V o l . 2 0 / S e p t emb e r 2 0 2 1 งานบริการของสมาคมที่เปิ ดให้บริการ ตามปกติ ในช่ วงสถานการณ์โควิด-19 สนั บ สนุ น Food Tech สู่ Future Food
สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามคุณค่าของโครงการ
(Merit-based Incentives) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน
“ถ้าคิดว่าความชานาญ ทีไ่ หนๆ...ก็เหมือนกัน” Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร”
0 2936 1429 ต่อ 313 (คุณพัชรี) e-mail: counterservice@ic.or.th
www.ic.or.th
04
สิทธิและประโยชน์เพิม่ เติมตามคุณค่า ของโครงการ (Merit-based Incentives) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ตามมติคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564
สนับสนุน Food Tech สู่ Future Food
18 23 รู้สู้ภัย โควิดด้วยเทคโนโลยี การแพทย์ (1)
ที่ปรึกษา กรองกนก มานะกิจจงกล บรรณาธิการบริหาร สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ กฤตยา วิขัยดิษฐ์ ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 210 e-mail : icn@ic.or.th
08 11
13
งานบริการของสมาคมที่เปิ ดให้บริการ ตามปกติ ในช่ วงสถานการณ์โควิด-19
29
ข้อควรระวังในการใช้ข้อบังคับใหม่ คือ DPU = Delivered at Place Unloaded
ทาความรู้จั กกั บ ใบขนสินค้า (2)
31
ปรับวิสัยคนทางาน เพิม่ ความฉลาด ทางดิจิทัล (Digital intelligence)
ถ้า (เรา) “มุ ่ ง มั่น ” ไม่มีอะไรที่เ ป็ น ไปไม่ ได้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมอันทันสมัยที่ปรากฎขึน้ ในโลกปั จจุ บันเกิดมาจากการวิจัยและ พัฒนาโดยฝี มือมนุษย์ที่ได้คิดค้นและหาวิธีการต่างๆ เพื่อตอบสนองและสอดรับกับการ ดาเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตยุ คดิจิทัล จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้แทรกซึ มเข้าไปสู่ทุกกิจกรรม ทุกการทางาน และทุก กระบวนการในอุ ตสาหกรรมต่างๆ ตลอดจนเกือบทุกกิจกรรมการใช้ ชีวิตประจาวันของ คนทัว่ ไป ตัง้ แต่ตื่นนอน อาบนา้ กินอาหาร และกิจวัตรประจาวันอื่นๆ ในแต่ละวัน โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตของอุ ตสาหกรรมอาหาร ปั จจุ บันมีการนาเทคโนโลยี ผลิตอาหาร ที่เรียกว่า Food Tech มาใช้ ในกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่ดี ต่ อสุ ขภาพ บริ โภคได้ สะดวก ไม่ ที ายสิ่งแวดล้ อม และได้ รู ปลั กษณ์ ของอาหารแห่ ง อนาคต หรือ Future Food ที่มีความสลับซับซ้ อนในกระบวนการผลิต อาหารมีหน้าตา ที่แปลกแตกต่างจากอดีต เช่ น อาหารแคปซู ล อาหารแท่งที่เก็บไว้ได้นานเป็นหลายสิบปี เป็นต้น แน่ น อนว่ า อาหารแห่ ง อนาคตจะมี ป ริ ม าณความต้ อ งการเพิ่ ม ขึ้น ในอนาคต จึง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การแข่ ง ขั น ในอุ ตสาหกรรมอาหารสู ง มากขึ้น น าไปสู่ ก ารลงทุ น ด้ า น เครื่องมือเทคโนโลยีที่เพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่ งการสั่งซื้อเครื่องจักร หรือเครื่องมือเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในกระบวนการนัน้ จะต้องมีขนั ้ ตอนและเรื่องของภาษี เข้ามาเกี่ยวข้อง ดั งนั ้น หากผู ้ ประกอบการที่ สนใจลงทุ นในอุ ตสาหกรรมอาหาร และต้ องการหา ช่ องทางส าหรั บขยายการลงทุ น สามารถยื่ นขอรั บส่ งเสริ มการลงทุ นจากส านั กงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ ได้ โดยมีประเภทให้การส่งเสริมการลงทุน ครอบคลุมประเภทของอาหารแห่งอนาคต โดยจะได้รับสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสมและเอือ้ ต่อ การดาเนินธุ รกิจได้อย่างแน่นอน ซึ่ งสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ การวิจัยและพัฒนา และการพั ฒนาเทคโนโลยี เป้ าหมาย ตามแต่ ละกองส่ งเสริ มการลงทุ น 1-4 ส านั กงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ทางช่ องทาง https://www.boi.go.th/un/BOILINE สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนผู ้ประกอบการและนักลงทุนที่ต้องการลงทุน ในอุ ตสาหกรรมอาหาร เพื่อการผลิตอาหารแห่งอนาคต โดยใช้ เทคโนโลยีขัน้ สูงที่พัฒนาขึน้ และน ามาใช้ ในกระบวนการผลิ ต และสนั บสนุ นการพั ฒนาทั กษะให้กั บบุ คลากรส าหรั บ เทคโนโลยีอนาคต ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ ของสมาคม ตลอดจนการให้ บ ริ ก ารด้ า นหลั ก สู ต รฝึ กอบรมและสั ม มนาครอบคลุ ม ทัง้ งานบริหารจัดการและด้านทักษะบุ คลากร โดยผู ้ที่สนใจสามารถดูรายละเอียดหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถามข้อมู ล เพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 099 107 4633 และสามารถติดตามข้อมู ลข่าวสารของสมาคม ได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามคุณค่าของโครงการ
(Merit-based Incentives)
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ตามมติคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564 คุ ณ ดลพร จั น ทร์ เ อี่ ย ม นั ก วิ ช าการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ปฏิ บั ติ ก าร กองยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนงาน สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น
หนึ่งในเป้ าหมายส่งเสริมการลงทุนที่สาคัญของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน คือ การส่งเสริมการลงทุนเพื่อ พัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา การสร้างนวัตกรรม การสร้าง มู ลค่าเพิ่มของภาคเกษตร ภาคอุ ตสาหกรรม ภาคบริการ และการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจน ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรม และการลดความเหลื่อมลา้ ทางเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจึง กาหนดมาตรการส่ งเสริ มและจู ง ใจให้ภาคเอกชนมีการลงทุน หรื อ ค่า ใช้ จ่า ยด้ านพั ฒนาความสามารถในการแข่ง ขั น ซึ่ ง รวมถึ ง ด้ า นวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ ให้ เ กิ ด นวั ต กรรมที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ประเทศหรื อ อุ ตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้ น โดยกาหนดให้สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมจากสิทธิประโยชน์พืน้ ฐานตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน สาหรับโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนซึ่ งมีการลงทุนหรือค่าใช้ จ่ายใน ด้านต่างๆ ตามหลักเกณฑ์ท่กี าหนด โดยจะได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมอีก 1-3 ปี และเพิ่มวงเงินยกเว้น ภาษี เงินได้นิติบุคคลอีก 1-3 เท่าของเงินลงทุนและค่าใช้ จ่ายข้างต้น
อย่างไรก็ตาม เพื่อจู งใจและกระตุ้นให้มีการลงทุน หรือการใช้ จ่ายเพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันที่ จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศหรืออุ ตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้น เมื่อ วัน ที่ 30 มิถุน ายน 2564 คณะกรรมการส่งเสริ ม การลงทุนจึงได้มีการปรับปรุ งสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ตามคุ ณ ค่ า ของโครงการ (Merit-based Incentives) ด้านการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันที่มีอยู ่เดิม โดยกาหนดสิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ 1. กรณีทั่วไป ผู ้ประกอบการสามารถขอรับสิทธิ และประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Meritbased Incentives) ด้านการพัฒนาความสามารถใน การแข่ ง ขั น หากมี การลงทุ น หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นต่ า งๆ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด โดยไม่มีเงื่อนไขการลงทุนหรือ ค่ า ใช้ จ่ า ยขั ้น ต่ า ซึ่ ง จะได้ รั บ วงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลเพิ่มเติมตามเงินลงทุนและค่าใช้ จ่าย ดังนี้ icn 4
(1) การ วิ จั ย แล ะพั ฒ นาเทคโนโล ยี แ ล ะ นวัตกรรม ทัง้ การดาเนินการเอง หรือการว่าจ้างผู ้อื่นใน ประเทศ หรื อ การร่ ว มวิ จั ย และพั ฒ นากั บ องค์ ก รใน ต่างประเทศ ให้คานวณเป็นสัดส่วนร้อยละ 300 ของการ ลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย (2) การสนั บ สนุ น กองทุ น ด้ า นการพั ฒ นา เทคโนโลยีและบุ คลากร สถาบันการศึ กษาศูนย์ฝึกอบรม เฉพาะทาง สถาบันวิจัย หรือหน่วยงานของภาครัฐใน ปร ะเทศ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโล ยี ต ามที่ คณะกรรมการเห็ นชอบ ให้คานวณเป็น สัดส่ วนร้ อยละ 100 ของการลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย
(3) การจั ด ฝึ กอบรมหรื อ ฝึ กการท างานเพื่ อ พัฒนาทักษะ เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับนักศึ กษาที่อยู ่ ระหว่างการศึ กษาในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ การจัดฝึ กอบรมหรือฝึ กการทางานตามโครงการ Workintegrated Learning (WiL) โครงการอาชี ว ศึ ก ษาระบบ ทวิ ภาคี หรื อ โครงการสหกิ จ ศึ ก ษาตามที่ ส านั ก งานให้ ความเห็นชอบ ให้คานวณเป็นสัดส่วนร้อยละ 200 ของ การลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย (4) ค่าธรรมเนียมการใช้ สิทธิเทคโนโลยีท่พ ี ัฒนา จากแหล่ง ในประเทศ ให้คานวณเป็น สัดส่วนร้อ ยละ 200 ของการลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย (5) การฝึ กอบรมด้ า นเทคโนโลยี ขั ้ น สู ง ให้ ค านวณเป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 200 ของการลงทุ น หรื อ ค่าใช้ จ่าย (6) การพั ฒ นาผู ้ ผลิ ต วัต ถุดิ บ หรื อ ชิ้น ส่ วนใน ประเทศ (Local Supplier) ที่มีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อย กว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ในส่วนที่เกี่ยวกับการ ฝึ กอบรมด้านเทคโนโลยีขัน้ สูง และการให้ความช่ วยเหลือ ด้านเทคนิค ให้คานวณเป็นสัดส่วนร้อยละ 200 ของการ ลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย (7) การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์ ทัง้ การดาเนินการเอง หรือการว่าจ้างผู ้อื่นในประเทศ ตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ให้คานวณเป็นสัดส่วนร้อยละ 200 ของการลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย ทัง้ นี้ จะได้ระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติมสูงสุด 3 ปี หากมีการลงทุนหรือค่าใช้ จ่าย ดังนี้ (1) หากมี ก ารลงทุ น หรื อ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยข้ า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อ ยกว่า 200 ล้านบาท แล้ว แต่มูลค่า ใดต่ากว่ า ให้ได้รับระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมอีก 1 ปี (กรณี เ ป็ น SMEs กาหนดเฉพาะไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) (2) หากมี ก ารลงทุ น หรื อ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยข้ า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 400 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใดต่ากว่า ให้ ได้รับระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมอีก 2 ปี (กรณี เ ป็ น SMEs ก าหนดเฉพาะไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 1.0 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก)
(3) หากมีการลงทุนหรือมีค่าใช้ จ่ายข้างต้น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 600 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใด ต่ากว่า ให้ได้รับระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิ่ ม เติ ม อี ก 3 ปี (กรณี เ ป็ น SMEs ก าหนดเฉพาะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) 2. กรณีท่ีมีการลงทุนหรือมีค่าใช้ จ่ายการวิจัย และพัฒ นาเทคโนโลยีแ ละนวัต กรรมเพีย งอย่า งเดีย ว ตามเกณฑ์ขัน้ ต่า คือ หากมีการลงทุนหรือมีค่าใช้ จ่าย ข้างต้นรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวม ใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท แล้วแต่ มู ลค่าใดตา่ กว่า จะได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยไม่กาหนดวงเงินภาษี เงินได้นิติบุคคลที่จะได้รับการ ยกเว้นทัง้ โครงการ และจะได้ระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้ นิ ติ บุ คคลเพิ่ ม เติ ม สู ง สุ ด 5 ปี หากมี ก ารลงทุ น หรื อ ค่าใช้ จ่าย ดังนี้ (1) หากมี การลงทุ นหรือ มีค่ าใช้ จ่ ายข้า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใด ต่ากว่า ให้ไ ด้รั บระยะเวลายกเว้ นภาษี เงิ นได้นิ ติบุ คคล เพิ่มเติมอีก 1 ปี (กรณีเป็น SMEsกาหนดเฉพาะไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) (2) หากมี การลงทุ นหรือ มีค่ าใช้ จ่ ายข้า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 400 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใด ต่ากว่า ให้ไ ด้รั บระยะเวลายกเว้ นภาษี เงิ นได้นิ ติบุ คคล เพิ่ ม เติ ม อี ก 2 ปี (กรณี เ ป็ น SMEs กาหนดเฉพาะไม่ น้อยกว่าร้อยละ 1.0 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) (3) หากมี การลงทุ นหรือ มีค่ าใช้ จ่ ายข้า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 600 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใด ต่ากว่า ให้ไ ด้รั บระยะเวลายกเว้ นภาษี เงิ นได้นิ ติบุ คคล เพิ่ ม เติ ม อี ก 3 ปี (กรณี เ ป็ น SMEs ก าหนดเฉพาะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) (4) หากมี การลงทุ นหรือ มีค่ าใช้ จ่ ายข้า งต้ น รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 800 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใด ต่ากว่า ให้ไ ด้รั บระยะเวลายกเว้ นภาษี เงิ นได้นิ ติบุ คคล เพิ่มเติมอีก 4 ปี (กรณีเป็น SMEs กาหนดเฉพาะไม่น้อยกว่า ร้อยละ 2.0 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) 5 icn
(5) หากมี ก ารลงทุ น หรื อ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยข้ า งต้ น รวมกั นไม่ น้อยกว่า ร้อยละ 5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท แล้วแต่มูลค่าใดต่า กว่า ให้ได้รับระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม อีก 5 ปี (กรณีเป็น SMEs กาหนดเฉพาะไม่น้อยกว่าร้อย ละ 2.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) อย่ า งไรก็ ต าม หาก ประเภทกิ จ การที่ ใ ห้ ก าร ส่ ง เ ส ริ ม ต า ม โ ค ร ง ก า ร มี ก า ร ก า ห น ด เ งื่ อ น ไ ข สั ด ส่ ว นการลงทุ น หรื อ มี ค่าใช้ จ่ายด้านการวิจัยและ พั ฒ นาขั น้ ต่า อยู ่ แ ล้ ว เช่ น การกาหนดเงื่อนไขบังคับให้ ท าการวิ จั ย และพั ฒ นา หรือมีการกาหนดเงื่อนไขให้ ได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ท่ี สู ง ขึ้น เป็ น ต้ น โครงการที่ ขอรั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ เพิ่ ม เติ ม นี้ จ ะต้ อ งมี ก าร ลงทุนหรือค่าใช้ จ่ายข้างต้น เพิ่ ม เติ ม จากเงื่ อ นไขตาม ประเภทกิจการดังกล่าว จึง จะได้ รั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ เพิ่ ม เติ ม ส าหรั บ กรณี ท่ี มี การลงทุ น หรื อ มี ค่ า ใช้ จ่ า ย ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทัง้ 2 กรณีดังกล่าวข้างต้น ( ห ม า ย เ ห ตุ : รายละเอี ย ดเพิ่ม เติ ม โปรดดู ประ ก าศ คณะ ก รร มก า ร ส่ ง เสริ ม การลงทุ น และค า ชี้ แ จ ง ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ไ ด้ ที่ www.boi.go.th)
icn 6
ส าหรั บ ทั ้ง 2 กรณี หากมี ก ารลงทุ น หรื อ มี ค่าใช้ จ่ายข้างต้นรวมกันน้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขาย รวมใน 3 ปี แรก หรื อ น้ อ ยกว่ า 200 ล้ า นบาท (กรณี SMEs น้อยกว่าร้อยละ 0.5) ให้ได้รับวงเงินยกเว้นภาษี เงินได้ นิ ติ บุ คคลเพิ่ ม เติ ม ตามเงิ น ลงทุ น และค่ า ใช้ จ่ า ยตามกรณี ทั่วไป โดยไม่ให้ได้รับระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติม
เพิ่ ม วงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคลเป็น 2 เท่า สาหรั บ กรณีที่มีการลงทุนเพิ่มในการ ฝึ กอบรม หรือฝึ กการทางาน เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะเทคโนโลยี และนวัตกรรมให้กับนักศึ กษาที่ อยู ่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษาในด้ า น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เพื่ อ จู งใจให้ ผู้ ป ระกอบการ เ ข้ า ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร พัฒนาคนมากขึน้
3
กรณี ที่ มี ก ารลงทุ น ด้ า นวิ จั ย และพัฒนา (R&D) เพียงอย่าง เดี ย ว ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 1 ของยอดขายรวม 3 ปี แรก หรือไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท (กรณีเป็น SMEs กาหนดเฉพาะ ไม่ น้อ ยกว่ า ร้อ ยละ 0.5 ของ ยอดขายรวมใน 3 ปี แรก) นอกจากจะได้ระยะเวลายกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึน้ อีก สูงสุดถึง 5 ปี ตามขนาดการ ลงทุ น และค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นวิ จั ย และพั ฒ นาแล้ ว ยั ง ไม่ จ ากั ด ว ง เ งิ น ย ก เ ว้ น ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ นิ ติ บุ ค ค ล ข อ ง โ ค ร ง ก า ร อีกด้วย
2
1
สรุ ปสิทธิและประโยชน์เพิม่ เติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ที่แตกต่างจากสิทธิและประโยชน์เดิม ส า ม า ร ถ ข อ รั บ สิ ท ธิ แ ล ะ ประโยชน์เพิม่ หากมีการลงทุน หรือค่าใช้ จ่ายด้านต่างๆ ตาม หลั กเกณ ฑ์ ที่ ก าห นด เช่ น การวิ จั ย และพั ฒ นา การ ฝึ กอบรม การออกแบบ และ การพัฒนา Supplier โดยไม่มี การกาหนดเกณฑ์ขัน้ ต่า โดย ให้ ไ ด้ รั บ วงเงิ น ยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ คคลเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น สั ด ส่ ว นตามเงิ น ลงทุ น หรื อ ค่าใช้จ่ายดังกล่าว
ภาพจาก: https://www.freepik.com/free-photos-vectors/information-technology
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
Policy Update
#1:
นโยบายและมาตรการส่งเสริมการลงทุน
ในช่วง
6 เดือนแรก ปี 2564
วั น พฤหั ส บดี ที่ 9 กั น ยายน 2564 เวลา 09.00-12.00 น. คุณสุทธิเกตติ์ ทัดพิทักษ์กุล
เริ่ ม เข้ า ระบบ 08.30 น.
ออนไลน์ผ่าน โปรแกรม
สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม Tel. 081 808 0565 E-mail : icis@ic.or.th
ผู ้ อานวยการกองส่ ง เสริ ม การลงทุ น 1 สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น 7 icn
สนับสนุน
Food Tech สู่ Future Food มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
อุ ตสาหกรรมอาหารในปั จจุ บั น มี ก ารพั ฒ นาและแข่ ง ขั น กั น สู ง มาก ทั ้ง ด้ า น ผลิตภัณฑ์ท่ีมีการพัฒนาและวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่ งผลิตภัณฑ์อาหารที่เอือ้ ต่อการบริโภค ดีต่อสุขภาพ และไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตที่ ปรับโฉมรูปแบบและรูปลักษณ์ของอาหารให้เป็นอาหารยุ คอนาคต เช่ น อาหารในแคปซู ล อาหารในรูปแบบเจลลี่เพื่อผู ้สูงอายุ เป็นต้น “Food Tech” หรือเทคโนโลยีอาหารได้เข้ามามีบทบาท ในอุ ตสาหกรรมอาหารทัง้ ต้ นน ้า จนถึ งปลายนา้ เช่ น การ ทาอาหารหรือเครื่องดื่มสังเคราะห์ การสร้างอาหารจากการ ใช้ เครื่องพิมพ์สามมิติ การพัฒนานวัตกรรม “เนือ้ สัตว์ท่ที า จากพื ช ” (Plant-based meat) และอาหาร Synthetic โดยสถาบั นอาหาร กระทรวงอุ ตสาหกรรม ได้ มี Food หรือ อาหาร-เครื่ องดื่ม สัง เคราะห์ ท่ีมี รูป ลักษณ์ และ รสชาติเหมือนของจริง โดยการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้าน แนวทางการแบ่งอาหารแห่งอนาคตเป็น 4 ประเภท ได้แก่ อาหารนั ้น ได้ ถู ก พั ฒ นาจนสามารถคงไว้ ซ่ึ ง สู ต รอาหาร 1. อาหารอิ นทรี ย์ ซึ่ งเป็ นผลิ ตภั ณฑ์ ท่ี ได้ จาก อี ก ทั ้ง ยั ง มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารเพาะปลู ก ต่ า งๆ ให้ ผลิ ตผลทางการเกษตรที่ ป ลอดภั ยจากสารเคมี อยู ่ ใ น สามารถผลิตวัตถุดิบได้จากการใส่ข้อมู ลทางพันธุ กรรมและ รู ปแบบของผั กปลอดสารพิ ษ เนื้อ สุ กรที่ เลี้ ยงด้ วยวี ถี สั่งผลิตออกมาได้เลย ถือได้ว่า การผลิตอาหารแบบ Food ธรรมชาติ หรื อ นมพาสเจอร์ ไ รซ์ อ อร์ แ กนิ ค เป น ต้ น ็ Tech นัน้ ทาให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ช่ วยลดปริมาณ ปั จจุ บั นอาหารอิ นทรี ย์ ได้ รั บความสนใจ และสามารถหา ขยะและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิต รับประทานได้ง่าย ที่ส าคั ญ ยั ง มี ส่ ว นผลั กดั น ให้ เ กิ ด Future Food หรื อ อาหารแห่ ง อนาคต ที่ มี ความสลับ ซับ ซ้ อ นในกระบวนการ ผลิ ต ซึ่ งต้ อ งใช้ อ งค์ ค วามรู้ ห ลายแขนง รวมถึ ง ต้ อ งใช้ เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ซึ่ งในอีกไม่ก่ีปีข้างหน้าอาหาร แห่ ง อนาคตจะเป็ น ที่ ต้อ งการมากขึ้น เนื่ องจากผู ้ บ ริโ ภคมี ความต้ อ งการอาหารที่ แ ตกต่ า งจากอดี ต มี ค วามใส่ ใ จ สุขภาพและเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น อีกทั ้ง การเกิ ด จิ ต ส านึ ก รั ก ษ์ โ ลกจะมี เ พิ่ ม ขึ้ น เพราะอาหารแห่ ง อนาคตจะมีกระบวนการผลิตที่ไม่ทาร้ายสัตว์ และไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม 2. อาหารเสริ ม สุ ข ภาพหรื อ อาหารฟั ง ก์ ช ั น เป็ นผลิ ตภั ณฑ์ ท่ี สามารถท าหน้ าที่ ให้ คุ ณค่ าทางอาหาร ที่จาเป็นต่อร่างกาย เช่ น อาหารปรับปรุ งระบบภูมิคุ้มกัน ร่างกาย อาหารชะลอการเสื่อมโทรมของอวัยวะ เป็ นต้ น โดยจะเป็นอาหารที่เติมสารอาหารเข้าไป เช่ น ซุ ปไก่สกัด ไข่ไก่ท่เี พิ่มโอเมก้า 3 เป็นต้น icn 8
3) อาหารทางการแพทย์ อาหารที่ ออกแบบ เพื่ อ บ าบั ด รั กษาผู ้ ป่ วยเฉพาะโรคหรื อ ผู ้ ท่ี ไม่ ส ามารถทาน อาหารปกติได้ เช่ น เจลลี่สาหรับผู ้สูงอายุ หรือผู ้ป่วยมะเร็ง ช่ องปาก ซึ่ ง มี ปั ญ หาด้ า นการเคี้ย วและการกลื น อาหาร เป็นต้น 4) อาหารที่ผลิตขึ้นมาใหม่ทางนวัตกรรม เช่ น โปรตีนทางเลือกจากพืช และแมลง เป็นต้น
แน่ น อนว่ า อาหารแห่ ง อนาคตมี ค วามโดดเด่ น ที่ แตกต่ า งและหลากหลาย และสร้ า งมู ลค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จึ ง ท าให้ อุ ตสาหกรรมอาหารทั ้ง ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง รวมถึงกลุ่มสตาร์ทอัพ ต่างให้ความสนใจและ ท าการวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ส าหรั บ อาหาร ซึ่ ง การ พัฒนาเทคโนโลยีอาหารจาเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิศวกรรมในการวิจัยและพัฒนา สูตรต่างๆ ในทุกกระบวนการจนไปสู่ผลิตภัณฑ์อาหารที่มี มู ลค่าเพิ่มสูงขึน้ จากเดิม ซึ่ งต้องใช้ เงินลงทุนที่สูงมาก ทัง้ นี้ ผู ้ประกอบการหรือนักลงทุนที่ต้องการลงทุนใน อุ ตสาหกรรมอาหารด้วยเทคโนโลยี Food Tech สามารถ ขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ได้ ซึ่ งบีโอไอมีประเภทกิจการที่ให้ การส่งเสริมการลงทุนครอบคลุมทัง้ 4 ประเภทของอาหาร แห่งอนาคต ภายใต้ประเภทกิจการวิจัยและพัฒนาในกรณีท่ี มีการพัฒนาสูตรต่างๆ โดยผู ้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ เช่ น ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปี โดยไม่กาหนด วงเงิ น ยกเว้ นอากรขาเข้ าส าหรั บของที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ยและ พัฒนา เป็นต้น และจะได้รับลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล 50% อี ก 5 ปี หากพื้ น ที่ ตั ้ ง อยู ่ ใ นเขตวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ท่ี ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ เห็ น ชอบจาก คณะกรรมการ หรือ หากเป็นการผลิตอาหารแห่งอนาคตที่ เกี่ ย วข้ องกั บ อาหารทางการแพทย์ หรือ ผลิ ต ภัณ ฑ์ เ สริ ม อาหาร โดยสามารถขอรั บ การส่ ง เสริ ม ได้ ภ ายใต้ ป ระเภท กิจการอาหารทางการแพทย์ หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โดยต้องได้รับการขึ้นทะเบียนจากสานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา หรือหน่วยงานอื่นที่เป็นมาตรฐานสากล ข้อมู ลจาก: https://www.posttoday.com/economy/news/658499 https://www.facebook.com/boithailandnews/ https://www.depa.or.th/th/article-view/food-tech
นอกจากนี้ ในส่ ว นของการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารแห่ ง อนาคตเพื่ อ จ าหน่ า ย สามารถขอรั บ การ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในกิ จ การผลิ ต และถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร หรือสิ่งปรุ งแต่งอาหาร โดยใช้ เ ทคโนโลยี ท่ี ทั น สมั ย ได้ ด้ ว ย โดยจะได้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 5 ปี
อย่างไรก็ตาม แม้สิทธิประโยชน์ของบีโอไอจะไม่มี การสนับสนุ นเงิน ทุน แต่สามารถช่ วยสร้ างแต้ มต่อให้ ผู ้ ป ระกอบการในการลงทุ น จากการให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต่างๆ เพื่อผลักดันให้อุตสาหกรรมอาหารไทยก้าวสู่การ เป็นศูน ย์กลางการผลิ ตอาหารอนาคต หรือ ซิ ลิคอน วัลเลย์อาณาจักรอาหารแห่งอนาคต (Silicon Valley of Future Food) ได้ ในอนาคตอั น ใกล้ เพราะประเทศ ไทยมีความหลากหลายทางชี วภาพที่สามารถพัฒนา และยกระดับ มาตรฐานการผลิ ตเพื่ อความยั่ง ยืน ของ อาหารต่อไป
นั ก ลงทุ น และผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจ สามารถ สอบถามเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี การวิ จั ย และพั ฒ นา และการ พัฒนาเทคโนโลยีเป้ าหมาย ตามแต่ละกองส่งเสริมการ ลงทุน 1-4 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ท า ง ช่ อ ง ท า ง https://www.boi.go.th/un/BOILINE หรือดูรายละเอียด www.boi.go.th
ภาพจาก: https://mgronline.com/entertainment/detail/9620000110130, https://uppercuz.com/blog/introduction-to-plant-based-food-trend/ https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_181505 https://futurefoodasia.com/ffa2021/, is.gd/NZhXuz
9 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พิมพ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน
7 วัน 30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล
ทธิและประโยชน์ COUNTER งานสิ ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th
งานบริ ก าร ของสมาคม ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารตามปกติ ในช่ ว งสถานการณ์
โควิด-19 กฤตยา วิ ชั ย ดิ ษ ฐ์ kittayad@ic.or.th
ในช่ วงนี้ส ถานการณ์ โ ควิ ด -19 ของบ้ า นเมื อ งเรา ยั ง ไม่ ค ลี่ ค ลาย หลายๆ หน่ ว ยงานและองค์ ก รได้ มี ก าร ปรับตัวและปรับวิธีการทางานกันเพื่อให้รองรับและเหมาะสม กับสถานการณ์ในปั จจุ บัน ป้ องกันและหลีกเลี่ยงความเสี่ยง ที่เราจะมีโอกาสติดเชือ้ หรือแพร่เชือ้ สู่วงกว้าง โดยสมาคม สโมสรนักลงทุนเองได้มีการปรับรูปแบบการให้บริการเช่ นกัน โดยให้ พ นั กงานปฏิ บั ติ ง าน ณ ที่ พั กอาศัย หรื อ Work From Home 100% ส าหรั บ ส านั ก งานกรุ งเทพฯ และ สาขา จ.ชลบุ รี แต่ ทัง้ นี้ การให้ บริการของสมาคมยั งคง ให้บริการได้ตามปกติ ไม่ว่าจะเป็นระบบงานเครื่องจักร หรือ ระบบงานวัตถุดิบ และบริการงานอื่นๆ ดังนัน้ IC Focus ฉบั บ นี้ จึ ง ขอน าเสนอระบบงานที่ ส มาคมเปิ ดให้ บ ริ ก าร ตามปกติ และผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถส่ ง งานหรื อ ส่ ง ค าขอ ใช้ บ ริ ก ารได้ แ บบออนไลน์ เ ช่ นเดี ย วกั น มาดู กัน ว่ า มี ง าน อะไรบ้ างและแต่ล ะงานมี วิธีปฏิ บัติและขัน้ ตอนการทางาน อย่างไร งานที่บ ริ ษั ทต้ อ งติ ด ต่ อกั บ สมาคมเพื่ อยื่ น เอกสาร ประกอบการพิจารณา ได้แก่ • การยื่นข้อมู ลและเอกสารเพื่อขอบันทึกรายการ วัตถุดิบและสูตรการผลิตที่ได้รับอนุมัติจากเจ้าหน้าที่ สกท. (ส านั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ) แบบ Manual • การยื่นข้อมู ลและเอกสารประกอบการพิจารณา เพื่อการขอปรับยอดวัตถุดิบกรณีต่างๆ ซึ่ งต้องใช้ เอกสาร ต้นฉบับประกอบการดาเนินงาน • การยื่นข้อมู ลและเอกสารประกอบการพิจารณา เพื่อการขออนุมัติตัดบัญชีวัตถุดิบ อาทิ เอกสารของกลุ่ม อุ ตสาหกรรมจิว เวลรี่ กลุ่มบริษัทที่ได้รับเอกสารการโอน สิ ท ธิ์ จ ากมาตรา 29 รวมถึง การตั ด บั ญ ชี วั ต ถุดิ บ กรณี อื่นๆ ที่มีความจาเป็นต้องใช้ เอกสารประกอบการพิจารณา
โดยงานดั งกล่าวข้ างต้น ในช่ วงของการปฏิบั ติ แบบ Work From Home 100% นี้ ผู ้ ใช้ บริ การสามารถ นาส่ งเอกสารในรู ป แบบ PDF หรื อ สแกนเอกสาร และ นาส่งไฟล์ข้อมู ลมาที่สมาคมทางอีเมล ดังนี้
สานักงาน กรุ งเทพฯ
• supportbkk@ic.or.th
สานักงานสาขา จ.ชลบุ รี
• supportchonb@ic.or.th
โดยมีขนั ้ ตอนการปฏิบัติงานดังนี้ 1. บริ ษั ทส่ ง ไ ฟล์ ข้ อ มู ล และไฟล์ เ อกสาร (เอกสารต้องประทับตราบริษัทและลงนามโดยผู ้มีอานาจ หรือได้รับมอบอานาจให้ครบถ้วน) ทางอีเมล 2. สมาคมตรวจสอบข้อมู ล เอกสาร และบันทึก รับงานเข้าระบบ RMTS 3. กรณีข้อมู ลหรือเอกสารไม่ถูกต้อง สมาคม จะแจ้ ง ให้ ท่ า นทราบผ่ า นทางอี เ มล กรณี ข้ อ มู ล และ เอกสารถู ก ต้ อ ง สมาคมจะน าเสนอเจ้ า หน้ า ที่ สกท. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ผ่ า นอี เ มล (ยกเว้ น งานขอบั น ทึ ก รายการวัต ถุดิ บและสูต รการผลิ ตที่ สมาคมตรวจสอบ ผ่านและสามารถบันทึกลงระบบได้ทันที) 4. ง า น ที่ ผ่ า น ก า ร พิ จ า ร ณ า อ นุ มั ติ จ า ก เจ้าหน้าที่ สกท. สมาคมจะทาการประมวลผลและบันทึก ผลการอนุมัติต่อไป 5. บริษัทสามารถตรวจสอบผลการอนุมัติและ ตรวจสอบยอดคงเหลื อ วั ต ถุ ดิ บ ผ่ า นระบบ IC Online กับสมาคมได้
11 i c n
หมายเหตุ 1. การส่งข้อมู ลและเอกสารสาหรับงานตัดบัญชี วั ต ถุ ดิ บ สมาคมขอความร่ ว มมื อ บริ ษั ท ในการจั ด ท า ข้อมู ลและเตรียมเอกสารไม่ เกิน 5 ใบขนต่อ 1 ไฟล์หรื อ ต่อ 1 งวด ทัง้ นีเ้ พื่อความสะดวกในการรับ-ส่งข้อมู ลและ ง่ า ยต่ อ การพิ จ ารณาตรวจสอบของสมาคมและการ พิจารณาอนุมัติของเจ้าหน้าที่ สกท. 2. ส าหรั บ เอกสารต้ น ฉบั บ สมาคมขอความ ร่วมมือให้บริษัทนาส่งเอกสารมายังสมาคมตามช่ องทาง ต่างๆ ที่ท่านสะดวก เช่ น ทางไปรษณีย์ หรือนามาส่งที่ สมาคมในภายหลั ง เพื่ อ สมาคมจะน ามาประกอบการ นาเสนอเจ้าหน้าที่ สกท. ลงนามในหนังสืออนุมัติอีกครัง้ 3. บริษัทจะได้รับหนังสืออนุมัติและเอกสารต้นฉบับ คืนในภายหลัง นอกเหนื อ จากงานบริ การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น แล้ ว ยั ง มี ง านอี กหลายประเภทที่ บ ริ ษั ท สามารถใช้ บ ริ ก ารได้ ตามปกติ เช่ น งานขอแก้ไขระยะเวลานาเข้าวัตถุดิบ งาน ขอยกเลิกการตัดบัญชีวัตถุดิบ งานขอแก้ไขสถานะใบขน สินค้าขาออก และงานอื่นๆ โดยบริษัทสามารถทาหนังสือ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ น แ ต่ ล ะ เ รื่ อ ง ส่ ง เ ข้ า ม า ที่ อี เ ม ล supportbkk@ic.or.th เช่ นเดี ย วกั น เมื่ อ สมาคมได้ รั บ ข้อมู ลแล้วจะดาเนินการตามขัน้ ตอนในแต่ละเรื่อง ดังนี้
ภาพจาก: https://www.boi.go.th/index.php?page=boi_online_services_ form&language=th
งานที่ต้องส่งขออนุมัติกับ สกท. มีขนั ้ ตอนคือ 1. สมาคมทาบันทึกข้อความ ส่งเจ้าหน้าที่ สกท. พิจารณาผ่านระบบ e-Submission ของ สกท. ในกรณี ข้อมู ลไม่ถูกต้อง / ไม่ครบถ้วน สมาคมจะประสานงานกับ บริษัทผ่านทางอีเมลที่ท่านแจ้งไว้ในหนังสือบริษัท 2. เมื่อเจ้าหน้าที่ สกท. พิจารณาอนุมัติ สมาคม จะด าเนิ น การตามขั ้น ตอน และแจ้ งให้ บ ริ ษั ท ทราบผ่ า น อีเมลตามลาดับต่อไป
สาหรับบริษัทที่ต้องการสอบถามข้อมู ล หรือปรึกษา ในเรื่องการใช้ งานระบบ หรือวิธีปฏิบัติงานต่างๆ ของสมาคม สามารถติดต่อสอบถามได้ท่ี หน่วยงาน CSU: Customer Support Unit โทรศัพท์ 081 410 9133 ถึง 39 (7 คู่สาย) หรือ อีเมล csu@ic.or.th ในการปฏิบัติงานตามขัน้ ตอนดังกล่าวข้างต้นเป็นการ ปฏิ บั ติ งานในช่ วงสถานการณ์ โควิด -19 ซึ่ งพนั กงานของ สมาคมปฏิ บั ติ งาน ณ ที่ พั กอาศัย โดยเมื่ อสถานการณ์ กลับเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว การปฏิบัติงานต่างๆ จะกลับเข้าสู่ ปกติ เช่ นเดิ ม หรื อหากมี การเปลี่ ยนแปลงวิ ธี ปฏิ บั ติ งาน สมาคมจะมี การแจ้ งให้ ทุ กท่ านทราบเป็ นล าดั บต่ อไป โดย ผู ้ใช้ บริการสามารถติดตามข่าวสารได้ทาง www.ic.or.th
ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 กั น ยายน 2564 เป็ น ต้ น ไป
สมาคมขอเปลี่ ยนแปลง
อี เ มลการส่ ง หลั ก ฐานการชาระเงิ น เป็ น payment@ic.or.th และจะขอยกเลิ ก อี เ มลเดิ ม icn 12
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 36 (1), (2) ยื่นเรื่องการกาหนดวัน นาเข้าครั้งแรก ในระบบฐานข้อมูล RMTS Online
สมัครใช้ บริการ RMTS
คีย์บัญชี รายการ วัตถุดิบ เข้าสู่ ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online
7 วัน
คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต เข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online
BOI Approve คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดิบ 30 วัน BOI Approve
30 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดิบ
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th
รู้สู้ภัยโควิด ด้วยเทคโนโลยีการแพทย์ จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว email: chamluck@gmail.com
เป็ น ที่ รั บ ทราบกั น ดี แ บบไม่ ต้ อ งอธิ บ ายกั น แล้ ว ว่ า โรคติดเชือ้ โคโรนาไวรัสสายพันธุ ์ใหม่หรือโควิด-19 เกิดจาก เชื้อ ไวรั ส โคโรนาซาร์ โ ควี- 2 (SAR-CoV-2) เป็ น การแพร่ เชื้ อ ไวรั ส จากคนสู่ ค น โดยได้ รั บ เชื้ อ ผ่ า นละอองฝอย (Droplets) จากการไอหรื อจาม การสัม ผัส สารคัด หลั่ง (Contact) เช่ น นา้ ลาย นา้ มู ก เสมหะ เป็นต้น ผู ้ที่ได้รับ เชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการใดๆ บางรายอาจมีอาการ เล็กน้อย เช่ น ปวดเมื่อยกล้ามเนือ้ รู้สึกเหมือนมีไข้ เจ็บคอ คล้ายไข้หวัด และบางรายอาจมีอาการรุ นแรง เช่ น ติดเชื้อ รุ นแรงในปอด หรือมีอาการแทรกซ้ อนรุ นแรงจนนาไปสู่ การเสี ยชี วิ ตได้ โดยเฉพาะผู ้ สู งอายุ หรือ มี โรคประจาตั ว เช่ น เบาหวาน โรคหัวใจ จะมีอัตราการเกิดอาการรุ นแรง ที่สูงกว่าผู ้ที่มีอายุ น้อยและสุขภาพแข็งแรง เมื่อเชื้อโรคเข้า สู่ร่างกายจะมีระยะเวลาฟั กตัว (ตัง้ แต่ได้รับเชื้อไปจนถึ ง แสดงอาการ) ประมาณ 2 – 14 วัน จึงได้มีการกาหนด มาตรการให้กั กตั วผู ้ มีความเสี่ ยงสู งเมื่อ สัมผั สผู ้ ติด เชื้อ เป็นเวลา 14 วัน จนถึงปั จจุ บันไตรมาสที่ 3 ของปี 2564 นี้ นับว่าเป็นช่ วงวิกฤตในการรับมือกับเชื้อโควิด-19 สายพันธุ ์ เดลต้าที่น่าจะเป็นสายพันธุ ์หลักที่โจมตีไทยอย่างหนักสุด แล้วในตอนนี้ ข้อมู ลการคาดการณ์ทางวิชาการ ตลอดจน ความคิดเห็นจากผู ้รู้ นักวิชาการต่างประสานเสียงกันว่า เดือนกันยายนน่าจะขึน้ จุ ดสูงสุด และตัวเลขปริมาณผู ้ติดเชือ้ น่ าจะผ่ อนคลายลงจากจ านวนผู ้ ที่ ได้ รั บวั คซี นที่ มากขึ้น และวัคซี นน่าจะเริ่มเข้ามาอย่างเต็มที่จากทุกแพลตฟอร์ม ในไตรมาสที่ 4
ไวรั สอาจถื อได้ ว่าเป็นสิ่งมี ชีวิตที่มี ขนาดเล็ กเพียงประเภท เดียวที่สามารถแพร่พันธุ ์ หรือถ่ายทอดสารพันธุ กรรมของ ตนเองจากรุ ่นหนึ่งไปยังอีกรุ ่นหนึ่งได้อย่างรวดเร็วทุกวินาที ก็ว่าได้ ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง (TMV หรื อ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่ งค้ น พบโดย มาร์ ติ นั ส ไบเยอรินิค เมื่อปี ค.ศ. 1899 ปั จจุ บันมีไวรัสกว่า 5,000 สปี ชีส์ ที่ได้รับการบันทึกไว้ในอนุกรมวิธาน ไวรั สบางชนิ ดมี ชนั ้ ไขมัน หุ้ม ล้อ มรอบแกนกลาง อี ก ชั ้น หนึ่ ง เรี ย กไวรั ส พวกนี้ ว่ า ไวรั ส มี เ ปลื อ กหุ้ ม (Enveloped Virus) ไวรั ส บางชนิ ด มี เ ฉพาะแกนกลาง เท่ า นัน้ เรีย กว่า ไวรั ส ไม่มี เปลื อ กหุ้ม หรือ ไวรั ส เปลื อ ย (Non-enveloped Virus หรื อ Naked Virus) ไวรั ส ที่ มี เปลือกหุ้มบางชนิดมีปุ่มยื่นออกมาจากชัน้ เปลือก เรียกว่า สไปค์ (Spike) ซึ่ ง มี ค วามส าคั ญ ในการใช้ เกาะกั บตั ว จั บ (Receptor) บนผิ ว เซลล์ แ ละบางชนิ ด เป็ นตั ว กระตุ้ น ภูมิ คุ้ ม กั น ที่ ดี Spike ของไวรั ส อาจมี คุณ สมบั ติ เป็ น สาร บางอย่างหรือเป็นเอนไซม์ โดยทั่วไปไวรัสไม่มีเปลือกหุ้มจะ มี ค วามทนทานต่ อ สภาพแวดล้ อ มได้ ดี ก ว่ า ไวรั ส ที่ มี เปลือกหุ้ม แต่กรณีโคโรนาไวรัสมีชนั ้ ไขมันหุ้มล้อมรอบและ มี ปุ่ มยื่ น ออกมาจากชัน้ เปลื อ กเป็ น โปรตี น หนามเรี ย กว่ า Spike ท า ให้ ถู ก ท า ลา ยด้ ว ยสา ร ละ ลา ยไข มั น เช่ น แอลกอฮอล์ และสบู ่ได้
ไวรั ส รู้ จั ก เข้ า ใจ ห่ า งไกลโรค ไ ว รั ส คื อ จุ ลิ น ท รี ย์ ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ติ ด เ ชื้ อ (Infectious) ได้ ทั ง้ ในมนุ ษ ย์ สั ต ว์ พื ช และสิ่ง มี ชี วิ ต ที่ มี เซลล์ (Cellular Life) ไวรัสทาให้เกิดโรคและส่งผลกระทบ ไวรัสบางตัวทาให้เกิดโรคระบาดในวงกว้าง ทาให้ คน สัตว์ เสียชีวิตเป็นจานวนมากได้ ไวรัสต้องอาศัยอยู ่ในเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตอื่น ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่พันธุ ์นอกเซลล์ได้ icn 18
ไวรัส มีโครงสร้างไม่ซบั ซ้ อน ประกอบด้วยแกนกลาง ของกรดนิวคลิอิกซึ่ งเป็น RNA หรือ DNA และมีโปรตีน หุ้มล้อมรอบเพื่อป้ องกันกรดนิวคลิอิก สาย DNA หรือ RNA จึงประกอบด้วยการจับกันของอนุมูลโมเลกุลเรียงกัน เป็นสายรหัสพันธุ กรรม เช่ นเดียวกับสิง่ มีชีวิตอื่น
ลั ก ษณะโดยทั่ ว ไปของ DNA ประกอบด้วยพอลิเมอร์สองสายยาว ที่ประกอบจาก หน่วยย่อยซ้ าๆ เรียกว่า นิวคลิโอไทด์ ที่ภายในมีแกนกลาง เป็นนา้ ตาลและหมู ่ฟอสเฟต เชื่ อมต่อกันด้วยพันธะเอสเทอร์ จัดเรียงในทิศทางตรงกันข้าม (Antiparallel) นา้ ตาลแต่ละตัว มีโมเลกุลเกาะอยู ่ เรียกว่า นิวคลิโอเบส หรือ เบส มี 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทเพียวรีน มี 2 ชนิดคือ อะดีนีน (A) และกวานีน (G) ประเภทไพรสิดีน มี 2 ชนิดคือ ไซโทซีน (C) และไทมีน (T) โดยมีก ารเชื่ อมต่ อกั น ระหว่า ง A-T และ C-G ท าให้ เกิด เป็ น ข้อมู ลทางพันธุ กรรมของสิง่ มีชีวิตขึน้ หน้าที่สาคัญของ DNA คือ 1. จาลองตัวเอง ก่อให้เกิ ดกระบวนการแบ่งเซลล์ ที่เป็ น การสร้ าง DNA ให้เหมื อ นเดิ ม ที่สุ ด ส าหรั บ เซลล์ ใ หม่ ที่ สร้างขึน้ 2. ถ่ า ยทอดข้ อ มู ลผ่ า น RNA โดย DNA จะถู ก ถอดรหัสเพื่อสร้าง RNA ที่มีหน้าที่ในการกาหนดให้กรดอะมิโน ในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีนเรียงตัว และโปรตีนที่ได้นีจ้ ะ ถูกนามาเป็นอวัยวะหรือส่วนประกอบในโครงสร้างส่วนต่างๆ ของร่ า งกาย ตลอดจนช่ วยเร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าของเอนไซม์ ใ น สิง่ มีชีวิตด้วย ด้ ว ยห น้ า ที ่ ห ลั ก ทั ้ง ส องอย่ า งดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ท า ให้ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ช นิ ด ต่ า ง ๆ ใน โ ลก นี ้ส า ม า ร ถ สื บ ท อ ด เผ่ า พั น ธุ ์ แ ละลั ก ษณะของตนได้ วั ค ซี น โควิ ด -19 และการสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น โดยปกติเมื่อเชื้อโรคทุกชนิดเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะมี วิธีจัด การเชื้อ หลายแบบ หนึ่งในนัน้ คือ เม็ด เลือ ดขาวชนิ ด Macrophage จะกลืนเชื้อเข้าไปและทิง้ เศษซากเชื้อบางส่วนไว้ เรียกว่า แอนติเจน (Antigen) ร่างกายจะรับรู้ว่าแอนติเจน คื อ สิ่ง แปลกปลอมและจะสร้ า งแอนติ บ อดี (Antibody) มา จัดการสิง่ แปลกปลอมนัน้ รวมถึงมีเม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่ง ที่จาว่าเชือ้ โรคนีค้ ือสิง่ แปลกปลอม ถ้าหากได้รับเชื้อในอนาคต ร่างกายจะสามารถจดจาและจัดการได้ การทางานของวัคซีน จะจาลองการทางานให้เป็นไปในลักษณะเดียวกัน วั ค ซี น ป้ องกั น โควิ ด -19 จะช่ วยกระตุ้ น ให้ ร่ า งกาย สร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสนี้ขึ้นมา ช่ วยป้ องกันการติดเชื้อ หากได้ รั บ เชื้ อ ในอนาคต แต่ ต้ อ งใช้ เ วลาระยะหนึ่ ง หลั ง ฉีดวัคซีนร่างกายจึงจะสร้างภูมิคุ้มกันขึน้ มาได้ การฉีดวัคซีน ผู ้ รั บ วั ค ซี น ยั ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามมาตรการป้ องกั น โควิ ด -19 อย่ า งเคร่ ง ครั ด เช่ น ใส่ ห น้ า กากอนามั ย ล้ า งมื อ บ่ อ ยๆ เว้นระยะห่างทางสังคม เป็นต้น
วัคซี นอาจไม่สามารถป้ องกันทุกคนที่ฉีดจากการ ติ ด เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 ได้ แต่ พ บว่ า สามารถลดความ รุ น แรงของโรคได้ และยั ง ไม่ มี ข้ อ มู ล ว่ า เมื่ อ ฉี ด แล้ ว จะมี ภู มิ คุ้ ม กั น โควิ ด -19 ได้ น านเท่ า ไร รวมถึ ง ไม่ มี ข้ อ มู ล ว่ า ผลการฉี ด วั ค ซี น ให้ ผู้ ที่ มี ภู มิ คุ้ ม กั น ต่ า หรื อ ผู ้ ที่ ใ ช้ ย า กดภูมิคุ้มกันนัน้ ทาให้ภูมิต่อไวรัสโควิด-19 มีผลลดลง กว่าในคนปกติหรือไม่ วัตถุประสงค์การฉีดวัคซีนทัว่ ไป เพื่อ 1. ควบคุ ม การแพร่ ร ะบาด และท าให้ เ กิ ด ภูมิคุ้มกันหมู ่ให้เร็วที่สุด 2. ลดอั ต ราการเจ็ บ ป่ วยรุ นแรง และการ เสี ยชี วิ ต โดยวั คซี น ที่ฉี ด ต้อ งไม่ ทาให้เกิ ดการแพ้ วัค ซี น รุ นแรงหลังการฉีด 3. ยอมรับว่ามีโอกาสติดเชื้อได้ในผู ้ที่รับวัคซี น แล้ว แต่อาการป่ วยจะไม่รุนแรง จากวั ต ถุ ป ระสงค์ ดั ง กล่ า ว จึ ง เป็ นที่ ม าของ มาตรการต่างๆ ในแต่ละประเทศ 1. เร่ ง ฉี ด วั ค ซี น ให้ ไ ด้ ค รอบคลุ ม ประชากร มากที่สุด เร็วที่สุด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู ่ และลดจานวน ผู ้เจ็บป่ วยรุ นแรงและเสียชีวิต 2. วั ค ซี น ที่ อ นุ ญ าตให้ ใ ช้ ฉี ด ในภาวะฉุ ก เฉิ น นี้ จะต้ อ งมี ผ ลวิ จั ย ชัด เจนว่ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพป้ อ งกั น การ เจ็บป่ วยรุ นแรงและการเสียชีวิตได้ จะเห็นว่าวัคซี นทุกยี่ห้อ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพด้ า นนี้ ค่ อ นข้ า งสู ง เกิ น 90% ทั ้ ง นั ้ น แต่แน่นอนการฉีดวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้ องกัน การติดเชื้อและการแพร่เชื้อ โดยเฉพาะการรับมือกับเชื้อ กลายพันธุ ์ (Variant of concern) ย่อมดีกว่าและเป็นที่ ต้องการมากกว่า จึงไม่แปลกที่วัคซีนที่ผลิตจากเทคโนโลยี Viral Vector อ า ทิ AZ แ ล ะ J&J แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี messenger RNA (mRNA) อาทิ Pfizer-BioNTech และ Moderna จึ งเป็ นที่ นิ ย ม มา ก กว่ า วั คซี นเชื้ อ ต า ย (Inactivated Virus) ซึ่ งมีการผลิตยุ ่งยากกว่า (ต้อง เพาะเลีย้ งเชือ้ ) และรับมือกับเชือ้ กลายพันธุ ์ได้ไม่ดีเท่า 3. วัคซี นจะต้องไม่มีผลกระทบรุ นแรงหรือเกิดขึ้น ในอั ต ราน้ อ ยที่ สุ ด คิ ด เป็ น หน่ ว ย ppm คื อ พบอาการ รุ นแรงเฉียบพลันไม่ก่ีคนในล้านคน โดยประสิทธิภาพการ ป้ องกันการติดเชื้อเป็นประเด็นรอง การเลือกใช้ วัคซีนแบบ ไหนขึ้ น กั บ นโยบายรั ฐ บาล ฐานะทางเศรษฐกิ จ และ ความสามารถในการจัดหาของแต่ละประเทศ ดังนัน้ จะเห็นว่า ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ประเทศร่ า รวย ประเทศเจ้ า ของ เทคโนโลยี การคิ ดค้ น วั ค ซี น ก็ จ ะมี ปริ ม าณวั คซี นเพี ย ง พอที่จะฉีดให้กับคนในประเทศ จนถึงมีมากเกินเหลือใช้ 19 icn
สรุ ปมาตรการและ แนวทางการบริ ห าร วั ค ซี น ของประเทศไทย (ทั ้ง นี้ อ าจมี ก าร เปลี่ ย นแปลง ขึ้ น กั บ สถานการณ์ )
เงื่อนไขการอนุญาตฉีดวัคซีนขององค์การอนามัยโลก (WHO) 1. วั ค ซี น ชนิ ด นั ้น ๆ จะต้ อ งผ่ า นการทดสอบและ รับรอง และอนุญาตให้ใช้ได้ในภาวะฉุกเฉิน 2. สามารถป้ อ งกั น อาการเจ็ บ ป่ วยรุ น แรงและการ เสียชีวิตได้จริง 3. การฉีดต้องปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้รุนแรง จึ ง เป็ น เหตุ ผ ลว่ า ท าไมให้ สั ง เกตอาการหลั ง ฉี ด 30 นาที (ยกเว้น ผลข้างเคียงเล็กน้อยได้ เช่ น เป็นไข้ ปวดเมื่อย 1-2 วัน แล้วก็หาย) 4. ลดการติ ด เชื้ อ การแพร่ เ ชื้ อ (วั ค ซี น ทุ ก ชนิ ด ไม่สามารถป้ องกันการติดเชือ้ ได้ 100% แต่ทาให้ผู้ได้รับวัคซีน มีอาการป่ วยเล็กน้อยจนถึงไม่มีอาการเลยในบางคน ทัง้ นี้ ประสิ ท ธิ ภ าพการป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ ของแต่ ล ะวั ค ซี น อาจ ลดประสิทธิภาพลงน้อยกว่า 50% เมื่อเจอเชื้อโคโรนาไวรัส สายพันธุ ์ใหม่หรือที่กลายพันธุ ์ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต วั ค ซี น จากบทความที่เผยแพร่โดย พ.ญ.ร่มเย็น ศักดิ์ทองจีน ศูนย์โรคติดเชื้อ โรงพยาบาลสินแพทย์ รามอินทรา ได้อธิบาย ให้ เ ห็ น ข้ อ แตกต่ า งของเทคโนโลยี ห รื อ กรรมวิ ธี ใ นการผลิ ต วัค ซี น ที่ รู้จั ก กั น ดีแ ละได้ ยิน กั น ทุ กวั น นี้มี 4 วิ ธี ก ารด้ ว ยกั น ได้แก่ 1. วัคซีนชนิดเชือ้ ตาย (Inactivated vaccine) วัคซีนกลุ่มนีผ ้ ลิตโดยนาไวรัสโรคโควิด-19 มาเลีย้ ง ขยายจานวนมาก และนามาทาให้เชื้อตาย การฉีดวัคซี นจะ กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสทุกส่วน เสมือนได้รับ เชื้ อ ไวรั ส โดยตรงแต่ ไ ม่ ท าให้ เ กิ ด โรค เพราะเชื้ อ ตายแล้ ว เทคโนโลยี นี้เป็ นวิ ธี ที่ ใช้ กั บวั คซี นตั บอั กเสบเอ โปลิ โอชนิ ดฉี ด icn 20
จึ ง มี ค วามคุ้ น เคยในประสิ ท ธิ ภ าพและความปลอดภั ย มานาน แต่ เ นื่ อ งจากการเพาะเลี้ย งไวรั ส ต้ อ งใช้ ค วาม ระมัดระวังมาก ทาให้ผลิตได้ช้าและมีราคาแพง วัคซีนที่มี ใช้ ในปั จ จุ บั น ได้ แก่ วั ค ซี นของบริ ษั ท Sinovac มี ประสิทธิภาพป้ องกันอาการประมาณ 50-70% ป้ องกัน การเสียชีวิตได้ 100% 2. วัค ซี น ชนิ ด ใช้ ไ วรั ส เป็ น พาหะ (Recombinant viral vector vaccine) วัคซี นกลุ่ มนี้ใช้ ไ วรัสที่ส ามารถตั ดแต่งพั นธุ กรรม เช่ น ไวรั ส อะดี โ น (Adenovirus) โดยน ามาดั ด แปลง พันธุ กรรมให้ไม่สามารถแบ่งตัวได้ และใส่สารพันธุ กรรม ของไวรัสโรคโควิด-19 ติดไปด้วย เมื่อนามาฉีดไวรัสพาหะ เหล่านีจ้ ะเลียนแบบการติดเชื้อตามธรรมชาติ โดยกระตุ้น ภูมิคุ้มกันทัง้ ระบบให้สร้างแอนติบอดีต่อไวรัสโรคโควิด-19 ตามสารพันธุ กรรมที่ใส่เข้าไป อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะเป็น วัคซี นที่ไวรัสอะดีโนไม่แบ่งตัว แต่ยังจัดเป็นไวรัสที่มีชีวิต เมื่ อ เข้ าสู่ ร่ า งกาย จึ ง ยัง ไม่ แ นะน าให้ ใช้ ใ นผู ้ ที่ มีภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่องอย่างมาก จนกว่าจะมีข้อมู ลที่ชดั เจนมากกว่านี้ ปั จจุ บันวัคซี นชนิดนีท้ ี่ใช้ กันแพร่หลายมี 4 แบรนด์ ได้แก่ ไวรั ส อะดี โ นของชิ ม แพนซี (Chimpanzee adenovirus) โดยบริษัท Astra Zeneca มีประสิทธิภาพป้ องกันอาการ ประมาณ 70-80% ป้ องกั น การเสี ย ชี วิ ต ได้ 100%, ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธุ ์ 5 (Human adenovirus type 5) โดยบริษัท CanSinoBio มีประสิทธิภาพป้ องกัน อาการประมาณ 60%, ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธุ ์ 26 (Human adenovirus type 26) โดยบริษัท Johnson and Johnson มีประสิทธิภาพป้ องกันอาการประมาณ 64-72% และ ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สายพันธุ ์ 5 และ 26 (Human adenovirus type 5 and 26) โดยบริ ษั ท Gamaleya ของรัสเซีย มีประสิทธิภาพป้ องกันอาการประมาณ 90%
3. วัคซีนชนิดสารพันธุ กรรม ได้แก่ เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) วัคซี นกลุ่มนี้ ใช้ เทคโนโลยี ใ หม่ สั ง เคราะห์ ส ารพั น ธุ กรรมเอ็ ม อาร์ เ อ็ น เอ (messenger RNA: mRNA) ที่ เฉพาะเจาะจงกั บเชื้อ ไวรั ส วัคซีนจะทาหน้าที่พา mRNA เข้าเซลล์ และ กากับให้เซลล์ ผลิ ตสารโปรตี นสไปค์ ของเชื้อไวรั ส ซึ่ งโปรตี นนี้จ ะกระตุ้ น ระบบภู มิ คุ้ ม กั น ของร่ า งกายให้ ส ร้ า งแอนติ บ อดี ขึ้ น มา ต่อต้านเชื้อ วัคซีนที่มีใช้ ในปั จจุ บัน ได้แก่ วัคซี นของบริษัท Pfizer และ Moderna จากข้อมู ลในปั จจุ บันวัคซี นชนิดนี้มี ประสิทธิภาพในการป้ องกันโรคได้ประมาณ 95% ป้ องกัน การป่ วยรุ นแรงและป้ องกั นการเสียชี วิตได้ 100% วัคซี น ของบริษัท Pfizer ควรได้ รับการฉี ด 2 เข็ม เข้า กล้า มเนื้อ ห่ า งกั น 3 สั ป ดาห์ ส่ ว นวั ค ซี น ของบริ ษั ท Moderna ควรได้รับการฉีด 2 เข็มเข้ากล้ามเนือ้ ห่างกัน 4 สัปดาห์
4. วัคซี นที่ทาจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ (Protein sub-unit vaccine) วัคซีนที่ผลิตโดยเทคโนโลยีนี้ ทัว่ โลกมีความคุ้นเคย มานาน เพราะใช้ ในการผลิตวั คซี นหลายชนิด เช่ น วัคซี น ป้ องกันไข้หวัดใหญ่ วัคซี นป้ องกันไวรัสตับอักเสบบี เป็นต้น ผลิตโดยการสร้างโปรตีนของเชือ้ ไวรัส ด้วยระบบ cell culture, yeast, baculovirus เป็นต้น แล้วนามาผสมกับสารกระตุ้นภูมิ เมื่ อ ฉี ดเข้ า สู่ร่ า งกายจะกระตุ้น ให้ ร่า งกายสร้ างแอนติ บอดี ต่ อ ต้ า นโปรตี น สไปค์ ข องไวรั ส โรคโควิ ด -19 วั ค ซี น ที่ มี ใ ช้ ใ น ปั จ จุ บั น คื อ วั ค ซี น แ บ ร น ด์ Novavax ซึ่ ง ผ ลิ ต จ า ก baculovirus แ ล ะ ใ ช้ Matrix M เ ป็ น ตั ว ก ร ะ ตุ้ น ภู มิ มีประสิทธิภาพป้ องกันอาการประมาณ 60-90% ป้ องกัน การเสียชีวิตได้ 100%
สามารถสรุ ปเทคโนโลยีหรือกรรมวิธีในการผลิตวัคซีนทัง้ 4 ชนิด ได้ดังตารางต่อไปนี้ เทคโนโลยีการผลิตวัคซี น แบบเชื้อตาย inactivated virus
พัฒ นาการของเทคโนโลยีและกรรมวิธี เทคนิควิธีการดัง้ เดิมที่มีมานาน ด้วยการเลีย้ งเชื้อในห้องเพาะเชื้อให้ได้จานวนมากๆ และ ทาให้เชื้อตาย (หมดฤทธิ์ ไม่สามารถแพร่พันธุ ์ หรือส่งผลเสียต่อร่างกายคนได้) ข้อดี – มีความปลอดภัยสูง ผลข้างเคียงน้อย ข้อเสีย - ใช้ ระยะเวลานาน ตันทุนการผลิตสูง การพัฒนาให้ทันกับเชื้อที่กลายพันธุ ์ยาก
แบบใช้ ไวรัสเป็นพาหะ viral vector
เทคนิควิธีการที่พัฒนาและใช้ มาหลายปี ด้วยการใช้ ชิ้นส่วนโปรตีน หรือสารพันธุ กรรม ของโควิด-19 ฝากไว้กับเชื้อไวรัสอื่นที่ไม่ก่อโรคในคน แล้วฉีดเข้าไปในร่างกายคนให้เซลล์ สร้างภูมิขนึ้ มา ข้อดี – ผลิตได้ง่ายขึน้ ผลข้างเคียงไม่มาก ข้อเสีย – ยังต้องใช้ ชิ้นส่วนของเชื้อ ทาให้การผลิตมีข้อจากัด แต่ไม่เท่าแบบเชื้อตาย
แบบสังเคราะห์สารพันธุ กรรม mRNA
เทคนิ ค การส่ ง ชิ้ น ส่ ว นพั น ธุ กรรม RNA ห่ อ หุ้ ม ด้ ว ย Lipid nanoparticles เสมื อ น ชุ ดคาสัง่ ให้เซลล์ในร่างกายสร้างโปรตีนหนามที่มีลักษณะเหมือนเชื้อโควิด-19 และร่างกาย จึงสร้างภูมิต้านทานขึน้ มา ข้ อ ดี – ผลิ ต ได้ ง่ า ยที่ สุ ด ปรั บ ปรุ งให้ ทั น กั บ เชื้ อ กลายพั น ธุ ์ ไ ด้ เ ร็ ว ไม่ จ าเป็ นต้ อ ง เลีย้ งเชื้อ อาจเกิดผลข้างเคียงได้มากกว่าแบบอื่น ข้ อ เสี ย - เนื่ อ งจากเป็ นเทคโนโลยี ใ หม่ ยั ง ไม่ มี ข้ อ มู ล งานวิ จั ย ผลกระทบในระยะยาว ต่อคน
แบบชิ้ นส่วนโปรตีน protein sub-unit
เทคนิควิธีการคล้ายกับ mRNA แต่กระบวนการสร้างโปรตีนหนาม ถูกทานอกร่างกาย คน โดยไปทาในพืชหรือสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น แล้วค่อยนาโปรตีนของเชื้อไวรัสผสมกับสาร กระตุ้นภูมิฉีดเข้าร่างกาย เพื่อให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขนึ้ มาเพื่อต่อต้านไวรัสโควิด-19 ข้ อ ดี - ผลิ ต ได้ ง่ า ย ปรั บ ปรุ ง ให้ ทั น กั บ เชื้ อ กลายพั น ธุ ์ ไ ด้ เ ร็ ว ไม่ จ าเป็ นต้ อ งเลี้ย งเชื้ อ ผลข้างเคียงคาดว่าน่าจะน้อยกว่าทุกตัว ข้อเสีย – ยังไม่มีการผลิต/รับรองใช้ งานจริง
หมายเหตุ ประสิทธิภาพของวัคซีน มีการเปลี่ยนแปลงลดน้อยลง จากสองสาเหตุคือ ระยะเวลาที่ได้รับวัคซีน ยิ่งนานหลายเดือนภูมิจะ ค่อยๆ ลดลง และจากสายพันธุ ์ใหม่ของไวรัส เนื่องจากวัคซีนเริม่ ผลิตมาจากสายพันธุ ์เดิม 21 icn
เมื่ อ แบ่ ง ตามล าดั บ ขั ้ น การวิ จั ย พั ฒนาวั ค ซี น สามารถแบ่ ง ออกเป็ น (1) ขั ้ น การคิ ด ค้ น ทดลองใน ห้ องปฏิบั ติ การ (2) ขั น้ การทดสอบการกระตุ้ นภู มิ คุ้ มกั น เบือ้ งต้นในสัตว์ทดลอง (เช่ น ในลิงและหนู) แสดงให้เห็นว่า วั ค ซี น สามารถกระตุ้ น การสร้ า งภู มิ ไ ด้ จ ริ ง เมื่ อ ฉี ด เข้ า ไป ในสั ต ว์ ท ดลอง (3) ขั ้ น การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพ/ ความปลอดภั ย ในสั ต ว์ ท ดลอง มุ ่ ง เน้ น การตรวจวั ด หา ประสิ ท ธิ ภ าพของวั ค ซี นแ ละผลข้ า งเคี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น และแน่ น อนเมื่ อ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความ ปลอดภั ย เพี ย งพอ ก็ จ ะน าไปทดสอบในสภาพเหมื อ นจริ ง ในคน (4) ขัน้ การทดสอบในมนุษย์ จะต้องผ่านการอนุญาตจาก
คณะ กรร มการ จ ริ ย ธรร มกา รวิ จั ย ในม นุ ษ ย์ (Ethics Committee) แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 จานวนกลุ่ม ตั วอย่ างไม่ มากหลั กร้ อยคน เพื่ อดู ผลของการกระตุ้ นการ สร้างภูมิคุ้มกันในคน ระยะที่ 2 จานวนกลุ่มตัวอย่างหลาย ร้ อ ย จ น ถึ ง ห ลั ก พั น ค น ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ น อ ก จ า ก ประสิทธิภาพและความปลอดภัยแล้ว ยังนาไปสู่ปริมาณของ โดสที่เหมาะสมสาหรับการฉีดด้วย และระยะที่ 3 จานวนกลุ่ม ตัวอย่างหลายพันคนถึงหลักหมื่นคน (5) ขึน้ ทะเบียนรับรอง จะเห็นว่าวัคซีนชนิดต่างๆ จะได้รับการรับรองและขึน้ ทะเบียน โดย WHO ในภายหลัง จากที่ประกาศให้ ใช้ ไ ปก่อ นเป็ นกรณี ฉุกเฉินเร่งด่วน
สาหรับความก้าวหน้าของการวิจัยและพัฒนาวัคซีนของไทย มีแนวโน้มเป็นไปด้วยดีดังภาพ และคาดว่าน่าจะใช้ ได้จริง เร็วที่สุดกลางปี พ.ศ. 2565 แหล่งข้อมู ลอ้างอิง • พญ.ร่มเย็น ศักดิ์ทองจีน ศูนย์โรคติดเชือ้ โรงพยาบาลสินแพทย์ รามอินทรา “วัคซีนโควิด 19 มีกี่ชนิด อะไรบ้าง” • ณัฐพล โชติศรีศุภรัตน์ และ ดร.ชญาดา โชติศรีศุภรัตน์ “โควิด-19 และหลักการทางานของเครื่องวัดออกซิเจนในเลือดที่ปลายนิว้ (Fingertip Pulse Oximeter)” • เว็บไซต์ ฟิ สิกส์ทางการแพทย์ โดย Institute of Physics (IOP) https://spark.iop.org/collections/teaching-medical-physics • World Health Organization (WHO) [Internet] [Cited 2021 February 28] Status of COVID-19 Vaccines within WHO EUL/PQ evaluation process. Available from: https://extranet.who.int/pqweb/sites/default/files/documents/Status_COVID_VAX_01March2021.pdf • World Health Organization (WHO) [Internet] [Cited 2021 March 3] COVID-19 – Landscape of novel coronavirus candidate vaccine development worldwide. Available from: https://www.who.int/publications/m/item/draft-landscape-of-covid-19-candidate-vaccines • World Health Organization (WHO) [Internet] [Cited 2021 March 3] ROADMAP FOR PRIORITIZING POPULATION GROUPS FOR VACCINES AGAINST COVID-19. Update 27 September 2020. Available from https://www.who.int/immunization/sage/meetings/2020/october/Session03_Roadmap_Prioritization_Covid-19_vaccine.pdf • Package leaflet. Information for the recipient COVID-19 Vaccine AstaZeneca solution for injection. Update December 2020 • Centers for Disease Control and Prevention (CDC) [Internet] [Cited 2021 March 1] COVID-19 Vaccine: Helps protect you from getting COVID-19. Available from: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/vaccines/index.html • Centers for Disease Control and Prevention (CDC) [Internet] [Cited 2021 March 1] Understanding How COVID-19 Vaccines Work Updated Jan. 13, 202. Available from: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/vaccines/different-vaccines/how-they-work.html • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข [ internet] [Cited 2021 February 20] โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) Available from: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาดปี 64 ของประเทศไทย. กุมภาพันธ์ 2564
FAQ 108
ภาพจาก: https://th.pngtree.com/freepng/differences-between-dna-and-rna-vector-scientific-icon-spiral-of_5061710.html
คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น
w w w. f a q 1 0 8 . c o . t h แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น
และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา (Webboard) ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น icn 22
ข้อควรระวังในการ ใช้ข้อบังคับใหม่ คือ Delivered at Place Unloaded
คุณวัชระ ปิ ยะพงษ์ ที่ปรึกษาองค์กรเอกชนชัน้ นาด้านการนาเข้าและส่งออก
Incoterms®2020 สภาหอการค้ า นานาชาติ (International Chamber of Commerce) ได้ออก ข้อบังคับใหม่มาใช้ แทน Incoterms®2010 เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2563 (ค.ศ. 2020) ข้อ บั งคับ DPU ได้ อ อกมาใช้ แ ทน DAT ท าให้ ผู ้ซื้อเริ่มรู้และเข้าใจว่าผู ้ซื้อใช้ ข้อบังคับนี้จะได้ประโยชน์ ในเรื่ อ งตั ว สิ น ค้ า ที่ ผู้ ข ายต้ อ งมาส่ ง มอบถึ ง สถานที่ ตามที่ผู้ซื้อเป็นผู ้กาหนดและผู ้ขายต้องจ่ายค่าใช้ จ่าย ในการขนถ่ายสินค้าลงจากยานพาหนะขนส่งที่มาส่ง สินค้าตามข้อบังคับ
DPU = Delivered at Place Unloaded เงื่อนไข การส่งมอบนี้ผู้ขายจะสิน้ สุดภาระการส่งมอบสินค้าผู ้ขาย ขนถ่ายสินค้าลงบนพาหนะขนส่งที่มาถึง และส่งมอบสินค้า โดยวางไว้ให้ผู้ซื้อมารับไปเอง ณ สถานที่ปลายทางที่ระบุ ผู ้ข ายรับ ผิ ดชอบความเสี่ย งทัง้ หมดในการน าสิ น ค้า ไปส่ ง และขนถ่ า ยลง ณ สถานที่ ท่ี ป ลายทางระบุ ผู ้ ข ายช าระ ค่ า ใช้ จ่ า ยทั ้ง หมดที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ น ค้ า จนถึ ง สถานที่ ท่ี ส่ ง มอบปลายทางที่ระบุ ผู ้ขายเป็นผู ้ผ่านพิธีการขาออกและ ผ่านแดน ผู ้ซื้อเป็นผู ้ผ่านพิธีการขาเข้า
VACHAR PIYAPONG 23 icn
จะเห็ น ได้ ว่ า ผู ้ ข ายต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบค่ า ใช้ จ่ า ย ตัง้ แต่ต้ นทางถึ งสถานที่ปลายทางของผู ้ซื้อ ยกเว้ น ค่ า ด าเนิ น การพิ ธี ก ารศุ ล กากรขา เข้ า ซึ่ งผู ้ ซื้ อ รับผิดชอบ ดั ง นั ้ น เมื่ อ ผู ้ ข ายจะรั บ ท าสั ญ ญาขายตาม ข้อบั งคับ DPU นี้มีค วามเสี่ ยงสู ง แต่จ าเป็ นต้อ งรั บ เพราะต้องการขายสินค้า และข้อบังคับนี้ผู้ซื้อก็ไม่ได้ กาหนดขึน้ มาเองเพื่อที่จะเอาเปรียบผู ้ขาย แต่ DPU นี้ กาหนดโดยคนกลางที่ ทุ กประเทศในโลกที่ ค้ า ขายกั น ก็ยอมรับรวมถึงรัฐบาลในประเทศนัน้ ๆ ด้วย ผู ้ขายจาเป็นที่ จะต้องใช้ ข้อบั งคับนี้ตามที่ผู้ซื้ อ ต้องการ ผู ้ ขายควรอย่ างยิ่ งที่จะต้องหาข้อมู ลเพื่ อ ทราบกาหนดราคาค่าใช้ จ่ายที่จะเกิดขึ้นว่าเป็นจานวน เงินเท่าใด เพื่อกาหนดราคาขายได้อย่างไม่ผิดพลาด
ผู ้ ข ายมี ค วามเสี่ ย งต่ อ ตั ว สิ น ค้ า อาจจะสู ญ หาย ระหว่างสินค้าเดินทาง ผู ้ขายต้องรับผิดชอบเพราะยังไม่ได้ ส่งมอบสินค้าให้กับผู ้ซื้อ ผู ้ขายต้องรับผิดชอบไปมอบสินค้า ให้ผู้ซื้อจนถึงสถานที่ของผู ้ซื้อ ณ สถานที่ปลายทาง และ ต้องรับผิดชอบในการขนถ่ายสินค้าลงให้ด้วย ดังนัน้ ผู ้ขาย ต้องมั่นใจว่าสามารถทาได้ และให้ผู้ขายคานึงรู ปแบบการ ขนส่ง อาจจะใช้ มากกว่าหนึ่งก็ได้ โดยต้องทาสัญญาผู กมัด ผู ้รับจ้างการขนส่งให้รัดกุม ถ้าผู ้ขายสามารถขนส่งสินค้า ด้ ว ยตนเองได้ ก็ ยิ่ ง ดี (เพื่ อ ตั ด ปั ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ) และ ผู ้ ข ายควรซื้ อ ประกั น ภั ย ไว้ ด้ ว ยเพื่ อ ประกั น ความเสี่ ย ง อีกประการหนึ่งที่ผู้ขายควรทาสัญญาให้ชดั เจนว่าสถานที่ ณ ปลายทางนัน้ เป็นที่ใด เช่ นให้ระบุ เลขที่ ที่อยู ่ปลายทางให้ อย่า งละเอี ยดเพราะเป็น จุ ดส่งมอบและจุ ดโอนความเสี่ย ง จากผู ้ ข ายให้ กั บ ผู ้ ซื้ อ ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ อาจเกิ ด ขึ้ น ได้ ก่ อ น ส่ ง มอบแน่ น อนผู ้ ข ายต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ แต่ ถ้ า เกิ ด ปั ญ หา ที่ศุลกากรขาเข้า เช่ น สินค้าอาจถูกกักไว้ สินค้าก็ขนส่ง ไป ส่ งมอบ ณ สถานที่ ปลายทางไม่ ได้ ผู ้ ซื้ อ ต้ องรั บผิ ดชอบ จะเอามาเป็นข้ออ้างไม่ได้ว่าผู ้ขายยังไม่ได้ส่งมอบ ดังนัน้ การใช้ DPU ค้าขายกัน ผู ้ขายต้องระวัง เลือก ก าหนดราคาขาย การขนส่ ง การส่ ง มอบ ผู ้ ซื้ อ ก็ ต้ อ ง ระมั ด ระวั ง เรื่ อ งภาษี อากรขาเข้ า และกฎหมายของ ศุลกากร ภาพจาก: https://blog.globartis.com/a-new-2020-incoterm-dpu-deliveredat-place-unloaded/
สมาคมสโมสรนักลงทุน ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
หลักเกณฑ์ทาง ศุลกากร ว่าด้วยการนาเข้า -ส่งออก
และสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร ภายใต้กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ วันที่ 27-28 กันยายน 2564 เวลา 09.00 – 16.00 น. icn 24
สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทร. 099 107 4633
วิทยากร คุ ณ วิ ชั ย มากวั ฒ นสุ ข
ออนไลน์ผ่า น
ที่ ป รึ ก ษาด้ า นกฎหมายและสิ ท ธิ ประโยชน์ ด้ า นศุ ล กากร
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
JOIN A TRAINING ON
ติวเข้ม
(เทคนิค) การขออนุมัติสูตรการผลิต
และตัดบัญชีด้วยระบบ RMTS Online อย่างไรให้ถูกต้อง <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ เรื่อง “ติวเข้ม (เทคนิค) การขออนุมัติสูตรการผลิต และตัดบัญชี ด้ ว ยระบบ RMTS Online อย่ า งไรให้ ถู ก ต้ อ ง” ผ่ า นโปรแกรม Zoom ที่ สามารถรองรั บ การฝึ กอบรมและสั ม มนา ในยุ ค New Normal โดยจัดขึน้ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2564
การสั ม มนาครั ้ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก คุ ณ สุ กั ญ ญา หรั่ ง ทอง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญจากสมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ การจัดทาสูตรการผลิตและวิธีการแก้ไขสูตรอ้างอิงแบบไม่ยุ่งยาก การจัดทาข้อมู ลส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศด้วยระบบ Online การตัดบัญชีวัตถุดิบที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ สกท.กาหนด และการยื่นความจานงค์การตัดบัญชีวัตถุดิบด้วยใบขนสินค้าขาออก ตลอดจนผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมซักถามประเด็น ปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย โดยวิทยากรได้โต้ตอบกับผู ้เข้าอบรมเสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการ ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ 25 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
JOIN A TRAINING ON
วิ ธี ก าร ขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนา ออนไลน์ฟรีสาหรับสมาชิก เรื่อง “วิธีการขอรับ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ” ผ่ า นโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค New Normal โดยจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 1 กรกฎาคม 2564 มี ส มาชิ ก เข้ า ร่ ว มอบรมออนไลน์ ทั ้ง สิ้ น กว่า 92 ท่าน กา ร สั ม ม น าค รั ้ ง นี้ ไ ด้ รั บ เ กี ย ร ติ จ า ก คุ ณ อุ ษณี ย์ ถิ่ น เกาะแก้ ว นั ก วิ ชาการส่ ง เสริ ม การ ลงทุ น ร ะดั บ ช านาญการ ส านั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากร บรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ นโยบายและ มาตรการส่งเสริมการลงทุน ประเภทกิจการที่ให้ การส่ งเสริ มการลงทุน หลักเกณฑ์ การส่ งเสริ ม การลงทุนและสิทธิประโยชน์ ขัน้ ตอนและวิธีปฏิบัติ ในการขอรั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น และวิ ธีการยื่ น ค าขอรั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น ทั่ ว ไปส าหรั บ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ผ ลิ ต ( Manufacturing Industry) ตลอดจนสมาชิกผู ้ร่วมสัมมนาได้ร่วม ซั ก ถามประเด็ น ปั ญหาที่ เ ป็ นข้ อ สงสั ย โดย วิ ท ยากรได้ โ ต้ ต อบกั บ สมาชิ ก เสมื อ นอบรม ในห้อ งสั มมนา เพื่อ นาข้อ มู ล ที่ไ ด้รั บไปใช้ ใ นการ ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
icn 26
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
JOIN A TRAINING ON
เคลียร์ให้ชัด!!
การจัดทาบัญชีวัตถุดิบ อุตสาหกรรมจิวเวลรี่
<<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาออนไลน์ เรื่ อ ง “เคลี ย ร์ ใ ห้ ชัด !! การจั ด ท าบั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ อุ ตสาหกรรม จิวเวลรี่ ” ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับการฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค New Normal โดยจัดขึ้น เมื่อวัน ที่ 6 กรกฎาคม 2564
การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณทวี วีระพงษ์ ชยั นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนระดับชานาญการพิเศษ และ คุณวราลักษณ์ มณีฝั้น นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหวั ข้อสาคัญ อาทิ การขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบและปริมาณสต็อกสูงสุด และการขอ แก้ไขบัญชี รายการและปริมาณสต็อกสูงสุด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดทาข้อมู ลสูตรผลิตภัณฑ์ การขออนุมัติสูตร ผลิตภัณฑ์ การแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์ และเอกสารประกอบการพิจารณา ประกอบด้วย รายละเอียดแสดงการใช้ วัตถุดิบ (BOM) รูปผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ตลอดจนผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมซักถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย โดยวิทยากร ได้ โ ต้ ต อบกั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรมเสมื อ นอบรมในห้ อ งสั ม มนา เพื่ อ น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ ไปใช้ ใ นการด าเนิ น งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ 27 icn
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ ง ปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
ที่ สาคั ญ ... ตอบทุ ก ข้ อ สงสั ย ของคุ ณ ในทุกงานบริการของสมาคม ด้วย LINE CHAT
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ
อย่ า ลื ม ... บอกต่ อ และแนะนาเพื่ อ นเข้ า มาด้ ว ยกั น นะ !!
ปรับวิสัยคนทางาน เพิ่มความฉลาดทางดิจิทัล
(Digital intelligence) มยุ รี ย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ปั จจุ บันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจ และชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก เทคโนโลยีดิจิทัลกลายเป็น ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ เ ข้ า มาเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบการท าธุ รกิ จ ความสาเร็จขององค์กรจึงขึ้นอยู ่กับความสามารถในการ ปรับตัว การบริหารจัดการข้อมู ล และการเพิ่มศักยภาพ ให้กับพนักงาน ซึ่ งการปรับเปลี่ยนวิถีปฏิบัติของคนทางาน ให้รองรับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วนี้ จึง เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนัน้ คนทางานยุ คดิจิทัลจึงควรต้องมีความสามารถ ในการใช้ อินเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการ ควบคุม กากับตน รู้ ผิ ด รู้ ถู ก และรู้ เ ท่ า ทั น ในการใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล อย่ า ง เหมาะสม มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ตลอดจนเรี ย นรู้ ท่ี จ ะใช้ เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด และปลอดภัย ซึ่ งสิ่งเหล่านีเ้ ป็น ทั ก ษะส าคั ญ ของคนท างานที่ ค วรมี ติ ด ตั ว ที่ เ รี ย กว่ า “ความฉลาดทางดิจิทัล” ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุม ทัง้ ความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมที่จาเป็นต่อการใช้ ชีวิตในโลกเทคโนโลยี ดิจิทัล ประกอบด้วยทักษะ 8 ด้าน ดังนี้ 1. ทั ก ษะในการรั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ท่ี ดี ข องตนเอง (Digital Citizen Identity) คื อ สร้ า งและบริ หารจั ด การ อัตลักษณ์ท่ีดีของตนเองไว้ได้อย่างดีทัง้ ในโลกออนไลน์และ โลกความจริง รู้จักรับผิดชอบต่อการกระทา ไม่กระทาการ ที่ผิดกฎหมายและจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่ น การละเมิด ลิ ข สิ ท ธิ์ การกลั่ น แกล้ ง หรื อ การใช้ ว าจาที่ ส ร้ า งความ เกลียดชังผู ้อื่นทางสื่อออนไลน์
2. ทักษะการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) สามารถวิเคราะห์แยกแยะระหว่าง ข้อมู ลที่ถูกต้องและข้อมู ลที่ผิด ข้อมู ลที่มีเนือ้ หาเป็น ประโยชน์ และข้ อมู ลที่ เข้ าข่ ายอัน ตราย วิ เคราะห์ และ ประเมินข้อมู ลจากแหล่งข้อมู ลที่หลากหลายได้
3. ทั ก ษะในการรั ก ษาความปลอดภั ย ของ ตนเองและองค์ ก รในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้ องกันข้อมู ลด้วยการสร้าง ระบบความปลอดภัยที่เข้มแข็ง ปกป้ องอุ ปกรณ์ดิจิทัล ข้อมู ลที่จัดเก็บและข้อมู ลส่วนตัวไม่ให้เสียหาย สูญหาย หรื อ ถู ก โจรกรรมจากผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี ใ นโลกไซเบอร์ ซึ่ งสาคัญต่อการปกป้ องรักษาข้อมู ลขององค์กร 4. ทักษะในการรักษาข้อมู ลส่วนตัว (Privacy Management) เข้ า ใจและรู้ วิ ธี ก ารบริ ห ารจั ด การ ข้อมู ลส่วนตัว รู้จักปกป้ องข้อมู ลความส่วนตัวในโลก ออน ไ ล น์ โด ย เ ฉพ าะ การ แช ร์ ข้ อมู ล อ อน ไ ล น์ เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเป็ น ส่ ว นตั ว ทั ้ง ของตนเอง ผู ้ อื่ น และองค์ ก ร ตลอดจนต้ อ งรู้ เ ท่ า ทั น ภั ย คุ กคามทาง อิน เทอร์ เน็ ต เช่ น มั ลแวร์ ไวรั ส คอมพิว เตอร์ และ กลลวงทางไซเบอร์ เป็นต้น 5. ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) สามารถบริ ห ารเวลาที่ ใ ช้ อุ ปกรณ์ ยุ คดิ จิ ทั ล ได้ อ ย่ า งเหมาะสม รวมไปถึ ง การ ควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์ และโลก ภายนอก ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ เวลาหน้าจอ นานเกิ นไป การท างานหลายอย่า งในเวลาเดี ยวกั น และผลเสี ย ของการเสพติด สื่ อ ดิ จิ ทัล โดยไม่แ ยกแยะ ไม่พิจารณาไตร่ตรอง ซึ่ งอาจจะส่งผลต่อคุณภาพ การทางานโดยรวม 29 icn
6. ทั กษะในการบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล ที่ผู้ ใ ช้ ง าน มี ก ารทิ้ง ไว้ บ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเข้าใจธรรมชาติของการใช้ ชีวิตในโลกดิจิทัล ว่ า จะหลงเหลื อ ร่ อ ยรอยข้ อ มู ล ทิ้ ง ไว้ เ สมอ หรื อ ที่เรีย กว่า รอยเท้าดิจิทัล รวมไปถึงเข้าใจผลลัพ ธ์ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อการดูแลสิ่งเหล่านี้อย่างมีความ รับผิดชอบ 7. ทักษะในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบนโลก ออนไลน์ (Cyberbullying Management) ปั จจุ บัน มีการใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือหรือช่ องทางเพื่อ ก่อให้เกิดการคุกคาม ล่อลวงและการกลั่นแกล้งบน โลกอิ น เทอร์ เ น็ ต และสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ ป็ น จ านวน ไม่น้อย ซึ่ งส่งผลต่อการใช้ ชีวิตของผู ้ถูกคุกคามเป็น อย่างมาก ตามข่าวจากทางสื่อต่างๆ ดังนัน้ จึงต้อง มีการรับมือด้วยวิธีจัดการเมื่อถูกกลั่นแกล้งบนโลก อินเทอร์เน็ต
8. ทั ก ษะการใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ า งมี จ ริ ย ธรรม (Digital Empathy) มีความเห็นอกเห็นใจ และสร้า ง ความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู ้อื่นบนโลกออนไลน์ แม้จะเป็น การสื่อสารที่ไม่ได้เห็นหน้ากัน ควรมีปฏิสัมพันธ์อันดี ต่ อ คนรอบข้ า ง ไม่ ว่ า พ่ อ แม่ เพื่ อ น และเพื่ อ น ร่ ว มงานทั ้ง ในโลกออนไลน์ แ ละในชี วิ ต จริ ง ไม่ ด่ ว น ตัด สิน ผู ้อื่ นจากข้ อมู ลออนไลน์แ ต่ เพี ยงอย่ างเดี ย ว และควรเป็ น กระบอกเสี ย งให้ ผู้ ท่ี ต้ อ งการความ ช่ วยเหลื อ เพื่ อ ส่ ง ต่ อ ไปยั ง ผู ้ ท่ี ส ามารถให้ ค วาม ช่ วยเหลือได้รวดเร็ว
ที่มา: http://cclickthailand.com/wpcontent/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf?fbclid= IwAR3XHB1fpckPdrueqbxdhCDRwxCsKAl7UR95UBy9IykPnr0zqykw9zrXd2I, is.gd/sc2dS6
icn 30
นอกเหนือจากความฉลาดทางดิจิทัลที่คนทางานยุ คนี้ ค ว ร ต้ อ ง มี แ ล ะ ป ฏิ บั ติ แ ล้ ว ยั ง ค ว ร ต้ อ ง รู้ ใ ห้ เ ท่ า ทั น ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมต่ า งๆ ที่ ถู ก พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความทัน สมัยมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาทักษะการใช้ งานเทคโนโลยี ใหม่ๆ ได้ทันสถานการณ์ และไม่ตกเทรนด์ อีกปั จจัยหนึ่งที่สาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสู่โลกดิจิทัล ของคนท างานและองค์ ก ร คื อ ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ห น้ า ที่ ใ นการ กาหนดทิ ศ ทางและกลยุ ทธ์ ข ององค์ กร เพื่ อ เตรี ย มความ พร้อมในการปฏิรูปองค์กรสู่โลกดิจิทัลควบคู่กับการพัฒนา บุ คลากรให้สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง สร้างความสามารถในการแข่งขันและ ก้าวสู่ความเป็นเลิศในสนาม ของโลกดิจิทัลได้
สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น ให้ ค วามส าคั ญ ด้ า นการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การรู้ให้เท่าทัน และความสามารถ ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส า ห รั บ ผู ้ ป ระกอบการและองค์ ก รที่ ส นใจ สามารถรั บ ข้ อ มู ล รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ผ่ า นงานสั ม มนาส าหรั บ สมาชิ ก ออนไลน์ ครั ้ง ที่ 5 หั ว ข้ อ “พลิ ก โฉมคนท างาน รั บ การ เปลี่ยนแปลงสูโ่ ลกดิจิทัล (Transforming People into the Digital World)” จัดโดยสมาคมสโมสรนักลงทุน ในวันพุ ธที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2564 เวลา 13.30 - 16.30 น. (เริ่มเข้า ระบบเวลา 13.00 น.) ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom โดย ลงทะเบียนออนไลน์เพื่อสารองที่นั่งได้ท่ี http://icis.ic.or.th หากต้ องการสอบถามข้ อมู ลเพิ่ มเติ ม กรุ ณาติ ดต่ อ คุ ณศิ ริ รั ตน์ แผนกฝึ กอบรมและบริ การนั กลงทุ น โทรศัพท์ 064 054 2024 หรือ siriratu@ic.or.th ภาพจาก: https://www.istockphoto.com/th/search/2/image?mediatype=illustration&phrase= cctv+camera+street, t.ly/mWII https://blogs.ibo.org/blog/2020/08/21/transcending-with-empathy-and-compassion/
ถ้า (เรา)
“มุ่งมั่น” ไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้ เส้าหลิน
เวลานี้ คงทาอะไรได้ไม่มาก เอาไว้วันหลังค่อยคิด พอก่อนดีกว่า เดี๋ยวค่อยว่ากัน คนอื่นเขาทาได้ แต่ฉันคงไม่สามารถ เอาไว้ก่อน แล้วกัน… “เอาไว้ ก่ อ น เดี๋ ย วค่ อ ยท า ไว้ วั น หลั ง ก็ ไ ด้ มั ้ง ” คาต่างๆ เหล่านีท้ าให้เราหยุ ดชะงัก ลังเล ไม่แน่ใจ จนไม่ได้ ทาอะไรสักที รอ รอ แล้วก็รอ คอยจังหวะ ซึ่ งไม่รู้ว่าจะ มาเมื่อไหร่? จะเสี ย เวลาแค่ ไ หน หากขอทดเวลา (ถอดใจ) ไปเรื่อยๆ จากการแข่ ง ขั น กี ฬ าโอลิ ม ปิ กที่ ก รุ งโตเกี ย ว ประเทศญี่ปุ่ นที่ผ่านมา ทัพนักกีฬาไทยหรือชาติใดๆ เวลา ลงแข่งขันทุกคนล้วนมีแววตาที่มุ่งมั่น ที่จะนาชัยชนะเพื่อ สร้ า งชื่ อ เสีย งให้แ ก่ ป ระเทศของตน เมื่ อ มี นั กข่ า วเข้ า ไป สัมภาษณ์แต่ละคนที่ สามารถคว้าเหรียญทอง เงิน หรือ ทองแดงมาได้นัน้ ต้องผ่านการฝึ กฝนมาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ และไม่มี คาว่า “เดี๋ย ว” มี เวลาเมื่ อไหร่ มักจะ หมดไปกับการฝึ กซ้ อม และสิ่งเดียวที่เขาคิดก็คือ… ต้ อ งบรรลุ ส ถิ ติ ท่ี ต นเองตั ้ ง ไว้ และสู้ กั บ (ใจ) ตัวเองให้ได้ ปลุ ก ความ “มุ ่ ง มั่ น ” ในตั ว คุ ณ “It’s going to be hard. But hard is not impossible. มันยาก...แต่ไม่ได้แปลว่าเป็นไปไม่ได้” Sifan Hassan (ซี ฟาน ฮัสซัน) นักวิ่งปอดเหล็ก ที ม ชาติ เ นเธอร์ แ ลนด์ ได้ เ ขี ย นไว้ ใ น Instagram ของ ตนเอง หลังจากประสบความสาเร็จ ในการคว้าเหรีย ญ ทองในการแข่ ง ขั น วิ่ ง 5,000 เมตร โอลิ ม ปิ กเกมส์ โตเกียว 2020 มาครอบครอง ซึ่ งถือเป็นตัวอย่างที่เห็น ได้อย่างชัดเจนว่า ไม่มีคาว่าเดี๋ยว หากต้องการสาเร็จ ตอนนี้
โดยระหว่างการแข่งขัน Sifan Hassan ได้เกิดเหตุ ไม่คาดคิดขึ้น คือ เขาล้มลงระหว่างแข่งขันทาให้นักกีฬา คนอื่ น ๆ วิ่ ง แซงหน้ า ไปแบบต่ อ หน้ า ต่ อ ตา ในตอนนั ้น Sifan Hassan มีทางเลือกเพียง 2 ทาง ยอมแพ้ หรือ… จะลุกขึน้ มาวิ่งแค่ให้จบการแข่งขันเป็นคนสุดท้าย แต่ Sifan Hassan เลื อกสร้ างหนทางของตั วเอง โดยลุกขึน้ เดี๋ยวนัน้ และลืมซะว่าเคยล้ม รีบฮึ ดสู้ต่อ จนเริ่ ม แซงนั ก กี ฬ าที่ เ คยน าหน้ า ไปที ล ะคน และ ภาพที่ ค นทั ้ง โลกได้ เ ห็ น คื อ จากอั น ดั บ รั ้ง ท้ า ย Sifan Hassan แซงนั ก กี ฬ ารวดเดี ย ว 10 คน สุ ด ท้ า ยก็ เ ข้ า เส้นชัยเป็นที่ 1 และได้เข้าไปสู่รอบต่อไป ซึ่ งในการแข่งขัน รอบชิงชนะเลิศ วิ่ง 5,000 เมตร Sifan Hassan แม้บาง ช่ วงเธออยู ่อันดับ 7 แต่เมื่อถึง 350 เมตรสุดท้าย เธอ เอาพลังที่เก็บไว้มาใช้ ในเวลาที่เหมาะสมและเริ่มแซงคนที่ เคยอยู ่อันดับต้นๆ ทิ้งห่างออกไปเรื่อยๆ จนเข้าเส้นชัย เป็นอันดับหนึ่งได้เหรียญทองในที่สุด สะท้อนให้เห็นได้ว่า ตลอดระยะก่อนแข่งขัน Sifan Hassan มีการสร้างความมั่นใจให้ตนเอง เตรียมพร้อม ทัง้ ทางร่างกายและจิตใจจนแข็งแกร่ง ส่งผลให้ไม่ว่าจะ เกิดเหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่คาดคิด ก็ไม่อาจขวางทางสาเร็จ ของเธอได้ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ใน Journal of Personality & Social Psychology ระบุ ว่า การใช้ พลัง ของการพู ดกับตัวเอง (Self-Affirmation) ช่ วยให้สร้าง ความมุ ่ ง มั่ น ตั ้ง ใจได้ โดยการพู ดกั บ ตั ว เองเชิ ง บวก อย่ างไร เราจะเป็น แบบที่เ ราพู ด ซึ่ งจะส่ ง ผลไปยั งการ กระทาและพฤติกรรมต่างๆ ที่เต็มไปด้วยความพยายาม ไปให้ถึงเป้ าหมายที่ตงั ้ ไว้
31 icn
นอกจากนี้ ยังมีวิธีการเสริมความมุ ่งมัน่ ให้ตนเอง อีก 4 วิธี คือ 1. การสร้างสภาพแวดล้อมให้กับตนเอง กระทา ได้ ทั ้ ง การหลี ก เลี่ ย ง หรื อ การปรั บ ตนเองให้ เ ข้ า กั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ เ ค ย ชิ น เ ช่ น ห า ก ท า ง า น ใ น สภาพแวดล้ อ มเสี ย งดั ง เราอาจหลี ก เลี่ ย งด้ ว ยการ ฟั ง เพลง หรื อ ปรั บ ตั ว เองให้ ส ามารถท างานในที่ ท่ี มี เสียงดังได้ 2. แบ่งการตัง้ เป้ าหมายเป็น Step แล้วค่อยก้าว ตาม Step อย่า Stop ซึ่ งจะทาให้เรารู้สึกว่าเป้ าหมาย แต่ละระดับนัน้ อยู ่ไม่ไกล 3. พลังของความตัง้ ใจ ให้เรามีสมาธิตัง้ ใจกับสิ่ง ที่กาลังทาอยู ่เสมอ ไม่เหม่อลอยกับสิ่งที่ไม่สาคัญ 4. มีความอดทนกับสิง่ ที่ทา เราต้องให้เวลากับสิ่ง ที่ทา ไม่ควรตัดสินใจทันด่วนด้วยความเร่งรีบ เนื่องจาก อารมณ์หงุ ดหงิดหรือรู้สึกอยากยอมแพ้ แต่ให้มองถึ ง ความสาเร็จที่ทาไปทีละขัน้ ๆ
อ้างอิง : เพจ ท้อฟฟี่ แบรดชอว์ ภาพจาก: https://portal.set.or.th/education/th/start/start.html
เมื่อความมุ ่งมัน่ เกิด ด้วยการพู ดกับตัวเองเสมอว่า เราทาได้ๆ คาว่า...เอาไว้ก่อน เป็นไปไม่ได้ เดี๋ยวค่อยทา... จะหายไป แล้วอะไรที่เคยคิดว่ายาก อาจเป็นไปได้ เพราะ เรามุ ่งมัน่ ที่จะวิ่งให้เร็วขึน้ จนทันความสาเร็จ
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th หลักสูตรบีโอไอ หลักสูตรการใช้งานระบบ IC หลักสูตรด้านศุลกากร หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน
โทรศั พ ท์ 099-107-4633 icn 32
การยื่นบรรจุตาแหน่ง Q : 1. กรณีบ ริษั ท ดาเนิน การยื่น บรรจุ ต าแหน่ง โดยไม่ม ี Personal History แต่ม ีห นัง สือ Retirement Certificate มากกว่า 2 บริษ ั ท ซึ่ ง เป็ น ภาษาญี่ปุ่ น บริษัท สามารถใช้ ยื่น เข้าระบบได้หรือไม่ 2. หากไม่ส ามารถยื่น ได้ บริษั ท ต้อ งแปลเอกสารเป็ น ภาษาไทยหรือ อัง กฤษ โดยให้สถาบัน ที่ไทยรับรองการแปลดาเนิน การให้ ใช่ หรือไม่ 3. และหากในข้อมู ลส่วนของ Retirement Certification ระบุ แต่ช่ วงเวลา ในการทางาน จะสามารถใช้ ยื่นได้หรือไม่
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
A : เอกสารประวัติการทางาน เพื่อยื่นขอบรรจุ ช่ างฝี มือ มีข้อกาหนดดังนี้ 1. ต้องเป็นเอกสารที่ออกโดยบริษัทนายจ้างที่ช่างฝี มือปฏิบัติงานอยู ่ในช่ วงเวลานัน้ ๆ เท่านัน้ (บริษัทที่จะรับ บรรจุ ช่ างฝี มือ จะดาเนินการออกเอกสารรับรองแทนบริษัทนายจ้างเก่าไม่ได้) 2. ต้องมีข้อมู ล ดังนี้ - ชื่อบริษัทนายจ้าง ที่ตงั ้ ข้อมู ลในการติดต่อ เช่ น โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล - ชื่อและตาแหน่งของผู ้ลงนามในเอกสาร และตราประทับ (ถ้ากฎหมายประเทศนัน้ ๆ กาหนดให้ต้องมี) - ชื่อและนามสกุลช่ างฝี มือ - ตาแหน่ง แผนก / กอง เดือน / ปี ที่เริ่มต้นและสิน้ สุดในการปฏิบัติงานในตาแหน่งนัน้ 3. กรณีช่างฝี มือเคยปฏิบัติงานในหลายบริษัท สามารถยื่นหนังสือรับรองของหลายบริษัทนัน้ ได้ 4. ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่ตรงกับตาแหน่งที่จะขอบรรจุ ต้องรวมไม่ต่ากว่าเงื่อนไขของตาแหน่งนัน้ ๆ (เช่ น 2 ปี หรือ 5 ปี เป็นต้น) 5. กรณีหนังสือรับรองไม่ใช่ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ต้องให้สถาบันการแปลเอกสาร แปลเป็น ภาษาไทยหรืออังกฤษ พร้อมกับลงนามประทับตรารับรองการแปลเอกสาร โดยในการยื่นต่อ BOI จะต้องยื่นทัง้ เอกสารภาษาต้นฉบับและ เอกสารภาษาที่แปลเรียบร้อยแล้ว ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม อีเมล icn@ic.or.th 33
icn
สมาคมสโมสรนักลงทุนบริการจัดอบรม ให้คาปรึกษา “แบบตัวต่อตัว”
One on One Training
ผ่านโปรแกรม
เป็น การจัดอบรมเฉพาะกลุ่ม กลุ่ม ละ ไม่เ กิน 5 ท่า น/1 บริษัท
จองสิทธิและชำระเงิน ภำยใน 30 กันยำยน 2564 อบรมภำยใน 29 ธันวำคม 2564 เท่ำนั้น!!
(รำคำก่อน Vat7%)
9,500
ชื่ อ หลั ก สู ต ร
จานวนวั น
ค่ า ธรรมเนี ย ม การจั ด อบรม (บาท) ผู้ เ ข้ า อบรม 5 ท่ า น
1
การอนุมัติบัญชีรายการเครื่องจักร และการขออนุมัติสั่งปล่อยเครื่องจักร ผ่านระบบ eMT Online
1/2 วัน
7,500
2
การอนุมัติบัญชีรายการเครื่องจักร และการขออนุมัติตัดบัญชีเครื่องจักร ผ่านระบบ eMT Online
1/2 วัน
7,500
3
การเตรียมข้อมูลงานสิทธิและประโยชน์ สาหรับเครื่องจักรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ แบบครบวงจร (eMT online)
1 วัน
15,000
หมายเหตุ : 1. อัตราสัมมนานี้เป็นราคาต่อ 1 บริษัทและเข้าอบรมไม่เกิน 5 ท่าน และต้องอบรมภายในวันที่ 29 ธันวาคม 2564 เท่านั้น 2. อัตรานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 3. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200% 4. สัมมนานี้ไม่มีค่าเอกสารและค่าอาหาร
สอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ คุณศิริรัตน์ แผนกฝึกอบรมและบริกำรนักลงทุน โทรศัพท์ 064 054 2024 หรือ E-Mail: siriratu@ic.or.th