการทาลาย ผู้ดแู ลทังหมดต้ ้ องระวังการใช้ เครื่องเรื อน สิง่ ของ เมื่อเครื่ องเรื อน สิง่ ของ – เช่น เมือ่ ขาดราวตากผ้ าเช็ดมือ ต้ องคิดหาวิธีอื่นที่ถกู ต้ องมาแก้ ไขแทน ที่เครื่ องเรื อน สิง่ ของมีคา่ ต้ องมีป้ายหมายเหตุให้ ระวัง ป้ายห้ ามการใช้ สงิ่ ของอย่างไม่ระวัง สามารถทาในรูปแบบสติกเกอร์ ปิดบนสิง่ ของได้ เครื่ องเรื อนต่างๆ ต้ องรักษาให้ สะอาด เพื่อให้ เห็นค่าที่มี เมื่อนักเรี ยนคนหนึง่ คนใดเห็น ทีน่ กั เรี ยนคนอื่นทาลายสิง่ ของ ต้ องมีช่องทางแจ้ งให้ ผ้ ดู แู ลทราบข้ อมูลนี ้ได้ โดยไม่บอกนามผู้แจ้ ง
เด็กๆ ต้ องมีความรู้สกึ ว่าเครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ มคี า่ ซึง่ ความรู้สกึ นี ้ ผู้ดแู ล และ พระสงฆ์ สามารถสือ่ ให้ เด็กๆ ได้ สิง่ ของที่ถกู ทาลายต้ องได้ รับการซ่อมในเวลาที่ใกล้ ที่สดุ เพื่อรักษาค่าของสิง่ ของเอาไว้
ผู้ดแู ลต้ องเป็ นตัวอย่างทีด่ ีแก่เด็กๆ สถานที่อาศัยของผู้ดแู ลต้ องเป็ นแบบอย่างทีด่ ี และชี ้ให้ เด็กๆ เห็นเป็ นตัวอย่างได้ ตลอดเวลา บทลงโทษสาหรับเด็กๆ ที่ทาลายสิง่ ของ
SEITE 150
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
เด็กๆ ที่มคี วามต้ องการทาลายควรแยกออกจากบ้ านเด็กกาพร้ า การแยกออกจากบ้ านเด็กกาพร้ านี ้ทาได้ หลังจากได้ ตกั เตือนและมีการพูดกันหลายครัง้ แล้ ว เด็กๆ ที่ทาลายสิง่ ของ หรื อทาให้ สกปรก (ป้ายสิง่ สกปรก) ควรทาความสะอาดสิง่ นันๆ ้ เอง และในกรณีจาเป็ นช่วยในการซ่อมแซมสิง่ ของที่ทาเสียเอง
SEITE 151
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
7.4 การสื่อสารป้องกันการทาลาย และการก่ อกวน
SEITE 152
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
8. ผู้ดูแล ผู้ดแู ลเป็ นผู้ชี ้ให้ เห็นถึงคุณภาพของผลงาน และความกระตือรื อร้ นในการทางาน ในระหว่างที่ผ้ ดู แู ลผู้หนึง่ แสดงความกระตือรื อร้ น และให้ ความสาคัญกับความสะอาดและรักษาที่พกั อาศัยให้ อยูใ่ นสภาพดี ก็มีผ้ ดู แู ลที่ดแู ลเด็กๆ ได้ อย่างเพียงพอ แต่ไม่ให้ ความสนใจกับที่พกั อาศัย ที่เห็นชัดเจนคือ โรงเรียนอนุบาล และที่พกั อาศัยของเด็กชาย 1.1, 1.2 เช่นกัน 3.2 โรงเรี ยนอนุบาลชี ้ให้ เห็นว่าการทาความสะอาดปี นี ้ก็ยงั สกปรก หน้ าต่าง และพัดลม เช่นกัน ที่พื ้นไม่ได้ รับการทาความสะอาดมาหนึง่ ปี การทาความสะอาดอย่างละเอียดในปี นี ้ไม่ได้ รับความช่วยเหลือจากผู้ดแู ลหญิงเลย ไม่มีปฏิกิริยาต่อการทางานใดๆ เด็กๆ เช่นกันไม่ได้ รับการสอนให้ เรี ยนรู้เกี่ยวกับการทาความสะอาดแบบง่ายๆ เนื่องด้ วยขาดความสนใจของผู้ดแู ลพนักงานทาความสะอาดจึงเลิกทาความสะอาด และไม่ได้ ทาความสะอาดในห้ องที่สอง ในบ้ านเด็กชาย 1เห็นได้ ชดั ว่า กลุม่ ที่อาศัยอยูช่ นล่ ั ้ างค่อนข้ างรักษาความสะอาด แต่กลุม่ ที่อาศัยอยูช่ นหนึ ั ้ ง่ ไม่ได้ รับความสนใจ ที่นี่มีความเสียหายมากจากการก่อกวน และไม่รักษาเครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ การอธิบายให้ เข้ าใจที่นี่ไม่ง่าย เพราะทังสองกลุ ้ ม่ ได้ รับการดูแลจากบุคคลากรเดียวกัน บ้ านเด็กชาย 3 ดูเหมือนว่าผู้ดแู ลไม่ได้ ไปเยี่ยมเลย ที่นี่มีเด็กชายทีอ่ ายุมากกว่าอาศัยอยู่ แต่ขาดการดูแลและมีควาประพฤติแบบเด็กแตกเนื ้อหนุม่ ในห้ องไม่มีการทาควาสะอาดเลย ห้ องเป็ นเสมือนกองขยะ ในระหว่างนี ้ได้ มกี ารทาความสะอาดประจาปี ห้ องนันอย่ ้ างละเอียด เก็บของออกทังหมด ้ ทาความสะอาด และทาการตกแต่งอีก ตามหลักแล้ วเห็นว่าการดูแลเด็กหญิงดีกว่า เช่นกันที่นี่ดเู หมือนว่าผู้ดแู ลไม่ให้ ความสนใจห้ องน ้า ห้ องสุขาๆ แยกออกจากที่อยูอ่ าศัย และถูกใช้ จากผู้อาศัยหลายๆ หน่วย
SEITE 153
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
8.1 ปั ญหาที่แก้ ได้ : 8.1.1 คาจากัดความในหน้ าที่ๆ ชัดเจน
การตรวจสอบการบ้ านเด็กๆ การตรวจสอบ และระเบียบข้ อบังคับของกิจกรรมในเวลาว่าง การตรวจสอบ และระวังกาหนดเวลาดูทวี ี การตรวจสอบการทาความสะอาดในตอนเช้ า การจัดระเบียบเวลาทาความสะอาดในแต่ละวัน การตรวจสอบและทาบันทึกการทาความสะอาด แจ้ งความเสียหาย
8.1.2 บริเวณที่รับผิดชอบ ดูแลเด็กๆ (ส่วนนี ้เราจะไม่เกี่ยวข้ อง) ความสะอาดของบริ เวณที่พกั อาศัย ความสะอาดในบริ เวณที่เปิ ดเผยในบ้ าน ความสะอาดของห้ องน ้า ห้ องสุขา และบ้ านที่พกั อาศัยรวมทังส้ ้ วมที่ใช้ ในตอนกลางคืน หรื อบริ เวณซัก ล้ าง ด้ านนอก การปฏิบตั ิตามระเบียบข้ อบังคับการทาความสะอาด- และอนามัย การแก้ ไขความเสียหาย และลดความเสียหายแก่สงิ่ ของที่อยูใ่ นบ้ าน การรักษาบ้ านให้ อยูใ่ นสภาพดี
SEITE 154
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
8.2 การลงโทษ ต้ องตรวจสอบและตีคา่ ผลงานของผู้ดแู ลแต่ละคน นักการภารโรงเป็ นผู้ทา หน้ าที่ของนักการภารโรงเป็ นกลาง – คล้ ายภารโรง – ยืนยันได้ วา่ ไม่ใช้ ความรู้สกึ ในการตัดสิน ตัดสินอย่างถูกต้ องและตีคา่ จากความเสียหายที่เกิดขึ ้น การตีคา่ ควรปรึกษากันกับผู้ดแู ลอื่นเมื่อมีการประชุมในหนึง่ เดือน การสือ่ สารโดยตรงระหว่างนักการภารโรงกับผู้ดแู ลสามารถทาให้ ผลงานของผู้ดแู ลแต่ละคนดีขึ ้น ถ้ าผลงานไม่ดีขึ ้นก็ต้องมีการติเตียน ขันสุ ้ ดท้ ายคือการเลิกจ้ าง และเปลีย่ นผู้ดแู ล การประพฤติตวั ไม่ปกติของเด็ก (โดยเฉพาะในเรื่ องความสะอาด และการทาให้ วสั ดุเสียหาย) มีผลย้ อนจากการดูแลเด็กไม่ดีของผู้ดแู ล เมื่อในอนาคตไม่สามารถนาเด็กได้ ดกี ว่านี ้ ก็ไม่มีความคาดหวังว่าจะมีการเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ี 8.2.1 ความกระตือรือร้ นของผู้ดูแล สนับสนุนให้ มีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างผู้ดแู ล เราเห็นว่าเป็ นก้ าวแรกที่จาเป็ น ที่ผ้ ดู แู ลจะประชุมกันหนึง่ ครัง้ ต่อสัปดาห์เพื่อถกเถียงกันเรื่ องปั ญหา และสุดท้ ายปรึกษากับเด็ก ๆ ในการแก้ ปัญหา หนึง่ ครัง้ ต่อเดือนผู้ดแู ลทังหมดต้ ้ องเดินตรวจดูสภาพที่พกั อาศัยทังหมด ้ ดังนันผู ้ ้ ดแู ลสามารถมองเห็นความแตกต่างในที่พกั อาศัยได้ เอง และให้ รับคาแนะนาข้ อเสนอแนะ ภายใต้ ผ้ ดู แู ลด้ วยกันเอง วันหนึง่ ในสามเดือนบุคคลากรผู้ดแู ลต้ องได้ รับการอบรม สาหรับการอบรมควรมีผ้ เู ชี่ยวชาญจากองค์การของผู้ดแู ล จากโรงแรม โรงครัวใหญ่ๆ โรงเรี ยน ฯลฯ มาให้ การอบรม สองครัง้ ต่อปี ผู้ดแู ลควรไปดูบ้านเด็กอื่นๆ เพื่อนาเอาความคิดใหม่ๆ มาปรับปรุง และเห็นข้ อแตกต่างในการทางานของตน โดยการตีคา่ ของผู้ดแู ลต้ องมีผลชักจูงให้ ได้ รับการลงทุนในที่พกั อาศัย เราเสนอให้ มีการแข่งขันหัวข้ อ " ชีวิตที่สวยงาม " ภายใต้ ระหว่างที่พกั อาศัยในแต่ละกลุม่ ซึง่ จัดให้ มีโดยบุคคลากรผู้ดแู ล ในการแข่งขันนี ้ต้ องทากับบริ เวณภายนอกด้ วย เมื่อปี โรงเรี ยนสิ ้นสุดจะมีรางวัลให้ สาหรับบริ เวณที่พกั อาศัยที่สวยงาม และบริ เวณภายนอกที่ตกแต่งสวยงาม เด็กๆควรมีสว่ นร่วมในการตกแต่งด้ วย
SEITE 155
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
9. การนาตารางเวลามาปรับใช้ 9.1 ช่วงที่ 1 (ปรับใช้ ทนั ที, ในกรณีจาเป็ นพร้ อมงบเงิน) การจัดแบ่ง (หรื อตรวจสอบ) ผู้ดแู ลใหม่เข้ าในกลุม่ ที่พกั อาศัย การเริ่ มตามแผนผังการทาความสะอาด การเริ่ มตามแผนผังการตรวจสอบ การจัดหาสติกเกอร์ เพื่อการสือ่ สารที่ชดั แจ้ ง ในบริ เวณที่อยูอ่ าศัยแต่ละทีใ่ ห้ จดั หากระดานข้ อมูล การประชุมอย่างสม่าเสมอระหว่างผู้ดแู ล ตรวจสอบและตีคา่ ความสาเร็ จ ติเตียนและชมเชยของเด็กๆ การทาความสะอาดอย่างละเอียดโดยบุคคลากรภายนอก (รอบแรก / 2 เดือน) จัดหาเครื่ องทาความสะอาดอย่างละเอียด การจัดหาผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดอย่างมืออาชีพ การจัดตังถั ้ งขยะ นามาปรับใช้ ในระหว่างเดือน มิถนุ ายน ถึง เดือน กันยายน 2558
9.2 ช่วงที่ 2 ขยายการปรับนามาใช้ (งบเงินจาเป็ นสาหรับส่วนนี ้) ผู้ดแู ลได้ รับการอบรมอย่างสมา่ เสมอ เด็กๆ ได้ รับการอบรมอย่างสมา่ เสมอ การจัดหาเครื่ องทาความสะอาดเครื่ องต่อๆ ไป เพื่อใช้ ในแต่ละพื ้นที่ การแนะนานักการภารโรง (ตาแหน่งใหม่ ผู้ร่วมงานที่ได้ รับค่าจ้ าง) เริ่ มนาร่างแนวความคิดใหม่มาปรับใช้ แก้ ไขความบกพร่องทางเทคนิค และเครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ ทงหมด ั้ กาจัดการก่อกวน และรอยขูด ขีดเขียน ออก เครื่ องเรื อน เครื่ องใช้ / สร้ างสถานที่เก็บของสาหรับผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด และเครื่ องทาความสะอาด นามาปรับใช้ ในระหว่างเดือน กันยายน ถึง เดือน มกราคม 2559
SEITE 156
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
9.3 ช่ วงที่ 3 การลงทุน (งบเงินจาเป็ นสาหรับส่ วนนี)้ การจัดหาเครื่ องทาความสะอาดสาหรับโรงอาหาร และครัว การจัดหาเครื่ องทาความสะอาดสาหรับบริ เวณที่อยูอ่ าศัย แรงงานทาความสะอาดจากภายนอกสาหรับการทาความสะอาดอย่างละเอียด (พนักงานที่ได้ รับค่าจ้ าง) การปรับปรุง ตกแต่งตัวบ้ าน การจัดหาเตียง และตู้ตอ่ ๆ ไป การปรับนามาใช้ ในระหว่างเวลาจากเดือนกุมภาพันธ์ 2559 หลังจากได้ รับเงินอุปถัมภ์แล้ วต้ องจัดการหาสิง่ ดังต่อไปนี ้ตามที่ได้ ทารายการให้ ก่อน หลัง 9.4 การทางานร่ วมกันกับผู้อุปถัมภ์ ถ้ าไม่มีผ้ อู ปุ ถัมภ์ก็ไม่สามารถนาโครงการช่วงที่ 2 และ 3 มาปรับใช้ ได้ ด้ วยเหตุนี ้จึงต้ องหาผู้อปุ ถัมภ์สาหรับร่างแนวความคิดการทาความสะอาดให้ ได้ อย่างจริงจัง ผู้อปุ ถัมภ์สามารถบริ จาคเงิน หรื อ สิง่ ของที่จาเป็ นต้ องใช้ งาน รวมทังให้ ้ คาแนะนา จะมีการเผยแพร่แต่ละมาตรการในทางเครื อข่ายสังคมออนไลน์ และโดยการวางใบปลิวในบริ เวณผู้เข้ าเยี่ยมของวัด การนาโครงสร้ างช่วงต่างๆ มาปรับใช้ ทงหมดด้ ั้ วยเงินอุปถัมภ์นี ้ Iceman Charity สามารถเป็ นองค์กรจัดการให้ ได้ เครื่ องทาความสะอาดแคร์ เชอร์ สามารถจัดซื ้อได้ ด้วยเงินอุปถัมภ์ หรื อ ผู้อปุ ถัมภ์เป็ นผู้จดั หาเครื่ องทาความสะอาดดังกล่าวเอง สามารถทาให้ ผ้ ผู ลิตวัสดุทาความสะอาด จัดหาวัสดุทาความสะอาดได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จ่ายใดๆ บริ ษัทไทยสามารถจ้ างพนักงานทาความสะอาด และให้ ทางานในบ้ านเด็กกาพร้ า(บริ ษัทรับผิดชอบค่าจ้ างพนักงาน) การทาความสะอาดอย่างละเอียดสามารถทาได้ โดยอาสาสมัคร วันทาความสะอาดสามารถสมัครได้ และอาจทางานร่วมกันกับลูกจ้ างในวันธรรมดาได้ ผู้อปุ ถัมภ์สามารถรับผิดชอบการทาความสะอาดต่อการอาศัยหนึง่ หน่วยและรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายเป็ นรายปี โดยหลักทัว่ ไปแล้ วองค์การจะมีงบเงินอย่างเป็ นทางการให้ เพื่อเป็ นการยืนยันว่าได้ มีผลงานการทาความสะอาด SEITE 157
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
9.5 ป้ายหมายเหตุ เพื่อการสือ่ สารที่ดตี ้ องมีการตังกระดานชี ้ ้แนะและป้ายหมายเหตุ 9.5.1 กระดานข่ าว (แผ่ นไม้ สีดา) ในบ้ านทุกหลังจะมีกระดานดาซึง่ บนกระดานจะมีข้อมูลให้ เห็น: ข้ อมูลการทาความสะอาดทัว่ ๆ ไป คานา Team2Clean หลักฐานการตรวจสอบ การตีคา่ ของกลุม่ เบอร์ โทรศัพท์สาคัญๆ ข้ อมูลทัว่ ๆ ไป 9.5.2 ป้ายหมายเหตุ ในจุดที่สาคัญทุกจุดจะมีการจัดหาป้ายหมายเหตุ หรื อ สติกเกอร์ หมายเหตุ สติกเกอร์ ควรดึงดูดความสนใจได้ สงู และให้ โอกาสผู้ดแู ลได้ ชี ้ให้ เด็กๆ ได้ เห็นความประพฤติไม่ดีของตน สติกเกอร์ จะติดอยูใ่ นบริ เวณทังภายนอ ้ าและภายใน ตัวอย่าง:
(ดูป้ายหมายเหตุทงหมดในสิ ั้ ง่ ทีแ่ นบมาด้ วย)
SEITE 158
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
10. สิ่งที่แนบมา ต่อไปนี ้ท่านจะเห็นสิง่ ทีแ่ นบมาด้ วยเพื่อการอธิบายร่างแนวความคิดที่ดีกว่า รวมทังแผนผั ้ งธุรกิจ- และการลงทุน สิง่ ที่แนบมา1.1. สิง่ ที่แนบมา1.2. สิง่ ที่แนบมา1.3. สิง่ ที่แนบมา1.4. สิง่ ที่แนบมา1.5. สิง่ ที่แนบมา1.6. สิง่ ที่แนบมา1.7. สิง่ ที่แนบมา1.8. สิง่ ที่แนบมา1.9. สิง่ ที่แนบมา1.10. สิง่ ที่แนบมา1.11. สิง่ ที่แนบมา1.12.
SEITE 159
แผนผังโรงเรี ยนอนุบาล แผนผังเขตเด็กชาย แผนผังเขตเด็กหญิง แผนผังโรงอาหาร ชันล่ ้ าง แผนผังโรงอาหาร ชัน้ 1 แผรผังครัว ตัวอย่างแผนผังการทางาน- และการทาความสะอาด Team 2 Clean ตัวอย่างบันทึกของการตรวจสอบ ตรวจรายการโรงเรี ยนอนุบาล และเขตเด็กชาย ตรวจรายการเขตเด็กหญิง สติกเกอร์ และป้ายหมายเหตุ บัญชีทรัพย์สนิ
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
Kindergarten
Anlage 1.1
K Toilet Total: 17.25 sqm
6m
6,90m
K Washing Total: 41.4 sqm
6,90m
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
K 2 Total: 120.6 sqm 6m
6m
K 1 Total: 62.4 sqm
6m
20,10m
10,40m
Boys Area
Anlage 1.2 69,60m
32.86m
Boys House 2 Total: 1252,8 sqm B 2.1: 626,4 sqm B 2.2: 626,4 sqm
9m
Total: 325.97 sqm
9.92m
B Washing and Toilet
6,20m
8,60 m
Boys House 1 Total: 605,44 sqm B 1.2: 605,44 sqm 8,70m 70,40m HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
31.75m
Total: 253.68 sqm
B Washing and Toilet
Boys House 4 Total: 199,6 sqm B 4.2: 199,6 sqm
32,20m
Boys House 3 Total: 1218 sqm B 3.1: 609 sqm B 3.2: 609 sqm
70m
7.99m
Boys House 5
Anlage 1.2.1
Boys House 5 Total: 504 sqm B 5.1: 252 sqm B 5.2: 252 sqm B Washing and Toilet Total: 140 sqm
10 m
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
14m
9m
28m
5.28m
G Toilet: 32.7sqm
G Toilet: 32.7sqm
3 Total: 931.5 sqm G 3.1:931.5 sqm
9.90m
39,60m
11.50m
Girls House 1 Total: 2173.5 sqm G 1.1:724.5 sqm G 1.2:724.5 sqm G 1.3:724.5 sqm
3.90m
12.30m
G Washing and Toilet Total: 162.30 sqm
31.05m
63m
13.20m
G Washing Total: 245.7 sqm
63m HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
6.20m
30m
Girls House 2 Total: 498.96 sqm G 2: 498.96 sqm
G Washing Total: 28.4 sqm
Total: 325.97 Girls House sqm
10.51m
Total: 129.70 sqm
12,60m
13.10m
8.90m G Washing and Toilet
4m
6.20m
Anlage 1.3 5.28m
7.10m
Girls Area
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
Grundriss Kantine 1.Stock
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
Anlage 1.5
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
Beispiel Arbeits- und Reinigungsplan Team 2 Clean
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT
of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
Anlage 1.7
Anlage 1.8
Boys House 4.2
Date
Name/Team
March 2015
Morning
Evening
Supervisor
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
HEALTH & CLEANNESS CONCEPT of the ICEMAN CARITY (Autor JOHANNES STRASSER)
Remark
1. Grundreinigung und "hard cleaning" in den Schlafsälen sowie Treppenhäusern und Sanitärbereichen.
2. Schränke und Spinde müssen von innen und außen komplett gereinigt werden. 3. Reparatur aller elektronischen Geräte. 4. Reparatur aller beschädigten Gegenstände. 5. Schließen der Löcher in der Decke. 6. Reinigung der Abflüße in jedem Waschbereich. 7. Reinigung des Schlafmaterials (Decken, Kissen, Matratzen). 6 Month 1. Reinigung des Außenbereichs. 2. Reparatur aller schäden im Außenbereich. 3. Schließung aller Löcher im Außenbereich. 4. Reparatur und Instantsetzung aller Sonnendächer über den Waschbereichen. 5. Kompletter Wechsel des Sandes im Spielplatz des Kindergartens. 9 Month 1. Reparatur und Instantsetzung aller Türen. 2. Reparatur und Instantsetzung aller Toiletten. 3. Reparatur und Instantsetzung aller Ventilatoren. 1 Year 1. Reparatur und Instanntsetzung aller Fenster und Fliegengitter. 2. Reparatur aller Lampen (sowohl innen als auch außen).
HEALTH CLEANNESS CONCEPT
of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
B5.2
B5.1
B4.2
B3.2
B3.1
B2.2
B2.1
Kindergarten/ Boy Area 3 Month
B1.2
Anlage 1.9
Kindergart en
Checkliste Kindergarten und Boys Area
1. Grundreinigung und "hard cleaning" in den Schlafsälen sowie Treppenhäusern und Sanitärbereichen.
2. Schränke und Spinde müssen von innen und außen komplett gereinigt werden. 3. Reparatur aller elektronischen Geräte. 4. Reparatur aller beschädigten Gegenstände. 5. Schließen der Löcher in der Decke. 6. Reinigung der Abflüße in jedem Waschbereich. 7. Reinigung des Schlafmaterials (Decken, Kissen, Matratzen). 6 Month 1. Reinigung des Außenbereichs. 2. Reparatur aller schäden im Außenbereich. 3. Schließung aller Löcher im Außenbereich. 4. Reparatur und Instantsetzung aller Sonnendächer über den Waschbereichen. 5. Kompletter Wechsel des Sandes im Spielplatz des Kindergartens. 9 Month 1. Reparatur und Instantsetzung aller Türen. 2. Reparatur und Instantsetzung aller Toiletten. 3. Reparatur und Instantsetzung aller Ventilatoren. 1 Year 1. Reparatur und Instanntsetzung aller Fenster und Fliegengitter. 2. Reparatur aller Lampen (sowohl innen als auch außen).
HEALTH CLEANNESS CONCERT of the ICEMAN CARITY (Author JOHANNES STRASSER)
G3
G2
G1.3
Girls Area 3 Month
G1.2
Anlge 1.10
G1.1
Checkliste Girls Area
32 cm
18.65 cm
16 cm
8 cm
9.325 cm
4.6 cm
_ Ii
t , -
Hil I
I
ILL IJ
I
I
.
kLL
(
\
I
-
t .
oo z
liii
00 t
Doe
I
coo
coo
coo
ITI iililIT ii
a7
.ci
,
____
C, •
cc
A
-
C-
T]IT -
-______________
•
-
_
•
__ fbom
0
- T '
S
•
S
•
S
0
• W9L LYLLIAUt?1JVt
_____ LJLJLJLJ
.
S
S
S
—
ii It II
S
LJrn —
t - __i•_
S
S
S
0
S
•
.
) y.pvw
,
J iDtu
•
•
(T
:.
.:
ogi. I 1
v
LnKnUg 09 4
.
1
T
~
YT TT
,
T T
oy0,
—p C-
j
00*'
—in
009
00Z
j
OOP
OOZ
009
00*'
J.iu.Lll jL
UQ9
00-
ii
-
Ui
\
-
3M
•
IOM
3M
0-
-
3M
I
t4Irql
-
I tW O6
wrtit
0yrwn* Ufl9t
0ytv=jl unw V
0flW
099
tW.USUfl.$
ii:iii, mAjo
0-
1om 10
3M
0FU4
0-
W
II
UG1t
0-
N
ci
Hr
LttkttLL4 4 4
g:
~~
Ueld