ICeNewsletter_June2021

Page 1

Vol.20 / June 2021 เพิ่มโอกาสการลงทุน ด้วยสิทธิประโยชน์มาตรการบีโอไอ ที่น่าสนใจ

ทาความรู้จักกับใบขนสินค้า (1)

มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ด้านการใช้

เทคโนโลยีดิจิทัล


“หากคุณจับต้นชนปลายไม่ถูก”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 ต่อ 313 (คุณพัชรี) e-mail: counterservice@ic.or.th

www.ic.or.th


มาตรการปรับปรุ งประสิทธิภาพ ด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

04

ที่ปรึกษา กรองกนก มานะกิจจงกล บรรณาธิการบริหาร สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ กฤตยา วิขัยดิษฐ์ กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 210 e-mail : icn@ic.or.th

07 10

เพิม่ โอกาสการลงทุน ด้วยสิทธิประโยชน์มาตรการบีโอไอที่น่าสนใจ

12 17 ทาความรู้จั กกั บใบขนสินค้า (1)

แนวทางปฏิบัติ กรณีผู้ใช้บริการ ถูกระงับสิทธิการ สัง่ ปล่อยวัตถุดิบ เนื่องจากไม่ตัดบัญชี วัตถุดิบเกิน 4 เดือน

24

พลัง งานทางเลือก เทคโนโลยี ไฟฟ้ าทางรอด (2)

28

การแสดงหนังสือรับรอง ถิน่ กาเนิดสินค้าสาหรับผู ้นาของเข้า ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19

เพิ่ม ความรอบคอบ เพื่อไม่ให้ พลาด (ความสาเร็จ )

การดาเนินธุ รกิจขององค์ กรทั่วโลกในปั จจุ บัน หลายองค์ กรได้มีการน าเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง และบางองค์ ก รก็ เ ป็ น ส่ ว นส าคั ญ ในกระบวนการผลิ ต งานบริการ ตลอดจนการบริหารจัดการในกระบวนการทางานทัง้ ระบบ เพื่อให้สอดรับกับ การเปลี่ยนผ่านยุ คสมัยของการดาเนินกิจการมาสู่ยุคของเทคโนโลยีดิจิทัล ส าหรั บ ประเทศไทย หน่ ว ยงานด้ า นการส่ ง เสริ ม การลงทุ น อย่ า งส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ เล็งเห็นความสาคัญของการใช้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมมาใช้ ในกระบวนการทางาน โดยสามารถปรับใช้ ได้ตงั ้ แต่กระบวนการผลิต บรรจุ ภัณฑ์ การแปรรู ป และการตลาด อี กทั ้ง สามารถใช้ ง านได้ กั บ ทุ ก อุ ตสาหกรรม โดยได้ อ อก มาตรการปรับปรุ งประสิทธิภาพด้านการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ เกิดการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในการบริหารจัดการองค์กรและการผลิตหรือการให้บริการ ให้มีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ โดยอยู ่ภายใต้มาตรการปรับปรุ งประสิทธิภาพ ซึ่ งผู ้ประกอบการที่จะนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุ กต์ใช้ กับองค์กร โดยไม่มีการลงทุน ด้านเครื่องจักรหรืออุ ปกรณ์นัน้ ผู ้ประกอบการต้องนาเสนอแผนการดาเนินการอย่างน้อย กรณีใดกรณีหนึ่ง ได้แก่ 1) การนาซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบสารสนเทศมาใช้ ในระดับที่ มีการเชื่ อมโยงภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ 2) การประยุ กต์ใช้ ปัญญาประดิษฐ์ 3) การนา ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบสารสนเทศมาใช้ ในการเชื่ อมโยงข้อมู ลระหว่างระบบของบริษัท กับระบบออนไลน์ของภาครัฐ และต้องมีการลงทุนไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท โดยไม่รวมค่า ที่ดินและทุนหมุ นเวียน หากเป็น SMEs ต้องมีการลงทุนไม่น้อยกว่า 5 แสนบาท ด้านสิทธิและประโยชน์ที่ได้รับคือ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุน ในการปรับปรุ ง ซึ่ งจะให้ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลจากรายได้ของ กิจการที่ดาเนินการอยู ่เดิม ทัง้ นี้ ผู ้ประกอบการที่สนใจ สามารถยื่นขอรับการส่งเสริมได้ถึง วันทาการสุดท้ายของปี 2565 สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมร่วมสนับสนุนและส่งเสริมทุกอุ ตสาหกรรมในการนา เทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ เพื่อการทางาน ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการ ให้ บริ การแบบออนไลน์ ของสมาคม ตลอดจนการให้ บริ การด้ านหลั กสู ตรฝึ กอบรมและ สัมมนาที่ครอบคลุมกระบวนการทางานอย่างรอบด้าน โดยผู ้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียด หลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถาม ข้อมู ลเพิ่มเติมได้ ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่ อ 205-209 และสามารถติดตามข้ อมู ล ข่าวสารของสมาคมได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ด้านการใช้

เทคโนโลยีดิจิทัล คุ ณ เตชั ส คงสุ ข กาญจนา นั ก วิ ช าการส่ ง เสริ ม การลงทุ นปฏิ บั ติ ก าร กองบริ ห ารการลงทุ น 3 สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น

ตามที่ Winston Churchill อดีตรัฐบุ รุษแห่งอังกฤษ เคยกล่าวไว้ว่า “Never let a good crisis go to waste” เช่ นเดียวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบต่อภาคธุ รกิจให้ ต้องปรับตัวเพื่อความอยู ่รอด และเทคโนโลยีดจิ ิทัลได้เติบโตอย่างก้าวกระโดด คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอ ได้เล็งเห็นโอกาสจากวิกฤตดังกล่าวจึงออก “มาตรการปรับปรุ งประสิทธิภาพด้านการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ” ตามประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 4/2564 ลงวันที่ 19 มีนาคม 2564 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเกิดการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ ในการบริหารจัดการองค์กรและการผลิตหรือการให้บริการให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น และเป็นการกระตุ้น อุ ปสงค์ซ่ึ งจะนาไปสู่การขยายตัวและการพัฒนาอุ ตสาหกรรมดิจิทัลในประเทศ

“มาตรการปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ เทคโนโลยี ดิจิ ทั ล ” เป็ นมาตรการด้ านใหม่ล่ า สุ ดภายใต้ มาตรการปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ ที่ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริ ม แก่ กิจการที่ดาเนินการอยู ่เดิม ไม่ว่าจะเคยได้รับการส่งเสริม หรื อ ไม่ ก็ ต าม ส าหรั บ ผู ้ ป ระกอบการประสงค์ จ ะน า เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุ กต์ใช้ ภายในองค์กร โดยไม่มีการ ลงทุ น ด้ า นเครื่ อ งจั กรหรื อ อุ ปกรณ์ ซึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการ ต้ อ งน าเสนอแผนการด าเนิ น การอย่ า งน้ อ ยกรณี ใ ด กรณีหนึ่ง ดังนี้ icn 4

1. การน าซอฟต์ แ วร์ โปรแกรมหรื อ ระบบ สารสนเทศมาใช้ ในระดับที่มีการเชื่ อมโยงภายในองค์กร อย่างเป็นระบบ (INTEGRATED) และเชื่ อมโยงภายนอก องค์กร (CONNECTED) บางส่วน หรือมีการเชื่อมโยงทัง้ ภายในและภายนอก โดยต้ อ งมี ก ารเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล อย่ างน้ อย 3 ฟั งก์ ชนั่ มาใช้ บ ริ หารจั ด การทรั พ ยากร เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตหรือการให้บริการ


2. การประยุ กต์ ใ ช้ ปั ญญาประดิ ษ ฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ AI) MACHINE LEARNING การนา BIG DATA ม า ใ ช้ ห รื อ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ( DATA ANALYTICS) 3. การนาซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบสารสนเทศ มาใช้ ในการเชื่อมโยงข้อมู ลระหว่างระบบของบริษัทกับระบบ ออนไลน์ของภาครั ฐ เช่ น เชื่ อมโยงกับระบบ NATIONAL E-PAYMENT เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ ทัง้ นี้ ต้องดาเนินให้แล้ วเสร็ จภายใน 3 ปี นั บจาก วันที่ออกบัตรส่งเสริม รวมถึง ในกรณีท่ี 1 และ 3 ต้องมี การลงทุ นหรื อมี ค่า ใช้ จ่ ายในการใช้ ซอฟต์ แวร์ โปรแกรม หรื อ ร ะบ บ สาร ส นเทศ ที่ พั ฒ นาห รื อ ป รั บ ป รุ งโด ย ผู ้ประกอบการในประเทศไทยซึ่ งได้รับรองจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง กิ จ ก า ร ที่ เ ข้ า ข่ า ย ข อ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ตามมาตรการฯ ผู ้ประกอบการที่จะขอรับการส่งเสริมตามมาตรการ ปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ต้องดาเนินกิจการ ดังนี้ - ดาเนินกิจการในประเภทกิจการที่อยู ่ในกลุ่มได้รับ สิทธิและประโยชน์การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล (ยกเว้น บางกิจการที่ต้องใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบกิจการอยู ่แล้ว โดยสภาพ เช่ น กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ กิจการ Cloud Service และกิจการนิคมหรือเขต Data Center เป็นต้น) - กรณีนาโครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน อยู ่ เ ดิ ม มาขอรั บ การส่ ง เสริ ม ตามมาตรการนี้ สิ ท ธิ แ ละ ประโยชน์ ก ารยกเว้ น และลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ต้องสิน้ สุดลงแล้ว

เงื่ อ นไขการลงทุ น ขั ้น ตา่ ผู ้ประกอบการที่จะขอรับสิทธิและประโยชน์ตาม มาตรการนี้ ต้องมีการลงทุนไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน แต่หากกรณีเป็น ผู ้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SMEs) ต้องมีการลงทุนไม่น้อยกว่า 5 แสนบาท โดย ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน คุณสมบัติของผู ้ประกอบการที่เข้าข่าย SMEs 1. ในช่ วง 3 ปี แรก นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม ต้อง มี ร ายได้ ร วมของทั ้ง กิ จ การ (ทั ้ง ที่ ไ ด้ รั บ การ ส่ ง เสริ ม และไม่ ไ ด้ รั บ การส่ งเสริ ม ) ไม่ เ กิ น 500 ล้านบาท ต่อปี 2. ต้องมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน

สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ท่ี จ ะได้ รั บ ผู ้ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม จะได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงิ น ลงทุ น โดยไม่ ร วมค่ า ที่ ดิ น และทุ น หมุ นเวี ย น ในการปรับปรุ ง โดยให้ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล จากรายได้ของกิจการที่ดาเนินการอยู ่เดิม ซึ่ งระยะเวลา ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคลจะนั บ จากวั น ที่ มี ร ายได้ ภายหลังได้รับบัตรส่งเสริม ทั ง้ นี้ ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจขอรั บ การส่ ง เสริ ม ตามมาตรการปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล สามารถยื่นขอรับการส่งเสริมได้ถึงวัน ทาการสุดท้ายของปี 2565 (หมายเหตุ : รายละเอี ยดเพิ่ม เติ มโปรดดูป ระกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 4/2564 เรื่อง มาตรการปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ เทคโนโลยี ดิจิ ทัล ลงวันที่ 19 มี นาคม 2564 และ คาชีแ้ จงที่เกี่ยวข้อง ได้ที่ www.boi.go.th) 5 icn


การนั บ มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น ในการปรั บ ปรุ งเพื่ อ กาหนดวงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ตามมาตรการปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล

รู ป แบบการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล

เงิ น ลงทุ น /ค่ า ใช้ จ่ า ย

นั บ เต็ ม จานวน

นั บ กึ่ ง หนึ่ง

• กรณีก ารนาซอฟต์แ วร์ โปรแกรมหรือ 1. เงินลงทุนหรือค่าใช้ จา่ ยในการใช้ ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบ ระบบสารสนเทศมาใช้ ใ นระดับ ที ่ม ีก าร สารสนเทศ ที่พัฒนา/ปรับปรุ ง โดย เชื่ อ มโยงภายในองค์ก รอย่า งเป็ นระบบ - ผู ้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งได้รับ (INTEGRATED) และเชื่ อ มโยงภายนอก ✓ การรับรองจากหน่วยงานที่ องค์ก ร (CONNECTED) บางส่ว น หรือ เกี่ยวข้อง มีก ารเชื่ อ มโยงทัง้ ภายในและภายนอก - ผู ้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งไม่ได้ • กรณีก ารนาซอฟต์แ วร์ โปรแกรมหรื อ ✓ รับการรับรองจากหน่วยงานที่ ระบบสารสนเทศมาใช้ ใ นการเชื ่ อ มโยง เกี่ยวข้อง ข้อ มู ล ระหว่า งระบบของบริษั ท กับ ระบบ ออนไลน์ข องภาครัฐ เช่ น เชื่ อ มโยงกับ ✓ - ผู ้ประกอบการในต่างประเทศ ระบบ NATIONAL E-PAYMENT เป นต้ น การปรับโครงสร้างดังกล่าวนี้มีผลตั ็ ง้ แต่เดือนตุลาคม 2563 เป็นต้นไป และท่านผู ้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ่ค ณะกรรมการให้ ตามที ค วามเห็ น ชอบ 2.เฟซบุ ค่า๊กใช้และไลน์ จ่ายในการเช่ /ใช้ บริกหรื ารอCLOUD หรืออมู ลDATA ของบี โอไอได้ ทงั ้ ช่ องทางเว็บไซต์ www.boi.go.th BOI าNews สอบถามข้ เพิ่มเติCENTER มได้ท่ีโทรศัพท์ หมายเลข 0 2553 8111 กด 1 หรือ อีเมล head@boi.go.th เพราะเมื่อโลกหมุ นไป บีโอไอเราหมุ นตาม ✓ - ที่ตงั ้ ในประเทศไทย ✓

- ที่ตงั ้ ในต่างประเทศ • กรณี ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ 1. เงินลงทุนหรือค่าใช้ จา่ ยใน ( ARTIFICIAL INTELLIGENCE ห รื อ AI) - การประยุ กต์ใช้ ปัญญาประดิษฐ์ MACHINE LEARNING การนา BIG DATA (ARTIFICIAL INTELLIGENCE มาใช้ หรื อ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล (DATA หรือ AI) ANALYTICS) - MACHINE LEARNING - การนา BIG DATA มาใช้ - การวิเคราะห์ข้อมู ล (DATA ANALYTICS)

2. ค่าใช้ จ่ายในการเช่ า/ใช้ บริการ CLOUD หรือ DATA CENTER

icn 6

-

ที่ตงั ้ ในประเทศไทย

-

ที่ตงั ้ ในต่างประเทศ

✓ ✓

ภาพจาก: https://www.freepik.com/free-vector/cloud-data-center-isometric-flowchart_5970813.htm


เพิ่ ม โอกาสการลงทุ น ด้วยสิทธิประโยชน์ มาตรการบี โ อไอ ที่น่าสนใจ มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ก า ร ก ร ะ ตุ้ น แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ภายในประเทศไทย ปั จจุ บันมีทัง้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่ร่วมมือกัน ในการออกมาตรการและนโยบายต่างๆ เพื่ อ ผลั กดัน และส่งเสริ มให้นักลงทุ น จากต่ างชาติ เ ข้า มาลงทุ น ตัง้ โรงงานและฐานการผลิตในประเทศไทย โดยมีสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ หน่วยงานสาคัญของภาครัฐที่กากับดูแลการส่งเสริม การลงทุ น มี ภ ารกิ จ หลั ก ในการชั ก จู งนั ก ลงทุ น และ ผู ้ ป ระกอบการต่ า งชาติ เ พื่ อ มาลงทุ น ในประเทศ โดยใน มาตรการที่บีโอไอประกาศนัน้ จะมีสิทธิประโยชน์ทัง้ ด้านภาษี อากรและด้า นอื่นๆ ซึ่ งเป็ นแรงจู งใจส าคัญในการตั ดสินใจ เข้ามาลงทุน ดังนัน้ เพื่อให้ผู้สนใจลงทุนและผู ้ประกอบการ ที่ ต้ อ งการเพิ่ ม และขยายการลงทุ น ได้ เ ข้ า ใจและเข้ า ถึ ง สิทธิประโยชน์บีโอไอ จึงได้รวบรวมสิทธิประโยชน์ท่ีน่าสนใจ มาไว้ท่เี ดียว ดังนี้ มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ รายใหญ่ – SMEs – ฐานราก สนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้ฟื้นตัว ด้วยมาตรการ กระตุ้นลงทุน 2564 - สิท ธิ ป ระโยชน์ ล ดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล 50% เป็นเวลา 5 ปี - ต้ อ งมี เ งิ น ลงทุ น จริ ง อย่ า งน้ อ ย 1,0 0 0 ล้ า นบาท ภายใน 12 เดื อ นหลั ง ออกบั ต ร ส่งเสริม (โดยมีเงื่อนไขไม่อนุญาตให้ขยายเวลา ในขัน้ ตอนการตอบรับให้การส่ งเสริม และการ ออกบัตรส่งเสริม) - ยื่ น ขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ถึ ง วั น ท าการ สุดท้ายของปี 2564

เร่งช่ วย SMEs ไทย ด้วยมาตรการส่งเสริม SMEs ต้องเป็น SMEs ที่ถือหุ้นโดยบุ คคลธรรมดา สัญชาติไทย 51% รายได้ ข องกิ จ การไม่ เ กิ น 500 ล้ า นบาท ต่อปี ใน 3 ปี แรก - ไ ด้ รั บ ย ก เ ว้ น อ า ก ร ข า เ ข้ า ส า ห รั บ เครื่องจักร - กิจการในกลุ่ม A ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้ นิ ติ บุ คคลสู ง สุ ด 200% ของเงิ น ลงทุ น (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุ นเวียน) - ยื่ น ขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ถึ ง วั น ทาการสุดท้ายของปี 2564 สร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เติบโตด้วยมาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเศรษฐกิจฐานราก เพื่ อ ให้ ผู้ ป ระกอบการที่ มี ศั ก ยภาพร่ ว ม สนับสนุนองค์กรท้องถิ่น โดยต้องมีประเภท กิจการตามที่บีโอไอให้การส่งเสริมการลงทุน เงิ น สนั บ สนุ น องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ไม่ ต่ า กว่ า 200,000 บาทต่อราย ยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุน 2 กรณี 1) โครงการที่ดาเนินการอยู ่แล้วไม่วา่ จะได้รับ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ ไม่ ก็ต าม ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี ในวงเงิน 120% ของเงินสนับสนุน 2) โ ค ร ง ก า ร ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ที่ สิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลยังไม่สิน้ สุดลง หรื อ โครงการใหม่ ได้ รั บ เพิ่ ม วงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล 120% ของเงินสนับสนุน โดยต้ อ งยื่ น ขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ภายในวั น ที่ 30 ธันวาคม 2564 7 icn


มาตรการส่ ง เสริ ม เทรนด์ สุ ข ภาพ รองรั บ สั ง คมสู ง วั ย ยุ ค Ageing Society การส่งเสริมการลงทุนกิจการบริการดูแลและฟื้ นฟู ผู ้สูงอายุ อนุมัติเปิ ด 2 กิจการใหม่ - กิจการโรงพยาบาลผู ้สูงอายุ ได้รับสิทธิประโยชน์ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 5 ปี - กิจการศูนย์ดูแลผู ้สูงอายุ หรือผู ้มีภาวะพึ่งพิง ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี การส่ ง เสริ ม การลงทุ น กิ จ การวิ จั ย ทางคลิ นิ ก ครอบคลุม 2 กิจการย่อย - กิจการสนับสนุนและบริหารจัดการการวิจัยทาง คลินิก - ศูนย์การวิจัยทางคลินิก - ทั ้ง 2 กิ จ การย่ อ ยได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี (ไม่จากัดวงเงิน) เพิ่ ม เขตส่ ง เสริ ม การแพทย์ จี โ นมิ ก ส์ ม.บู รพา ( บ า ง แ ส น ) ใ ห้ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ EECa/EECi/Eecd/EECmd - กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 5-8 ปี ได้รับสิทธิประโยชน์ลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล 50% อีก 2 ปี - กิจการพัฒนาเทคโนโลยี เป้ า หมายและกิจ การ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมายได้รับ สิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มอีก 1 ปี มาตรการปรับตัวรับ Disruptive Technology นาดิจิทัล หรือเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้ สนั บ สนุ น EV เพื่ อ โลกสะอาด การส่ ง เสริ ม การ ลงทุนการผลิตยานพาหนะไฟฟ้ ารอบใหม่ (EV) รถยนต์ไ ฟฟ้ า โดยจะต้ องผลิต รถยนต์ ไฟฟ้ า ประเภท BEV เป็นอย่างน้อย โดยมีกรณีเงินลงทุนไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาท และเงินลงทุนน้อยกว่า 5,000 ล้านบาท - BEV กรณี เ งิ น ลงทุ น ไม่ น้ อ ยกว่ า 5,000 ล้ า นบาท ได้ รั บ สิท ธิ ป ระโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เ งิน ได้ นิ ติ บุ คคล 8 ปี หรือสูงสุด 11 ปี (ตลอดโครงการ) หากมีการทา R&D และกรณี เ งิ น ลงทุ น น้ อ ยกว่ า 5,000 ล้ า นบาท รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี หรือสูงสุด 11 ปี (ตลอดโครงการ) หากดาเนินการตามเกณฑ์ท่กี าหนด icn 8

- PHEV รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ย กเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล 3 ปี - HEV ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคล รถจักรยานยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่ รับสิทธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี หรือสูงสุด 11 ปี (ตลอดโครงการ) หากดาเนินการตามเกณฑ์ท่กี าหนด เรือ ที่ขั บ เคลื่อ นด้ว ยพลัง งานไฟฟ้ า รับ สิท ธิ ประโยขน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี มาตรการรองรั บ การใช้ ดิ จิ ทั ล เสริ ม ธุ รกิ จ เพื่อเพิ่มการใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทัลในมาตรการปรับปรุ ง ประสิทธิภาพ - เป็นกิจการที่ดาเนินการอยู ่เดิม ไม่ว่าจะเคย ได้รับการส่งเสริมหรือไม่ก็ตาม - ต้ อ งเป็ น กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ก าร ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล - ล ง ทุ นไ ม่ น้ อ ย กว่ า 1 ล้ า น บา ท ห รื อ 500,000 บาท สาหรับ SMEs (ไม่รวมค่าที่ดินและทุน หมุ นเวียน) - ต้องเสนอแผนการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ โดยไม่จาเป็นต้องลงทุนด้านเครื่องจักร หรือ อุ ปกรณ์ - ได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ล ดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล 50% ของเงินที่ใช้ ปรับปรุ งเป็นเวลา 3 ปี - ยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุน ถึงวันทาการสุดท้ายของปี 2565

แน่นอนว่าสิทธิประโยชน์จากบีโอไอที่น่าสนใจเหล่านี้ จะสามารถช่ วยกระตุ้ น และดึ ง ดู ด นั กลงทุ น ในทุ ก กลุ่ ม อุ ตสาหกรรมให้ เ ข้ า มาลงทุ น สร้ า งฐานการผลิ ต และ บริ ก ารในประเทศไทย อั น จะต่ อ ยอดสู่ ก ารเติ บ โตของ เศรษฐกิจโดยรวม การเพิ่มรายได้ข องประชาชน และ การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขนึ้ ในอนาคต ผู ้ ป ระกอบการ สามารถดู ร ายละเอี ย ดได้ ท่ี https://www.boi.go.th หรื อ สอบถามเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี ศูนย์บริการลงทุน โทรศัพท์ 0 2553 8111 ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/content/boi%20enewsJan2021.pdf ภาพจาก: https://www.freepik.com/vectors/investment


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พิมพ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน

7 วัน 30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล

ทธิและประโยชน์ COUNTER งานสิ ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th


แนวทางปฏิ บั ติ กรณี ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร ถู ก ระงั บ สิ ท ธิ ก ารสั่ ง ปล่ อ ยวั ต ถุ ดิ บ เนื่ อ งจาก ไม่ ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ เกิ น เดื อ น กฤตยา วิ ชั ย ดิ ษ ฐ์ kittayad@ic.or.th

IC Focus ฉบับนี้ ผู ้เขียนจะขอย้อนกลับมาในเรื่อง การติ ดตามความเคลื่อ นไหวของโครงการในขณะที่ ยั ง มี ระยะเวลาน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ และเมื่ อ สิ้น สุ ด ระยะเวลาน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ แล้ ว เพื่ อ เป็ นการ ป้ องกั น การ เกิ ด ปั ญหา กรณี สิ้ น สุ ด ระยะเวลาน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ เกิ น 2 ปี และมี วัตถุ ดิบคงเหลือ ซึ่ งสมาคมได้ เคยนาเสนอไปแล้ วในฉบั บ ประจาเดื อนเมษายน 2564 โดยในฉบั บนี้จะมาเน้ นย ้ากั น ในเรื่องการติดตามโครงการที่ไม่ได้ทาการตัดบัญชีวัตถุดิบ เกิน 4 เดือน หลังจากที่สมาคมได้รายงานโครงการที่ไม่ได้ทาการ ตัดบัญชีวัตถุดิบเกิน 4 เดือน ให้สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ได้ทราบ และสานักงานได้ออก หนั ง สื อ แจ้ ง เตื อ นไปยั ง บริ ษั ท เพื่ อ ขอให้ เ ร่ ง ด าเนิ น การ ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ แล้ ว นั ้น พบว่ า มี ห ลายบริ ษั ท ที่ ไ ด้ น า หลักฐานการส่งออกมาตัดบัญชีวัตถุดิบกับสมาคม และมี บางบริษัทที่ไม่สามารถตัดบัญชีวัตถุดิบได้ตามที่กาหนดก็จะ มีหนังสือชี้แจงสาเหตุไปยังสานักงานเพื่อขอผ่อนผัน แต่ก็ ยั ง พบว่ า มี อี กหลายบริ ษั ท หลายโครงการที่ ไ ม่ ไ ด้ ม าตั ด บัญชีวัตถุดิบกับสมาคมและไม่ได้ติดต่อกับสานักงาน เพื่อ ชีแ้ จงถึงสาเหตุท่ีไม่มาตัดบัญชีวัตถุดิบ ซึ่ งเมื่อครบกาหนด ตามที่สานักงานออกหนังสือแจ้งเตือนไปแล้ว กลุ่มบริษัท ดั ง กล่ า วจะถู ก ระงั บ สิ ท ธิ์ ก ารสั่ ง ปล่ อ ยวั ต ถุ ดิ บ ของทุ ก โครงการ

icn 10

ส าหรั บ บริ ษั ท ใดที่ ถู ก ระงั บ สิ ท ธิ์ ก ารสั่ ง ปล่ อ ย วั ต ถุ ดิ บ ทุ ก โครงการ เมื่ อ จะท าการสั่ ง ปล่ อ ยวั ต ถุ ดิ บ ไม่ว่าจะเป็นโครงการใดก็ตาม บริษัทจะต้องดาเนินการขอ ปลดล็อกการสั่งปล่อยกับสมาคมก่อน โดยมีวิธีปฏิบัติ ง่ายๆ ดังนี้ วิธีป ฏิบัติสาหรับ การปลดล็อ กการสั่ง ปล่อ ยวัต ถุดิบ กรณีถ ูก ระงับ สิท ธิก ารสั ่ง ปล่อ ยวัต ถุด ิบ เนื ่อ งจาก ไม่ตัด บัญ ชี วัต ถุดิบ เกิน 4 เดือ น

1. บริ ษั ท มาท าการตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ปรั บ ยอดวั ต ถุ ดิ บ อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง เพื่ อ เป็ น การลดยอด วัตถุดิบคงเหลือของโครงการที่ไม่มีการตัดบัญชีวัตถุดิบ เกิน 4 เดือน • เมื่อบริษัทมาตัดบัญชี วัตถุดิบหรือมาปรับ ยอดวัตถุดิบแล้ว ขอให้แจ้งสมาคมทราบ เพื่อจะทาการ ปลดการระงับสิทธิ์การสัง่ ปล่อย • กรณี ไม่ สาม าร ถตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บไ ด้ ให้ดาเนินการในข้อ 2 2. ให้ บ ริ ษั ท ท าหนั ง สื อ ชี้ แ จง ไปยั ง กองพั ฒ นา ปั จ จั ย ส นั บ ส นุ นก า ร ล ง ทุ น (ก พ ท . ) ส า นั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เพื่อชี้แจงถึงสาเหตุท่ี ไม่สามารถตัดบัญชีวัตถุดิบได้ และดาเนินการขอผ่อนผัน เมื่ อ ส านั ก งานพิ จ ารณาผ่ อ นผั น แล้ ว จะมี ห นั ง สื อ แจ้ ง มายั ง สมาคม เพื่ อ ให้ ป ลดการระงั บ สิ ท ธิ์ การสั่ ง ปล่ อ ย วัตถุดิบต่อไป


3. กร ณี บ ริ ษั ท ร อข้ อ มู ล ก า ร โอ น สิ ทธิ์ จ า ก Vendor ที่อาจจะรอเอกสารหรือข้อมู ลการโอนสิทธิ์นาน เกิน 4 เดือน ทาให้ไม่สามารถตัดบัญชีวัตถุดิบได้ทันเวลา ที่ ก าหนด ให้ ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ ขอผ่ อ นผั น การระงั บ สิ ท ธิ์การ สัง่ ปล่อยดังนี้ • บริ ษั ท ท าหนั ง สื อ ถึ ง ส านั ก งาน โดยยื่ น ที่ กองพัฒนาปั จจัยสนับสนุนการลงทุน (กพท.) เพื่อขอ ปลดการระงับสิทธิ์การสั่งปล่อย โดยแนบหลักฐานการ ซื้อ-ขายวัตถุดิบ ระหว่างผู ้ซื้อกับผู ้ขาย หรือหลักฐานที่ แสดงว่าได้มีการยื่นขอสูตรการผลิตแล้ว มาใช้ ขอผ่อนผัน การระงับสิทธิ์สั่งปล่อยวัตถุดิบ เมื่อ ผู ้อานวยการกอง พัฒนาปั จจัยสนับสนุนการลงทุน (ผพท.) พิจารณาแล้ว จะสั่งการโดยให้สมาคมผ่อนผันการระงับสิทธิ์สั่งปล่อย วัตถุดิบออกไปอีก 2 เดือน

4. กรณีบริษัทถูกระงับสิทธิ์นานเกินกว่า 2 เดือน และบริษัทยังไม่ได้ดาเนินการใดๆ สมาคมจะติดตามและ ตรวจสอบบริ ษั ท ที่ ถูก ระงั บ สิ ท ธิ์ น านกว่ า 2 เดื อ นและ รายงานให้สานักงานทราบต่อไป ข้ อ มู ล ข้ า งต้ น คื อ วิ ธีป ฏิ บั ติ ใ นกรณี ท่ี บ ริ ษั ท ของ ท่ า นถู ก ระงั บ สิ ท ธิ์ ก ารสั่ ง ปล่ อ ยวั ต ถุ ดิ บ เนื่ อ งจากไม่ ตัดบั ญชี วั ตถุดิ บเกิ น 4 เดื อน ซึ่ งจะทาให้ท่ านเสียเวลา และอาจเกิดความเสียหายในการดาเนินธุ รกิจของบริษัทได้ ดังนัน้ บริษัทควรจะหาทางป้ องกันไว้ก่อนดีกว่ามาทาการ แก้ ไ ขที ห ลั ง โดยบริ ษั ทจะต้ อ งคอยติ ด ตามความ เคลื่ อ นไหวโครงการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง หากไม่ ส ามารถ ตัดบัญ ชี วัต ถุดิบได้ภายใน 4 เดือน ให้ รีบทาหนัง สือถึ ง ส านั ก งาน เพื่ อ รายงานถึ ง ปั ญ หาของบริ ษั ท และขอให้ ส านั ก งานพิ จ ารณาผ่ อ นผั น การระงั บ สิ ท ธิ์ สั่ ง ปล่ อ ย วัตถุดิบไปก่อนที่จะถูกระงับสิทธิ์การสัง่ ปล่อยวัตถุดิบ ทัง้ นี้หากท่า นมี ข้อ สงสั ย หรือ ต้อ งการสอบถาม รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถสอบถามมายั ง สมาคม ที่หน่วยงาน Customer Support Unit (CSU) E-mail : c s u @ i c. o r. t h หรือโทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 700 ภาพจาก: https://www.freepik.com/free-photos-vectors/document

11 i c n



กรมศุ ล กากรได้ จั ด ท าค าอธิ บ ายชุ ดข้ อ มู ล ต่ า งๆ ในแบบใบขนสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมทัง้ กาหนดขนาด ของข้อมู ล คือ จานวนตัวเลขหรือตัว อักษรที่ สามารถ บันทึกในแต่ ละข้อมู ล เรียกว่า “คู่มือการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์” ปั จจุ บันมี 3 คู่มือ คือ 1. ประกาศกรมศุ ล กากรที่ 133/2561 เรื่ อ ง คู่มื อ การปฏิ บั ติ พิ ธี ก ารศุ ล กากรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ว่ า ด้ ว ย กระบวนการทางศุลกากรสาหรับการนาเข้า (e-Import) 2. ประกาศกรมศุ ล กากรที่ 132/2561 เรื่ อ ง คู่มื อ การปฏิ บั ติ พิ ธี ก ารศุ ล กากรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ว่ า ด้ ว ย กระบวนการทางศุลกากรสาหรับการส่งออก (e-Export) 3. ประกาศกรมศุลกากรที่ 119/2561 เรื่อง คู่มือการ ปฏิบัติพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ว่าด้วยกระบวนการ ทางศุลกากรสาหรับการใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร (e -Tax Incentive)

ข้ อ ควรรู้ ใ นการส่ ง -รั บ ข้ อ มู ล ใบขนสิ น ค้ า 1. กรมศุ ล กากรไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ อ อกแบบโปรแกรม ส่ง ข้ อมู ล ใบขนสิ น ค้า โปรแกรมที่ ใ ช้ ง านมี ห ลากหลาย รูปแบบตามการออกแบบของผู ้พัฒนา และตามความ ต้องการของผู ้ใช้ ผู ้ใช้ ต้องศึ กษาการใช้ งานโปรแกรม เนื่องจากหากดาเนินการโดยไม่ถูกต้อง อาจทาให้ข้อมู ล ที่สาคัญไม่ได้ถูกส่งเข้ามาในระบบกรมศุลกากร ทัง้ ๆ ที่ ปรากฎในระบบของผู ้ใช้ ดังนัน้ หากมีปัญหาการใช้ งาน เบือ้ งต้นขอให้ปรึกษาผู ้พัฒนาโปรแกรมนัน้ ๆ ก่อน และ ศึ กษาคาอธิบายตามคู่มือการปฎิบัติพิธีการศุลกากร

13 icn


2. เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ เ ป็ น ใบขนสิ น ค้ า ที่ กาหนด ตามพิธีการศุลกากรในประกาศกรมศุลกากร ลาดับ แรกที่ ผู้ ใ ช้ โป รแกร มส่ ง ข้ อ มู ลใบ ขนสิ น ค้ า ต้ อ ง ดาเนินการ คือ เลือกว่า กาลังจะจัดทาใบขนสินค้า ประเภทเอกสารเป็นแบบใดจากโปรแกรมที่ใช้ งาน หาก ท่านเลือกผิด หรือไม่ได้เลือก ข้อมู ลที่ส่งมาจะส่งผล ให้ท่านได้เลขที่ใบขนสินค้าที่หลักที่ 5 ของเลขที่ใบขน สิ น ค้ า เป็ น ประเภทที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งตามที่ ก รมศุ ล กากร กาหนด ท าให้ท่ า นต้ อ งเสีย เวลาในการแก้ ไ ข และมี ค่าใช้ จ่ายที่เพิ่มขึน้ 3. ในการรั บ ของจากอารั กขาศุ ล กากร หรื อ ส่ ง ของไปนอกราชอาณาจั ก ร กรมศุ ล กากรออก ป ร ะ ก า ศ ว่ า ไ ม่ ต้ อ ง น า ใ บ ข น สิ น ค้ า ม า ยื่ น ต่ อ กรมศุลกากร (No Copy) แต่ อย่างไรก็ตามเพื่อให้ สามารถด าเนิ น การได้ ร วดเร็ ว และป้ องกั น ความ ผิดพลาดในการสื่ อสารของผู ้เกี่ย วข้อง ค าแนะน า คือ ควรจะมีใบขนสินค้าที่พิมพ์จากระบบท่านมายื่น ต่อ กรมศุ ลกากร ปั จจุ บัน กรมศุ ล กากรแจ้ งสถานะ การรับของไปจากอารักขา และ การส่งออกไปนอก ราชอาณาจั ก ร ให้ กั บ ผู ้ ท่ี ส่ ง ข้ อ มู ล ใบขนสิ น ค้ า ให้ กรมศุลกากร

รูปที่ 1 แสดงเลขที่ใบขนสินค้าที่ใช้ ทัง้ ใบขนสินค้าขาเข้า และใบขนสินค้า ขาออก กรมศุ ลกากรนาใบขน สินค้า 2 แบบดังกล่าวมาใช้ กับกระบวนการทาง ศุลกากร โดยชื่อใบขนสินค้าประเภทต่างๆ ที่ใช้ ใน การปฏิบัติพิธีการศุลกากรในกระบวนการต่างๆ สามารถทราบได้ จากหลั ก ที่ 5 ของเลขที่ ใบขนสิ น ค้ า ที่ ก าหนดให้ เ รี ย กว่ า “ประเภท เอกสาร” ผู ้พัฒนาโปรแกรมจะออกแบบให้ผู้ใช้ เลือกแบบใบขนสินค้าที่ต้องการใช้ งานเป็นลาดับ แรกก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม การบั น ทึ ก ข้ อ มู ลอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง

icn 14

4. ผู ้น าเข้ า ผู ้ ส่ง ออก ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ ส่ง ข้ อ มู ล สามารถ ติดตามการส่งข้อมู ลใบขนสินค้าได้จากระบบ e-Tracking ของ กรมศุลกากร ซึ่ งนอกจากจะใช้ ในการติดตามใบขนสินค้าแล้ว ปั จจุ บั น ยั ง ใช้ ประโยชน์ ไ ด้ ห ลายอย่ า ง เช่ น การพิ ม พ์ ใบเสร็จรับเงินที่ชาระโดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ เช่ น e-Payment Mobile banking การติดตามการขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากร 5. เลขที่ ใ บขนสิ น ค้ า ที่ ใ ช้ ใ นปั จ จุ บั น ไม่ ไ ด้ บ อกสถานที่ ยื่ น ใบขนสินค้าเหมือนเลขที่ใบขนสินค้าในอดีต ดังนัน้ หากท่านประสงค์ จะจาลองใบขนสินค้า ท่านต้องทราบก่อนว่า เลขที่ใบขนสินค้า นัน้ เป็ น ใบขนสิ น ค้า ที่ ใ ช้ ใ นการตรวจปล่ อ ยสิ น ค้ า ที่ หน่ ว ยงาน ศุ ล กากรใด กรณี มี จ านวนไม่ ม าก ท่ า นอาจจะขอความ อนุ เ คราะห์ เ จ้ า หน้ า ที่ ศุ ล กากรหน่ ว ยงานใดหน่ ว ยงานหนึ่ ง ตรวจสอบให้ แต่ ห ากมี จ านวนมากขอแนะน าให้ ท าหนั ง สื อ ขอความอนุ เ คราะห์ ไ ปที่ ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อ ขอข้อ มู ล ดั งกล่า ว และอาจจะขอให้ จัดท าข้ อมู ล ที่สาคัญเพิ่มเติมเพื่อใช้ ประโยชน์อย่างอื่นได้ในคราวเดียวด้วย


คู่มือระบบพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสาหรับสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากร (e-Tax Incentives)

FORMAT คือ ขนาดข้อมูล กรณีนี้ คือ ขนาดข้อมูล 8 หลัก หากใส่ข้อมูลเกินจาก 8 ข้อมูล ส่วนที่เกินจะไม่ปรากฎในระบบ ของกรมศุลกากร คู่มือการปฏิบัติพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่าด้ วยกระบวนการทางศุลกากรสาหรั บการนาเข้ า (e-Import)

รูปที่ 2 แสดงตัวอย่างข้อมู ลในใบขนสินค้าที่กรมศุลกากรกาหนด จะเห็น ได้ว่าในใบขนสินค้าขาเข้าที่นาไปใช้ งานกับ กระบวนการนาเข้า กับ ใบขนสินค้าขาเข้าที่นาไปใช้ งานกับการใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี อากรใช้ ข้อมู ลเดียวกันโดยพิจารณาจาก ลาดับข้อมู ล เพียงแต่ในข้อมู ลดังกล่าว มีข้อกาหนดการนาข้อมู ลที่นามาบันทึกแตกต่างกัน และจะเห็นได้ว่าแต่ละข้อมู ลจะกาหนด ขนาดของตัวอักษรหรือตัวเลขที่จะสามารถบันทึกได้ หากท่านส่งเกินจากขนาดที่กาหนด ข้อมู ลที่เกิน มาจะไม่ปรากฎในระบบ คอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร

สาหรับ Customs Today ฉบับต่อไป ผู ้เขียนจะนาเรื่องข้อมู ลใบขนสินค้าที่น่าสนใจมาขยายความเพิ่มเติม

ภาพจาก: http://exim4u.blogspot.com/2018/09/e-tracking.html

15 icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 36 (1), (2) ยื่นเรื่องการกาหนดวัน นาเข้าครั้งแรก ในระบบฐานข้อมูล RMTS Online

สมัครใช้ บริการ RMTS

คีย์บัญชี รายการ วัตถุดิบ เข้าสู่ ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online

7 วัน

คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต เข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online

BOI Approve คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดิบ 30 วัน BOI Approve

30 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดิบ

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th


พลังงานทางเลือก เทคโนโลยีไฟฟ้า

ทางรอด (2) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว email: chamluck@gmail.com

นวั ต กรรมแบตเตอรี่ เทคโนโลยี กั ก เก็ บ พลั ง งาน

แนวโน้ ม ด้ านการบริ โภค หรื อ ใช้ ไ ฟฟ้ าของอุ ปกรณ์ แ ละ เครื่องใช้ไฟฟ้ าต่างๆในอนาคต จะ เปลี่ยนแปลงเร็วหรือช้ าขึ้นอยู ่กับ แหล่ งพลั งงาน และระบบกั กเก็ บ พลังงานที่มีความจุ สูง ขนาดเล็ก นา้ หนั กเบา อายุ การใช้ งานนาน และราคาเหมาะสม เป็ นปั จจั ย สาคัญต่อการเติบโตของแทบทุก อุ ตสาหกรรม เพราะในโลกยุ คใหม่ เกือบทุกสิ่งทุกอย่างต้องใช้ ไฟฟ้ า พั ฒนาการของแบตเตอรี่ ที่ ใช้ ใน การกักเก็บพลังงานจึงเป็นหัวข้อ สาคัญในการวิจัยและพัฒนาของ นักวิจัยและห้องปฏิบัติการชัน้ นา ทั่วโลก แม้ แต่ สหภาพยุ โรปซึ่ งมี นโยบายลดการใช้ ยานยนต์นา้ มัน และหันมาใช้ ยานยนต์ไฟฟ้ าอย่าง จริ งจั งไม่ ต่ างจากจี นที่ ประกาศ นโยบายชัดเจนเลิกผลิตยานยนต์ นา้ มันสู่การผลิตยานยนต์ไฟฟ้ า 100% ดั งวิ สั ยทั ศน์ และพั นธกิ จ ระยะยาวของยุ โรป The longterm vision and mission of BATTERY 2030+ และมุ ่งสู่สังคม คาร์บอนตา่

“Batteries are one of the key technologies to enable a carbon- neutral Europe by 2050”

z

<<สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก เอกสารการศึ กษาวิจัย Inventing the Batteries of the Future: Research Needs and Future Actions 17 icn


ปั จจุ บันประเภทของแบตเตอรี่และการนามาใช้ งาน ในด้านต่างๆ เริ่มขยับปรับเปลี่ยนไป จากรู ปแบบการใช้ แบตเตอรี่แบบเดิมที่ยังมีการใช้ งานอยู ่ในรถยนต์สันดาป ภายในหรือรถยนต์ใช้ นา้ มันในปั จจุ บัน (แบบตะกั่วกรด Lead-acid Battery ทัง้ แบบนา้ และแบบเจล) สู่แบตเตอรี่ แบบลิ เ ธี ย ม ที่ ใ ช้ กั น ทั่ว ไปในสมาร์ ท โฟนและยานยนต์ ไฟฟ้ า Electrical Vehicle (EV) จากภาพจะเห็นพัฒนาการ ของการวิจัยและพัฒนาโครงสร้างและวัสดุที่นามาใช้ ใน การผลิตแบตเตอรี่ ซึ่ งแบตเตอรี่ลิเธียมเองที่ได้รับการ ยอมรับและนามาใช้ งานกันอย่างมากแล้วในปั จจุ บันก็มี การใช้ วัสดุทดแทนที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จากลิเธียม ไอออน ลิ เธี ย มเมกกะไฮไดรด์ มาเป็ น ลิ เธี ย มไอออน ฟอสเฟต (LiFePO4) และลิเธียมที่ใช้โลหะผสมระหว่างนิเกิล แมงกานีส และโคบอลต์ (Li NMC) ซึ่ งอยู ่ในยานยนต์ไฟฟ้ า ที่จาหน่ายในปั จจุ บัน

เ มื ่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี แ บ ต เ ต อ รี ่ แ บ บ ตะกั ่ว กรด จะพบว่ า แบตลิ เ ธี ย มนั บ วั น จะมี ข นาดเล็ ก ลง ความจุ ในการเก็ บ ไฟสู ง ขึ ้น นา้ หนั ก เบา และอายุ การใช้ งานสู ง ขึ ้น ถึ ง แม้ ว่ า ราคาขายจะมี ร าคาสู ง กว่ า สองเท่ า แต่ เ มื ่ อ เที ย บราคาต่ อ หน่ ว ยไฟฟ้ าที ่ ใ ช้ ไ ด้ จ ริ ง จะถู ก กว่ า อี ก ทั ้ง ยั ง มี ค่ า DOD (Depth of Discharge) หรื อ ความลึ ก ในการดึ ง ไฟใช้ ง านที่ ม ากกว่ า ตั ว อย่ า งกรณี แ บตเตอรี่ แ บ บ ต ะ กั่ ว ก ร ด มี ค่ า DOD ที่ 3 0 % ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ในการใช้ ไ ฟไม่ ค วรดึ ง ไฟออกมาใช้ เกิ น 30% ของความจุ แบต ทาให้ ต้ อ งชาร์ จ บ่ อ ยครั ้ง เพราะถ้ า ดึ ง ไฟออกมาใช้ งานมากเกิ น ไปจะท าให้ แ บตเตอรี ่ เ สื ่ อ มสภาพเร็ ว กว่ า กาหนด น า้ กรดลดต่า แผ่ น ธาตุ ส ึ ก หรอเร็ ว เป็ น ผลให้ อายุ การใช้ ง านสั ้น ลง จาก 2-3 ปี อาจเหลื อ ไม่ ถึ ง 2 ปี ในขณะที่แบตเตอรี่แบบลิเธียมมีค่า DOD สูงถึง 70% ทาให้รอบ การชาร์ จ น้ อ ยครั ้ง และมี อ ายุ การใช้ ง านยาวนานกว่ า ถึ ง 4-5 ปี

พัฒ นาการยานยนต์นา้ มัน สู่ย านยนต์ไ ฟฟ้ า ปั จ จุ บั น จากผลกระทบด้ า นเศรษฐกิ จ และสิ ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาวะโลกร้ อ น ก๊ า ซเรื อ นกระจก ฝุ ่ น PM2.5 ควั น ดาจากท่ อ ไอเสี ย รถยนต์ การขาดแคลนแหล่ ง นา้ มั น ในอนาคต และราคาเชื ้ อ เพลิ ง น า้ มั น ที ่ พุ ่ ง สู ง ขึ ้น อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง เป็ น เหตุ ผ ลหลั ก ที ่ เ ร่ ง ให้ เ กิ ด การปรั บ ตั ว ของผู ้ ใ ช้ ย านยนต์ ทั ่ว โลก ตั ว อย่ า งในประเทศไทยที ่ เ ห็ น ได้ ช ัด ในช่ วงที ่ ผ ่ า นมาคื อ การแห่ น า รถยนต์ ไ ปติ ด ตั ้ง ระบบแก๊ ส ซึ่ ง มี ร าคาถู ก กว่ า เป็ น ผลให้ ธุ รกิ จ อู ่ ติ ด ตั ้ง ดั ด แปลง เชื้ อ เพลิ ง รถยนต์ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มและเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว แ ต่ นั ่น เป็ น เ พี ย ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ฉ พ า ะ ห น้ า ห า ก แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เชิ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง เมื่ อ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ยานยนต์ ยุ คใหม่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาต่ อ ยอด และเกิ ด ผลในเชิ ง อุ ตสาหกรรมและพาณิ ช ย์ อย่ า งเด่ น ชัด การเกิ ด ขึ้น ของผู ้ ผ ลิ ต รายใหม่ ใ นยุ คดิ ส รั ป ชัน่ อย่ า ง Elon Musk เป็ น ผลให้ ร ถยนต์ เ ทสล่ า ได้ เ ข้ า มา ปฎิ วั ติ อุ ตสาหกรรมยานยนต์ เร่ ง ให้ เ กิ ด new S-Curve ใหม่ ที่ เ ข้ า มาแทนที่ S-Curve เดิ ม ของยานยนต์ แ บบ สั น ดาปที่ ใ ช้ นา้ มั น นอกจากประสิ ท ธิ ภ าพที่ เ ที ย บเคี ย งได้ ไ ม่ ต่ า งจากยานยนต์ นา้ มั น และสู ง กว่ า ในบางด้ า นแล้ ว ที่ สาคั ญ ยั ง ช่ วยลดมลพิ ษ เพราะไม่ มี ค วั น ดาอี ก ด้ ว ย จึ ง ถื อ เป็ น เทคโนโลยี ที่ ส อดรั บ กั บ กระแสโลกโดยแท้ icn 18


จากภาพเมื่อเปรียบเทคโนโลยียานยนต์ 4 แบบคือ ยานยนต์แบบเดิมที่ใช้ นา้ มัน (ICE) มาเป็นยานยนต์ที่มีระบบผลิต ไฟฟ้ าและป้ อนกลับในตัวเข้าไปเป็นกาลังเสริม (HEV) ทาให้การใช้นา้ มันลดลงและประหยัดเชือ้ เพลิงมากขึน้ ในขณะรถยนต์จอด ไม่เคลื่อนไหวเครื่องยนต์ก็ไม่ทางาน เมื่อลดความเร็วหรือเบรกก็จะเปลี่ยนพลังงานเชิ งกลเป็นไฟฟ้ าป้ อนกลับเข้าแบตเตอรี่ แต่อย่างไรก็ตามไฮบริดก็ยัง ถือว่าเป็ นรถยนต์ใ ช้ นา้ มันเป็นหลัก จึ งพัฒนามาสู่ PHEV ที่มีแ บตเตอรี่ ใหญ่ขึ้นเก็ บกักไฟได้ มากขึน้ และสามารถชาร์จไฟใช้ งานควบคู่ไปกับการเติมนา้ มัน อาจเรียกว่าเป็นระบบผสม จนถึงยานยนต์ไฟฟ้ าแบบ 100% ที่เป็น BEV ไม่มีเครื่องยนต์และไม่มีการเติมนา้ มัน ระบบขับเคลื่อนใช้มอเตอร์ มีแบตเตอรี่ เป็นแหล่งพลังงานหลัก

จากพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์ดังกล่าว เป็นผลให้ค่ายรถยนต์แบรนด์ต่างๆ เร่งพัฒนายานยนต์แบบใหม่ออกมา จาหน่าย แต่ด้วยการเปลี่ยนผ่านจากยานยนต์ใช้นา้ มันไม่สามารถจะเปลี่ยนไปสู่ยานยนต์ไฟฟ้ า 100% ได้ในทันที อันเนื่องมาจาก โครงสร้างอุ ตสาหกรรมที่มีผู้ผลิตชิน้ ส่วนจานวนมากในโครงสร้างเดิม ซึ่ งอาจต้องปิ ดกิจการและคนตกงานในทันทีจานวนมาก สมรรถนะของการใช้งานจริงของยานยนต์ไฟฟ้ าที่ยังวิ่งได้ในระยะที่ไม่ไกลมากพอกับแบตเตอรี่ที่มีอยู ่ในการชาร์จหนึ่งครัง้ เพราะ การชาร์ จ ไฟแต่ ล ะครั ้ ง ใช้ เวลานานนั บ ชั่ ว โมง แม้แนวโน้มระบบชาร์จเร็ว (DC Fast charge) จะเกิดขึน้ แล้ ว ก็ ต าม แต่ ร ะบบนิ เ วศ ( Eco-system) ของ ยานยนต์ ไ ฟฟ้ ายั ง ต้ อ งใช้ เวลาในการขยายตั ว โดยเฉพาะสถานี ชาร์ จไฟที่ ยั งกระจายตั ว ไม่ ทั่วทุ ก ภูมิภาค ปั จจุ บันรถยนต์ไฟฟ้ าจึงอาจจะเหมาะกับผู ้ใช้ รถที่วงิ่ ในเมืองเป็นหลัก หรือวิง่ ต่างจังหวัดในระยะทาง ต่อวันไม่เกิน 300 กิโลเมตร จากรู ป ถ้ า เที ย บเคี ย งเทคโนโลยี ย านยนต์ ที่ น ามาผลิ ต และจ าหน่ า ยในท้ อ งตลาดปั จ จุ บั น จากรถยนต์ ใ ช้ น า้ มั น ที่ มี ในทุกแบรนด์ มาสู่เจ้าตลาดรถยนต์ไฮบริด (HEV) อย่างค่ายโตโยต้า ต่อเนื่องมาเป็น PHEV ที่เริ่มมีในหลายแบรนด์ มาสู่ BEV ที่มีเครื่องปั่ นไฟที่ใช้ นา้ มันในตัว NISSAN Kicks E-Power ที่พัฒนามาเพื่อแก้ปัญหาที่ผู้ใช้ งานกังวล เรื่องไม่มีสถานีชาร์จ ไฟระหว่างเดินทางระยะไกล และเชื่อว่าหลังปี 2020 รถยนต์ไฟฟ้ าเติบโตขึน้ อย่างชัดเจนในประเทศไทย จากการนาเข้ารถยนต์ จากจีนในราคาที่ไม่สูงมาก เพราะได้รับสิทธิประโยชน์ภาษีนาเข้าจากข้อตกลงทางการค้า FTA ไทย-จีน อาทิ MG และ GWM แม้ว่าโรงงานผลิตยานยนต์ไฟฟ้ าจะยังไม่เกิดขึ้นในประเทศไทยก็ตาม นี่น่าจะเป็นจุ ดเปลี่ยน (game changer) ที่จะมาเป็น ตัวเร่งให้ค่ายยานยนต์ญี่ปุ่นที่มีฐานการผลิตในประเทศไทยไม่อาจจะรอช้า หรือดึงเวลาการเปลี่ยนผ่านได้อีกต่อไป ไม่เช่ นนัน้ ก็ เท่ากับเปิ ดโอกาสให้ตลาดรถยนต์ EV ไปสู่ผู้ผลิตยานยนต์รายใหม่จากทัง้ ค่ายจีน และค่าย TESLA ของสหรัฐในที่สุด ทัง้ นีน้ โยบาย ของรัฐในเรื่องภาษีและการส่งเสริม EV ยิง่ ต้องชัดเจนมากขึน้ ภาพจาก: https://currentev.com/blog/bev-erev-phev-hev-what-do-they-mean-an-ev-dictionary/

19 icn



มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

JOIN A TRAINING ON

รู้ให้ลึก...เข้าถึงงานตัดบัญชีวัตถุดิบ ด้วยระบบ RMTS

Online

<<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ฟรีสาหรับสมาชิ ก เรื่อง “รู้ให้ลึก...เข้าถึงงานตัดบัญชี วัตถุดิบ ด้ ว ยระบบ RMTS Online” ผ่ า นโปรแกรม Zoom ที่ สามารถรองรั บการฝึ กอบรมและสั มมนาในยุ ค New Normal โดยจัดขึน้ จานวน 2 รอบ ในวันที่ 21 และ 28 เมษายน 2564 มีสมาชิกเข้าร่วมอบรมออนไลน์ทงั ้ สิน้ กว่า 126 ท่าน

การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณกฤตยา วิชยั ดิษฐ์ สมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมี หัวข้อสาคัญ อาทิ กรณีข้อมู ลส่งออกตรงกับสูตรผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับอนุมัติ กรณีข้อมู ลส่งออกไม่ตรงกับสูตรผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับอนุมัติ การตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุจาเป็นด้วยเอกสารการโอนสิทธิ์ (Report V) การตัดบัญชีวัตถุดิบและวัสดุ จาเป็นสาหรับผลิตภัณฑ์ท่นี ากลับมาซ่ อมแซม การยกเลิ ก ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ การตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ ด้ ว ยใบขนสิ น ค้ า ขาออกที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ สกท.กาหนด ตลอดจนผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมซักถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย โดยวิทยากรได้ โต้ ตอบกับสมาชิ ก เสมื อนอบรมในห้อ งสัม มนา เพื่อ น าข้ อมู ลที่ไ ด้รับ ไปใช้ ใ นการด าเนิน งานได้อ ย่า ง มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ 21 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สมาคมสโมสรนักลงทุน

มอบเครื่องให้อากาศผสมออกซิเจนอัตราการไหลสูง ให้แก่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

วันที่ 14 พฤษภาคม 2564 สมาคมสโมสรนักลงทุน โดย นางชุ ตาภรณ์ ลัมพสาระ อุ ปนายกสมาคม และนางภัทร์ชนก กรกมลพฤกษ์ กรรมการและเหรัญญิกสมาคม เป็นตัวแทน สมาคมมอบเครื่องให้อากาศผสมออกซิ เจนอัตราการไหลสูง จานวน 5 เครื่อง มู ลค่า 1,000,000 บาท ให้แก่ โรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โดยมี รศ.นพ.พฤหัส ต่ออุ ดม ผู ้อานวยการโรงพยาบาล ผศ.นพ.ปรีด์ิ นิมมานนิตย์ ผู ้ช่วย ผู ้อานวยการ ผศ.นพ.ฉัตรชัย มิ่งมาลัยรักษ์ ผู ้อานวยการ โรงพยาบาลสนามธรรมศาสตร์เป็นผู ้รับมอบ icn 22


เคลียร์ให้ชัด

!!

สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

การจั ด ทาบั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ

อุตสาหกรรมจิวเวลรี่ อ อ น ไ ล น์

ผ่าน ZOOM

วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน 2564 เวลา 13.30-16.30 น. หัว ข้อ การสัม มนา • การขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบและปริมาณ สต็อกสูงสุด และการขอแก้ไขบัญชีรายการและ ปริมาณสต็อกสูงสุด • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดทาข้อมูลสูตร ผลิตภัณฑ์ • การขออนุมัติสูตรผลิตภัณฑ์ และการแก้ไข สูตรผลิตภัณฑ์ • เอกสารประกอบการพิจารณา • รายละเอียดแสดงการใช้วัตถุดิบ (BOM) • รูปผลิตภัณฑ์ • กระบวนการผลิต • ถาม – ตอบ

เริ่ ม เข้ า ระบบ 13.00 น.

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ คุณทวี วีระพงษ์ชัย นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ระดับชานาญการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

วิ ท ยากร

คุณวราลักษณ์ มณีฝั้น นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

อั ต ราค่ า สั ม มนา สมาชิ ก 1,070 บุ ค คลทั่ ว ไป 1,284

บาท บาท

สมัครเข้าร่วมงานสัมมนา สแกนเลย หรือ คลิก http://icis.ic.or.th

อัตราข้างต้นรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200% อัตราข้างต้นเป็นราคาต่อ 1 ท่าน (ไม่มีค่าเอกสารและค่าอาหาร)

เหมาะสาหรับ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านน าเข้ า -ส่ ง ออก ส าหรั บ บริ ษั ท ผู้ ไ ด้ รั บ การ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น หมวดอุ ตสาหกรรมจิ ว เวลรี่ แล ะ ผู้เข้า ร่วมสัมมนควรมีพื้นฐานระบบงานสิทธิประโยชน์ด้า น วัตถุดิบ

สแกนเลย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ Tel. : 0 2936 1429 ext.205-208 Email : icis@ic.or.th Website : www.ic.or.th


การแสดงหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า สาหรับผู้นาของเข้าที่ได้รับผลกระทบ

จากโควิด-19 มยุ รี ย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

ในช่ วงที่ มี ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 กรมศุลกากรได้ออกประกาศกรมศุลกากรที่ 50/2564 เรื่อง การแสดงหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า สาหรับผู ้นาของเข้าที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เพื่ออานวย ความสะดวกและบรรเทาความเดือดร้อนให้ผู้ประกอบการที่ นาของเข้ามาในราชอาณาจักรไทย โดยมีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564

สาระสาคัญของประกาศฉบับนี้ คือ กรณีท่หี น่วยงาน ที่มีอานาจออกหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าของประเทศ ที่ส่งออกได้ออกหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าไว้แล้ว แต่ ไม่สามารถส่งต้นฉบับหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าให้แก่ ผู ้ น าของเข้ า ในประเทศไทยได้ เนื่ อ งจากปั ญ หาการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากร ให้ ผู ้นาของเข้าสามารถแสดงสาเนาภาพถ่ายหนังสือรับรอง ถิ่นกาเนิดสินค้าเพื่อใช้ ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรได้ ส าหรั บ แนวทางปฏิ บั ติ ใ นการแสดงสาเนาภาพถ่ า ย หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าประกอบการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรยกเว้นอากรและลดอัตราศุลกากร ให้ผู้นาของเข้า ปฏิบัติดังต่อไปนี้

(1) การจั ดท าข้อ มู ล ใบขนสิ นค้ า สาหรั บการยกเว้ น อากรและลดอัตราอากรศุลกากร ให้จัดทาข้อมู ลเพิ่มเติม โดยระบุ ขอ้ ความในช่ อง Remarkว่า “ขอใช้ สาเนาภาพถ่าย หนังสือรับรองถิ่น กาเนิดสินค้าไปพลางก่อนและจะแสดง ต้นฉบับหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าในภายหลัง” และให้ จัด ส่ง ข้ อมู ล ใบขนสิ นค้ า โดยบัน ทึ กข้ อมู ล ขอพบพนั กงาน ศุลกากร icn 24

(2) ก่ อ นน าของออกจากอารั ก ขาของ ศุ ล กากร ให้ ผู้ น าของเข้ า ยื่ น ค าร้ อ งขอใช้ ส าเนา ภาพถ่ายหนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้าพร้อมแนบ ส าเนาภาพถ่า ยหนัง สือ รับ รองถิ่ น ก าเนิด สิน ค้า ต่ อ ส านั ก งานศุ ล กากรหรื อ ด่ า นศุ ล กากรที่ น าของเข้ า เพื่อตรวจสอบข้อมู ลในสาเนาภาพถ่ายหนังสือรับรอง ถิ่นกาเนิดสินค้ากับหน่วยงาน ผู ้มีอานาจในการออก หนั ง สื อ รั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด ของประเทศที่ ส่ ง ออก รวมทัง้ ตรวจสอบพิกัดศุลกากรและราคาศุลกากรให้ เป็ น ไปตามหลั กเกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขการใช้ สิ ท ธิ ย กเว้ น อากรและลดอัตราอากรศุลกากรสาหรับความตกลง เขตการค้าเสรีนัน้ ๆ เพื่อปฏิบัติพิธีการศุลกากรไปก่อน (3) ผู ้นาของเข้า ต้องน าต้ น ฉบั บ (Original) หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้ามาแสดงต่อสานักงาน ศุลกากรหรือด่านศุลกากรที่นาของเข้าภายในกาหนด 30 วั น นั บ ตั ้ง แต่ วั น ที่ ต รวจปล่ อ ยสิ น ค้ า ออกจาก อารักขาศุล กากร กรณีมี เหตุผลและความจาเป็น ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ปั ญ หาการแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรัสโควิด-19 ทาให้ไม่สามารถนาต้นฉบับ (Original) หนั ง สื อ รั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ า มาแสดงภายใน กาหนดเวลาดังกล่าว ให้ผู้นาของเข้ายื่นคาร้องล่วงหน้า ก่อนครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่า 7 วัน ท าการ เพื่ อ ขอขยายระยะเวลาการน าต้ น ฉบั บ (Original) หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้ามาแสดงได้ อีกไม่ เกิ น 30 วั น รวมเป็น ไม่ เกิ น 60 วั นนั บตั ้งแต่ วันที่ตรวจปล่อยสินค้าออกจากอารักขาศุลกากร ในกรณีที่ผู้นาของเข้าไม่นาต้นฉบับ (Original) หนังสือรับรองถิน่ กาเนิดสินค้ามาแสดง ภายในกาหนดเวลา จะไม่ได้รับการยกเว้นอากรและ ลดอัตราอากรศุลกากร และกรมศุลกากรจะดาเนินการ ออกแบบแจ้งการประเมินอากรเพื่อเรียกเก็บอากร เต็มตามจานวน


ทัง้ นี้ ประกาศกรมศุลกากรที่ 50/2564 นี้ ให้ใช้ กับความตกลงเขตการค้าเสรีท่กี าหนดให้ผู้นาของเข้า ต้ อ งแสดงต้ น ฉบั บ หนั ง สื อ รั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ า เมื่อต้องการขอรับสิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรในการ ขอยกเว้นอากรหรือลดอัตราอากรศุลกากร ได้แก่

หนังสือรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า

(1) ความตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ระหว่ า งอาเซี ย นและสาธารณรั ฐ ประชาชนจีน (Form E) (2) ความตกลงระหว่ า งรั ฐ บาลแห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยและรั ฐ บาลแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ในการเร่ ง ลดอากร ภายใต้ ก าร ดาเนิ นการล่วงหน้าตามกรอบความตกลงว่ าด้ว ย ความร่ ว มมื อ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ระหว่ า งอาเซี ย น และสาธารณรัฐประชาชนจีน (Form E) (3) พิ ธี ส า ร เ พื่ อ รั บ รั ฐ บ า ล แ ห่ ง สาธารณรั ฐสิงคโปร์ เข้าร่วมในความตกลงระหว่า ง รั ฐ บ า ล แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย แ ล ะ รั ฐ บ า ล แห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ในการเร่ ง ลดอากร ภายใต้การดาเนินการล่วงหน้าตามกรอบความตกลง ว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ระหว่ า ง สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ และสาธารณรัฐประชาชนจีน (Form E)

(4) ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (Form D) (5) ความตกลงว่ า ด้ ว ยการค้ า สิ น ค้ า ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทาง เศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆระหว่างรัฐบาลแห่ง กลุ่ ม ประเทศสมาชิ ก สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐเกาหลี (Form AK)

(6) ความตกลงว่า ด้ว ยความเป็น หุ้น ส่ว นทาง เศรษฐกิจที่ครอบคลุมความตกลงต่างๆระหว่างประเทศ สมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ ญี่ปุ่ น (Form AJ) (7) ความตกลงระหว่างราชอาณาจักรไทยและ ญี่ ปุ่ นส าหรั บ ความเป็ น หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ (Form JTEPA) (8) ความตกลงว่ า ด้ ว ยการค้ า สิ น ค้ า ภายใต้ กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ ครอบคลุมด้านต่างๆ ระหว่างสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐอินเดีย (Form AI) (9) กรอบความตกลงว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั ้ง เขต การค้ า เสรี ร ะหว่ า งราชอาณาจั ก รไทยและสาธารณรั ฐ อินเดีย (10) ความตกลงเพื่ อ จั ด ตั ้ ง เขตการค้ า เสรี อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (Form AANZ) (11) ความตกลงการค้ า เสรี อ าเซี ย น-ฮ่ องกง (Form AHK) (12) ความตกลงการค้าเสรีระหว่างรัฐบาลแห่ง ราชอาณาจั ก รไทยและรั ฐ บาลแห่ ง สาธารณรั ฐ ชิ ลี (Form TC) (13) พิ ธี ส ารระหว่ า งราชอาณาจั ก รไทยและ สาธารณรั ฐ เปรู เพื่ อ เร่ ง เปิ ดเสรี ก ารค้ า สิ น ค้ า และ อานวยความสะดวกทางการค้า

เครดิต: https://www.customs.go.th/cont_strc_simple_with_date.php?current_id=14232832414d505f4b464b4b464b48 ภาพจาก: https://slideplayer.in.th/slide/14732679/

25 icn


icn 26


27 icn


เพิ่มความ

รอบคอบ

เพื่อไม่ให้พลาด

(ความสาเร็จ)

จากยอดผู ้ติดเชื้อ COVID-19 ในหลักสิบ ขยายสู่ หลักร้อย และหลักพัน จากคัสเตอร์ต่างๆ ไม่ว่ าจะเป็ น บ่ อ นการพนั น สถานบั น เทิ ง หรื อ แหล่ ง ชุ มชน ซึ่ งผู ้ ท่ี ติ ด ตามข้ อ มู ลข่ า วสารมากๆ อาจรู้ สึ ก หลอน เกิ ด ความเครียด วิตกกังวลจนคิดว่า…. นี่เราติดหรือยังนะ? ถ้าติดแล้วจะทาอย่างไง? หลายคนบอกว่า ต้องทาใจสถานเดียว เพราะเป็น สิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ สิ่งที่ทาได้คือ ต้องดาเนิน ชีวิตต่อจากนีไ้ ปด้วย “ความรอบคอบ” ไม่ประมาท และ มองหาโอกาสที่จะเกิดขึ้น หลังจากที่เราสามารถผ่านพ้น วิกฤตครัง้ นีไ้ ปได้ โดยคนที่ได้ชื่อว่าเป็น “เศรษฐี ” จะรู้ว่าการประสบ ความสาเร็จต้องใช้ ระยะเวลา ต้องผ่านความล้มเหลวและ อุ ปสรรคมาก่ อ น และวิ กฤติ ใ นครั ้ง นี้ท่ี ทุ กคนกาลั ง เจอ ร่ ว มกั น ก็ เ ช่ นกั น ถื อ เป็ น บทพิ สู จ น์ ท่ี ส าคั ญ ว่ า …ใคร!!! ที่จะสามารถดาเนินชี วิตด้วยความรอบคอบ และสร้าง พลังบวกให้แก่ตัวเอง เพื่อให้พร้อมลุยต่อไป เมื่ อ “รอบคอบ” ทาอะไรก็ ง่ า ยขึ้ น การที่คนๆ หนึ่งจะประสบความสาเร็จได้นัน้ ถ้าไม่ โชคดี ชนิ ด ชี วิ ต โรยด้ ว ยกลี บ กุ หลาบแล้ ว ล้ ว นต้ อ งเจอ ปั ญหาในหลากหลายรู ป แบบ กั บ สถานการณ์ บี บ คั ้น กดดัน เร่งรีบ ส่งผลให้บางครัง้ เราด่วนสรุ ป ใจร้อน หรือ ตัดสินใจผิดพลาด เมื่อเวลาผ่านไปได้กลับมาคิดทบทวน จึงพบว่า เพราะขาดความรอบคอบเป็นเหตุ หลายท่ า นคงเกิ ด ความสงสั ย ว่ า แล้ ว “ความ รอบคอบ” เกี่ ย วอะไรกั บ การแก้ ไ ขปั ญหา เพื่ อ ให้ ฝ่ า ทุกอุ ปสรรคไปถึงเป้ าหมายชีวิตที่ได้วางแผนไว้? icn 28

เส้าหลิน

กรณีศึ กษาที่ส ามารถสะท้ อนให้ เ ห็น ถึง ประโยชน์ ของความรอบคอบ คือ รีด้ เฮสติง้ ส์ (Reed Hastings) ผู ้ก่อตัง้ Netflix จบการศึ กษาทางด้าน Computer Science ได้ทาการสร้างธุ รกิจรูปแบบใหม่และสร้างระบบ online ผ่ า น internet ที่ ใ ช้ ในการเช่ าหนั ง โดยมี ก าร ผสมผสานระหว่าง Technology Netflix ต้องผ่านมรสุมของธุ รกิจมาอย่างมากมาย ตัง้ แต่เริ่มคิด idea ที่จะสร้างธุ รกิจการเช่ าหนังแบบ Online โดยใช้ ร ะบบเหมาจ่ า ย ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ ใ หม่ ม ากๆ ส า ห รั บ ใ น ยุ ค นั ้ น แ ล ะ ยั ง ไ ม่ มี ก า ร ดู ห นั ง Online Streaming แบบในปั จจุ บัน โดย Netflix เปิ ดโอกาสให้ผู้ชมเลือกหนังจาก website และจะมี ก ารส่ ง ให้ ยื ม ผ่ า นระบบไปรษณี ย์ ซึ่ ง ในยุ คนั ้น เครื่ อ งเล่ น DVD ยั ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ประจ าทุ ก ครั ว เรื อ น ในสหรั ฐ และเขายั ง คิ ด อี กว่ า มี ลู กค้ า จ านวนมากที่ มี ปั ญหาคล้ายกับเขา คือต้องเสียเวลาเดินทางไปคืนวิดีโอ ที่ร้านเช่ า และถูกปรับเป็นประจา รีด้ เฮสติง้ ส์ เป็นคนที่ปรับตัวอย่างรวดเร็ว มีการคิด และการวางแผนที่ รอบคอบ โดยเขาจะใส่ ใจในรายละเอี ยด ค้นคว้า และรวบรวมข้อมู ลที่เกี่ยวข้องทัง้ หมดแล้วค่อยๆ พัฒนา จนได้มีการพัฒนาระบบ Streaming ขึ้นเพื่อให้ ลูกค้าสามารถชม Online ผ่าน Internet และยังได้พัฒนา ระบบ Movie Recommendation ช่ วยแนะนาภาพยนตร์ เรื่องใหม่ๆ ให้แก่ลูกค้า ที่ตรงต่อความต้องการ และทัน ต่อความเปลี่ยนแปลง


Goal

จะเห็นได้ว่า ความรอบคอบนัน้ ส่งผลให้สามารถ อุ ดช่ องว่างในการดาเนินงาน ลดข้อผิดพลาด ลดความ เสี่ยง ลดความวิตกกังวล จนเกิดเป็นความกล้า กล้าทา ในสิ่ ง ที่ แ ตกต่า งออกไปจากเดิ ม หากผู ้ บ ริ ห าร Netflix ไม่ดาเนินการอย่างรอบคอบ คิดอย่างรอบด้าน คงไม่ได้ รับความนิยมและประสบความสาเร็จอยู ่ในขณะนี้ ดัง นัน้ ปั จจั ยที่ จะผลั กดั นให้เ ราเป็ นคนรอบคอบ มากขึน้ จึงประกอบด้วย ค่อยๆ ทาอย่างรอบคอบ ซึ่ งไม่ได้หมายความว่า ท าช้ า จนเกิ น ไป แต่ ท าอย่ า งมี วิ นั ย และมี ความละเอี ย ด รอบคอบ ที่เป็นสิ่งสาคัญในการเพิ่มสมาธิในการทางาน ได้เป็นอย่างดี ก าหนดเป้ าหมายและเรี ย งล าดั บ ความส าคั ญ เพราะหากไม่มีการกาหนดเป้ าหมายไว้ ทาไปเรื่อยๆ ย่อม ไม่สามารถจัดลาดับความสาคัญได้ว่าอะไรควรทาก่อน ทาหลัง และเรื่องใดควรให้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ

อ้า งอิง : https://www.blueoclock.com/reed-hastings-and-netflix-story/ ภาพจาก: t.ly/nrGC

นึกถึงสิ่งที่จะได้รับเมื่องานสาเร็จ เมื่อเรารู้ว่าเรา คาดหวั งอะไรจากงานนัน้ มั น จะช่ วยให้เ ราตั ้งใจลงมื อ ทางานนัน้ ได้อย่างจริงจัง และสามารถปรับตัวเพื่อให้งาน นัน้ ออกมาดีตามที่คิดไว้ กล้ า เผชิ ญหน้ า กั บ การผลั ด วั น ประกั น พรุ ่ ง นั ก วิ จั ย ร ะ บุ ว่ า ผู ้ ใ ห ญ่ ร้ อ ย ล ะ 1 5 มั ก เ ป็ น โ ร ค ผลัดวันประกันพรุ ่ง เรื้อรัง คือ มักบอกว่าเดี๋ยว ไว้ท า พ รุ ่ ง นี้ ไ ว้ วั น ห ลั ง ไ ว้ ก่ อน ท า ใ ห้ ไ ม่ ไ ด้ ล ง มื อ ท า จนบางครัง้ กลายเป็นว่ าลืม ไปแล้ วว่าจะทาอะไร ดังนั ้น เราควรสลัดการผลัดวันและเริ่มทาทันที ด้ ว ยสถานการณ์ ข ณะนี้ จึ ง อยากให้ ท่ า นลอง เปลี่ยนความวิตกกังวลทัง้ หมดที่มี ให้เป็นความรอบคอบ เพื่อเป็นพลังที่สาคัญในการไปสู่เป้ าหมายและความสาเร็จ ที่กาลังรอท่านอยู ่…. เราต้องรอดไปด้วยกัน!

สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม

ผ่านระบบ ออนไลน์ เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ

หลักสูตรด้านศุลกากร

หลักสูตรการใช้งานระบบ IC

หลักสูตรการบริหารจัดการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน

0 2936 1429 ต่ อ 205-208

29 icn


การคานวณขนาดกิจการ สาหรับเปิดดาเนินการ Q : บริษั ท ซื ้อ แม่พิม พ์ใ ห้ Supplier ที่อ ยู ่ต ่า งประเทศเพื่อ ให้ผ ลิต วัต ถุดิบ ให้ก ับ บริษัท อยากทราบว่าค่าแม่พิม พ์นี้ส ามารถคานวณรวมเป็ น ค่า เครื่อ งจัก ร สาหรับวงเงิน ที่จ ะได้รับยกเว้น ภาษี เงิน ได้นิติบุคคลได้หรือไม่ A : กรณี เ ครื่ อ งจั ก รที่ เป็ น สิ น ท รั พ ย์ ข องบริ ษั ท แต่ ไ ม่ ไ ด้ ติ ด ตั ้ ง ใช้ งาน ใน ประเทศไทย ไม่ นั บเป็ น มู ล ค่า การลงทุน ที่ จ ะน ามาคานวณวงเงิ น ยกเว้น ภาษี เงินได้นิติบุคคล

มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

Q : สอบถามเพิ่มเติมว่า หากเป็นแม่พิมพ์ท่บี ริษัทนาไปให้ Supplier ที่อยู ่ในประเทศไทย ใช้ ผลิตวัตถุดิบให้กับ บริษัท จะสามารถนับวงเงิน ที่จะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลได้หรือไม่ A : ส าหรั บ กรณี ท่ี แ ม่ พิ ม พ์ เ ป็ นรายการในทะเบี ย นสิ น ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท และน าไปว่ า จ้ า ง Supplier ในประเทศ ตามที่ BOI อนุญาต ถื อเป็ น การลงทุ น ที่ส ามารถน ามาค านวณวงเงิ น ยกเว้น ภาษี เงิ น ได้ นิติบุคคลได้ Q : กรณี บ ริ ษั ท เปิ ดด าเนิ น การ วงเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ ส าหรั บ ยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ คคลได้ ถู ก รวมค่ า ใช้ จ่ า ยส่ ว นนี้ ไ ปแล้ ว และทางออดิเตอร์บัญชีแนะนาว่าให้บริษัทใช้ สิทธิ์โดยไม่ต้องนายอดเงินจากแม่พิมพ์พวกนีม้ ารวม จะสามารถทาได้หรือไม่ โดยไม่ต้องแก้ไขการเปิ ดดาเนินการ หรือเอกสารการเปิ ดดาเนินการจากบีโอไอ A : กรณี ท่ี บ ริ ษั ท เปิ ดด าเนิ น การโดยก าหนดวงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ ไ ปแล้ ว แต่ ต่ อ มาบริ ษั ท ส่ ง แม่ พิ ม พ์ ไ ปว่ า จ้ า งบริ ษั ท ที่ ต่ า งประเทศเพื่ อ ผลิ ต สิ น ค้ า ให้ กั บ บริ ษั ท (โดยกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ที่ ไ ด้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น มี ขั ้น ตอนให้ น าแม่ พิ ม พ์ ไปว่าจ้างผลิต) เนื่องจากแม่พิมพ์ท่ีนาไปว่าจ้างบริษัทที่ต่างประเทศดาเนินการผลิตจะไม่นับเป็นการลงทุนเพื่อคานวณวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ดังนัน้ ความเห็นของแอดมินคือ บริษัทควรใช้ สิทธิยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยไม่นามู ลค่าแม่พิมพ์นี้ มารวมเป็นวงเงินยกเว้นภาษี เพื่อลดปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง โดยบริษัทไม่ต้องยื่นแก้ไขปรับลดวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้ นิติบุคคลในบัตรส่งเสริมการลงทุนและใบอนุญาตเปิ ดดาเนินการ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 210 อีเมล icn@ic.or.th icn 30


ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ ง ปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

ที่ สาคั ญ ... ตอบทุ ก ข้ อ สงสั ย ของคุ ณ ในทุกงานบริการของสมาคม ด้วย LINE CHAT

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ

อย่ า ลื ม ... บอกต่ อ และแนะนาเพื่ อ นเข้ า มาด้ ว ยกั น นะ !!




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.