Fit 4 FUTURE Building Concept for Wat
Sakaeo School and Orphanage
on behalf of The ICEMAN CHARITY Volker Capito / Dominique Jonathan Desnoes / Chartchai Thammikakun June 2017
"Mit freundlicher Unterstützung von Gern Reisen München"
บทนำ Iceman Charity ไม่ได้เป็ นองค์กรจดทะเบียน แต่เป็ นโครงการส่ วนบุคคลของบริ ษทั Volker Capito Iceman Charity อุทิศตัวโดยเฉพาะให้กบั การปรับปรุ งมาตรฐานการดารงชี วิตเชิงคุณภาพของเด็กกาพร้าของวัดสระแก้วในจังหวัดอ่างทอง ประเทศไทย นอกเหนือจากการสนับสนุนทางการเงินและการดาเนินงานของ Volker Capito แล้ว ยังมีความช่วยเหลือทางการเงินเพิ่มเติมที่ได้มาจากเพื่อนๆ หุ ้นส่ วนทางธุรกิจ และมูลนิธิต่างๆ เฉพาะในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมามีเงินลงทุนมากกว่าหนึ่งล้านยูโรถูกทุ่มลงไปให้กบั กิจกรรมการปรับโฉมและการปรับปรุ งมาตรฐานการดารงชีวิตของเด็ก ๆ เป้าหมายของโครงการ Iceman Charity ภายในสิ้นปี 2025 คือการปรับเปลี่ยนมาตรฐานอาคารสิ่ งปลูกสร้างทั้งหมดไปสู่ขอ้ กาหนดขั้นต่าของมาตรฐานสหภาพยุโรป เพื่อที่จะสามารถได้ตามข้อกาหนดที้เพิ่มมากขึ้นของรัฐบาลไทย และจัดการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในแง่ของข้อกาหนดด้านสุ ขภาพในอนาคต สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าให้ความช่วยเหลือเด็กกาพร้าโดยได้รับเงินทุนส่ วนใหญ่มาจากการบริ จาค กิจกรรมการก่อสร้ างต่างๆ จึงถูกวางแผนและดาเนิ นการโดยขึ้นอยูก่ บั เงินบริ จาคที่ได้รับ ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงไม่ใช่เรื่ องที่ผิดปกติที่กิจกรรมการวางแผนต่างๆ จะได้รับการดาเนิ นการในระยะสั้นหลังจากได้รับเงินบริ จาค และคุณภาพของวัสดุก่อสร้างรวมไปถึงบริ ษทั ที่เข้ามารับงานก่อสร้างจึงเหมาะสมตามงบประมาณที่มีอยูเ่ ท่านั้น เนื่ องจากสภาพแวดล้อมดังกล่าวข้างต้น โครงการโดยรวมมักจะยืดระยะเวลาออกไปยาวนาน การขาดการวางแผนงบประมาณยังหมายความว่าโครงการต่างๆ ไม่ได้มีการวางแผนและดาเนินงานได้อย่างยัง่ ยืน ทั้งมีสาเหตุอย่างชัดเจนมาจากความเสี ยหายของโครงสร้างต่างๆ ทีเกิดขึ้นในระยะสั้น (ภายใน 12-24 เดือน) เช่น หลังคารั่ว โรงสุขาภิบาลพังเสี ยหาย ระบบจ่ายน้ าสะอาดเสี ย และระบบไฟฟ้ามีปัญหา
5
เพื่อที่จะให้มน่ั ใจในความยังยืนในระดับสูงและเพื่อยกระดับเงินทุนจากผูส้ นับสนุนให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เราขอแนะนาอย่างแข็งขันว่าการลงทุนทั้งหมดจะต้องได้รับการตรวจสอบในด้านความยัง่ ยืนและตรวจสอบว่ามีการร่ างแผนการก่อสร้ างและแผนทางการเงินขึ้นมา โดยเฉพาะสาหรับผูส้ นับสนุนจากต่างประเทศ มีความสาคัญอย่างพิเศษเฉพาะที่การลงทุนจะต้องสามารถรับรู ้ได้แม้กระทัง่ หลังจากผ่านไปหลายปี และได้สอดคล้องตามแนวคิดความยัง่ ยืนของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยความร่ วมมือของ Erich Erber เจ้าของกิจการและผูม้ ีวิสยั ทัศน์ชาวเยอรมัน และการสนับสนุนทัว่ ไปของมูลนิธิ HansGröber ในประเทศลิกเตนสไตน์ อาคารตัวอย่างถูกสร้างขึ้นมา (จากนี้ไปเรี ยกว่า อาคารบ้านสเด็จ) ซึ่งได้ตามข้อกาหนดด้านความยัง่ ยืนและการประหยัดพลังงานของมาตรฐานระหว่างประเทศในปั จจุบนั หลักการดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์ที่จะรักษาสิ่ งปลูกสร้างของวัดสระแก้วเป็ นโมเดลต้นแบบสาหรับการตัดสิ นใจในอนาคตเกี่ยวกับการ ลงทุนและการซ่อมแซม โดยการนาข้อกาหนดของเรามาพิจารณา โครงการ Iceman Charity จะให้การสนับสนุนกิจกรรมการก่อสร้ างและการลงทุนอื่นๆ ในด้านของ "การปรับปรุ งมาตรฐานการดารงชีวิตของเด็ก" อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการเป็ นผูส้ นับสนุนทางการเงินของเรา การพัฒนาหลักการนี้ ข้ ึนมายังอิงตามประสบการณ์ที่ได้มาในระหว่างการปรับปรุ งอาคารบ้านสเด็จด้วย (มีการเปิ ดใช้ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2017) นอกจากนี้ โครงการ Iceman Charity ยังจะกาหนดแนวทางการวางแผนงบประมาณสาหรับการปรับปรุ งและการบารุ งรักษาสถานที่พกั อาศัยของอาหารสิ่ งปลูกสร้างทั้งหม ดด้วย
6
บ้ ำนบำงสเด็จ บ้านบางสเด็จเป็ นสถานที่พกั สาหรับเด็กวัยรุ่ นกว่า 60 คนที่มีอายุต้งั แต่ 13 ถึง 17 ปี สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าวัดสระแก้วทาหน้าที่ในการดูแลเด็กเล็กถึงแม้วา่ เด็กๆ จะต้องไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมัธยมศึกษาบ้านสเด็จที่อยูต่ ิดกัน และไม่ได้เรี ยนในวัดสระแก้วก็ตาม การกาหนดให้เด็กวัยรุ่ นเหล่านี้ไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมัธยมศึกษาบ้านสเด็จมีจุดเริ่ มต้นมาตั้งแต่ช่วงปี แรกๆ ของสถานเลี้ ยงเด็กกาพร้านี้ สถานที่พกั นี้ได้รับการสร้างขึ้นเพื่อบริ จาคให้โดยกองทัพบกของประเทศไทย โดยเป็ นไปตามมาตรฐานทางทหารในขณะนั้น โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสถานที่พกั เพื่อสุขอนามัย ไม่มีงลบประมาณที่กาหนดให้มาสาหรับการสร้างที่พกั อาศัยอย่างเหมาะสม (เตียงนอน และตูเ้ สื้ อผ้า) เด็กๆ จะต้องนอนบนพื้นอาคาร ห้องน้ าไม่ได้ถูกออกแบบมาเพือ่ ให้ได้ตามข้อกาหนดและจานวนของเด็ก และทาให้ไม่สามารถใช้งานได้ในเวลาหลังจากนั้นอีกไม่นาน ไม่มีห้องน้ าสาหรับขับถ่ายในตัวอาคาร ในปี 2016 อาคารจาเป็ นต้องมีการปรับปรุ ง ซึ่ งเสี ยหายอย่างหนักโดยจาเป็ นต้องก่อสร้างผนังฐานรากใหม่ กิจกรรมการปรับปรุ งอาคารเริ่ มต้นขึ้นในเดือนตุลาคม 2016 ภายใต้การควบคุมดูแลของโครงการ Iceman Charit และด้วยการสนับสนุนของ Erich Erber ผูส้ นับสนุนจากมูลนิธิ Hans Gröber สโมสรโรตารี แห่ งสิ งคโปร์ และ MA Experience อาคารที่พกั อาศัยแบบประหยัดพลังงานสมัยใหม่พร้อมระบบอานวยความสะดวกที่ยงั่ ยืน่ ถูกสร้างขึ้น อาคารที่พกั อาศัยมีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะเป็ นตัวเปรี ยบเทียบสาหรับการลงทุนใหม่ของสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าวัดสระแก้ว และเป็ นอาคารโมเดลต้นแบบสาหรับอาคารที่พกั อาศัยของเด็กกาพร้าในประเทศไทย อาคารบ้านสเด็จเปิ ดรับสาหรับหน่วยงานของรัฐ และองค์กรอื่นๆ ตามที่ได้รับแต่งตั้ง
7
สำรบัญ 1. รำยละเอียดของวัดสระแก้ ว
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
10
สถานเลี้ยงเด็กกาพร้า /ระบบอานวยความสะดวกวัดสระแก้ว โรงเรี ยนอนุบาล พื้นที่สาหรับเด็กชาย บ้านบางสเด็จ พื้นที่สาหรับเด็กหญิง โรงครัว โรงอาหาร
11 11 12 12 13 14 14
2. แผนกย่อยสำหรับเด็กเล็ก 2.1 โรงเรี ยนอนุบาล 2.2 พื้นที่สาหรับเด็กชาย 2.3 พื้นที่สาหรับเด็กหญิง 2.4 โรงอาหาร
15 17 18 20 21
3. สถำนะปัจจุบันของสถำนเลีย้ งเด็กกำพร้ ำวัดสระแก้ ว 3.1 อาคารสาหรับเด็กชาย 3.1.1 อาคารสาหรับเด็กชาย 1 3.1.2 อาคารสาหรับเด็กชาย 2 3.1.3 อาคารสาหรับเด็กชาย 3 3.1.4 อาคารสาหรับเด็กชาย 4 3.1.5 อาคารสาหรับเด็กชาย 5 3.2 โรงเรี ยนอนุบาล 3.3 อาคารสาหรับเด็กหญิง 3.3.1 อาคารสาหรับเด็กหญิง 1 3.3.2 อาคารสาหรับเด็กหญิง 2 3.3.3 อาคารสาหรับเด็กหญิง 3 (บ้านอลิซ) 3.3.4 อาคารสาหรับเด็กหญิง 4 (โรงอาหาร) 3.4 โรงอาหาร 3.5 โรงครัว
22 22 22 32 38 50 57 66 73 73 82 91 96 103 111
4. ข้ อเสนอแนะสำหรับวัสดุก่อสร้ ำง 4.1 หลังคา 4.2 เพดาน 4.2.1 เพดานสไตโรโฟม 4.3 สี ทาผนัง 4.3.1 พื้นที่นอกอาคาร 4.3.2 พื้นที่ในอาคาร 4.4 ห้องนัง่ เล่น / พื้นทางเดิน
114 115 123 123 125 125 127 139
8
4.4.1 4.5 4.5.1 4.5.2 4.5.3 4.6 4.6.1 4.6.2 4.6.3 4.6.4 4.6.5 4.6.6 4.7 4.7.1 4.7.2 4.8 4.8.1 4.8.2 4.8.3
บันได ระบบไฟฟ้า ไฟ LED อุปกรณ์ตดั ไฟอัตโนมัติ ตัวตั้งเวลานาฬิกา อาคารโรงสุขาภิบาล การลดการใช้พลังงาน การทาลายทรัพย์สิน สุขอนามัย ความปลอดภัย พื้นของพื้นที่นอกอาคาร ผนัง (พื้นที่เปี ยก) น้ าสะอาดและน้ าเสี ย น้ าสะอาด น้ าเสี ย ความปลอดภัยทัว่ ไป เครื่ องดักจับควัน ระบบป้องกันเพลิงไหม้ ระบบกล้องวิดีโอเฝ้าระวัง
147 150 150 158 163 164 165 166 166 167 184 184 186 186 194 198 198 200 204
9
วัดสระแก้ว ประเทศไทย 1. รำยละเอียดของวัดสระแก้ ว
วัดสระแก้วก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2485 โดยหลวงพ่อฉบับเพื่อเป็ นสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าและสถานที่พกั อาศัยสาหรับเด็กกาพร้า 10 คนในขณะนั้น ปัจจุบนั เป็ นสถานที่พกั อาศัยสาหรับเด็กมากกว่า 2,400 คน วัดสระแก้วตั้งอยูใ่ นจังหวัดเขตภาคกลางของประเทศไทย และห่ างจากเมืองหลวงกรุ งเทพมหานครประมาณ 80 กิโลเมตร สาหรับผูศ้ รัทธาในศาสนา วัดเป็ นศูนย์รวมพุทธศาสนาภายใต้การนาของ ผศ. ดร.พระมหาไพเราะ ฐิตสี โล (วุฒิการศึกษา B.A. (บริ หารธุรกิจบัณฑิต), M.A. (บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต), Ph.D (ปริ ญญาเอก)) สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าในปัจจุบนั เป็ นสถานที่พกั อาศัยของเด็กๆ รวม 2446 คน โดยอยูภ่ ายใต้การควบคุมดูแลของวัด กลุ่มอายุของเด็กๆ มีต้งั แต่ 3 ปี ไปจนถึง 19 ปี แต่ไม่ใช่แค่เพียงเด็กกาพร้าที่มาจากผูอ้ พยพเท่านั้น แต่ยงั มีเด็กๆ จากครอบครัวยากจนในสังคม หรื อเด็กๆ ด้อยโอกาสอีกด้วย ชุมชนเพื่อสังคมแห่งนี้ เป็ นบ้านของเด็กๆ ที่มาจากทัว่ ประเทศไทย โดยส่ วนใหญ่ของเด็กจะมาจากภาคเหนื อของประเทศไทย ซึ่งเป็ นภาคที่ยากจนในสังคมภาคหนึ่ง นอกเหนือจากโอกาสในการดารงชีวิตที่น้ ี แล้ว เด็กๆ ในวัดสระแก้วยังได้รับโอกาสเข้าเรี ยนในโรงเรี ยนอนุบาลของรัฐ และโรงเรี ยนของรัฐเพื่อเข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐานอีกด้วย ในโรงเรี ยนของรัฐ เด็กๆ ได้รับการสอนทุกรายวิชาภาคบังคับโดยครู ประจาโรงเรี ยนตลอดระยะเวลาของการศึกษาภาคบังคับ ในเวลาว่างของเด็กๆ พวกเขาได้รับโอกาสในการปรับปรุ งความรู้ในสถานศึกษาของพวกเขาไปพร้อมกับกิจกรรมการเล่นกีฬา ในช่วงสุ ดสัปดาห์ พวกเขาได้เรี ยนภาษาต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน หรื อสามารถปรับปรุ งความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ของพวกเขาด้วย สิ่ งเหล่านี้เป็ นข้อดีอย่างมากสาหรับเด็กๆ การให้เหล่านี้ เป็ นสิ่ งที่ทาให้โรงเรี ยนวัดสระแก้วแตกต่างไปจากโรงเรี ยนของรัฐอื่นๆ สถานที่ท้ งั หมดรวมทั้งวัด (มีเฉพาะพระภิกษุ) เป็ นสถานที่พกั อาศัยสาหรับเด็กๆ พร้อมมีโรงอาหารและโรงครัว ห้องพยาบาล โรงเรี ยนอนุบาล และโรงเรี ยน รวมไปถึงโรงยิมและสนามทากิจกรรม
10
1.1.
สถำนที่ของสถำนเลีย้ งเด็กกำพร้ ำวัดสระแก้ว
กุล่มอาคารสถานที่ถูกแบ่งย่อยเป็ น "พื้นที่สาหรับเด็กชาย", "พื้นที่สาหรับเด็กหญิง" โรงเรี ยนอนุบาล และ "พื้นที่โรงครัวและโรงอาหาร" นอกจากนี้ ยงั มีส่วนต้อนรับผูม้ าเยีย่ มสาหรับผูส้ นับสนุนและเพื่อนๆ ซึ่ งมีห้องน้ าและซุม้ บริ การกาแฟแยกส่ วนกัน ส่ วนย่อยต่อไปนี้ แสดงแนวทางลักษณะโครงสร้างของแต่ละพื้นที่ ลักษณะการดารงชีวิตของเด็กๆ และลักษณะของพื้นที่โรงครัวและโรงอาหาร
1.2.
โรงเรียนอนุบำล
มีพ้นื ที่โรงเรี ยนอนุบาลในกลุ่มอาคารสถานที่สาหรับเด็กอายุ 3 ขวบขึ้นไป เด็กๆ อาศัยอยูท่ ี่นนั่ ในสองอาคาร ซึ่ งเป็ นสถานที่นอนหลับและเล่นของพวกเขา นอกจากนี้ โรงเรี ยนอนุบาลยังมีห้องน้ าและพื้นที่ชาระล้าง (อ่างล้างหน้าขนาดใหญ่สาหรับทุกคน) ในส่วนโรงเรี ยนอนุบาลพร้อมสถานที่พกั อาศัยกั้นผนังแยก ยังมีพ้นื ที่เล่นกิจกรรม (พื้นทราย) มีมา้ หมุน ลูกโลกหมุน เครื่ องปี นเล่น และอุปกรณ์เล่นสไดล์ หน่วยเหล่านี้จดั ตั้งขึ้นมาโดยโครงการ Iceman Charity ในปี 2013/2014 นอกจากนี้ ยังมีพ้นื ที่เล่นกิจกรรมอื่นๆ ภายใต้อาคารดูแลเด็กเล็ก (พื้นที่มีกาบัง) และพื้นที่เปิ ดโล่ง
11
1.3.
พืน้ ที่สำหรับเด็กชำย
พื้นที่สาหรับเด็กชายประกอบด้วย 4 อาคารแบบ 2 ชั้น แต่ละชั้นอยูต่ ิดกับกาแพงของสถานที่ อาคารสาหรับเด็กชาย 5 ตั้งอยูใ่ นพื้นที่แยกส่วนกันใกล้กบั โรงอาหาร เด็กชายใช้เป็ นที่นอน หรื อใช้เวลาว่างของพวกเขาในสนามหญ้ารอบๆ ขนาดใหญ่ สนามหญ้ารอบๆ มีที่กาบังร่ มเล็กน้อย (ไม่ได้ปิดคลุม) นัน่ จึงทาให้สามารถใช้เป็ นส่วนขยายแบบจากัดในช่วงฤดูร้อน (หลังคาสู งที่ระดับ 12 เมตรกาลังถูกสร้างขึ้นในปั จจุบนั โดยโครงการ Iceman Charity และคาดว่าจะเสร็ จสิ้นช่วงเวลาเปิ ดภาคเรี ยนในปี 2017) นอกจากนี้ พ้นื ที่สาหรับเด็กชายยังมีห้องน้ าขนาดเล็กหนึ่ งห้อง และขนาดใหญ่ 2 ห้อง ห้องชาระล้าง และเครื่ องจ่ายน้ าดื่มไว้ในจุดต่างๆ
1.4.
บ้ ำนบำงสเด็จ
ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2017 สถานที่พกั อาศัยที่ปรับปรุ งใหม่อย่างสมบูรณ์สาหรับเด็ก 60 คนเริ่ มเปิ ดใช้อย่างเป็ นทางการภายใต้การอุปถัมภ์ของ ผศ. ดร.พระมหาไพเราะ ฐิตสี โล (วุฒิการศึกษา B.A. (บริ หารธุรกิจบัณฑิต), M.A. (บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต), Ph.D (ปริ ญญาเอก)) เด็กๆ ได้เชิญผูส้ นับสนุน เพื่อนๆ ครู อาจารย์ ผูส้ อน เข้าร่ วมในงานเฉลิมฉลองนี้ อาคารใหม่ถุกออกแบบมาในลักษณะ "อาคารประหยัดพลังงาน" โดยคานึ งถึงความยัง่ ยืนและการประหยัดพลังงานเป็ นอันดับแรก อาคารที่ได้รับปรุ งใหม่ยงั มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นอาคารต้นแบบสาหรับการลงทุนอื่นๆ ทั้งหมดในพื้นที่ส่วนอยูอ่ าศัยสาหรับเด็กๆ ที่สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าวัดสระแก้วนี้ การเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ที่สุดคือส่วนสุขาภิบาล ซึ่งติดตั้งห้องน้ าสเตนเลสสตีล และห้องอาบน้ าขนาด 6 ลิตร พาร์ ทิชน่ั ก็ทามาจากสเตนเลสสตีลด้วย คุณภาพของน้ าได้ตามข้อกาหนดน้ าดื่มของท้องถิ่น มีสถานีสูบจ่ายที่แยกส่ วนกันพร้อมชุดกรองน้ าถูกติดตั้งไว้ บริ ษทั เยอรมัน MA-Experience เป็ นผูม้ อบการก่อสร้างพื้นอีพอกซี่ กนั ลื่น ซึ่ งโดยปกติจะใช้กนั ในโรงพยาบาลในเยอรมัน
12
1.5.
พืน้ ที่สำหรับเด็กหญิง
พื้นที่สาหรับเด็กหญิงประกอบด้วยอาคารหลักขนาดใหญ่แบบ 3 ชั้น และอาคารขนาดเล็กอีก 2 อาคารที่ใช้เป็ นที่นอนและนัง่ เล่นของเด็กหญิง นอกจากนี้ เด็กหญิงยังสามารถพักอาศัยในชั้นบนสุดของโรงอาหารได้อีกด้วย มีพ้นื ที่ปิดคลุมหลังคาภายใต้อาคารขนาดใหญ่ ซึ่งทาให้เด็กหญิงสามารถพักอาศัยในช่วงฤดูร้อนได้ อาคารหลักแบ่งออกเป็ นห้องพักผ่อน 6 ห้อง (2 ห้องพักผ่อนต่อชั้น) พร้อมมีห้องชาระล้างและห้องน้ าในแต่ละห้องด้วย นอกจากนี้ ยังมีห้องชาระล้างรวมขนาดใหญ่ในพื้นที่นอกอาคารพร้อมอ่างล้างหน้าขนาดใหญ่ 3 ชุด และห้องชาระล้างที่แยกส่วนกันสาหรับอาคารขนาดเล็กทั้งสองอาคาร มีโรงน้ าดื่มแยกส่ วนกันพร้อมเครื่ องจ่ายน้ าในพื้นที่สาหรับเด็กหญิง มีน้ าดื่มบริ การเด็กๆ ที่ใช้บริ การโรงอาหารในชั้นปกติ
13
1.6.
โรงครัว
มีแม่ครัว 7 คนในโรงครัวขนาดใหญ่สาหรับเด็กมากกว่า 2,400 คน โรงครัวถูกแบ่งเป็ นสองส่ วน อาหารถูกจัดเตรี ยมในส่วนแรก (หัน่ ผัก ปอกไข่ ฯลฯ) มีห้องเย็นสมัยใหม่ขนาดเล็กไว้ใช้งานที่นี่ดว้ ย อาหารถูกปรุ งในส่ วนที่สอง มีหม้อหุ งข้าวขนาดใหญ่และเตาแก๊สสาหรับรายการอาหารต่างๆ โรงครัวก่อสร้างเสร็ จสิ้นในปี 2015 และวางแผนเพื่อให้ได้ตามข้อกาหนดสภาพแวดล้อมสมัยใหม่ แก๊สที่จาเป็ นสาหรับการปรุ งอาหารได้มาจากโรงแยกแก๊สจากเศษขยะอาหาร
1.7.
โรงอำหำร
โรงอาหารมีที่นง่ั สาหรับเด็กทั้ง 2446 คน เพื่อรับประทานอาหารเช้า อาหารกลางวัน และอาหารเย็นที่นี่ เด็กชายและเด็กหญิงจะนัง่ แยกส่ วนกัน มีเครื่ องจ่ายน้ า 4 เครื่ องให้เด็กๆ รับน้ าดื่ม (มาตรฐานประเทศไทย ยังไม่ได้นามาใช้สาหรับทุกโรงเรี ยนของรัฐ) หลังจากมื้ออาหาร เด็กทุกคนจะต้องล้างจาน ถ้วย และเครื่ องใช้บนโต๊ะอาหารของพวกเขาในอ่างล้างจากสเตนเลสสตีลที่ติดตั้งไว้ (เด็กทุกคนจะจัดเก็บจาน ถ้วย และเครื่ องใช้บนโต๊ะอาหารของพวกเขาไว้ในอาคาร) ในระหว่างมื้ออาหาร จะมีผใู ้ หญ่อย่างน้อย 3 คนคอยดูแลในโรงอาหารเพื่อช่วยเหลือเด็ก หากจาเป็ น โดยทัว่ ไปอาหารถูกเสิ ร์ฟโดยเด็กที่อาบุมากกว่า หรื อโดยผูม้ าเยีย่ ม/ผูส้ นับสนถนในวันที่ผสู้ นับสนุนเหล่านั้นกาหนดเลี้ยงอาหารในมื้อนั้น ไม่มีกฎระเบียบด้านสุ ขอนามัยในการแจกจ่ายอาหาร
14
2.
แผนกย่อยสาหรับเด็กเล็ก (หมายเลข) เด็กชำย
เด็กหญิง
อำยุ
ระบบสุ ชาภิบาล
ตัวอาคาร
ม²
ม²
60
183
โรงเรี ยนอนุบาล
40
3-5
อาคารเด็กชาย 1.1
120
14-15
587
อาคารเด็กชาย 1.2
60
14-15
605
อาคารเด็กชาย 2.2
100
10
627
อาคารโรงสุ ขาภิบาล 2
40
อาคารเด็กชาย 3.1
60
13-14
609
อาคารเด็กชาย 3.2
89
11-14
609
อาคารโรงสุ ขาภิบาล 3/2 อาคารเด็กชาย 4.2
326 40
16-19
อาารโรงสุ ขาภิบาล 4/1
200 254
อาคารเด็กชาย 5.1
70
6-15
252
อาคารเด็กชาย 5.2
70
6-15
252
อาคารโรงสุ ขาภิบาล 5
140
อาคารบ้านบางสเด็จ 6.1
28
14-18
252
อาคารบ้านบางสเด็จ 6.2
14
14-18
252
อาคารโรงสุ ขาภิบาล 6
192
อาคารเด็กหญิง 1.1 พื้นที่นงั่ เล่นด้านซ้าย
84
3-16
120
240
อาคารเด็กหญิง 1.1 พื้นที่นงั่ เล่นด้านขวา
86
5-18
120
240
อาคารเด็กหญิง 1.2 พื้นที่นงั่ เล่นด้านซ้าย
83
3-18
120
240
อาคารเด็กหญิง 1.2 พื้นที่นงั่ เล่นด้านขวา
67
5-17
120
240
อาคารเด็กหญิง 1.3 พื้นที่นงั่ เล่นด้านขวา
71
3-18
120
240
อาคารเด็กหญิง 1.3 พื้นที่นงั่ เล่นด้านซ้าย
67
5-18
120
240
ส่ วนสุ ขาภิบาลด้านนอกสาหรับเด็กหญิง
414
อาคารเด็กหญิง 2.2 (บ้านนาลิน)
66
3-18
อาคารเด็กหญิง 3.1 (บ้านอลิซ)
92
5-18
อาคารเด็กหญิง 4 (โรงอาหาร)
110
13-19
224
930 215
พื้นที่โรงครัว
1818 407
โรงอาหาร
จำนวนเด็กทั้งหมด
406
2275 691
15
726
2.585 m²
11.704 m²
พ
ำ
ำ อ
ำล
B1 โ งเ ี อ า ล
B 4
B
พ้ ที่
3
B2
16
2.1 โรงเรี ยนอนุบาล
K ห้องน้ ารวม: 17.25 ม.²
6 .
6.9 0
K ส่ วนชาระล้างรวม: 41.4 ม.²
6.9 0
17
6 .
6 .
K รวม: 62.4 ม.²
K 2 รวม: 120.6 ม.²
6 .
20. 10
10.4 0 .
2.2 พื้นที่สาหรับเด็กชาย 70 .
B 32.86 .
ำ 3 : 1218 .² B 3.1: 609 .² B 3.2: 609 .²
ำ ลำ ล อ : 325.97 .²
8.70 .
อำคำ
ำ อำคำ ำ 2 B 2.1: 626.4 .² B 2.2: 626.4 .²
32.20 .
8.60 .
6.20 .
อำคำ ำ 4 B 4.2: 199.6 .²
ำ ลำ ล อ : 253.68 .² 31.75 . 18
ำ
7.99 .
B
9 .
: 199.6 .²
69.60 .
: 1252.8 .²
70.40 .
อำคำ ำ 1 : 605.44 .² B 1.2: 605.44 .²
9.92 .
อาคารเด็กชาย 5 รวม: 504 ม.² B 5.1: 252 ม.² B 5.2: 252 ม.²
B ส่ วนชาระล้างและห้ องน้ า รวม: 140 ม.²
10 .
19
14 .
.
9
.
28
2.3 พื้นที่สาหรับเด็กหญิง
G ส่วนชาระล้างและห้อง น้ า รวม:129.70 ตรม.
อาคารเด็กหญิง 2 รวม: 498.96 m² G 2: 498.96 m²
39.60 .
อาคารเด็กหญิง 1 รวม: 2173.5 m² G 1.1:724.5 ม.² G 1.2:724.5 ม.² G 1.3:724.5 ม.²
8.90 .
63 .
6.20 . G ห้องน้ า: 32.7 m²
. 4
G ส่วนชาระล้างรวม: 28.4 m²
7.10 .
G ห้องน้ า: 32.7
6.20 .
31.05 .
อาคารเด็กหญิง 3 รวม: 931.5 m² G 3.1:931.5 ม.²
G ส่วนชาระล้าง รวม: 245.7 m²
5.28 .
30 .
5.28 .
10.51 .
63 .
20
9.90 .
13.20 . G ส่วนชาระล้างและห้อง น้ า รวม: 162.30 m²
12.60 . 11.50 . 3.90 .
13.10 . 12.30 .
2.4 โรงอาหาร
21
3. สถำนะปัจจุบันของสถำนเลีย้ งเด็กกำพร้ ำวัดสระแก้ ว ขณะจัดทาเอกสารสถานะปัจจุบนั ของสถานที่ เราใช้ข้ นั ตอนเดียวกันกับที่ใช้กบั ทุกอาคาร การจาแนกประเภทอิงตามความฉุ กเฉิ นของการปรับปรุ งใหม่ที่เป็ นไปได้ที่สามารถดาเนินการภายหบังโดยพนักงานอาวุโสของโรงเรี ยนวัดสระแก้ ว โดยทัว่ ไป ในอนาคตจะต้องเอาใจใส่ในการเลือกวัสดุก่อสร้าง (การเลือกวัสดุและการสร้างหลังคา การเลือกพื้นสาหรับพื้นที่ในตัวอาคารและนอกตัวอาคาร โรงสุ ขาภิบาล)
3.1 อำคำรสำหรับเด็กชำย1 3.1.1 อำคำรสำหรับเด็กชำย 1 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร อาคารสาหรับเด็กชาย 1 เป็ นอาคารแบบสองชั้น ซึ่งสามารถเข้าไปผ่านทางประตูตรงกลางของชั้นพื้นดิน ชั้นแรกสามารถเข้าถึงโดยผ่านขั้นบันไดแบบสองทอด ซึ่งตั้งอยูท่ ้ งั สองด้านที่ส่วนหลังของอาคาร (ขั้นบันไดทางขวาให้ใช้งานเป็ นทางออกฉุ กเฉิ นในกรณี มีอนั ตรายเท่านั้น) หลังคาของอาคารสาหรับเด็กชายอยูใ่ นสภาพดี ไม่มีความชื้น
อำคำ
ำ อำ ำ
ำอำ ำ
ำ
ำ
ล
อำคำ
ลอ
อำ ำ 1
อำคำ ำ ำ อ ลพ
ำ ล ำ ำค
ำ
ำ
ำ
22
อ ำ
ำ
ำ
การเชื่อมต่อระหว่างล้อหมุนอากาศและแผงหลังคาไม่ได้ติดตั้งอย่างถูกต้องตามหลักการ และอาจเป็ นสาเหตุให้เกิดความเสี ยหายเนื่องจากน้ าในะหว่างฝนตกหนักได้ พื้นที่นอกตัวอาคารของอาคารสาหรับเด็กชาย 1 อยูใ่ นสภาพดี มีส่ิ งที่บกพร่ องไปเล็กน้อยเกี่ยวกับความสะอาดและความสวยงาม ผนังสกปรกอย่างเห็นได้ชดั เนื่องจากโคลนและการขีดเขียนเล่นบนผนัง
ด้านหลังของอาคาร มีหน้าต่างที่สามารถปิ ดด้วยแผ่นกระจกในส่วนบนใกล้กบั หอคอยถังน้ า แผ่นกระจกเหล่านี้ตกจากที่สูงเนื่องจากใช้วิธีการติดตั้งไม่เหมาะสม ซึ่งทาให้ไม่สามารถปิ ดหน้าต่างในระหว่างมีฝนตกหรื อมีพายุได้ ทั้งนี้เนื่องจากความเป็ นจริ งที่วา่ การเปิ ดแผ่นกระจกใช้เพื่อยึดเสื้ อผ้าที่ตากให้แห้ง และแผ่นกระจกไม่สามารถรับน้ าหนักทางกลมากเกินไปได้
เศษผงสี ดาที่ไม่สามารถระบุได้ตกลงมาที่ดา้ นนอกของอาคารจากช่องระบายอากาศของชั้น หนึ่ง
23
24
พื้นคอนกรี ตในพื้นที่ส่วนนอกรอบๆ อาคารมีความเสี ยหายเล็กน้อยเนื่องจากใช้งานมาหลายปี ความเสี ยหายไม่ได้ส่งผลให้คุณภาพการดารงชีวิตของเด็กๆ ลดลง ในปัจจุบนั กาลังมีการดาเนินการใช้มาตรการป้องกันด้านความสวยงามต่างๆ สาหรับพื้นที่นอกอาคารและในอาคาร
สายไฟทอดตัวลงไปยังพื้นที่ดา้ นนอกอย่างไม่เหมาะสม
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ชั้นล่ ำงสุ ด
ประตูทางเข้าของชั้นพื้นดินทาจากโลหะ และไม่คงทนในระยะยาวอย่างชัดเจน (ทาสี ไว้) ประตูโลหะก่อให้เกิดสนิมได้
ที่ช้ นั พื้นดิน คุณจะเข้าถึงห้องรับรองขนาดเล็กก่อน จากจุดนั้นคุณสามารถไปทางซ้ายและขวาเพื่อไปยังพื้นที่นอนหลับได้ ห้องรับรองแยกส่วนจากพื้นที่หอ้ งนัง่ เล่นและห้องนอนโดยมีผนังยิบซัม่ กั้น หน้าต่างติดตั้งมุง้ ลวดกันยุงในตัวผนังกั้น
25
ผนังกั้นมีความเสี ยหายหลักๆ ซึ่งเป็ นสาเหตุเนื่องจากการใช้งานไม่เหมาะสม (เกมลูกบอลในห้องรับรอง การทาลายทรัพย์สิน)
พื้นห้องอยูใ่ นสภาพดี และไม่มีความเสี ยหายใดๆ
เนื่องจากห้องนี้ไม่สามารถทาให้มีสีเข้ม จึงใช้ผา้ ปูเตียงเพื่อป้องกันแสงที่เข้ามาผ่านหน้าต่างในตอนกลางคืน
มีสายไฟที่ไม่มีฉนวนหุ ม้ แขวนตัวจากผนังและเพดาน
26
มุง้ ลวดกันยุงสึ กหรอบางส่วน หรื อมีรู เนื่ องจากมีรูในผนังยิบซัม่ และมุง้ ลวด ทาให้มีแมลงเข้าไปในห้อวนอนได้
โดยเฉพาะสิ่ งนี้ทาให้เกิดผลตามมาทาให้เด็กบางคนสร้างตาข่ายป้องกันแยกส่วนเพื่อป้องกั นยุงและแมลงอื่นๆ รอบๆ เตียงนอน
ราวเหล็กถูกนามายึดระหว่างเสารองรับของอาคารซึ่งใช้แนวนเสื้ อผ้า เสามีความเสี ยหายใหญ่ๆ เนื่องจากการยึดติดที่เสาอย่างไม่ถูกต้อง และการรับน้ าหนักเสื้ อผ้ามากเกินไป
27
ถังดับเพลิงสองถังถูกติดตั้งไว้ในพื้นที่ทางเข้าเพื่อความปลอดภัยในตัวอาคาร นอกจากนี้ยงั มีแผนการอพยหนีไฟติดตั้งไว้ในห้องนี้ ระบบการเตือนเพลิงไหม้อตั โนมัติถูกติดตั้งไว้ในห้องนอนทุกห้อง
เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัยของวัยรุ่ น แหล่งจ่ายไฟจึงถูกจากัดในตัวอาคาร อย่างไรก็ตามจากเหตุผลดังกล่าว วัยรุ่ นได้ติดตั้งเต้าเสี ยบหลายทาง และทาให้เต้าเสี ยบที่ผนังรองรับโหลดมากเกินไป นอกจากนี้กล่องฟิ วส์มกั จะไม่มีฝาครอบปิ ดด้วย
28
ชั้นแรก
โดยทัว่ ไป บันไดมีความเสี ยหาย แผ่นป้องกันลื่นรวมไปถึงกระเบื้องแตกร้าว
บานหน้าต่างแตกหักส่วนจากจุดบานพับ น้ าฝนสามารถเข้าไปในห้องนัง่ เล่นผ่านจุดดังกล่าว
สายไฟทอดแนวอย่างไม่ถูกต้องในพื้นที่ในตัวอาคาร ขั้นบันได และพื้นที่นอกตัวอาคาร
พบสายไฟเสี ยหายเล็กน้อยแขวนตัวจากเพดาน
29
กล่องจ่ายไฟมักจะเปิ ดทิ้งไว้ให้เข้าถึงได้ง่าย สายต่อพ่วงไม่มีฉนวนหุ ม้ พัดลมบางตัวไม่มีฝาครอบ
30
แม้กระทัง่ ที่นี่ ราวโลหะยังมีการยึดแน่นอย่างไม่เหมาะสมกับหน้าต่างและผนัง
Tเด็กๆ ยังคงนอนหลับในกล่องไม้บนพื้นชั้นแรก เตียงแบบชุดได้ติดตั้งไว้ที่พ้นื ชั้นล่าง ประตูตูเ้ สื้ อผ้าชารุ ดบางส่วน (การอบแห้งเสื้ อผ้าบนประตูไม่เหมาะสม) ตูเ้ สื้ อผ้าได้รับการซ่อมแซมเมื่อเปิ ดเรี ยนในปี 2017
31
ระบบสุ ขำภิบำล ห้องน้ าซึ่งตั้งอยูใ่ นพื้นที่ส่วนบันไดของพื้นชั้นแรกสกปรกมาก ไม่น่าจะใช้งานได้อีกต่อไป กระเบื้องเปลี่ยนสี อย่างมาก
32
3. 1. 2 อำคำรสำหรับเด็กชำย พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร พื้นที่นอกตัวอาคารของอาคารสาหรับเด็กชาย 2 อยูใ่ นสภาพไม่ดี ความเสี ยหายที่เกิดจากน้ าขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้ที่ดา้ นล่างของพื้นที่สุขาภิบาล
หลังคาเก่ามาก แผงหลังคาแต่ละแผงชารุ ด และมีรู หลังคาส่วนทางซ้ายของอาคารมีความเสี ยหายรุ นแรงและม้วนงอ
น้ าหรื อน้ าค่อนข้างสกปรกซึมออกมาที่ผนังและไหลลงไปด้านหน้าอาคาร
33
สภาพทัว่ ไปนี้ทาให้ความสวยงามของอาคารสาหรับเด็กชาย 2 ลดลงไป
ในพื้นที่นอกตัวอาคาร ยังสังเกตพบว่ามีแผ่นคอนครี ตที่ควรปิ ดคลุมรางน้ าชารุ ดบางส่วน และตกลงมาในร่ อง อีกนัยหนึ่งคือไม่มีแผ่นปูดา้ นหลังของอาคาร เนื่องจากห้องนี้ใช้งานสาหรับการตากเสื้ อผ้า การขาดแผ่นคอนกรี ตทาให้มีความเสี่ ยงด้านความปลอดภัย แม้กระทัง่ เชิงสุ ขอนามัยก็มีความเสี่ ยงเช่นกัน
บันไดที่นาไปสู่พ้นื ที่นอนหลับของอาคาร (ช้้นแรก) เสี หายอย่างหนัก
34
-
ขั้นบันไดแตกหัก
-
แผ่นปูพ้ืนแตกร้าว
-
ราวจับขึ้นสนิม
ระเบียงแคบมาก ไม่มีพ้ืนที่เพียงพอกรณี การอพยพ และทาให้ไม่สอดคล้องตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย
การติดตั้งหลอดไฟและแหล่งจ่ายไฟในพื้นที่ทางเข้าไม่เหมาะสม
35
ห้ องชำระล้ ำง ห้องสุ ขาสาหรับเด็กตั้งอยูบ่ นชั้นแรก มีหอ้ งน้ า 4 ห้องที่ใช้งานได้ มีระบบสุ ขาภิบาลในสภาพที่ดีมาก ผนังคอนกรี ตสกปรกมาก
ประตูหอ้ งน้ าบางห้องชารุ ด ทาให้ไม่สามารถที่จะปิ ดประตูได้
36
ถังน้ าในห้องชะระล้างดูมนั่ คงแข็งแรงมาก พื้นที่รอบๆ ถังน้ าไม่มีการยกเอียงเพียงพอ ผลที่ได้คือการขังตัวของน้ ารอบๆ ถัง ซึ่งจะทาให้เกิดอันตรายของการลื่น คอนกรี ตของถังสี เพี้ยน มองเห็นสิ่ งตกค้างที่ไม่รู้จกั ผิวหยาบของคอนกรี ตทาให้การขจัดสิ่ งสกปรกทาได้ยาก
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ความเสี่ ยหายจากน้ าหลักๆ ที่ผา่ นมาเกิดขึ้นเฉพาะในพื้นที่ในตัวอาคาร ซึ่งเนื่องมาจากการออกแบบหลังคาสู งชันเป็ นหลัก ในกรณี น้ ี น้ าสามารถระบายออกได้เร็ ว และไม่ซึมเข้าด้านในตัวอาคารได้โดยง่าย
พื้นไม้ไม่เรี ยบเสมอ แต่ยงั อยูใ่ นสภาพดี
37
การติดตั้งสายไฟไม่เหมาะสม บางจุดแขวนตัวหลวมๆ จากผนัง
มุง้ ลวดมีรู
เด็กๆ จะต้องนอนบนแผ่นปูนอนบนพื้นอาคาร ไม่มีเตียงขุด การปรับปรุ งอาคารมีแผนงานภายใน 2 ปี ข้างหน้า การร้องขอมากมายถูกส่งไปยังผูส้ นับสนุน อาคารจะต้องมีการขุดลงไปที่ช้ นั ฐานรากเพื่อให้ความสู งของห้องปรับให้เข้ากับข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง และสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ค่าใช้จ่ายการก่อสร้างรวมอยูที่ประมาณ 6 – 8 ล้านบาท มีแผนอพยพหนีไฟและถังดับเพลิง
38
3.1.3 อำคำรสำหรับเด็กชำย 3 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร รางน้ ามีการรั่วไหลชัดเจน มองเห็นความเสี ยหายเล็กๆ เนื่องจากน้ าได้ แผ่นไม้บนหลังคาหน้าชานหลุดจากตาแหน่งเนื่องจากความเสี ยหายดังกล่าว
บางส่วนของผนังด้านหลังมีส่วนหลุดลอกออก
ตัวกดเปิ ดปิ ดหน้าต่างสองสามตัวหลุดจากตาแหน่งบานพับเนื่องจากการใช้งานที่ไม่เหมาะสมและขาดการบารุ งรักษา
39
ท่อโลหะทรงสี เหลี่ยมผืนผ้าทาหน้าที่เป็ นทางระบายของรางน้ า ซึ่งเชื่อมต่อกับท่อพลาสติกกลมด้านล่าง ท่อต่างๆ และข้อต่อติดตั้งอย่างไม่เหมาะสม ทาให้มีหลุดออกมาจากตัวรองยึด และไม่สามารถใช้งานได้ในขณะนี้ การปรับปรุ งเพิ่มเติมของรางน้ าวางแผนดาเนินการไว้ในเดือนพฤษภาคม 2017
มีหินปูพ้นื วางเรี ยงตัวในพื้นที่นอกตัวอาคาร การปูพ้นื ด้วยหิ นไม่ดีทาให้เกิดจุดนูนและหลุม
พื้นที่ทางเข้าเอียงตัว แผ่นปูพ้ืนเสี ยหายแม้วา่ จะใช้งานไปไม่นาน การใช้แผ่นปูพ้ืนที่พ้นื ที่ส่วนทางเข้าเป็ นสิ่ งสาคัญ โดยส่วนใหญ่แล้ว แผ่นปูพ้นื ชารุ ด สามารถมองเห็นความเสี ยหายหลักๆ ได้
40
บานประตูทางเข้าเสี ยหาย ตัวประตูเองอยูใ่ นสภาพทีดี
ประตูทางปลายทางด้านขวาของตัวอาคารมีสนิมมากที่ดา้ นล่างเนื่องจากขาดการบารุ งรักษา
ยิ่งกว่านั้น มุง้ ลวดกันยุงยังติดตั้งอย่างไม่ถูกต้อง ไม่สามารถมัน่ ใจในประสิ ทธิ ภาพการป้องกันแมลงปี กแข็ง
ประตูทางปลายทางด้านซ้ายของตัวอาคารมีสนิมด้วย เด็กบางคนถูกไฟฟ้าดูดเมื่อสัมผัสโครง โดยเฉพาะเมื่อฝนกตก
41
โคมดวงไฟพื้นที่นอกตัวอาคารไม่มีการควบคุมเวลาปิ ด/เปิ ด หรื อควบคุมด้วยเซนเซอร์จบั การเคลื่อนไหว ผลคือระบบไฟฟ้าแสงสว่างมักจะเปิ ดอยูต่ ลอดทั้งวัน
สายไฟแขวนตัวอย่างหลวมๆ จากผนังและหุ ม้ ฉนวนอย่างไม่เหมาะสม
42
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ชั้นพืน้ ดิน พื้นอาคารไม่เสี ยหาย ระบบล็อกของตูเ้ สื้ อผ้าส่วนใหญ่เสี ยหาย ทั้งนี้เนื่องจากกุญแจหายไป และไม่ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผูค้ วบคุมดูแลในการจัดการกุญแจสารอง และนามาใช้เมื่อจาเป็ น
เด็กๆ นอนในเตียงคู่
ระบบสุ ขำภิบำล (พื้นที่ในตัวอาคาร 43
กลไกการปิ ดของชุดห้องน้ าไม่มีอยูอ่ ีกต่อไป มีการใช้สายไฟมาผูกโยงอย่างไม่เหมาะสม
44
ชั้นแรก หลังคารั่วในบริ เวณทางเข้าของชั้นแรก น้ าฝนเข้าไปยังทางเข้าและพื้นที่หอ้ งนัง่ เล่นได้โดยตรง ความเสี ยหายได้รับการแก้ไขลวกๆ โดยใช้กระดาษหนังสื อพิมพ์
แม้แต่ในพื้นที่ส่วนหลังของห้อง ก็พบร่ องรอยความเสี ยหายจากน้ า ส่วนเพดานชารุ ดขนาดใหญ่
พบรู บนหลังคา
45
กระเบื้องเสี ยหายบางส่วน (แตกหัก)
ประตูตูเ้ สื้ อผ้ามักจะเสี ยหาย ซึ่งทาให้ใช้งานตูเ้ สื้ อผ้าได้อย่างไม่เหมาะสม (เสื้ อผ้าถูกแขวนพาดที่ประตูเพื่อตากให้แห้ง) บานพับประตูเสี ยหายเมื่อทาการปิ ด)
46
ห้ องชำระล้ ำง พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร ถังน้ ายังคงเป็ นตามมาตรฐานประเทศไทยในปี 2017 แม้วา่ จะมีการใช้น้ าปริ มาณมาก แต่ถงั แบบนี้ยงั คงใช้กนั ในสถานที่สาธารณะและในกองทัพ ระบบไม่ได้ตามมาตรฐานด้านสุ ขอนามัยที่จาเป็ น
(มีการเติมนา้ ระหว่ าง 2500 และ 4000 ลิตรต่ อวันสาหรั บแต่ ละถัง) เด็กต้ องใช้ กระบวยตักนา้ จากถังเหล่ านั้นเพื่อชาระล้ าง เด็กบางคนอาบนา้ ในถังนา้ ในขณะที่เด็กคนอื่ นๆ แปรงฟั นด้ วยนา้ ในถังเดียวกัน
กระเบื้องด้านในและบนผิวด้านนอกของถังน้ ามีความเสี ยหายมากเป็ นส่วนใหญ่ กระเบื้องที่ขอบส่วนบนมักจะชารุ ด หรื อหลุดออกมา
บางถังรั่วไหล เนื่องจากน้ าสกปรกไม่สามารถไหลลงร่ องน้ าเสี ย แต่ไหลไปบนพื้นดิน
47
การวางทอดตัวของท่อแบบไม่มีการป้องกันไปยังพื้นดินโดยตรงในพื้นที่การชาระล้างของ อาคารสาหรับเด็กชาย 3 มองเห็นได้สะดุดตา ท่อเสี ยหายบางส่วน
รางปัสสาวะสเตนเลสสตีลอยูใ่ นสภาพดี มีช่องห่างขนาดใหญ่ระหว่างพื้นและรางปัสสาวะ การเชื่อมต่อไม่เหมาะสมทาให้ทาความสะอาดได้ยาก
48
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร มีรูในหลังคาของห้องชาระล้าง บางส่วนของรู หลุดออกมาทั้งหมด ซึ่งทาให้น้ าฝนเข้าไปได้อย่างไม่จากัดในฤดูฝน
โครงสร้างหลังคาของพื้นที่ชาระล้างอยูใ่ นสภาพไม่ดีมากๆ คานค้ าหลังคาก็ข้ ึนสนิมทั้งหมด ไม่มีการทาสี เคลือบป้ องกันอย่างชัดเจนในสถานที่น้ ี
โดยรวมแล้วห้องน้ าอยูใ่ นสภาพดี
49
ประตูหอ้ งน้ าเป็ นแบบพลาสติก ประตูส่วนใหญ่และกรอบประตูเสี ยหาย ประตูบางอันหลุดออกมาจากบานพับทั้งหมด (อาจเกิดจากการทาลายทรัพย์สิน) วัสดุของประตูไม่ได้ตามข้อกาหนด
ห้องน้ าบางห้องไม่สามารถใช้งานเนื่องจากการเชื่อมต่อน้ าไปยังถังด้านหลังห้องน้ ามีจุดบก พร่ อง น้ าจะต้องเติมลงภังโดยใช้สายยางช่วย
50
51
3.1.4 อำคำรสำหรับเด็กชำย 4 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร พื้นที่นอกตัวอาคารของอาคารสาหรับเด็กชาย 4 คงอยูใ่ นสภาพดีมาก แม้แต่ผนังและหลังคาก็มีลกั ษณะสภาพที่ดี
สี ของผนังหลุดล่อนเป็ นชิ้นน้อยในบางจุด
ขั้นบันไดที่จะไปสู่ช้ นั หนึ่งมีรอยความเสี ยหาย
52
มีตวั เลือกในการตากผ้าให้แห้งด้านหลังอาคารด้านซ้าย อย่างไรก็ตามก็ใช้งานได้ลาบาก
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร พื้นที่ส่วนเพดานดูเหมือนว่าจะไม่เกิดการรั่วไหลที่หลังคา ไม่สามารถมองเห็นความเสี ยหายเนื่องจากน้ า แผ่นของประตูทางเข้าไม่ตรงแนวอีกต่อไป ไม่สามารถมัน่ ใจในการควบคุมแมลงรบกวนได้
หน้าต่างเสี ยหาย มีการซ่อมแซมอย่างไม่เหมาะสมด้วยไม้และกระดานอัด
53
มีเพียงเต้าเสี ยบที่ใช้งานได้สองจุดเท่านั้น ข้อบกพร่ องดังกล่าวถูกแก้ไขโดยใช้สายไฟต่อพ่วงแบบหลายขาเสี ยบที่เสี ยหาย ซึ่งบ่อยครั้งลักษณะฉนวนป้องกันไม่ดี
ตูเ้ สื้ อผ้าโลหะขนาดเล็กไม่เพียงพอสาหรับเด็กชายอย่างชัดเจน สิ่ งของส่วนบุคคลยังถูกเก็บไว้ดา้ นบนตูเ้ สื้ อผ้า ยิง่ กว่านั้น ตูเ้ สื้ อผ้ายังเสี ยหายด้วย
ไม่ค่อยมีสถานที่สาหรับตากผ้า ผลคือเด็กๆ จะต้องตากเสื้ อผ้าให้แห้งบนหลังคาและตะแกรงหน้าต่าง
เด็กๆ จะต้องนอนบนพื้นอาคาร
มีถงั ดับเพลิงสองชุดในพื้นที่ส่วนบน
ำำระล้ ำง ห้องชาระล้างตั้งอยูท่ ี่ปลายด้านขวาของอาคาร แบ่งเป็ นพื้นที่ในตัวอาคารและนอกตัวอาคาร
54
พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร โครงสร้างหลังคาและตัวหลังคาอยูใ่ นสภาพดี มีการทาสี เคลือบหลังคาปกป้องต่อสภาพอากาศที่ส่วนค้ ายันของหลังคา
ถังด้านนอกมีตาหนิคล้ายกับที่มีบนถังของพื้นที่ชาระล้างที่เคยจัดทารายงานมาก่อน แผ่นกระเบื้องปูบางส่วนแตกร้าว หรื อตกลงมา
แม้แต่ในพื้นที่น้ ี รางปัสสาวะเดิมถูกเปลี่ยนเป็ นรางสเตนเลสสตีล ซึ่งอยูใ่ นสภาพดี อย่างไรก็ดี งานการปรับปรุ งยังไม่เสร็ จสมบูรณ์ ซึ่งส่งผลให้พ้ืนที่ของพื้นยังไม่เสร็ จสมบูรณ์
55
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร เพื่อที่จะให้แสงแดดเข้ามาในระหว่างกลางวัน มีการใช้กระเบื้องพลาสติกแทรกบนหลังคา ซึ่งบางส่วนเสี ยหาย ความเสี ยหายเหล่านี้เกิดขึ้นเนื่องจากเด็กชายของอาคารสาหรับเด็กชาย 4 ขึ้นไปบนหลังคาเพื่อตากผ้า ตะแกรงหน้าต่างจะหยุดเลื่อนตัวของสิ่ งนี้ อีกนัยหนึ่ง โครงสร้างของหลังคาไม่มีการทาสี ที่ดา้ นนอก ทาให้คานโลหะขึ้นสนิมได้
ม้านัง่ ยาวด้านซ้ายของผนังของพื้นที่ชาระล้างด้านในสามารถใช้งานได้ แต่กระเบื้องบางส่วนหลุดออก แม้แต่ผนังและกระเบื้องบนพื้นก็หลุดออกบางส่วน
ประตูหอ้ งน้ าบางห้องชารุ ดมาก ประตูพลาสติกและกรอบประตูกช็ ารุ ด หรื อมีรู
56
อ่างห้องน้ าบางส่วนชารุ ด มองเห็นการเปลี่ยนสี รุนแรงของกระเบื้อง
แม้แต่ในพื้นที่น้ ี ท่อน้ าบางท่อทอดตัวบนพื้น และทาให้ตอ้ งรับน้ าหนัก ท่อบนถังน้ าถูกติดตั้งอย่างไม่เหมาะสม มีจุดบกพร่ องบางส่วน
57
พืน้ ที่นอกตัวอำคำรทั่วไป
พื้นฐานรากของสนามกีฬาเป็ นคอนกรี ตตั้งอยูร่ ะหว่างง 4 อาคารเพื่อวัตถุประสงค์การสันทนาการต่างๆ พื้นฐานรากทามาจากคอนกรี ตและแตกร้าวบางส่วน ขอบนอกของสนามฟุตบอลก็เสี ยหายเช่นกัน
(ในขณะนี้ พื้นสนามกีฬาถูกปิ ดคลุมหลังคาทาให้เด็กชายได้รับการป้องกันจากแสงแดดในระหว่างเวลาว่างของพวกเขา) การปรั บปรุ งพืน้ สนามพร้ อมกับการซีล/การทาสีมีการวางแผนไว้ แล้ ว - คาดว่ าจะเสร็ จสิ ้นในช่ วงต้ นการเปิ ดภาคเรี ยนปี 2017)
58
3.1.5 อำคำรสำหรับเด็กชำย 5 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร พื้นที่นอกอาคารดูเหมือนมีการบารุ งรักษอย่างดี
มีรอยตาหนิไม่กี่จุดเนื่องจากการสึ กหรอและฉี กแ ตก การแยกส่วนของสถานที่ดว้ ยการใช้ร้ ัวลวดหนาม ไม่มีประสิ ทธิ ภาพเหมาะสม ทาให้มีความเสี่ ยงที่เด็กจะได้รับบาดเจ็บจากรั้วล วดหนาม
มีความเสี ยหายมากกับหลังคาส่วนชานบ้าน และหลังคาของอาคาร ทาให้คาดเดาได้วา่ จะมีความเสี ยหายจากน้ าเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ในพื้นที่ดา้ นในของอาคาร
มีรอยตาหนิหลักปรากฎให้เห็นในพื้นที่ดา้ นหลังของอาคาร
59
ชานบ้านด้านหน้าส่วนล่างเสี ยหายอย่างหนัก บางส่วนของหลังคาหลุดออกมาทั้งหมด
นอกจากนี้ บานไม้ยงั เสี ยหายบางส่วนด้วย ไม่มีการดูแลรักษาอย่างเห็นได้ชดั
60
ระบบไฟฟ้าติดตั้งอย่างไม่ถูกต้องในพื้นที่นอกตัวอาคาร บางส่วนเด็กสามารถเข้าถึงได้
ห้ องชำระล้ ำง พื้นที่ชาระล้างในส่วนด้านหลังของอาคารอยูใ่ นสภาพดี และมีการบารุ งรักษาอย่างดี
อย่างไรก็ตาม น้ าสกปรกไหลลงในอ่างด้านหลังห้องชาระล้าง ในระยะยาวแอ่งน้ าขนาดเล็กอาจกัดกร่ อนตัวอาคาร และทาให้อาคารชารุ ด นอกจากนี้ ระบบขจัดน้ าเสี ยดังกล่าวยังดึงดูดแมลง นมุมมองด้านสุ ขอนามัย จะต้องมีการแก้ไขไม่วา่ จะใช้ตน้ ทุนเท่าใด
กระเบื้องของถังน้ าสี เพี้ยนอย่างมาก และบางส่วนชารุ ด
61
รางปัสสาวะแบบปูแผ่นกระเบื้องมีสีเพี้ยนมาก แผ่นกระเบื้องเองมีลกั ษณะสภาพที่ดี
ห้องสุ ขาใช้งานได้แต่อยูใ่ นสภาพเลวร้ายมาก ประตูแยกส่วนและไม้เสื่ อมสภาพในบางจุด
ระบบล็อกไม่มีการซ่อมแซมอย่างเหมาะสม แต่ใช้สายไฟมาล็อกแทนอย่างไม่เหมาะสม
62
ผนังของชุดห้องน้ าสกปรกมาก ส่วนของผนังใกล้กบั ก็อกน้ าสี เพี้ยนมาก นัน่ บ่งบอกว่าระบบล็อกไม่สามารถใช้งานได้อีก และมีน้ าไหลออกมาอย่างต่อเนื่อง
แม้แต่ในห้องชาระล้างนี้ ท่อก็ยงั ทอดตัวบนพื้นโดยตรง ซึ่งจะรับน้ าหนักมากจากการเดินไปมาของเด็ก ท่อมักจะเปราะแตกเนื่องจากโดนแสงแดด หากมองดูใกล้ๆ จะมีท่อรั่วหรื อชารุ ด
63
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ชั้นพืน้ ดิน แผ่นไม้ของประตูทางเข้าไม่ตรงแนวตาแหน่ง รอยแตกจะทาให้แมลงเข้าไปได้
พื้นที่ปูแผ่นกระเบื้องอยูใ่ นสภาพที่ดีมากและสะอาดมาก สายไฟสาหรับเต้าเสี ยบปลัก๊ และพัดลมติดตั้งและหุ ม้ ฉนวนอย่างเหมาะสม
ไม่มีหอ้ งจัดเก็บสิ่ งของที่เพียงพอสาหรับเด็กๆ
เด็กๆ ยังต้องต้องนอนบนพื้นอาคาร
มีเครื่ องตรวจจับควันติดตั้งไว้
ไม่ได้ติดตั้งถังดับเพลิงไว้บนผนัง และวางอยูแ่ บบไม่ยึดแน่นในห้อง ลักษณะดังกล่าวทาให้เด็กเล็กเข้าถึงได้ง่ายในกรณี ฉุกเฉิ น
64
ชั้นแรก คุณสามารถไปที่ช้ นั แรกผ่านขั้นบันได ซึ่งติดตั้งไว้ท้ งั ทางปลายด้านซ้ายและด้านขวาของตัวอาคาร ขั้นบันไดอยูใ่ นสภาพที่ไม่ดี ขั้นบันไดเกือบทั้งหมดมีขอบแตกหัก โดยรวมมีรอยกระแทกมาก
ราวจับมีสนิมมาก แสดงว่าไม่มีการทาสี เป็ นเวลานาน ซึ่งทาให้เกิดความเสี ยหายได้
แม้แต่พ้นื ระเบียง นับตั้งแต่คุณเข้าไปสู่หอ้ งบนชั้นแรกก็มีลกั ษณะสึ กหรอมาก พบเห็นเหล็กส่วนเกินออกมาจากคอนกรี ตได้ในบางจุด
เต้าเสี ยบไฟฟ้าบนบันไดทางขวาถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์นอกเหนือจากที่กาหนด เต้าเสี ยบไฟฟ้าและสายไฟเสี ยหาย นาสายไฟมาใช้ลอ็ กประตูอย่างชัดเจน
ห้องบนชั้นแรกมีความเสี ยหายเพิ่มเติมน้อยกว่าห้องที่อยูช่ ้ นั พื้นดินมาก
แผงเพดานหลุดออกมาเนื่องจากมีน้ าเข้าไปได้
65
เนื่องจากไม่มีการซ่อมแซม สิ่ งสกปรกจึ้งสะสมตัวภายใต้โพรง ทั้งนี้อาจมีทาให้มีแมลงอาศัยได้
กระเบื้องบนพื้นชั้นแรกเสี ยหายบางจุด มีรอยแตกร้าวหรื อแตกหัก
66
บานเปิ ดปิ ดหน้าต่างบางอันบนพื้นชั้นแรกไม่สามารถปิ ดได้อีกต่อไป
แม้แต่ในชั้นแรก เด็กๆ ยังคงนอนบนพื้น
เนื่องจากขาดสถานที่จดั เก็บสิ่ งของ ติดตั้งโดยการออกแบบที่ไม่เหมาะสม ทาให้เกิดความเสี ยหายในพื้นที่เพดานได้
67
3.2 โรงเรียนอนุบำล โรงเรี ยนอนุบาลอยูใ่ นสภาพที่ดีมาก พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร
ประตูทางเข้ามีตะแกรงแบบโครงตาข่ายปิ ดที่ส่วนล่างเพื่อป้องกันสัตว์เข้ามาจากทางเข้าของ พื้นที่ แต่ตะแกรงก็มีรูขนาดใหญ่
หลังคามีอายุใช้งานกว่า 20 ปี และมีรอยแตกแยกบนแผงหลังคา ในบางจุด น้ าเข้าไปในส่วนด้านในของอาคาร
ต้นไม้ที่โตขึ้้นปกคลุมแผ่ออกหนึ่งส่วนสี ของพื้นที่การนอนทาลายหลังคาเนื่องจากกิ่งก้านต กลงบนหลังคา
68
69
ส่วนของคอนกรี ตที่ชารุ ด และร่ องน้ าเสี ยที่ชารุ ดมีความเสี่ ยงของการได้รับบาดเจ็บ
สี บนผนังหลุดลอก
ท่อถูกวางทอดตัวอย่างไม่เหมาะสม หากการวางแนวท่อยังไม่สาเร็ จสมบูรณ์
70
รั้วรอบๆ พื้นที่ท้ งั หมดขึ้นสนิม
สนำมเด็กเล่ น ตะแกรงรอบๆ สนามเด็กเล่นมีความเสี ยหายอย่างหนัก ราวบางส่วนชารุ ดหรื อหักงก
อุปกรณ์เลื่อนตัวและการปี นมีความเสี ยหายบางส่วนเนื่องจากรับน้ าหนักมาก
71
ระบบระบายน้ าเสี ยเสี ยหายเนื่องจากมีตน้ ปาล์มใกล้ๆ
รู น้ าถูกปิ ดไว้อย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีการป้องกันที่จาเป็ นสาหรับเด็ก
รั้วโลหะรอบๆ สนามเด็กเล่นเอียงตัวและใข้งานอย่างไม่เหมาะสม พบแผ่นสนิมในบางจุด
72
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร
ประตูทางเข้าของพิน้ ที่การนอนเสี ยหาย
กระเบื้องขอพื้นที่ดา้ นในได้รับความเสี ยหายบางส่วน
การติดตั้งระบบไฟฟ้าไม่เหมาะสม เต้าเสี ยบไฟฟ้าแขวนไว้จากผนัง สายไฟที่มีไฟฟ้าไม่มีการหุ ม้ ฉนวนบางจุด และเด็กอาจไปสัมผัสได้
73
ไม่มีมุง้ ลวดกันยุงในพื้นที่ดา้ นใน หน้าต่างเปิ ดโดยไม่มีการปิ ดคลุม
เด็กๆ นอนหลับบนกล่องไม้โดยไม่มีวสั ดุปูรอง (วัสดุปูรองถูกสัง่ ซื้ อมาในเดือนมิถุนายน 2017)
74
ห้ องชำระล้ ำ มีหวั ฝักบัวอาบน้ า KÄRCHER สองชุดในห้องชาระล้าง ทั้งนี้ไม่ได้เป็ นแนวทางแก้ไขที่สมบูรณ์แบบ หรื อการเปลี่ยนถังน้ าแต่เป็ นตัวเลือกเพิ่มเติมสาหรับการอาบน้ า ท่อยางเชื่อมต่ออย่างไม่ถูกต้อง (มีถงั น้ าใช้งานที่น้ ี ซึ่งอยูใ่ นสภาพที่ดี และปูกระเบื้องใหม่โดยเริ่ มตั้งแต่ตน้ ปี 2017)
ประตูหอ้ งน้ าเป็ นแบบพลาสติก ประตูหรื อกรอบประตูมกั จะเสี ยหาย
เซรามิกและกระเบื้องมีสีเพี้อน
75
3.3 อำคำรสำหรับเด็กหญิง 3.3.1 อำคำรสำหรับเด็กหญิง 1 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร หลังคาเสี ยหายมากและรั่ว การปรับปรุ งอย่างสมบูรณ์วางแผนไว้ในเดือนพฤษภาคม 2017
รางน้ าฝนขึ้นสนิมและรั่วในบางจุด
สี หลุดลอกออกมาจากด้านหน้าอาคารเนื่องจากอายุใช้งานนาน ไม่มีการปรับปรุ งอาคารมายาวนาน 12 ปี
76
มีท่อน้ าที่เปิ ดและปิ ดหุ ม้ ไม่ดี ความเสี ยหายจากน้ ามองเห็นได้ที่เพดานของพื้นที่ดา้ นนอก
ราวลูกกรงที่ระเบียงขึ้นสนิม
(โรงบาบัดน้ าเสี ยมีสภาพที่ดีในเชิงเทคนิค)
77
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร กันสาดบางชิ้นที่บนั ไดขาดหายไป
มีความเสี ยหายจากน้ าที่สาคัญในพื้นที่ส่วนการนอนของเด็กๆ ที่ช้ นั บนสุ ดเนื่องจากหลังคารั่ว
78
ประตูทางเข้าแบบไม้เสี ยหายมาก บางส่วนของด้านล่างชารุ ด น้ าฝนสามารถเข้าไปในส่วนด้านในของอาคารผ่านจุดเหล่านั้น
หน้าต่างมักจะไม่สามาถรปิ ดได้บ่อยครั้งเนื่องจากแผ่นกระจกแต่ละแผ่นหลุดจากตาแหน่งหรื อแตกเส้ยหาย
หน้าต่างในประตูของห้องน้ าชารุ ด
ความเสี ยหายได้รับการซ่อมแซมอย่างไมาเหมาะสมโดยการซีลปื ดรู ในหน้าต่างโดยใช้กระดานอัด ประตูไปยังส่วนเฉลียงด้านหน้าเสี ยหายมาก บานกระจกในหน้าต่างมักจะขาดหายไป
79
กระเบื้องในห้องนอนมีรอบแตกร้างบางส่ วน หรื อหลวม
80
ตูเ้ สื้ อผ้าหรื อชุดผนังเสี ยหายเนื่องจากอายุการใช้งานยาวนาน
มุง้ ลวดมักจะติดตั้งอย่างไม่ถูกต้อง
เส้นทางหนีภยั มีสิ่งกีดขวางบางส่วนสาหรับบันไดด้านขวา ประตูถูกล็อกไว้
81
ห้ องชำระล้ ำ เพดานที่มีปัญหาหล่นลงมาบนพื้นทุกชั้น ท่อ ซึ่งทอดตัวบนแผงเพดานเหล่านี้ ก็มีการรั่วบางส่วน
หน้าต่างในพื้นที่ชาระล้างภูกทาลายทรัพย์สิน หรื อถอดแยกส่วน
พื้นของพื้นที่ชาระล้างผสานกันไม่สนิทกับพื้นของห้องนัง่ เล่น จากผลดังกล่าว ทาให้น้ าจากพื้นที่ชาระล้างเข้าไปในห้องนัง่ เล่น
82
ระบบสุ ขาภิบาลในอาคารทั้งหมดอยูใ่ นสภาพเลวร้ายมาก และไม่สามารถใช้เป็ นห้องน้ าในเวลากลางคืนได้
กระเบื้องสี ขาวในห้องน้ าสี เพี้ยนมาก
ประตูหอ้ งสุ ขาชารุ ดหรื อเสี ยหายมาก
83
ห้องสุ ขาและห้องอาบน้ าบางห้องอุดตันเนื่องจากท่ออุดตัน.
ท่อระบายน้ าถูกตัดออกโดยไม่มีเหตุผลที่ชดั เจน ด้วยสาเหตุน้ ีจึงทาให้ขยะต่างๆได้เข้าสู่ท่อระบายน้ าและทาให้เกิดการอุดตัน
3.3.2 อำคำรสำหรับเด็กหญิง 2 พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร แผงกันสาดที่หลุดร่ วงบ่งบอกถึงว่ามีหลังคารั่ว มองเห็นร่ องรอยน้ ารั่วได้ที่กนั สาด
84
โครงสร้างบันไดคอนกรี ตเสี ยหายอย่างหนัก
สี บนผนังอาคารได้หลุดลอกออก
85
บานประตูหน้าต่างหลุดออกมาจากบานพับด้านหลัง
บานเกล็ดหลุดร่ วงออกจากตัวยึด ไม่สามารถที่จะปิ ดหน้าต่างได้
สายไฟของอาคารเชื่อมต่อในระดับต่าเหนือพื้น ซึ่งเด็กสามารถสัมผัสได้ง่ายมาก
86
ตามระเบียงด้านนอกพบเต้าเสี ยบไฟฟ้าที่เสี ยหายมาก ไม่มีการซ่อมแซมอย่างถูกต้อง
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ประตูไม้บริ เวณทางเข้าได้รับความเสี ยหายบริ เวณด้านล่าง แผ่นไม้หลุดออกมา
ราวบันไดบริ เวณชั้นแรกเป็ นสนิม
87
ภายใน เห็นร่ องรอยน้ ารั่วบนเพดาน
ตัวอาคารนี้ยงั เป็ นพื้นไม้ ซึ่งพื้นไม่สม่าเสมอ
มุง้ ลวดกันยุงชารุ ด ไม่สามารถยึดติดกับหน้าต่างได้
ประตูตูเ้ สื้ อผ้า (ที่เป็ นระบบบานเลื่อน) ชารุ ด
88
ราวตากผ้ามีการติดตั้งไม่เหมาะสม
เด็กๆ ยังต้องต้องนอนบนพื้นอาคารนี้
89
ห้ องชำระล้ ำง ผนังห้องน้ าไม่ได้ทาจากคอนกรี ตที่เหมาะสมและไม่มีทาสี
ฉากกั้นที่เป็ นไม้ ในบริ เวณทางเข้าแตกหัก
น้ าในถังล้นจากบ่อทางด้านขวาของระบบการทาสุ ขาภิบาล
ปัญหานี้เกิดจากการติดตั้งระบบบาบัดน้ าเสี ยที่ไม่เหมาะสม
90
ประตูหอ้ งน้ าชารุ ด ซึ่งมันได้หลุดจากบานพับ หรื อแตกออก การซ่อมระบบการล๊อคที่ไม่ถูกต้องโดยใช้สายเคเบิล
สายไฟฟ้าแขวนตัวหลวมๆ จากผนัง
91
ห้ องอำบนำ้ สี ชมพู ส่วนประกอบของหลังคาลวมหรื อแตกหัก
ไม่มีตวั ควบคุมระดับน้ า นัน่ เป็ นสาเหตุที่ทาให้น้ าไหลเข้าสู่ถงั อย่างต่อเนื่อง
ถังเก็บน้ าสกปรกมากและอยูใ่ นสภาพที่ไม่ดี
92
น้ าสกปรกไหลลงบนถนน ไม่มีระบบการระบายน้ าที่เหมาะสม
93
3.3.3 อำคำรสำหรับเด็กหญิง 3 (บ้ ำนอลิซ) บ้านอลิซโดยทัว่ ไปแล้วสภาพอาคารดีมาก วัสดุก่อสร้างของอาคารดีมาก ข้อบกพร่ องมีแค่พ้นื ที่นอกตัวอาคารและพื้นที่ซกั ล้างของอาคารเท่านั้น
พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร หนึ่งในแผ่นหลังคาหลุดออกไป
ขั้นบันไดในบริ เวณทางเข้าเสี ยหายจากการรับน้ าหนัก (กระเบื้องแตก)
ส่ วนหลัง (ห้ องอำบนำ้ )
หลังคาของห้องอาบน้ ารั่ว แผ่นกั้นที่เป็ นพลาสติกโปร่ งใสเสี ยหาย
94
พื้นไม้ดา้ นหลังอาคารที่ใช้สาหรับตากผ้า เสื่ อมผุ แถบพื้นมีสภาพแย่
กระเบื้องบนขั้นบันไดด้านหน้าถังน้ าแตกหักบางส่วน
95
ราวโลหะในบริ เวณด้านหลังมีสนิมหนาทึบและแตกหักบางส่วน ทาให้เสี่ ยงต่อการร่ วงหล่น
ประตูหอ้ งสุ ขาเกือบทั้งหมดได้รับความเสี ยหายหรื อได้รับซ่อมแซมไม่ถูกต้องด้วยแผงไม้
มีอ่างล้างมือบางตัวหลุดออกมาจากผนัง กระจกหลุดออกมาจากกรอบ
96
ถังน้ ารั่วที่กน้ ถัง
ท่อน้ าถูกวางไว้บนพื้นดินและมีบางส่วนรั่วไหลเนื่องจากมีการเหยียบ
97
Theน้ าสกปรกถูกปล่อยลงในสนามหญ้า (ด้านหลังห้องอาบน้ า) (ไม่มีระบบการบาบัดน้ าเสี ย)
98
3. 3. 4 อำคำรเด็กหญิง 4 (โรงอำหำร) มีหอ้ งพักหญิงสองห้องที่ช้ นั บนสุ ดของโรงอาหาร ห้องพักเดินเข้าได้โดยผ่านชั้นแรกของโรงอาหาร สภาพของหลังคาในส่วนโรงอาหารดูเหมือนจะดีพอสมควร ไม่เห็นร่ องรอยความเสี ยหายจากน้ า แผ่นฝ้าเพดานหลุดเฉพาะในบริ เวณบันไดเท่านั้น
ไม่มีป้ายแสดงความเป็ นส่วนตัวหรื อหน้าจอที่หน้าห้องพัก ซึ่งนาไปสู่การแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม
ปุ่มสวิตช์ไฟขาดหายไป ได้รับการซ่อมแซมที่ไม่เหมาะสม
มีการวางอุปกรณ์พวกอิเล็กทรอนิกส์บางส่ วนไม่เหมาะสม (สายเคเบิลหลุดออกจากผนัง)
99
มีการใช้สายไฟต่อพ่วงอย่างไม่เหมาะสม (ข้อควรระวัง: ใต้เตียงพบว่ามีการเปิ ดเตารี ด)
เนื่องจากไม่มีพ้ืนที่ ตูเ้ สื้ อผ้าถูกเก็บไว้ที่ระเบียง ในพื้นที่ดา้ นใน เสื้ อผ้าสามารถเก็บไว้บนราวตากผ้าเท่านั้น
100
ห้ องชำระล้ ำง ห้องอาบน้ าในสภาพที่แย่มาก ตัวดักเศษขยะเพื่อช่วยระบายน้ าถูกเอาออก เป็ นสาเหตุที่ทาให้ท่อระบายน้ าอุดตัน ส่ งผลให้น้ าท่วมในพื้นที่ซกั ล้าง ห้องสุ ขาอยูใ่ นสภาพดี อย่างไรก็ตาม ไม่ได้ทาความสะอาดและสกปรกมาก
ระบบการชาระล้างมีการใช้สายยางเนื่องจากมีการผสมของอุจจาระและน้ าไหลลงบนพื้นห้ องสุ ขา ดังนั้นสี กระเบื้องมีจึงเปลี่ยนสี อย่างมาก
ถังโลหะเริ่ มเกิดสนิม
101
ท่อที่มีซีลที่หลุดออกมาจากผนังมีการปิ ดอย่างไม่เหมาะสม ทาให้มีน้ าหยดลงมา ทาให้กระเบื้องมีการเปลี่ยนสี
กระเบื้องในห้องชาระล้ง่ เสี ยหายในระหว่างการซ่อมบารุ ง งานซ่อมบารุ งไม่ได้กระทาอย่างเสร็ จสมบูรณ์
102
ตัวดักขยะในห้องอาบน้ าถูกถอดออก ทาให้ส่ิ งสกปรกและวัตถุอื่นๆ เข้าสู่ท่อระบาย ทาให้น้ าระบายไม่ดีและสะสมอยูใ่ นห้องน้ า
103
ระบบสุ ขำภิบำล (ชั้นแรกของโรงอำหำร)
พบร่ องรอยน้ ารั่วบนเพดาน
ท่อรั่ว น้ าระบายออกไม่ดี พบของผสมของน้ าและสิ่ งสกปรกบนพื้น
104
ห้องน้ าไม่สามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสม สี ของเซรามิคเปลี่ยนไปมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการรั่วไหลในห้องสุ ขา
ถังน้ าถูกใช้งานอย่างหนัก การระบายน้ าทางานไม่ดีอย่างเห็นได้ชดั พบของผสมของน้ าและสารเคมีบนพื้น
3.4 โรงอำหำร จากภายนอก อาคารดูเหมือนแข็งแรงดี อย่างไรก็ตามโดยภาพรวม สามารถพบมองเห็นข้อบกพร่ องใหญ่ๆ ในวัสดุก่อสร้างได้
105
เนื่องจากอาคารมีอายุเพียง 3 ปี ความเสี ยหายเชิงโครงสร้างอาจไม่ได้เกิดจากการก่อสร้างที่ไม่เหมาะสม นอกจากนั้นวัสดุที่ใช้ไม่คงทนได้ตามข้อกาหนดและต่อโหลด
พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร หนึ่งในข้อบกพร่ องรุ นแรงที่สุดคือหลังคารั่ว และความเสี ยหายที่เกิดจากน้ า ซึ่งเกิดขึ้นทุกที่ในอาคาร
ความเสี ยหายที่เกิดจากน้ าสามารถมองเห็นได้ที่กนั สาดรอบอาคาร
พบลักษณะการก่อสร้างหลังคาที่ไม่ถูกต้องและคุณภาพวัสดุที่ใช้ไม่ดี
106
การระบายน้ าถูกแยกส่วนออกด้วยตัวเองจากรางน้ า ทาให้น้ าซึมเข้าไปในห้อง (ห้องสุ ขาของผูเ้ ยีย่ มชม)
107
ท่อน้ าทิ้งบนหลังคาถูกวางเอียงอย่างไม่เหมาะสมและบางส่วนหลุดออก
สี ผนังไม่สามารถทนต่อสภาพอากาศภายนอกที่รุนแรงได้ ทาให้มีการหลุดลอกเป็ นแผ่น
108
กระเบื้องที่ใช้บนขั้นบันไดมักจะแตกร้าวหรื อหัก
แผ่นหิ นอ่อนที่ใช้เป็ นแผงด้านบนสาหรับผนังก็เสี ยหายด้วยเช่นกัน
109
พื้นที่ชาระล้างด้านหลังสาหรับล้างถ้วยจานของเด็กเป็ นปัญหาหลักในพื้นที่ดา้ นนอกอาคารของโรงอาหาร เมื่อติดตั้งถังและท่อระบายน้ าเกิดข้อผิดพลาดร้ายแรงขึ้น
ท่อพลาสติกได้รับการวางทอดตัวโดยตรงบนพื้นดิน และตอนนี้ได้รับความเสี ยหายเนื่องจากการไม่เอาใจใส่ของเด็กๆ
ระบบระบายน้ าขนาดไม่ใหญ่มากพอ
เศษข้าวยังอุดตันไปกั้นการระบายน้ าที่ดี
ระบบระบายจากหลุมไม่เพียงพอต่อปริ มาณน้ าเสี ยอย่างชัดเจน ทาให้เกิดการสะสมตัวของน้ าเสี ย 110
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร ชั้นพืน้ ดิน
111
สามารถมองเห็นข้อบกพร่ องในการก่อสร้างบางจุดได้จากพื้นที่ดา้ นในของชั้นพื้นดิน ปัญหาด้านสุ ขอนามัยที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากการขาดกาลังคนและการขาดการควบคุมดูแ ลเด็ก พบความเสี ยหายจากน้ าในห้องน้ ารับแขก ซึ่งเกิดจากหลังคารั่วไหล และการระบายของรางน้ าฝนไม่ดี
112
ท่อถูกปิ ดอย่างไม่ถูกต้อง น้ าไหลลงกระเบื้องและเปลี่ยนสี กระเบื้อง
ชั้นแรก ท่อน้ า/ท่อน้ าทิ้งรั่วใกล้เพดายังเป็ นสาเหตุให้เกิดความเสี ยหายจากน้ านอกเหนือจากจุดบกพ ร่ องที่หลังคา
113
หน้าต่างที่ปิดได้ยาก หรื อไม่สามารถปิ ดได้
อุปกรณ์ติดยึดผ้าม่านหลุดร่ วงออกมาจากเพดาน
ระบบไฟฟ้าวางแนวอย่างไม่เหมาะสม บางส่วนของสายเคเบิลหลุดจากผนัง บางส่วนเสี ยหายเนื่องน้ ารั่ว ไฟสป็ อตไลท์แขวนตัวจากสายไฟ
114
3.5 โรงครัว พืน้ ที่นอกตัวอำคำร ความเสี ยหายที่เกิดจากน้ าสามารถมองเห็นได้ที่กนั สาดในพื้นที่นอกตัวอาคาร
ท่อน้ า (พลาสติก) หลุดออกจากที่ยึด และบางส่วนแขวนตัวหลวมๆ เหนือถังเก็บน้ า
115
พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร มีความเสี ยหายที่เกิดจากน้ าด้านในโรงครัวเนื่องจากมีน้ าซึมเข้าผ่านจุดรั่วไหลในหลังคา และท่อระบายน้ าเสี ยที่มีปัญหา ซึ่งทอดตัวอยูบ่ นเพดาน
กระเบื้องของห้องครัวได้รับความเสี ยหายบางส่วน
116
ในพื้นที่การปรุ งอาหาร สามารถมองเห็นการเปลี่ยนสี ของกระเบื้องอย่างรุ นแรง
117
4. ข้ อเสนอแนะสำหรับวัสดุก่อสร้ ำง ส่วนที่สองของโครงการคิดนี้ได้จดั ทาขึ้นเพื่อให้คาแนะนาแก่ผรู ้ ับผิดชอบภายในวัดสระแก้ว ซึ่งจะนาไปสู่การใช้วสั ดุก่อสร้างที่มีความคงทนสู งในอนาคต การจัดทารายงานสถานะปัจจุบนั แสดงให้เห็นว่าการปรับปรุ งที่ทาไว้ และการสร้างใหม่ยงั ไม่ได้ความยัง่ ยืนที่ตอ้ งการ จากประสบการณ์ที่สง่ั สมมาของโครงการ Iceman Charity เกี่ยวกับการปรับปรุ งบ้านบางเสด็จจะช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของโครงการที่คล้ายกันในอนาคต โครงการบ้านบางสเด็จช่วยให้ Iceman Charity สามารถทางานร่ วมกับผูเ้ ชี่ยวชาญและบริ ษทั ผูว้ างแผนการก่อสร้างที่มีชื่อเสี ยง (JPConstruction) ดังนั้นโครงการปรับปรุ งนี้จึงถือว่าเป็ นโครงการนาร่ องและแสดงแนวทางการวางแผนและดาเนินการอย่างยัง่ ยืนสาหรับอาคารสมัยใหม่ที่ได้ตามม าตรฐานสมัยใหม่ได้ เป้าหมายของโครงการ Iceman Charity คือการนาสถานที่พกั อาศัยสาหรับเด็กให้ไปสู่มาตรฐานขั้นต่าของสหภาพยุโรปภายในปี 2025 ดังนั้น ฉันขอแนะนาให้ใช้หน้าต่อไปนี้เป็ นแนวทางและช่วยเหลือสาหรับโครงการในอนาคต กระนั้นก็ไม่มีขอ้ โต้แย้งว่าความยัง่ ยืนและความทันสมัยจะทาให้ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างสู งขึ้นกว่าที่เคยเป็ นมา อย่างไรก็ตามวัสดุก่อสร้างก็คงอยูไ่ ด้นานมากกว่าคุม้ ค่ากับค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นในตอนแรกเริ่ ม การปรับปรุ งคุณภาพชีวิตของเด็กยังคงเป็ นจุดประสงค์หลักของ Iceman Charity ซึ่งเป็ นพื้นฐานในการเตรี ยมความพร้อมไปสู่อนาคตของเยาวชนและทาให้พวกเขาไม่พลาดการเชื่อมต่อกับโลกสมัยใหม่ (แม้แต่ในกรุ งเทพฯ) โดยทัว่ ไป ฉันขอแนะนาให้ใช้วสั ดุก่อสร้างที่ใช้ในอาคารเพื่อการควบคุมดูแลและพื้นที่สาธารณะ (ตัวอย่างเช่น ในโรงพยาบาลและสถานที่คุมขัง ฯลฯ) ในอนาคต วัสดุเหล่านี้มีขอ้ ได้เปรี ยบเชิงการตัดสิ นใจที่วา่ มีคุณสมบัติตรงตามข้อกาหนดที่ตอ้ งการสาหรับอาคารสาธารณะ และไม่ได้มีความทนทานในระยะสั้นเหมือนกับวัสดุจากของภาคเอกชน (ซึ่งมักใช้ในวัดสระแก้วด้วยเหตุผลด้านการเงิน หรื อให้มาโดยผูส้ นับสนุน)
118
4.1 หลังคำ
Iceman
Charity
ใช้กระเบื้องโรมันของ
SCG
ซึ่งเป็ นแผงหลังคาที่ได้มาตรฐานทันสมัยในประเทศไทยและมีอายุการใช้งานยาวนานสู งสุ ดถึง หลังคานี้คงทนต่อสภาพอากาศแม้ในสภาพอากาศที่เลวร้าย ซึ่งมาจากสี ที่ขจัดน้ าและสะท้อนแสงอาทิตย์
-
ความทนทานยาวนาน (15 ปี )
-
ไม่มีส่วนประกอบของใยหิ น
-
คุณภาพสู ง
-
ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
การคานวณต้นทุน:
ต้นทุนห้องปฏิบตั ิการ + ต้นทุนวัสดุ (ม.2)
119
สาหรับโครงการบางเสด็ง 15
ปี
ฉันขอแนะนาให้ใช้ใช้สลักยึดแบบตะขอของ SCG (สลักยึดสาหรับแผงหลังคา) สลักตัวแบบนี้ป้องกันการซึมผ่านของน้ า มัน่ ใจในการใช้:
-
ซีลยาง
-
วัสดุปลอดสนิม
120
121
122
123
อีกประเด็นพื้นฐานหนึ่งที่ควรคานึงถึงในการสร้างหลังคาคือการซี ลปิ ดให้แน่นและการป้องกันความร้อนของแผงหลังคา ในบ้านอลิซ แผงหลังคาถูกเคลือบผิวเพิ่มเติมด้วยสารเคลือบ ProColor (หรื อการทาด้วยแปรงลม) คาศัพท์: "การเคลือบผิว" ข้อดี
-
ความต้านทานการแตกร้าวและการยึดเกาะสู ง
-
ก่อให้เกิดการเคลือบผิวแบบยึดหยุน่ และแบบอีลาสติก ซึ่งให้ความทนทานต่อการเคลื่อนไหวเชิงโครงสร้าง
-
ทนต่อรังสี ยูวีและสภาพอากาศ
-
ฉนวนกันความร้อน
-
ไม่เป็ นพิษ
(ผลิตภัณฑ์ เดียวกันนีย้ ังแนะนาสาหรั บการทาสีด้านภายนอก คุณสามารถหาข้ อมูลจาเพาะได้ ในแนวคิ ดถัดไป "สี") แนวทางแก้ไขปัญหาทางเลือกอื่นคือใช้สารซีล Rain Kote Fix & Seal ซึ่งเป็ นสารซีลเชิงพาณิ ชย์ ประกอบด้วยบิทูเมนชนิดพิเศษ เรซินโพลีเมอร์ และสารเติมแต่ง นามาใช้ทาเคลือบแบบเย็นและติดแน่นกับคอนกรี ต ไม้ โลหะ แผ่นฉนวนกันความร้อนและพลาสติก สารซีล Rain Kote Fix & Seal มีความต้านทานการไหลสู งเหมาะสาหรับหลังคาแนวตั้งและแนวนอน นอกจากนี้ยงั สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพบนพื้นผิวที่มีความชื้น นามาใช้ในบ้านบางเสด็จเพื่อซีลอุดรู สกรู และซีลแผงหลังคาที่ติดกัน ข้อดี -
ใช้งานได้กบั พื้นผิวที่มีความชื้น
-
เหมาะสาหรับหลังคาแนวตั้งหรื อแนวนอน
-
ยึดเกาะแน่นกับคอนกรี ต โลหะ ไม้ และวัสดุอื่น ๆ ได้ดี
-
ซีลปิ ดและหยุดการรั่วไหลของน้ า
124
125
126
4.2 เพดำน 4.2.1 แผงเพดานสไตโรโฟม เพดานด้านในสามารถยึดติดกับแผ่นสไตโรโฟม/โพลีสไตรี นได้อย่างง่ายดาย คุม้ ทุนและไม่จาเป็ นต้องมีโครงสร้างพิเศษที่มีราคาแพง รู ปแบบของฝ้าเพดานนี้แนะนาสาหรับห้องนัง่ เล่นที่แห้งเท่านั้น ข้อดี
-
ติดตั้งได้ง่าย
-
ตัวเลือกที่ปรับปรุ งสาหรับการติดตั้งระบบไฟฟ้าและสายไฟ
-
เปลี่ยนแทนได้ง่าย
-
ไม่จาเป็ นต้องทาสี
-
โครงสร้างย่อยสามารถเสริ มความแข็งแรงในส่วนเป้าหมายเพื่อให้สามารถติดยึดพัดลมและโคมไฟกับสิ่ งอื่นๆ ได้
127
4.2.2 บานเกล็ดสแตนเลสสตีล บานเกล็ดสแตนเลสสตีลควรใช้ในพื้นที่เปี ยกและนอกตัวอาคาร บานเกล็ดที่มกั เป็ นแบบตรงตามสี เป็ นแบบป้องกันสนิม และต้านทานต่อสภาพอากาศทุกแบบได้ดีมาก ทาความสะอาดได้ง่ายด้วยเครื่ องทาความสะอาดแรงดันสู ง ในประเทศไทยมีแผ่นบานเกล็ด 2 แบบที่ยึดด้วยสกรู และบานเกล็ดที่ติดยึดเข้ากับโครงสร้างย่อย บานเกล็ดในบ้านบางสเด็จเป็ นแบบยึดด้วยสกรู
เอกสำรข้ อมูลจำเพำะ
128
4.3 สี ทำผนัง โครงการ Iceman Charity จะใช้เฉพาะสี Pro Color สาหรับการปรับปรุ งโครงสร้างใหม่ในอนาคต สี ตวั นี้เป็ นผลิตภัณฑ์เกรดพรี เมี่ยมแบบใหม่ที่ผลิตในประเทศเยอรมนีซ่ ึงมีจาหน่ายในประเทศไทยเป็ นเวลา 1 ปี ในบ้านอลิซ ผนังด้านในและด้านนอกตลอดจนหลังคาทั้งหมดถูกทาสี ดว้ ย Pro Color ในขณะที่บา้ นบางเสด็จใช้กบั ผนังด้านในและด้านนอก การ"เคลือบผิว”อย่างสมบูรณ์ดว้ ยสี Pro color กันความร้อนทาให้ได้อุณหภูมิหอ้ งลดต่าลงไปถึง 9 องศาในช่วงหน้าร้อน 4.3.1 พืน้ ทีน่ อกอำคำร ฉันขอแนะนาให้ใช้สี Pro Color House สาหรับพื้นที่นอกตัวอาคาร สี น้ ีให้: -
ความทนทานต่อพายุฝน
-
การสมานรอยแตกร้าว
-
ซึมเข้าเนื้อวัสดุได้
-
สะท้อนความร้อน (ต้านแสงยูวี)
กำรจัดเตรียม ควรทาความสะอาดผนังด้านนอกด้วยเครื่ องทาความสะอาดฉี ดน้ าแรงดันสู ง งานเตรี ยมเบื้องต้นช่วยให้มนั่ ใจว่าพื้นหลังปลอดฝุ่นและเตรี ยมผิวได้อย่างเหมาะสมสาหรับการทาสี ในภายหลัง ไม่เกิดรอยแตกขนาดเล็กเมื่อใช้สี Pro Color House สี น้ ีจะไปอุด/สมานรอยแตกขนาดเล็กและป้องกันไม่ให้รอยแตกก่อตัวขึ้นมาด้วยคุณสมบัติอีลาสติกของสี (ดูที่รายละเอียดของผลิตภัณฑ์) สี น้ ีสามารถลดค่าใช้จ่ายของการซ่อมแซมรอยแตกบนผนังด้านนอกได้อย่างมีนยั สาคัญ พื้นที่เสี ยหายขนาดใหญ่ตอ้ งได้รับการซ่อมแซมก่อนทาสี
129
กำรจัดเตรียมสี Pro Color
(
ล
ำ
ำ คลอ
อ
ำ คลอ ค ำ
พ ำ
อ
อ พ
ล
อ
อ อ พอ
ำ
ำ
อ
ำ
ำ )ค ำ
ค
ค อ
ำ
อ
ำ คลอ
อ
อ พ
ล
7ไ ค อ
1. สี พ้นื (สี รองพื้น)
ำ อ พ อ
ำ
ำ อำ
อ พ ำ
อ
ำ
พ
ำ
ำ คลอ
ลำ อ ค ล
อ ำ
Pยo Coผoย houรต, Pยo Coผoย homต, Pยo Coผoย รตaผ ล
Pro Color wind 2. สี ทาชั้นนอกสุ ดสี ขาว จะต้องทาสี สองครั้งเพื่อให้ได้ความหนาที่จาเป็ น ด้วยเหตุผลการประหยัดค่าใช้จ่าย การทาสี ช้ นั แรกจะเป็ นสี ขาวและไม่มีผงสี 3. สี ทาชั้นนอกสุ ดสี ต่างๆ สี ช้ นั ที่สองใช้สีที่ตอ้ งการ (ให้ดูสีในตาราง) ผูผ้ ลิตรับประกันอายุการใช้สีทาภายนอก 10 ปี ด้วยวิธีการจัดเตรียมผิวแบบทัว่ ถึง และการปล่อยให้มีระยะเวลำสี แห้ ง พื้นหลังที่เหมาะสม: o
พื้นหลังจากแร่
o
ปูนพลาสเตอร์
o
คอนกรี ต
o
หิ นทรายผสมหิ นปูน
o
แผ่นซีเมนต์ไฟเบอร์
o
สี เก่าที่สมบูรณ์
o
พีวีซีแข็ง
130
o
ไม้
o
วอลเปเปอร์
o
โลหะ
ข้ อดีของสี Pro Color (พืน้ ทีน่ อกตัวอำคำร): o
การเคลือบสี ประสิ ทธิ ภาพสู งสาหรับเซรามิก
o
ปราศจากสารพิษ
o
ซึมเข้าเนื้อวัสดุได้
o
ไอน้ าซึมผ่านได้
o
กันน้ าและกันฝน
o
สะท้อนความร้อน
o
สี แห้งไว / การสมานรอยแตก (การยืดตัวที่จุดแตกหักมากกว่า 150%)
o
ทนต่อการขัดสี (ทนการชะล้าง)
o
ไม่ติดไฟ
o
ทนต่อการปล่อยก๊าซอันตราย
o
ทนต่อการแผ่รังสี ยูวีและสภาพอากาศได้อย่างดีมาก
4. 3. 2 พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร การจัดเตรี ยมสาหรับพื้นที่ในตัวอาคารเป็ นเช่นเดียวกับพื้นที่นอกตัวอาคาร ข้ อดีของสี Pro Color (พืน้ ทีใ่ นตัวอำคำร): o
การควบคุมความร้อน
o
สามารถมีอิทธิ พลต่อสภาพอากาศในตัวอาคาร
o
ลดความเสี่ ยงของเชื้อรา
o
ไม่มีตวั ทาละลาย
o
ซึมเข้าเนื้อวัสดุได้
o
ไม่ติดไฟ (A2)
o
ทนทานและทนต่อการขัดสี
o
เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
o
ได้รับการรับรองมาตรฐานTÜV
131
โดยทัว่ ไปสี Pro Color มีราคาแพงกว่าสี ทว่ั ไปในประเทศไทย 30% สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายจากการจัดการรักษารอยแตกที่ไม่จาเป็ นบนผนังและความยัง่ ยืน ซึ่งรับประกันอย่างน้อย 10 ปี สาหรับโครงการ Iceman Charity แล้ว ข้อดีเชิงการตัดสิ นใจคือสี เป็ นแบบสามารถชะล้างออกได้ และผนังด้านในและด้านอกก็สามารถทาความสะอาดได้
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
4.4 ห้ องนั่งเล่ น / พืน้ ทำงเดิน
เพื่อให้ได้ความยัง่ ยืนของพื้นที่ช้ นั พื้นดินเพิม่ ขึ้น โครงการ Iceman Charity ได้ใช้ระบบพื้นอาคารที่เรี ยกว่า Atox Atria เมื่อทาการปรับปรุ งบ้านบางเสด็จ ระบบพื้นนี้มกั ใช้ในการก่ออาคารบริ ษทั คลังสิ นค้าโรงรถ โรงพยาบาล และสถานที่ที่คล้ายกัน ระบบพื้นนี้ใช้วสั ดุเรซินโพลีเอไมด์อีพอกไซด์ ซึ่งทาความสะอาดได้ง่าย สิ่ งสกปรกและอนุภาคอื่นๆ จะไม่เข้าไปในร่ องรู (ไม่มีการดูดซับ) เนื่องจากพื้นระบบนี้เป็ นแบบไม่สามารถซึ มผ่านได้อย่างสมบูรณ์ พื้นแบบนี้จาแนกได้เป็ นพื้นที่ไม่มีสารพิษ พื้นแบบ Atox Atria เป็ นพื้นที่มีความเสถียรมาก ระบบพื้นคุณภาพสู ง ซึ่งมักใช้ในพื้นที่ที่รับน้ าหนักสู ง วัสดุเคลือบผิวประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ: อีพอกไซด์เรซิน (EP) และ สารทาให้แข็งตัว องค์ประกอบทั้งสองส่วนผสมรวมกันก่อนใช้ในกระบวนการไม่นาน ความหนาการเคลือบผิวอยูท่ ี่ไม่กี่มิลลิเมตรเมื่อใช้อีพอกไซด์เรซิน คุณลักษณะสมบัติดา้ นประสิ ทธิ ภาพของพื้นคล้ายกับอีพอกไซด์เรซิน โดยขึ้นอยูก่ บั อัตราส่วนผสมที่ถูกต้องของสารตัวเชื่อมโยงและสารทาให้แข็งตัว เราขอแนะนาอย่างยิ่งให้ใช้สดั ส่วนการผสมตามที่ระบุบนบรรจุภณ ั ฑ์ของผลิตภัณฑ์ โปรดทราบว่า เมื่อปูพ้ืนแล้วควรมีการใช้รูปแบบกันลื่นเพื่อป้องกันไม่ให้เด็กได้รับบาดเจ็บ ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงมีการเคลือบเม็ดแก้วทรงกลมด้านบนของผิวเคลือบ ซึ่งไม่มีค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมและรวมอยูใ่ นราคาของระบบพื้นแล้ว คลาสการกันลื่นที่มองเห็นได้คือระดับ R13 ราคาต่อตารางเมตรของพื้นระบบนี้อยูท่ ี่ประมาณ 12.15 ยูโร (ประมาณ 376.00 บาท)
144
ข้ อดีของระบบพืน้ Atox Atria •
มีความเสถียร ต้านทานการขัดสี สิ่ งสกปรกและปราศจากการสึ กหรอ
•
ยืดหยุน่ มาก
•
เรี ยบสม่าเสมอ ทาความสะอาดง่าย
•
การยึดเกาะที่ดีเยี่ยมเป็ นพิเศษ
•
ทนต่อสารเคมีได้ดี
•
ทนน้ า ทนน้ ามัน
•
ทนความร้อน
ข้อดีที่สาคัญคือการทากระบวนการของอีพอกไซด์เรซินอย่างรวดเร็ ว พื้นแบบ Atox Atria โดยปกติสามารถเดินได้หลังจากผ่านไปประมาณ 20 ชัว่ โมงและสามารถรับน้ าหนักได้หลังจากผ่านไป 3 วัน ทั้งนี้ยงั เป็ นประโยชน์สาหรับการใช้ในห้องนัง่ เล่นของเด็กเนื่องจากพื้นแบบนี้สามารถใช้งานได้หลังผ่านไปไม่นาน
145
146
147
148
กำรจัดเตรียมสำหรับกำรทำพืน้ อำคำร ในความเห็นของเรา การเตรี ยมการควรจะดาเนินการโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ หากไม่ได้จดั เตรี ยมฐานด้านล่างอย่างถูกต้อง อายุการใช้งานของพื้นจะสั้นมาก การเตรี ยมต้องได้ตามเกณฑ์เงื่อนไขบางอย่างเพื่อให้พ้นื สามารถก่อเกิดพันธะการเชื่อมโยงกันฐานด้านล่าง ฐานด้านล่างจะต้องมีความเค้นแรงกดเพียงพอ ซึ่งประเมินได้โดยใช้คอ้ น Schmidt นอกจากนี้ ฐานด้านล่างจะต้องแห้งเพียงพอก่อนที่จะเคลือบพื้นระบบ Atox Atria Harz ลงไป ความชื้นตกค้างสามารถตรวจสอบได้โดยใช้เครื่ องวัดความชื้น ควรมีขนาดไม่เกิน 4 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก ขั้นตอนทัว่ ไปของการเตรี ยมฐานด้านล่างสาหรับพื้นอีพอ็ กไซด์เรซินได้แก่ การทาความสะอาด การบดย่อย การตัด และการทุบแบบจุด วัสดุรองพืน้ (Idrosem) การใช้วสั ดุรองพื้นยังสามารถสนับสนุนต่อความทนทานของพื้นอีกด้วย เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ฉนั แนะนา Idrosem ส่วนใหญ่ใช้ในสถานที่สาธารณะ เช่น โรงพยาบาลโรงเรี ยน เรื อนจา ฯลฯ และสามารถทนทานต่อการรับน้ าหนักสู ง Idrosem เป็ นวัสดุรองพื้นที่ใช้งานกันทัว่ ไป การเคลือบผิวแบบเรี ยบง่ายพร้อมให้คุณสมบัติที่ดีเยี่ยม เช่น ความทนทานต่อสารเคมี ความแข็งแรงในการยึดเกาะสู ง และความเหมาะสมในการเป็ นสารเพิ่มเนื้อทาให้ Idrosem เป็ นวัสดุรองพื้นที่สมบูรณ์แบบสาหรับพื้นแบบ Atriaplastic ผิวที่เคลือบแล้วและแห้งแล้วจะกันการดูดซับ ปลอดฝุ่น และต้านทานต่อเชื้อราและแบคทีเรี ย สาหรับการเคลือบผิวที่ประสบผลสาเร็ จของ Idrosem WP สิ่ งสาคัญที่มองเห็นได้ชดั เจนคือฐานด้านล่างจะต้องสะอาดอย่างทัว่ ถึง ต้องแน่ใจว่าไม่มีน้ ามันหกรั่ว ไม่เปี ยกชื้น ไม่มีฝ่ นุ และไม่มีส่ิ งตกค้างของซีเมนต์มอร์ตาร์ นอกจากนี้ จะต้องดูแลเพื่อให้แน่ใจว่าพื้นหลังก่อนหน้านี้ไม่มีอีพอกไซด์เรซินเนื่องจากวัสดุน้ ีไม่เข้ากันกับ Idrosem WP หลังจากทาความสะอาดพื้นแล้ว ให้เคลือบวัสดุ Idrosem-Primer 1-2 ครั้ง (ขึ้นกับคุณสมบัติของพื้น) จะต้องดูแลอย่างน้อย 1224 ชัว่ โมงของระยะเวลาการแห้งตัวที่กาหนดไว้ก่อนเคลือบผิวพื้น Atriaplasti
149
150
151
4.4.1 บันได ฉันขอแนะนาให้ใช้หินธรรมชาติสาหรับบันไดในอนาคต หิ นธรรมชาติเป็ นหิ นที่พบได้ในธรรมชาติ ส่วนใหญ่มาจากแห่ลงย่อยหิ นหรื อเหมืองหิ น ซึ่งจะต้องเตรี ยมผิวเท่านั้น (ขัดผิว) หิ นธรรมชาติทว่ั ไป: หิ นชนวน หิ นอ่อน หิ นแกรนิต หิ นบะซอลต์ หิ นทราย หิ นกรวด
กำรป้ องกันกำรลื่น เช่นเดียวกับพื้นที่เปี ยก สิ่ งสาคัญสาหรับบันไดในพื้นที่นอกตัวอาคารและในตัวอาคารก็คือกันลื่นได้ และปลอดภัยสาหรับการใช้งาน ฉันขอแนะนาให้ใช้ระดับความต้านทานการลื่น R10 (10° ถึง 19°)
การป้องกันการลื่น พื้นที่ทางาน พื้นที่เชิงพาณิ ชย์และพื้นที่สาธารณะ DIN 51130 กลุ่มการประเมินผล
มุมยกเอียง
R9
>6°-10° ค่าสัมประสิ ทธิ์ การเสี ยดทานแรงยึดเกาะต่า
R 10
>10°-19° ค่าสัมประสิ ทธิ์ การเสี ยดทานแรงยึดเกาะปกติ
R 11
>19°-27° ค่าสัมประสิ ทธิ์ การเสี ยดทานแรงยึดเกาะสู ง
R 12
>27°-35° Lค่าสัมประสิ ทธิ์ การเสี ยดทานแรงยึดเกาะสู งมาก
152
กำรต้ ำนทำนต่ อกำรขัดสี การปูพ้นื ทั้งหมดอาจเกิดการสึ กหรอได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ปัจจัยต่อไปนี้: •
ความถี่การใช้งาน
•
เงื่อนไขการสกปรกหรื อการทาความสะอาด
•
ของความเค้นเชิงกลเนื่องจากการเดิน วิ่ง ...
•
ความแข็งของการเคลือบ
•
ความหนาของการเคลือบ
•
ระดับความมันเงาของผิวเคลือบ (สี ดา้ น กึ่งด้าน มันเงา)
•
สี และความสว่างของการเคลือบ
ปัจจัยเสี ยงของผิวเคลือบทางทฤษฎี (การสึ กหรอของพื้นผิว/รอยขีดข่วน) ในระหว่างการใช้งานจะได้รับการทดสอบโดยใช้วิธีการทดสอบมาตรฐานที่ใช้เครื่ องทดสอบของสถาบัน American Porcelain and Enamel Institute (PEI) และแบ่งออกเป็ นคลาส 0-5 ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 10545 -7 (ดูในตาราง) คลำส กำรหมุน
กำรใช้ งำนทัว่ ไป
0
100
โดยทัว่ ไปเฉพาะค่าทางทฤษฎีเท่านั้น
1
150
เฉพาะวัสดุผนังเท่านั้น
2
600
เฉพาะวัสดุผนังเท่านั้น
3
750/1500
เช่น สาหรับพื้นผิวที่ไม่ได้รับน้ าหนัก (เท้าเปล่าในห้องน้ า)
4
2100*6000/12000 เช่น น้ าหนักสู งที่ประตูหน้า
5
>12000
สาหรับน้ าหนักสู ง เช่น โรงรถ
153
154
รำวป้ องกันบันได โครงการ Iceman Charity
ใช้ราวป้องกันบันไดจากสเตนเลสสตีลสาหรับในพื้นที่ท้ งั ในตัว อาคารและนอกตัวอาคาร ในบ้านบางสเด็จ ขอบบันไดจากสเตนเลสสตีลพร้อมปี กข้างถูกวางทอดตัวบนขั้น บันไดทั้งหมด (คลาสการป้องกันลื่นระดับ R10 DIN 51130)
ความทนทานสามารถเพิ่มได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ตอ้ งรั บน้ าหนักมาก เช่น บันได ในเวลาเดียวกันก็ได้ความมัน่ ใจของขั้นบันไดขึ้นบนและลงล่าง
155
156
4.5 ระบบไฟฟ้ ำ 4.5.1 ไฟ LED ระบบไฟแสงสว่างจะต้องพิจารณาด้านความยัง่ ยืนด้วย ฉันขอแนะนาให้เปลี่ยนหลอดไฟที่มีอยูแ่ ล้วโดยใช้หลอดไฟ LED และโดยทัว่ ไปการใช้หลอด LED สาหรับการปรับปรุ งใหม่และการสร้างอาคารใหม่ในอนาคต ในระหว่างการปรับปรุ งบ้านบางเสด็จ มีการใช้หลอดที่เรี ยกว่าเกรด T-8 กำรเปลีย่ นหลอด LED แบบ T8 มำแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ สรุปข้ อดีของหลอด LED กำรทำงำน •
ความสว่างสู งสุ ด 100% ทันทีหลังจากที่เปิ ดสวิตช์
•
การส่องสว่างสดใสสม่าเสมอ ไม่มีแสงประกายกะพริ บ การส่องสว่างเหมาะสาหรับห้องนอน ห้องนัง่ เล่นรวม และทางเดิน
•
ไม่มีเสี ยงรบกวน ไม่มีเสี ยงรบกวนจากบัลลาสต์
•
ความสว่างมีความเสถียรมากกว่าตลอดอายุการใช้งานเมื่อเทียบกับการสู ญเสี ยความสว่างของหลอดฟลูออเรสเซนต์ (หลอด LED เสถียรนานกว่าประมาณ 5 ‰ ในช่วง 1,000 ชัว่ โมง)
•
ให้ความสว่างเทียบเท่าโดยตรงกับหลอดฟลูออเรสเซนต์
•
อายุการใช้งานยาวนานมาก (50,000 ชั่วโมงเมื่อเปรี ยบเทียบกับ 6,500 ชัว่ โมงของหลอดฟลูออเรสเซนต์)
•
อายุการใช้งานหลอด LED ที่ใช้ 24 ชัว่ โมงต่อวันคิดเป็ นประมาณ 5.7 ปี เมื่อเปรี ยบเทียบกับ 0.74 ปี สาหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์
157
กำรลดต้ นทุน •
ลดการใช้พลังงาน: หลอด LED ความยาว 60 ซม. กินไฟเพียง 9 วัตต์ หลอด LED ขนาด 120 ซม. กินไฟเพียง 18 วัตต์ และหลอด LED 150 ซม. กินไฟเพียง 22 วัตต์
•
ประสิ ทธิ ภาพสู งทาให้ประหยัดพลังงานมาก (ประหยัดประมาณ 13 วัตต์โดยไม่ตอ้ งมีสตาร์ทเตอร์และบัลลาสต์) ตัวอย่างเช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 150 ซม.: กาลังไฟโดยรวม = 58 วัตต์ + 13 วัตต์ = 71 วัตต์
•
ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน (ในกรณี หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 150 ซม.: 22 วัตต์เทียบกับ 71 วัตต์จะเท่ากับประมาณระดับ 70 % กำรประหยัดพลังงำน)
•
การค่าใช้จ่ายการบารุ งรักษา หลอด LED ไม่ตอ้ งมีการบารุ งรักษา
•
ลดค่าใช้จ่ายการเปลี่ยนหลอด
•
การลดค่าใช้จ่ายของเครื่ องปรับอากาศเนื่องจากเกิดความร้อนต่า
•
การลดค่าใช้จ่ายการจัดเก็บสต็อกวัสดุอุปกรณ์ระบบแสงสว่าง
•
การลดค่าใช้จ่ายการขนส่งวัสดุอุปกรณ์ระบบแสงสว่าง
ป้ องกันกำรแตกเสี ยหำย กำรแตกเป็ นเศษย่ อย •
ความต้านทานการแตกเสี ยหายสู งเนื่องจากมีฝาครอบโพลีคาร์บอเนต (PC) ไม่จาเป็ นต้องมีการป้องกันเศษชิ้นส่วน
(ฝาครอบโคมไฟมีข้อดีหลายประการ ป้องกันเข้ าถึงของเด็ก การขจัดสิ่ งสกปรกง่ าย หลอดไฟได้ รับการปกป้องจากสิ่ งแวดล้ อมภายนอก)
ค่ ำตัดจำหน่ ำย •
การตัดจาหน่ายภายในระยะเวลาอันสั้นเนื่ องจากประหยัดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้า ถ้าการประหยัดต้นทุนทั้งหมด (ดูดา้ นบน: การลดต้นทุน) รวมอยูใ่ นการคานวณ หลอด LED ให้การคืนทุนภายในไม่เกิน 2 รอบการเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์มาตรฐาน
158
กำรติดตั้ง •
ฐานรอง G13 มาตรฐาน
•
เปลี่ยนโคมไฟตัวกระจายแสงทั้งหมดพร้อมสตาร์ทเตอร์
•
หลอด LED ไม่จาเป็ นต้องใช้สตาร์ทเตอร์หรื อบัลลาสต์ (โช๊คหรื อบัลลาสต์)
•
การเปลี่ยนระบบหลอดไฟโดยไม่ตอ้ งแก้ไขโครงสร้าง
•
หลอด LED เชื่อมต่อโดยตรงกับแรงดันไฟ 230 VAC และไม่ตอ้ งมีแหล่งจ่ายไฟภายนอก
•
การออกแบบนี้ช่วยป้องกันการสัมผัสชิ้นส่ วนที่ทางานระหว่างการเปลี่ยนระบบหลอดไฟ
•
ไม่จาเป็ นต้องชดเชยกาลังไฟ
สภำพแวดล้ อม •
การปกป้องสิ่ งแวดล้อม
•
หลอด LED ไม่มีสารที่เป็ นอันตราย
•
สอดคล้องกับข้อกาหนด RoHS นัน่ คือ ไม่จาเป็ นต้องมีการแยกกาจัดขยะพิเศษ
159
ORCA เป็ นแนวทางแก้ปัญหาระบบไฟแสงสว่างที่ทนทานและใช้งานได้ยาวนานสาหรับการใช้งานมาตรฐานในสภาพแวดล้อมที่ช้ืนและมีฝ่ นุ เทคโนโลยี LED ที่ทนั สมัยให้กรอบนอกกที่แข็งแรงและชุดประกอบที่ง่าย ด้วยความสว่างถึง 116 ลูเมน / วัตต์ และมีอายุการใช้งานระบบถึง 50,000 ชัว่ โมง ORCA จึงเป็ นการเปลี่ยนระบบแสงสว่าง T8 มาตรฐานที่มีการบารุ งรักษาต่าและประหยัดพลังงานด้วยระบบหลอด 1 x 58 วัตต์ และ 2 x 36 วัตต์ / 58 วัตต์ ติดตั้งได้ง่ายและมีความปลอดภัยในการติดตั้งสู ง มีให้เลือกสองความยาว ORCA ช่วยให้ติดตั้งได้ง่ายและสามารถย้ายได้อย่างยืดหยุน่ ตามความต้องการระยะห่างแบบต่างๆ เนื่องจากมีกลุ่มอุปกรณ์เสริ มที่คุน้ เคยมากมาย นอกจากนี้ชุดป้องกันการสัมผัสยังช่วยเพิ่มความปลอดภัยและความสะดวกสบายยิ่งขึ้นในระหว่างการติดตั้งและใช้งาน
160
161
162
163
164
4.5.2 อุปกรณ์ ตดั ไฟอัตโนมัติ การติดตั้งอุปกรณ์ตดั ไฟอัตโนมัติมีความสาคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ร่วมกับระบบไฟฟ้าในระบบผลิตน้ าดื่ม จะต้องมีการติดตั้งสาหรับระบบไฟฟ้าที่ใช้ในพื้นที่เปี ยกและนอกตัวอาคาร สาหรับการป้องกันการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรหรื อไฟฟ้าช็อตในบริ เวณดังกล่าวข้างต้น การติดตั้งระบบดังกล่าวเป็ นสิ่ งที่สาคัญอย่างยิ่ง ระบบเหล่านี้ เรี ยกว่า RCCB Residual Current operated Circuit-Breaker) หรื อเครื่ องตัดวงจรกระแสตกค้าง
ข้อกาหนดสาหรับการป้องกันบุคคลและสัตว์จากไฟฟ้าช็อตถูกกาหนดไว้ในมาตรฐานด้านเทคนิคไฟฟ้า ซึ่งสามารถดาเนินการให้สอดคล้องโดยกาผสมรวมกันของ: •
การป้องกันพื้นฐานในฐานะมาตรการเฝ้าระวังสาหรับการปกป้องต่อการสัมผัสโดยตรง กับชิ้นส่วนที่เปิ ดทางาน ด้วยวิธีการหุ ม้ ฉนวนพื้นฐานในสถานะที่ปลอดข้อบกพร่ อง
•
การป้องกันข้อบกพร่ องในกรณี ที่สมั ผัสทางอ้อมกับชิ้นส่วนที่เปิ ดทางาน ตัวอย่างเช่น ตัวเรื อนโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งอาจเป็ นชิ้นส่วนทางานที่เป็ นอันตรายได้ในกรณี ที่เกิดข้อบกพร่ อง
ด้วยการประกาศใช้อย่างแพร่ หลายของมาตรฐาน DIN VDE 0100-410 (2007-06) วงจรไฟฟ้าแบบเสี ยบปลัก๊ ทั้งหมด ซึ่งบุคคลทัว่ ไปสามารถใช้งาน มีกระแสไฟฟ้าตามพิกดั ไม่เกิน 20 A และมีวงจรส่วนปลายนอกตัวอาคารสาหรับอุปกรณ์พกพาไม่เกิน 32 A ต้องมีการป้องกันโดยใช้อุปกรณ์ตดั ไฟอัตโนมัติ (กระแสไฟฟ้าตัดวงจรสู งสุ ด 30 mA) สาหรับในประเทศเขตสหภาพยุโรป ตามข้อกาหนดของ DIN 18015-2 (ข้อกาหนดอุปกรณ์ไฟฟ้าในอพาร์ตเมนต์)
เครื อข่ายทั้งหมดจะต้องไม่ถูกตัดการเชื่อมต่อจากระบบไฟหลักในกรณี เกิดข้อบกพร่ อง ข้อกาหนดดังกล่าวทาให้การใช้อุปกรณ์เหล่านี้เป็ นที่นิยมมากขึ้นเนื่องจากมีการออกแบบที่ประหยัดพื้นที่โดยมีเพียงสองชุดย่อยที่จาเป็ นบน รางฝาปิ ด (ในกรณี ของรุ่ นแบบสองขั้ว) 165
มาตรฐานนี้ยงั ไม่ได้กาหนดไว้ในประเทศไทย แนะนาให้ใช้วงจร RCCB สาหรับวงจรทั้งหมดหรื ออย่างน้อยสาหรับการป้องกันเพิ่มเติมให้ชุดผลิตน้ าดื่มด้วยไฟฟ้า
166
167
168
169
4.5.3 ตัวตั้งเวลำนำฬิ กำ
การใช้ตวั เวลานาฬิกาทาให้สามารถควบคุมแหล่งจ่ายไฟสาหรับแต่ละอ าคารแบบรวมศูนย์ได้ ซึ่งทาให้สามารถควบคุมการใช้กระแสไฟฟ้าของเด็ก และเหนือสิ่ งอื่นใดทั้งหมดเพื่อรักษาช่วงเวลาพักผ่อนในตอนกลางคืน ในการดาเนินการให้ประสบผลสาเร็ จ ฉันขอแนะนาให้ติดตั้งตัวตั้งเวลานาฬิกาในกล่องโลหะปิ ด (หรื อในห้อง) เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กเข้าถึงได้ ข้อดีอีกอย่างของการตั้งเวลาคือการประหยัดพลังงาน หลอดไฟในพื้นที่นอกอาคารก็สามารถปิ ดสวิตช์ไฟได้ในช่วงเวลากลาง วัน ถ้าตัวตั้งเวลานี้มีเซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว ก็สามารถประหยัดพลังงานได้อย่างเหมาะสมสาหรับช่วงเวลาตอนเย็น (จนถึงเวลากลางคืน) มีความจาเป็ นในการปรับเวลาให้กบั วงจรหรอืผใู ้ ช้แต่ละแบบ
ตัวอย่างเช่น : แหล่งจ่ายไฟที่บางเสด็จ:
170
-
หลอดไฟในพื้นที่นอกอาคารถูกปิ ดสวิตช์ไฟได้ในช่วงเวลากลางวัน
-
ในตอนเย็น หลอดไฟจะเปิ ดโดยเซ็นเซอร์ ตรวจจับการเคลื่อนไหว
-
จ่ายไฟภายในห้องจนถึงช่วงเวลากลางคืน
-
ในปัจจุบนั กาหนดเวลาตั้งแต่ 05:00 น. ถึง 21:30 น.
171
4.6 โรงสุ ขำภิบำล การขาดแคลนน้ าที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทยจะต้องนาไปสู่ความก้าวหน้ามากขึ้นในการปรับปรุ งระบบอานวยความสะดวกของวัดสระแก้วให้ทนั สมั ย น้ าเป็ นทรัพยากรอันมีค่าและต้องใช้อย่างประหยัดที่สุดเท่าที่จะทาได้เนื่องจากความขาดแคลนที่เพิ่มมากขึ้นจะทาให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนั้นระบบโรงสุ ขาภิบาลเก่าจะต้องปรับให้ทนั สมัยโดยเร็ วที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานที่ เช่น สถานเลี้ยงเด็กกาพร้าการบริ โภคน้ าสู งกว่าครัวเรื อนภาคเอกชนถึง 50% ในพื้นที่สาธารณะ วัดปริ มาณการบริ โภคได้ที่ 200 ลิตรต่อคนต่อวัน นอกจากนี้พฤติกรรมของผูใ้ ช้สาธารณะที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายก็แตกต่างไปจากภาคเอกชน แม้จะมีการใช้ถงั กักเก็บน้ าก็ยงั ส่งผลให้มีการใช้น้ าเพิ่มสู งขึ้นมาก นอกจากนี้ ถังเหล่านี้ยงั ไม่ได้ตามข้อกาหนดด้านสุ ขลักษณะสมัยใหม่ ด้วยความช่วยเหลือของ Delabie ซึ่งเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านระบบอาคารสถานที่เชิงพาณิ ชย์ เราจึงสามารถติดตั้งระบบอานวยความสะดวกที่ทนั สมัยที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทยได้ที่บา้ นบางเสด็จ โดยมีขอ้ กาหนดของอาคารนี้ในด้านการประหยัดพลังงานและน้ า แนวทางปฏิบตั ิดา้ นสุ ขอนามัยที่นามาปรับใช้ รวมไปถึงความปลอดภัยและการป้องกันต่อการทาลาย การใช้สแตนเลสสตีลยังทาให้ได้ความทนทานและอายุการใช้งานที่สูงมาก และสามารถทาความสะอาดได้อย่างทัว่ ถึง ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ใช้ในสถานที่สาธารณะแลเชิงพาณิ ชย์ เช่น เรื อนจา สนามบิน สถานีบริ การมอเตอร์ เวย์ การใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถใช้งานได้ง่ายและเด็กๆ ก็ใช้งานง่ายเช่นกัน
172
4.6.1 กำรลดกำรบริโภค
การใช้น้ าของระบบอาคารสมัยใหม่คือ 3 ลิตร / นาทีสาหรับอ่างล้างหน้า และ 6 ลิตร / นาทีสาหรับห้องอาบน้ า การปล่อยน้ าผ่านมิเตอร์วดั และปิ ดน้ าอัตโนมัติช่วยลดการใช้น้ าและผลกระทบจากการใช้งานโดยไม่เอาใจใส่ของผูใ้ ช้ ระยะเวลาการไหลของก๊อกในอ่างล้างหน้าถูกจากัดไว้ที่ 7 วินาที ห้องสุ ขาแบบกดคู่ 3 ลิตร/ 6 ลิตร เวลาในการฟลัชล้างปั สสาวะ 3 วินาที และการใช้ระบบตามช่วงเวลาสู งสุ ดสาหรับตัวฟลัชล้างน้ าปัสสาวะด้วยอิเล็กทรอนิกส์เป็ นตัวอย่างเพิ่มเติมในการปรับ ปรุ งการใช้น้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ กำรประหยัดนำ้ เพื่อให้คุณสามารถเห็นภาพที่ชดั เจนของปริ มาณน้ าที่สามารถประหยัดได้ในแต่ละวัน เราได้ทาการวัดการบริ โภคน้ าของเด็ก 609 คนผ่านช่วงเวลาหนึ่งตามแนวคิดโครงการของเรา การบริ โภคน้ าถูกประเมินโดยเฉพาะในระหว่างการชาระล้างของเด็กในแต่ละวัน การบริ โภคดังกล่าวถูกนามาเปรี ยบเทียบกับปริ มาณน้ าที่ใช้ในห้องอาบน้ าฝักบัวสมัยใหม่ที่ใช้ในบ้านบางเสด็จ
Liter 6000000 5000000 4000000 3000000 2000000 1000000 0 Days Saved Water
1
2
3
4
5
6
7
8
9
1
10
30
90
180
360
720
1800
3600
1452
14520
43560
130680
261360
522720
1045440
2613600
5227200
กราฟแสดงปริ มาณน้ าที่มหาศาลสามารถประหยัดได้ หากคานวณการบริ โภคน้ าของเด็กทั้งหมดรวมถึงการใช้หอ้ งสุ ขาและก็อกน้ าที่ทนั สมัย คิดเป็ นมูลค่าการประหยัดเพิ่มขึ้นอย่างมาก สิ่ งนี้แสดงให้เห็นแนวทางที่ความทันสมัยของสิ่ งอานวยความสะดวกด้านสุ ขาภิบาลมีผลในพื้นที่วดั ทั้งหมด และให้เห็นว่าสิ่ งนี้สามารถส่งผลต่อความยัง่ ยืนได้อย่างมีนยั สาคัญ
173
4.6 กำรทำลำยทรัพย์ สิน การทาลายโดยตั้งใจและไม่ได้ต้ งั ใจเกิดขึ้นได้ในสถานที่พกั อาศัยโที่มีผคู ้ นจานวนมาก แม้แต่ในสถานที่ เช่น วัดสระแก้ว ก็เป็ นปัญหาที่สาคัญ การดูแลรักษาผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ต่างที่ใช้งานมานานเป็ นเรื่ องยากเป็ นพิเศษ นอกจากนี้ การทางานผิดปกติหรื อการรั่วไหลไม่ได้ถูกสังเกตพบและแก้ไขอย่างรวดเร็ ว ดังนั้นจึงนาไปสู่การติดตั้งระบบสุ ขาภิบาลอย่างไม่เหมาะสม หรื อแม้กระทัง่ ความเสี ยหายรองลงไปที่ระบบโครงสร้างพื้นฐาน ก๊อกน้ าที่ใช้ในบ้านบางเสด็จทาจากวัสดุที่มีความแข็งแรงสู ง เช่น ทองเหลือง สแตนเลส หรื อเส้นใยแก้วเสริ มด้วยสารสังเคราะห์ ด้วยคุณสมบัติรูปแบบการไหลออกมาของน้ าโดยไม่ตอ้ งสัมผัส แรงกระทาให้เกิดความเสี ยหายจึงเกิดขึ้นได้ยาก ผูใ้ ช้ไม่สามารถเข้าถึงชิ้นส่วนทางานและอุปกรณ์ยึดติดทั้งหมด
4.6.3 สุ ขอนำมัย เมื่อก๊อกน้ าปิ ดโดยอัตโนมัติ ก็ไม่จาเป็ นต้องมีการสัมผัสด้วยมือหลังจากล้าง ช่วยป้องกันการแพร่ เชื้อแบคทีเรี ยผ่านมือ ระบบฟลัชล้างทาความสะอาดอัตโนมัติช่วยให้มน่ั ใจในการฟลัชทุกครั้ง ด้วยแนวทางนี้ช่วยรักษาสุ ขอนามัยให้กบั ผูใ้ ช้รายต่อมาได้ ระบบถังน้ าในห้องน้ าเพิ่มการเจริ ญเติบโตของเชื้อแบคทีเรี ยเนื่องจากการสะสมของน้ าที่อุณหภูมิหอ้ ง ในทางตรงกันข้าม วาล์วเปิ ดปิ ดการฟลัชช่วยให้ได้สุขอนามัยสู งสุ ด กำรทำควำมสะอำด สแตนเลสสตีลสามารถทาความสะอาดได้อย่างง่ายดาย แม้จะใช้ใช้ฟองน้ าเหล็กทาความสะอาดก็ทาได้ นัน่ ทาให้แน่ใจว่าเด็ก ๆ ดูแลทาความสะอาดด้วยตัวพวกเขาเองและไม่เกิดความเสี่ ยงต่อการทาลายอุปกรณ์ อยางไรก็ตาม เราขอแนะนาว่าผูค้ วบคุมดูแลจะต้องตรวจสอบอย่างพิเศษว่าหากติดตั้งสแตนเลสสตีลแล้ว จะต้องมีการทาความสะอาดเป็ นประจา
174
4.6.4 ควำมปลอดภัย กำรป้ องกันต่ อกำรได้ รับบำดเจ็บ ขอบที่โค้งมนและการลบคมของก๊อกช่วยป้องกันความเสี่ ยงในการได้รับบาดเจ็บจากการบาดมือได้ รู ปแบบการไหลออกมาของน้ าโดยไม่ตอ้ งใช้มือไปจับยึด ยังส่งผลให้เกิดความปลอดภัยด้วย
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
4.6.5 พืน้ ของพืน้ ทีน่ อกอำคำร
ในพื้นที่นอกตัวอาคาร ฉันขอแนะนาให้ใช้กระเบื้องจากพื้นที่สาธารณะ ซึ่งสอดคล้องกับความต้านทานการลื่นระดับ R10 (DIN 51130) ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ให้ความทนทานมากขึ้นและมีอายุการใช้งานนานขึ้น กระเบื้องที่ทนต่อการลื่นเป็ นกระเบื้องพิเศษที่มีรูปร่ างหรื อผิวหยาบแตกต่างออกไป สาหรับพื้นที่เดินเท้าเปล่าใกล้สระว่ายน้ า ห้องซาวน่าสาธารณะ สระน้ าและพื้นที่ทาความสะอาดของโรงกีฬา มีการประเมินโดยแบ่งกลุ่ม ได้แก่กลุ่ม A (ข้อกาหนดขั้นต่า) B และ C (ข้อกาหนดสู งสุ ด) (DIN 51097) ดังนั้นเราขอแนะนาให้ใช้กระเบื้องในพื้นที่เปี ยกซึ่งสอดคล้องกับการประเมินผลของกลุ่ม B การประเมินผลความต้านทานการลื่นตามข้อกาหนด GUV.85.27 (มาตรฐานเดิม GUV.26.17) กลุ่มการประเมินผล
มุมยกเอียงต่าสุ ด
B
18°
พื้นที่ •
ทางเดินสาหรับเท้าเปล่า
•
ฝักบัวอาบน้ า
•
ขอบเขตถังน้ า
4.6.6 ผนัง (พืน้ ทีเ่ ปี ยก) กระเบื้องแบบ hydrotech ถูกนามาใช้สาหรับผนัง กระเบื้องแบบนี้ถูกใช้กบั สระว่ายน้ าด้วย ซึ่งเป็ นกระเบื้องที่ผา่ นการอบเคลือบผิวและมีขอ้ ดี 3 ประการ: -
ต้านทานแบคทีเรี ยได้ดี
-
ต้านทานต่อสิ่ งสกปรกได้ดี (ทาความสะอาดง่าย)
-
ต้านทานกลิ่นได้ดี
คุณสมบัติเหล่านี้มีความสาคัญอย่างยิ่งโดยเฉพาะสาหรับห้องสุ ขาและห้องอาบน้ า การต้านเชื้อแบคทีเรี ยของกระเบื้อง Hydrotect อิงตามหลักการของการเร่ งปฏิกิริยาทางแสง ออกซิเจนถูกกระตุน้ โดยแสงซึ่งทาลายแบคทีเรี ยและเชื้อโรค ประสิ ทธิ ภาพการต้านเชื้อแบคทีเรี ยของกระเบื้อง Hydrotect ยังสามารถก่อตัวขึ้นอีกเสมอ
192
4.7 นำ้ สะอำดและนำ้ เสี ย 4.7.1 นำ้ สะอำด เนื่องจากคุณภาพน้ าไม่ดี เราขอแนะนาให้กรองน้ าก่อนเข้าระบบสุ ขาภิบาล (โดยเฉพาะสาหรับห้องอาบน้ าและก๊อกน้ า) สารมลพิษที่ไม่สามารถกรองได้ตามแนวทางธรรมชาติ จะต้องได้รับการบาบัดโดยวิธีพิเศษ ปริ มาณธาตุเหล็กและโลหะหนักในน้ าจาเป็ นต้องใช้การบาบัดทางเทคนิค นอกจากสุ ขอนามัยที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังส่งผลให้อายุการใช้งานของก๊อกน้ าเพิ่มขึ้นอีกด้วย หน่ วยตัวกรอง สาหรับบ้านบางเสด็จ ได้มีการติดตั้งชุดกรอง Mazuma i S19-122-20LM เครื่ องกรองนี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้งานบ่อยโดยอิงตามปริ มาณการใช้น้ าของเด็ก น้ าที่ผา่ นการกรองเหมาะสาหรับการดื่ม (ค้นหาเอกสารข้อมูลจาเพาะ)
193
ถังกักเก็บนำ้
ขอแนะนาให้ใช้ถงั DOS Life Natura สาหรับเก็บน้ า Iceman Charity
ได้รับประสบการณ์ดา้ นบวกกับการใช้ผลิตภัณฑ์น้ ีในระหว่างการปรับปรุ งบ้านบางเสด็จ สามารถเพิ่มจานวนถังโดยขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ าที่ตอ้ งการ มีให้เลือกในขนาด 700, 1000, 1500, 2000 ลิตรขึ้นอยูก่ บั ความต้องการใช้น้ า ปัจจุบนั ถังเหล่านี้ถูกใช้ไม่เพียงแต่ในอาคารสาธารณะเท่านั้น แต่ยงั ใช้กนั ในพื้นที่ส่วนบุคคลด้วย นอกจากนี้ยงั มีการรับประกัน 20 ปี ในการรักษาคุณภาพของน้ า จะมีช้ นั ป้องกันแบคทีเรี ยอยูใ่ นถังซึ่งจะกาจัดแบคทีเรี ยและจุลชีพอื่น ๆ นอกจากนี้ถงั มีความทนทานต่อรังสี ยูวี อย่างไรก็ตาม เรายังคงแนะนาให้ปกป้องถังจากปัจจัยกระทาภายนอก เช่น การทาลายทรัพย์สินและสภาพอากาศ
194
โดยวางไว้ในห้องที่ปิดคลุมและล้อมปิ ด
195
196
ปั๊มสู บจ่ ำยนำ้ น้ าประปาถูกจ่ายผ่านปั๊มน้ าตามแรงดันน้ าที่จาเป็ น สู บจ่ายน้ าจากถังเก็บน้ าได้แรงดันสู งถึง 4 บาร์ไปถึงผูใ้ ช้ ในอาคารสองชั้น เช่น บ้านบางเสด็จมีการใช้ปั๊มน้ า 2 P350GX ของ Hitachi (หนึ่งชุดต่อชั้น)
สิ่ งสาคัญสาหรับแรงดันน้ าของปั้มคือต้องสามารถปรับได้โดยแ ยกกัน Debiel แนะนาแรงดันน้ า 4-6 บาร์สาหรับอุปกรณ์เชื่อมต่อทั้งหมด
197
198
199
200
201
4.7.2 นำเสี ย ถังบาบัดน้ าเสี ยเป็ นรู ปแบบกลไกและเรี ยบง่ายที่สุดสาหรับการบาบัดน้ าเสี ยสาหรับอาคารแต่ละหลัง ประกอบด้วยถังกักเก็บ ซึ่งส่วนที่ไม่ละลายน้ าของน้ าเสี ยถูกทาให้ตกตะกอน น้ าส่วนเกินจะถูกดูดออกอย่างสม่าเสมอโดยใช้ระบบถังเก็บสุ ญญากาศและระบายลงแหล่งน้ า หรื อทางระบายน้ า การระบายน้ าทิ้งจากถังหรื อหลุมเป็ นรู ปแบบหนึ่งที่นิยมใช้ของการบาบัดน้ าเสี ย ระบบถังบาบัดน้ าเสี ยที่ซบั ซ้อนมากขึ้นจะประกอบด้วย 3 ห้องบาบัด น้ าเสี ยถูกย่อยสลายโดยไม่ใช้ระบบออกซิ เจน (โดยไม่ใช้ออกซิเจน) ในถังบาบัดน้ าเสี ยแบบ 3 ห้องที่มีการบารุ งรักษาอย่างดี ดังนั้นจึงไม่มีกระดาษซับหน้าและกระดาษชาระตกค้างอยูท่ ี่ถงั บาบัด ถังประเภทนี้ให้ความจุของการทาความสะอาดที่สามารถเทียบเคียงได้กบั โรงบาบัดน้ าเสี ยขนาดเล็ก โดยมีขอ้ ยกเว้นที่ปริ มาณไนเตรตของน้ าเสี ยที่ผา่ นการบาบัดแล้ว
กำรบำบัดหลัก – กำรบำบัดนำ้ เสี ยเชิงกล สามารถทาได้สองวิธี: 1. ในอ่างการตกตะกอน (เช่น ถังบาบัดน้ าเสี ยแบบหลายห้อง) ในอ่างการตกตะกอนนี้ สารมลพิษจากน้ าเสี ยที่ไม่ละลายในน้ าจะตกตะกอนลงบนพื้นถัง ในเวลาเดียวกัน อนุภาคที่มีน้ าหนักเบากว่าน้ าลอยอยูบ่ นพื้นผิวของน้ า กากตะกอนสะสมตัว (กากตะกอน) จะต้องถูกกาจัดออก การกาจัดมักจะต้องดาเนินการประมาณปี ละครั้ง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ขนาด คุณสมบัติการปนเปื้ อนและของเสี ยของน้ าเสี ยในแต่ละช่วงเวลา นอกจากนี้ยงั มีกรณี ที่กากตะกอนบางส่วนถูกกาจัดผ่านการย่อยสลายทางชีวภาพในอ่างการตกตะกอน หรื อน้ าเสี ยที่ถูกทาให้บริ สุทธิ์ จนแทบไม่มีสารตกตะกอน ดังนั้นการล้างถังให้วา่ งเปล่าจึงจาเป็ นต้องกระทาหลังจากผ่านไปแล้วหลายปี เท่านั้น
2. ในอ่างกรองแบบแห้งที่มีสองห้อง (ตัวอย่างเช่น ถังกักเก็บเพื่อย่อยสลาย) เครื่ องกรองประกอบด้วยแผ่นปูรอง ซึ่งปิ ดคลุมด้วยชั้นกรวดหยาบและชั้นของขี้เลื่อย (เฉพาะจากไม้เนื้อแข็งเนื่องจากไม้เนื้ออ่อนเป็ นสารต้านการเติบโตของแบคทีเรี ย อนุภาคสะสมตัวบนตัวกรองและคงอยูใ่ นอากาศอย่างถาวร ไม่ก่อให้เกิดการสลายตัวและเกิดกลิ่น เมื่อห้องแรกเต็มแล้วจะใช้หอ้ งที่สอง
กำรเปรียบเทียบขั้นตอน: ขั้นตอน
ปริ มาตร/พื้น
ประสบการณ์การดาเนิน
202
การแยกกันของ
ระยะเวล
ค่าใช้จ่ายการกาจัด
ที่
งาน
ห้องย่อยสลายแ
า
ทิง้
ต่อผูอ้ าศัย
ละ
กาจัดทิ้ง
(E)
ห้องตกตะกอน
ขั้นต่า
ขนาดใหญ่
ไม่ใช่
1 x ปี
ขนาดเล็กมาก
ขนาดใหญ่
ไม่ใช่
1 x ปี
ต่า
ต่า
ใช่
2 x ปี
สู ง
ขนาดเล็กมาก
ใช่
ขั้นตอนการตกตะกอน (ขั้นตอนการสะสมตัว) ถังบาบัดน้ าเสี ยแบบมีหอ้ งตกตะกอนหลา ยห้อง
บ่อตกตะกอน
0.3 1.5 ม.³/E 0.5 ม.³/E
ขั้นตอนการกรอง
ห้องย่อยสลาย
ชั้นวัชพืชสาหรับทาความสะอาดเบื้องต้น
0.3 ม.³/E 3-5 ม.³/E
203
?x ต่อปี
สู งมาก
204
205
4.8 ควำมปลอดภัยทัว่ ไป 4.8.1 เครื่ องดักจับควัน บ่อยครั้งที่แหล่งกาเนิดไฟไหม้ไม่สามารถตรวจพบได้อย่างรวดเร็ วเพียงพอ ตัวอย่างเช่น ถ้าเด็กไปโรงเรี ยนหรื อไม่อยูด่ ว้ ยเหตุผลอื่น ๆ อาจทาให้เกิดผลร้ายแรง หากเกิดขึ้นในเวลากลางคืน ไฟเป็ นสิ่ งที่อนั ตรายมาก เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถตรวจจับกลิ่นควันหรื อไฟหลังจากหลับได้ ผูท้ ี่ตกเป็ นเหยื่อขณะในการนอนหลับไม่สงั เกตพบก๊าซจากเพลิงไฟม้ที่เป็ นอันตราย คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็ นสารพิษสู ง และสามารถทาให้ถึงแก่ชีวิตได้อย่างรวดเร็ ว ก๊าซนี้ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี และไม่มีรส อย่างไรก็ตามความประมาทไม่ได้เป็ นเพียงสาเหตุของเพลิงไหม้เพียงอย่างเดียวหากเทียบกับความเห็นของคนทัว่ ไป ข้อบกพร่ องด้านเทคนิคมักทาให้เกิดเพลิงไหม้ดว้ ยเช่นกัน เครื่ องตรวจจับควัน (เครื่ องตรวจจับควันไฟ) ช่วยชีวติ ผูค้ นโดยการเตือนความเสี่ ยงของเพลิงไหม้เป็ นเสี ยงดังล่วงหน้าแม้ในขณะนอนหลับ และช่วยให้ผคู ้ วบคุมการอพยพสามารถเริ่ มการอพยพออกจากอาคารและช่วยให้เด็กปลอดภัย
206
ระบบเครื อข่ ำย การเชื่อมต่อเครื อข่าย (ระบบวิทยุ W2) ของเครื่ องตรวจจับควันทั้งหมดเข้าด้วยกันเป็ นจุดพื้นฐาน ด้วยการใช้ระบบเตือนภัยผ่าน WiFi สามารถเชื่อมต่อเครื่ องตรวจจับควันเข้าด้วยกันได้มากถึง 50 เครื่ อง ทั้งนี้ช่วยให้สามารถเตือนอาคารใกล้เคียงได้ในกรณี เกิดเพลิงไหม้ซ่ ึงจะช่วยเพิม่ ความปลอดภัยมากขึ้น กำรโทรและกำรส่ ง SMS นอกจากนี้ ควรติดตั้งระบบการโทรและการส่ง SMS ผ่านเครื่ องตรวจจับควันเพื่อแจ้งถึงผูค้ วบคุมดูแลในอนาคตด้วย ซึ่งจะช่วยให้ทีมสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ ว หากจาเป็ น เพื่อความปลอดภัยของเด็ก
207
4.8.2 ระบบป้ องกันเพลิงไหม้ โดยทัว่ ไป ควรสังเกตว่าเมื่อเลือกวัสดุก่อสร้างควรเลือกใช้วสั ดุที่มีการป้ องกันอัคคีภยั สู งสุ ด นอกเหนือจากการติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแล้ว การฝึ กซ้อมดับเพลิงอย่างสม่าเสมอโดยร่ วมมือกับหน่วยงานดับเพลิงในท้องถิ่นสามารถลดความเสี่ ยงต่อการบาดเจ็บหรื อเสี ยชี วิตได้ ขอแนะนาให้ทาการซ้อมดับเพลิงเป็ นระยะ ๆ การฝึ กซ้อมดับเพลิงดังกล่าวต้องดาเนินการในช่วงต้นปี ของแต่ละปี เพื่อเตรี ยมพร้อมให้เด็กใหม่ๆ เข้าใจในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นและกาหนดการดาเนินงานประจาวันบางอย่าง หลักกำรเบื้องต้ นสำหรับอุปกรณ์ ของอำคำรทีม่ ถี ังดับเพลิง กฎเกณฑ์เหล่านี้ถูกร่ างขึ้นโดยความร่ วมมือกับ บริ ษทั VdS และสมาคมบริ ษทั ประกันภัยอุบตั ิเหตุแห่งชาติ (BAGUV) สหพันธ์อุตสาหกรรมเยอรมัน (BDI) และสมาคมประกันภัยแห่งเยอรมนี (GDV) โดย Vds เป็ นหนึ่งในของสถาบันที่มีชื่อเสี ยงมากที่สุดในโลกด้านความปลอดภัยขององค์กรโดยมุ่งเน้นที่การป้องกันเพลิงไหม้, การรักษาความปลอดภัย, การป้องกันอันตรายจากธรรมขาติ และ ความปลอดภัยทางไซเบอร์
208
ความเหมาะสมสาหรับการใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้อง ประเภทของถังดับเพลิง
A
B
C
D
สารของแ
สารเหลวหรื อสารที่กาลังจะเปลี่ยนเป็ นขอ
ก๊าซที่มีแรง
โลหะที่ติดไฟได้
ข็ง
งเหลวได้
ดัน
(ใช้เฉพาะกับการฉี ดพ่
ไหลตัวได้
นผง)
ถังดับเพลิงผงพร้อมผงดับไฟชนิด ABC ถังดับเพลิงผงพร้อมผงดับไฟชนิด BC ถังดับเพลิงผงพร้อมผงโลหะดับไฟ ถังดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ อุปกรณ์ดบั เพลิงชนิดที่เป็ นน้ า (รวมทั้งสารเติมแต่ง เช่น สารที่ทาให้เปี ยก น้ ายาป้องกันการแข็งตัว หรื อสารป้องกันการกัดกร่ อน) อุปกรณ์ดบั เพลิงที่มีสารเติมแต่งโดยใช้ร่ วมกับน้ า และยังดับเพลิงประเภท B ด้วย ถังดับเพลิงชนิดโฟม เหมาะสม ไม่เหมาะสม
209
ควำมเสี่ ยงของเพลิงไหม้ ขึ้นอยูก่ บั ความเสี่ ยงของการเกิดเพลิงไหม้ อาคารแต่ละหลังจะต้องถูกจาแนกในประเภทอันตรายจากเพลิงไหม้ดงั ต่อไปนี้ 1. ความเสี่ ยงของเพลิงไหม้ต่า (เมื่อมีสารที่มีความไวไฟต่า สภาพแวดล้อมของสถานที่และการดาเนินงานมีความเป็ นไปได้ต่าสาหรับการเริ่ มเกิดเพลิงไหม้ และถ้าเกิดไฟลุกลามจะแพร่ กระจายต่า) 2. ความเสี่ ยงของเพลิงไหม้ปานกลาง (เมื่อมีสารที่มีความไวไฟสู ง และสภาพแวดล้อมของสถานที่และการดาเนินงานมีความเป็ นไปได้ที่เริ่ มเกิดเพลิงไหม้ แต่ไม่สามารถคาดการณ์ได้วา่ สาหรับการแพร่ กระจายของเพลิงไหม้ขนาดใหญ่ในระยะเริ่ มแรก) 3. ความเสี่ ยงของเพลิงไหม้สูง (มีความเป็ นไปได้สูงในการเกิดเพลิงไหม้เนื่องจากมีสารที่ไวไฟสู งและเนื่องจากสภาพแวดล้อมของสถานที่และการดาเนินงาน และในระยะแรกอาจเกิดการแพร่ กระจายของเพลิงไหม้ขนาดใหญ่หรื อไม่สามารถประเมินการเกิดเพลิงไหม้ขนาดปานกลางหรื อเล็ก)
การกาหนดพื้นที่อนั ตรายของเพลิงไหม้เพือ่ เป็ นการเตือน ควำมเสี่ ยงของเพลิงไหม้ ตำ่
ควำมเสี่ ยงของเพลิงไหม้ ปำนกลำง
ควำมเสี่ ยงของเพลิงไหม้สูง
- วัสดุที่ไม่ติดไฟ (เช่นกระเบื้อง, เซรามิก)
- วัสดุที่ติดไฟได้
- สารที่ติดไฟได้ง่าย (เช่น สถานที่จดั เก็บสารเคมี)
- โครงสร้างจากไม้ (เฟอร์ นิเจอร์ ประตู ฯลฯ )
- ไม้ซุง ที่เก็บกระดาษรี ไซเคิล ที่เก็บโฟม
- วัตถุที่ไหม้ไฟได้ (เช่น หนังสื อ
ที่เก็บเสื้ อผ้า
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กระดาษ ฯลฯ) - การทาความสะอาดพื้นที่แบบแห้ง - ทางเข้าและทางเข้าห้องโถง
พื้นที่ดา้ นไอทีที่มีกระดาษ
โรงภาพยนตร์ สโมสร
- การปฏิบตั ิทางการแพทย์
โรงครัว
(ห้องที่มีอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์จานวนมาก)
- พื้นที่ดา้ นไอทีไม่มีกระดาษ
พื้นที่ส่วนบุคคล (ห้องนอนห้องนัง่ เล่น)
ห้องที่มีฉากกั้น
- พื้นที่สานักงานที่ไม่มีที่จดั เก็บแฟ้ม
พื้นที่สานักงานที่มีที่จดั เก็บแฟ้ม
ห้องไม่ได้ใช้งาน
- ห้องสมุด
จำนวนของถังดับเพลิงทีก่ ำหนดและกำรติดตั้ง จานวนถังดับเพลิงที่เพียงพอขึ้นอยูก่ บั ชนิด ความเสี่ ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ และขนาดของพื้นที่ที่จะป้องกัน หน่วยดับเพลิงขึ้นอยูก่ บั พื้นที่และอันตรายจากเพลิงไหม้
210
พื้นที่ ม.2
ควำมเสี่ยงของเพลิงไหม้ตำ่
ควำมเสี่ยงของเพลิงไหม้ปำนกลำง
ควำมเสี่ยงของเพลิงไหม้สูง
50
6
12
18
100
9
18
27
200
12
24
36
300
15
30
45
400
18
36
54
500
21
42
63
600
24
48
72
700
27
54
81
800
30
60
90
900
33
66
99
1000
36
72
108
ทุกการเพิ่ม 250
6
12
18
กำรเลือกสถำนทีแ่ ละกำรติดตั้งถังดับเพลิง สถานที่เหมาะสม เช่น เส้นทางฉุ กเฉิ น เขตอันตรายหลัก (เช่น บนเครื่ องจักร) ทางออก (ทางเข้า) และบันได สถานที่ที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ พื้นที่ปิด พื้นที่ดา้ นล่างบันได ช่องเก็บของบนผนัง
พื้นที่ก่อให้เกิดความสับสนโดยไม่มีป้ายบอกทางและสถานที่ที่สามารถเก็บหรื อจัดเก็บวัสดุได้ ระยะห่างระหว่างจุดที่ติดตั้งไม่ควรเกิน 30 เมตรและ สามารถตรวจสอบสภาพโครงสร้างได้ในระหว่างการติดตั้ง
211
4.8.3 ระบบกล้องวิดีโอเฝ้าระวัง ความรุ นแรง การทาลาย และการทารุ ณกรรมเป็ นสิ่ งที่อาจเกิดขึ้นได้ในสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าวัดสระแก้ว การนาระบบกล้องวิดีโอเฝ้าระวังมาใช้เป็ นวิธีหนึ่งในการจัดการกับปัญหาเหล่านี้ของโรงเรี ยนและเจ้าหน้าที่ของโรงเรี ยน
Reference House Bangsadeij 1. Floor
212
2. Floor
213