ICeNewsletter_May2021

Page 1

Vol.20 / May 2021 การขอขยายเวลานาเข้าวัตถุดิบ ผ่านระบบ IC Online System พลังงานทางเลือก เทคโนโลยีไฟฟ้าทางรอด (1)

อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โอกาสขับเคลื่อน

เศรษฐกิจไทย


“หากคุณจับต้นชนปลายไม่ถูก”

Single Window for

Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร” 0 2936 1429 ต่อ 313 (คุณพัชรี) e-mail: counterservice@ic.or.th

www.ic.or.th


04 การขอขยายเวลานาเข้าวัตถุดิบ ผ่านระบบ IC Online System

อุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ โอกาสขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

Check List การปฏิ บั ติ ต น สาหรั บ พนั ก งานที่ ต้ อ งหยุ ดงาน หรื อ กั ก ตั ว เองเพราะโควิ ด -19

18

07 10

พลัง งานทางเลือก เทคโนโลยี ไฟฟ้ าทางรอด (1)

20 สมา่ เสมอกั บ สิ่ง เล็ ก ๆ เพื่ อผลลัพธ์ ที่ ยิ่ง ใหญ่

ที่ปรึกษา กรองกนก มานะกิจจงกล บรรณาธิการบริหาร สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ กฤตยา วิขัยดิษฐ์ กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 210 e-mail : icn@ic.or.th

การกระตุ้นการลงทุนให้เกิดขึ้นในประเทศไทยได้มีการผลักดัน ส่งเสริมและกระตุ้นกัน อย่างต่อเนื่อง และเมื่อประเทศไทยเจอวิกฤตสถานการณ์โควิด-19 แพร่ระบาดตัง้ แต่ระลอก แรกเมื่อต้นปี 2563 และเจออีกครัง้ ระลอกใหม่ในปลายปี 2563 แถมยังส่งผลยาวต่อเนื่อง มาจนถึงช่ วงเวลานี้ ท าให้แผนการกระตุ้นการลงทุนของหน่ วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ อง ต่ า งก็ ต้ อ งปรั บแผนกลยุ ทธ์ ดึ ง ดู ด นั ก ลงทุ น กั น ใหม่ เพื่ อ ให้ ส อดรั บกั บสถานการณ์ พร้อมกับหาช่ องทางและโอกาสที่จะช่ วยให้เกิดการลงทุนเพิม่ มากขึน้ อุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ เป็นหนึ่งกลุ่มอุ ตสาหกรรมที่น่าจับตามอง ด้วยเพราะเป็น อุ ตสาหกรรมที่ สร้ างสรรค์ บนฐานขององค์ ความรู้ ทรั พย์สิ นทางปั ญญา เชื่ อมโยงกั บ วัฒนธรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม หลอมรวมและพัฒนากลายเป็นสินค้าผลิตภัณฑ์ และบริการที่มีมูลค่า สะท้อนถึงคุณค่าทางสังคมของคนไทยอันเป็นเอกลักษณ์ โดยมีประเภทกิจการในกลุ่มอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ เกือบทุกประเภท มี 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ เช่ น ประเภทกิจการผลิตเส้นใย ผลิตด้าย ผลิตเครื่องนุ่งห่ม และเคหะสิ่งทอ ผลิตกระเป๋ าหรื อรองเท้ า ผลิตเครื่องกี ฬา เป็นต้น กลุ่มอุ ตสาหกรรม ดิจิทัล เช่ น ประเภทกิจการพัฒนา Embedded Software พัฒนา Enterprise Software และ/หรือ Digital Content กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สร้างมู ลค่าเพิม่ สูง เป็นต้น และ กลุ่มอุ ตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่ น ประเภทกิจการเรือเฟอร์รี่ หรือเดินเรือท่องเที่ยวหรือให้ เช่ าเรือท่องเที่ยว กิจการสวนสนุก ศูนย์แสดงศิ ลปวัฒนธรรมหรือศูนย์ศิลปหัตถกรรมไทย สวนสัตว์เปิ ด และ พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น ซึ่ งอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์นีจ้ ะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ตั ง้ แต่ 3-8 ปี (แล้ วแต่ กรณี และเงื่ อนไข) แม้ ในบางประเภทกิ จการอาจจะไม่ ได้ รั บสิ ทธิ ประโยชน์การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล แต่จะได้รับสิทธิประโยชน์อื่นๆ แทน แต่โดยรวม แล้ ว การเอื้อ ประโยชน์ ด้ า นยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ คคลนี้จ ะดึ ง ดู ด ให้ นั ก ลงทุ น ในกลุ่ ม อุ ตสาหกรรมนีเ้ ข้ามาลงทุนในประเทศมากขึน้ สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น พร้ อ มสนั บ สนุ น การลงทุ น อุ ตสาหกรรมสร้ า งสรรค์ ทุกประเภทกิจการ ด้วยบริการที่ดี สะดวก และรวดเร็ว ผ่านการให้บริการแบบออนไลน์ ของสมาคม ตลอดจนการให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาที่ครอบคลุมการ บริ หาร การผลิ ต และงานบริ การอย่ างรอบด้ าน โดยผู ้ ที่ สนใจสามารถดู รายละเอี ยด หลักสูตรและเลือกลงทะเบียนเพื่อสมัครร่วมสัมมนาได้ทาง http://icis.ic.or.th หรือ สอบถาม ข้อมู ลเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 และสามารถติดตามข้อมู ล ข่าวสารของสมาคมได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3

icn


อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โอกาสขับเคลื่อน

เศรษฐกิจไทย มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

หลายคนคงคุ้นเคยกับคาว่า “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ที่มีความหมายเฉพาะตัว คือ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ โดยใช้ ความคิดสร้างสรรค์บนฐานขององค์ความรู้ทรัพย์สิน ทางปั ญญา และการศึ กษาวิจัยซึ่ งเชื่ อมโยงกับวัฒนธรรม พื้น ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ การสั่ง สมความรู้ ข องสั ง คม เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อใช้ ในการพัฒนาธุ รกิ จ การ ผลิตสินค้าและบริการในรู ปแบบใหม่ ซึ่ งสร้างมู ลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจหรือคุณค่าทางสังคม ความหมายข้ า งต้ น ได้ ถู ก ก าหนดขึ้ น โดยส านั ก งาน เศรษฐกิ จ สร้า งสรรค์ ที่จั ด ตั ้ง ขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ.2561 และได้ กาหนดคาจากัดความของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เรียกอีกชื่อ หนึ่งว่า “อุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์” ซึ่ งตามกรอบแนวคิด ของ UNCTAD อุ ตสาหกรรมสร้า งสรรค์ จะหมายรวมถึ ง วงจรของการสร้ า ง (Creation) การผลิ ต (Production) และการจั ด จ าหน่ า ยกระจาย (Distribution) สิ น ค้ า และ บริ การที่ ใ ช้ ค วามสร้ า งสรรค์ (Creativity) และทุ น ทางภู มิ ปั ญญา (Intellectual Capital) เป็ น ปั จจั ย พื้ น ฐานหลั ก (Primary Inputs) ส าหรั บ อุ ตสาหกรรมสร้ า งสรรค์ ใ นประเทศไทย จะประกอบด้วย 15 สาขาสร้างสรรค์ ได้แก่ 1) งานฝี มือและ หัตถกรรม 2) ดนตรี 3) ศิ ลปะการแสดง 4) ทัศนศิ ลป์ 5) ภาพยนตร์ 6) การแพร่ภาพและกระจายเสียง 7) การพิมพ์ 8) ซอฟต์แวร์ 9) การโฆษณา 10) การออกแบบ 11) การ ให้บริการด้านสถาปั ตยกรรม 12) แฟชัน่ 13) อาหารไทย 14) การแพทย์แผนไทย และ 15) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

icn 4

โดยในปั จจุ บั น อุ ตสาหกรรมสร้ า งสรรค์ เ กื อ บ ทุ กประเภทกิ จ การใน 15 สาขา ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม การ ลงทุนจากส านักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุ น หรือ บีโ อไอ ทั ้งอุ ตสาหกรรมการผลิต และภาคบริการ โดยบีโอไอได้มีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขการลงทุนให้ทันสมัย มากขึ้ น เพื่ อ รองรั บ ตามสถานการณ์ แ ละเทรนด์ ก าร ลงทุนที่เกิดขึน้ เช่ น การให้สิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิ ติ บุ คคล กั บ ผู ้ ล งทุ น ที่ มี ก าร ท าวิ จั ย แล ะพั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ร้ า งสรรค์ หรื อ การให้ สิ ท ธิ พิ เ ศษในบาง ประเภทกิจการแก่กลุ่มผู ้ประกอบการเอสเอ็มอีท่ีลงทุ น ในอุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ เป็นต้น อุ ตสาหกรรมสร้างสรรค์ท่ีได้รับส่งเสริมการลงทุน จากบีโอไอ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ประกอบด้วย

1. กลุ่ม อุ ตสาหกรรมสร้า งสรรค์ ได้แ ก่ กลุ่ ม ประเภทกิจการผลิตเส้นใย ผลิตด้าย การฟอกย้อมหรือ พิม พ์ แ ละแต่ ง สาเร็ จ ผลิ ต เครื่ อ งนุ่ง ห่ ม และเคหะสิ่ ง ทอ กิจการผลิตกระเป๋ าหรือรองเท้า ผลิตเครื่องกีฬา ผลิต เครื่องดนตรี ผลิตเครื่องเรือน ผลิตของเล่น ผลิตอัญมณี และเครื่องประดับหรือชิ้นส่วน กิจการบริการออกแบบ และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ชิ ง สร้ า งสรรค์ กิ จ การผลิ ต สิ่งพิมพ์ดิจิทัล และผลิตสิ่งพิมพ์ทั่วไป กิจการนิคมหรือ เขตอุ ตสาหกรรมภาพยนตร์ กิจการสร้างภาพยนตร์ไทย และกิจการบริการแก่ธุรกิจสร้างภาพยนตร์


2. กลุ่มอุ ตสาหกรรมดิจิทัล ได้แก่ กลุ่มประเภท กิจการพัฒนา Embedded Software พัฒนา Enterprise Software และ/หรือ Digital Content กิจการพัฒนา ซ อ ฟต์ แว ร์ ท่ี สร้ าง มู ล ค่ า เพิ่ มสู ง กิ จ กา ร พ าณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ กิจการให้ บริการเทคโนโลยีดิ จิทัล บริการ วงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงระหว่างประเทศภาคพืน้ นา้ กิ จ การนิ คมหรื อ เขตดิ จิ ทั ล นิ คมหรื อ เขต Data Center กิจการศูนย์บ่มเพาะด้านนวัตกรรม กิจการ Maker Space หรือ Fabrication Laboratory กิจการ Co-Working Space และกิจการ Cloud Service

3. กลุ่ ม อุ ตสาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว ได้ แ ก่ กลุ่ ม ประเภทกิจการเรือเฟอร์ร่ี หรือเดินเรือท่องเที่ยวหรือให้เช่ า เรือท่องเที่ย ว กิจการบริการที่จอดเรือท่องเที่ย ว กิจการ สวนสนุ ก กิ จ การศู น ย์ แ สดงศิ ล ปวั ฒ นธรรมหรื อ ศู น ย์ ศิ ล ปหั ต ถกรรมไทย กิ จ การสวนสั ต ว์ เ ปิ ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สนามแข่ ง ขั น ยานยนต์ กิ จ การกระเช้ า ไฟฟ้ าหรื อ รถราง ไฟฟ้ าเพื่อการท่องเที่ยว กิจการท่าเรือท่องเที่ยวขนาดใหญ่ กิจการสร้างแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ท่ีมีคุณภาพ กิจการ โรงแรม หอประชุ มขนาดใหญ่ และกิจการศูนย์แสดงสินค้า นานาชาติ

FAQ 108

โดยทุกประเภทกิจการใน 3 กลุ่มนีไ้ ด้รับการส่งเสริม การลงทุน และอยู ่ภายใต้ การดู แลโดยกองส่ง เสริ มการ ลงทุน 4 “อุ ตสาหกรรมดิจิทัล สร้างสรรค์และบริการที่ มี มู ล ค่ า สู ง ” ของบี โ อไอ ซึ่ ง เป็ น กองที่ ไ ด้ รั บ การปรั บ โครงสร้ า งใหม่ เ มื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2563 เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ให้ อุ ตสาหกรรมนี้มี ค วามชัด เจนมากยิ่ ง ขึ้น โดยผู ้ ไ ด้ รั บ ส่งเสริมการลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล ตัง้ แต่ 3-8 ปี (แล้วแต่กรณีและเงื่อนไข) เช่ น กิ จ การผลิ ต เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม เครื่ อ งประกอบการ แต่งกายและเคหะสิ่งทอ ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล 3 ปี โดยมี เ งื่ อ นไขต้ อ งมี การลงทุ น ด้ า นการวิ จั ย หรื อ ออกแบบหรื อ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ นอกจากนี้ ในบาง ประเภทกิจการอาจจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้น ภาษี เงินได้นิติบุคคล แต่จะได้รับสิทธิประโยชนอื่นๆ แทน และมีเงื่อนไขลดหย่อนพิเศษสาหรับเอสเอ็มอีด้วย ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจอุ ตสาหกรรมสร้ า งสรรค์ สามารถดู ร ายละเอี ย ดได้ ท่ี https://www.boi.go.th/ upload/ejournal/2021/01/index.html#p=1 หรื อ สอบถามเพิ่ ม เติ ม กองส่ ง เสริ ม การลงทุ น 4 โทรศัพท์ 0 2553 8214

ข้อมู ลจาก: https://www.boi.go.th/upload/ejournal/2021/01/index.html#p=1 https://www.tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/QM153_P107-111.pdf ภาพจาก: https://sites.google.com/site/gkgjk3/pra-pheth-khxng-ehe-lng-thxng-theiywcheing-wathnthrrm https://ipc3.dip.go.th/th/category/2016-09-27-04-24-01/2018-01-31-02-38-41 https://bit.ly/3svkSAn

คา ถ า ม กั บ ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น w w w.f a q 1 0 8 . c o .t h

แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ นรู ป แบบกระดานสนทนา (Webboard)

ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ งาน BOI และ IC แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น 5 icn


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29

สมัครใช้ บริการ eMT

ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online

ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พิมพ์ใน ระบบ eMT Online

สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร

ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร

BOI Approve 30 วัน

7 วัน 30-60 วัน 7 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

เป็นเรื่อง ติดต่อ...

ยุงยาก

IC

สา ห รั บ คุ ณ

บริการคีย์ข้อมูล

ทธิและประโยชน์ COUNTER งานสิ ด้านเครื่องจักร

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th


การขอขยายเวลา นาเข้ า วั ต ถุ ดิ บ

ผ่ า นระบบ IC

Online System กฤตยา วิ ชั ย ดิ ษ ฐ์ kittayad@ic.or.th

IC Focus ฉบั บ นี้ มี เ รื่ อ งส ำคั ญ อี ก หนึ่ ง เรื่ อ งที่ จ ะ นำมำเล่ำสู่กันฟัง คือ กำรขอขยำยระยะเวลำนำเข้ำวัตถุดบิ ซึ่ ง เป็ น ที่ ท รำบและปฏิ บั ติ กั น ต่ อ เนื่ อ งอยู ่ แ ล้ ว ว่ ำ กำรขอ ขยำยระยะเวลำนำเข้ำวัตถุดิบนัน้ ปั จจุ บันบริษัทสำมำรถยื่น ค ำ ข อ ข ย ำ ย ร ะ ย ะ เ ว ล ำ น ำ เ ข้ ำ วั ต ถุ ดิ บ ด้ ว ย ร ะ บ บ อิ เ ล็ กทรอนิ กส์กับ สำนั กงำนคณะกรรมกำรส่งเสริ ม กำร ลงทุ น (บี โ อไอ) ได้ ล่ ว งหน้ ำ ไม่ เ กิ น 3 เดื อ นก่ อ นสิ้น สุ ด ระยะเวลำน ำเข้ ำ วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ ำเป็ น และต้ อ งไม่ เ กิ น 6 เดือน นับแต่วันสิน้ สุดระยะเวลำนำเข้ำวัตถุดิบและวัสดุ จ ำเป็ น ซึ่ งระบบดั ง กล่ ำ วได้ เ ปิ ดให้ บ ริ ก ำรตั ้ ง แต่ วั น ที่ 1 เมษำยน 2562 เป็นต้นมำ (ตำมประกำศของสำนักงำน คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน ที่ ป.5/2562 เรื่ อง วิ ธี ปฏิบัติในกำรขยำยระยะเวลำนำเข้ำวัตถุดิบและวัสดุจำเป็น เพื่อใช้ ในกำรผลิตเพื่อกำรส่งออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์) ส ำหรั บ เงื่ อ นไขในกำรขอขยำยระยะเวลำน ำเข้ ำ วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ ำเป็ น บริ ษั ท ผู ้ ใ ช้ บ ริ กำรคงทรำบกั น ดี แล้ ว ว่ ำ โครงกำรที่ ข อขยำยนั ้น จะต้ อ งไม่ มี ใ บขนสิ น ค้ ำ ขำออกที่ มี อ ำยุ เกิ น 1 ปี คงค้ ำ งหรื อ ยั ง ไม่ ไ ด้ ตั ด บั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ ส ำนั ก งำนฯ จึ ง จะพิ จ ำรณำอนุ มั ติ ใ ห้ ข ยำย ระยะเวลำนำเข้ำวั ตถุ ดิบได้ ซึ่ งระบบจะท ำกำรตรวจสอบ ข้อมู ลกับฐำนข้อมู ลของสมำคมว่ำมีใบขนสินค้ำขำออกที่มี อำยุ เกิน 1 ปี หรือไม่ หำกมีใบขนสินค้ำขำออกที่มีอำยุ เกิน 1 ปี ระบบจะท ำกำรกวำดข้ อ มู ล ดั ง กล่ ำ วให้ บ ริ ษั ท เพื่ อ น ำไป แจกแจงสถำนะกำรใช้ สิทธิ์ส่งเข้ำระบบ IC Online System ที่เมนู “ส่งข้อมู ลยื่นควำมจำนงกำรใช้ ใบขนสินค้ำตัดบัญชี ” เพื่อจัดเก็บเป็นฐำนข้อมู ล โดยระบบกำหนดให้แบ่งสถำนะ ของใบขนสินค้ำดังกล่ำวออกเป็น 3 สถำนะด้วยกัน คือ สถำนะ 1 หมำยถึ ง ใบขนสิ น ค้ ำ ฉบั บ นี้จ ะท ำกำร ตัดบัญชีวัตถุดิบในโครงกำรที่ขอขยำยระยะเวลำ สถำนะ 2 หมำยถึ ง ใบขนสิ น ค้ ำ ฉบั บ นี้ จ ะน ำไป ตัดบัญชีวัตถุดิบในโครงกำรอื่น (ระบุ รหัสโครงกำร) สถำนะ 3 หมำยถึง ใบขนสินค้ำฉบับนีไ้ ม่ขอใช้ สิทธิ์

นั่ น หมำยควำมว่ ำ ในช่ วงระยะเวลำดั ง กล่ ำ วที่ ระยะเวลำยังไม่สนิ้ สุดสิทธิ์ บริษัทจะต้องเร่งนำใบขนสินค้ำ ขำออกที่ มี อ ำยุ เกิ น 1 ปี ที่ ไ ด้ ยื่ น ควำมจ ำนงเอำไว้ ม ำ ตัดบัญชีให้แล้วเสร็จ สำนักงำนฯ จึงจะพิจำรณำขยำย ระยะเวลำให้ ปั จจุ บันพบว่ำ ใบขนสินค้ำที่บริษัทยื่นควำมจำนง ที่จะนำไปใช้ สิทธิ์ตัดบัญชี วัตถุดิบในโครงกำรอื่น หรือที่ ระบุ สถำนะใบขนสินค้ำเป็น 2 นัน้ เมื่อครบกำหนดกำรขอ ขยำยระยะเวลำของโครงกำรดังกล่ำวปรำกฏว่ำ บริษัทไม่ สำมำรถนำมำตัดบัญชีวัตถุดิบได้ตำมที่แจ้งไว้จะด้วยเหตุ อันใดก็ตำม โดยมีวิธีกำรแก้ไขคือ บริษัทจะต้องมำขอแก้ไข สถำนะของใบขนสินค้ำ เป็นกำรไม่ขอใช้ สิทธิ์ หรือ แก้ไข สถำนะจำก 2 เป็น 3 นัน่ เอง ขัน้ ตอนกำรทำงำน

1. บริษัทต้องทำหนังสือเรื่อง ขอแก้ไขสถำนะเลข ยืนยันกำรแจ้งควำมจำนงใบขนสินค้ำคงค้ำงเกิน 1 ปี 2. จัดไฟล์ข้อมู ลกำรขอแก้ไขสถำนะเลขยืนยันกำร แจ้งควำมจำนงใบขนสินค้ำคงค้ำงเกิน 1 ปี (ในรู ปของ Excel File) สำมำรถดำวน์โหลดแบบฟอร์มได้ท่ี เว็บไซต์ สมำคม www.ic.or.th >>ตำรำงยืนยันสถำนะใบขนสินค้ำ

3. สมำคมรั บ เรื่ อ งและด ำเนิ น งำนให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภำยใน 3 วันทำกำร

7 icn



ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ ง ปลายนิ้ ว คุ ณ

@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ

Add friends

ที่ สาคั ญ ... ตอบทุ ก ข้ อ สงสั ย ของคุ ณ ในทุกงานบริการของสมาคม ด้วย LINE CHAT

IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย

ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ

อย่ า ลื ม ... บอกต่ อ และแนะนาเพื่ อ นเข้ า มาด้ ว ยกั น นะ !!


พลังงานทางเลือก เทคโนโลยีไฟฟ้าทางรอด (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว chamluck@gmail.com

และยังมีข้อจากัดอื่นๆ อีกมากมาย ในงานด้านอุ ตสาหกรรม และงานด้านการ ขนส่งจึงใช้พลังงานจากฟอสซิ ลเป็นหลัก อุ ปกรณ์มากมายหลายอย่างแม้ว่าจะใช้ รูปแบบพลังงานเป็นไฟฟ้ าก็ตาม แต่การผลิตไฟฟ้ าส่วนใหญ่ในอดีตก็ยังผลิตมา จากถ่านหิน ร่วมกับ ก๊าซธรรมชาติ พลังความร้อนใต้พิภพ และพลังนา้ จาก เขื่อน แต่พลังงานทางเลือกอย่าง พลังงานลม แสงอาทิตย์ และชีวภาพก็เริม่ ได้รับ ความนิยมมากขึ้น เทคโนโลยี ทันสมัยขึ้น และต้ นทุนถูกลง ในอนาคตพลังงาน ทางเลือกที่ใช้ ในการผลิตไฟฟ้ าจะเริ่มมีบทบาทมากขึ้น จากความต้องการใช้ ไฟ ที่สูงขึน้

พั ฒ นาการของเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า

โดยพืน้ ฐานของการเพาะปลูกพืช ใดๆ ก็ ต าม องค์ ป ระกอบส าคั ญ ที่ ท าให้ พื ชเจริ ญ เติ บโตก็ คื อ แสง (พื ช แต่ ละชนิ ดจะตอบสนองต่ อความยาว คลื่นแสงไม่เท่ากัน และในปริมาณความ เข้ ม ที่ ไ ม่ เ ท่ า กั น ) น ้ า (เมื่ อ กล่ า วถึ ง พลั งงานที่ มี การใช้ งานกันมากในอดี ต จนถึ ง ปั จจุ บั น จะมี พ ลั ง งานที่ มี ต้ น กาเนิดจาก 2 รูปแบบหลักคือ พลังงาน จากฟอสซิล ไม่ว่าจะเป็นก๊าซหรือนา้ มัน ที่ต้องมีการสารวจและขุ ดเจาะขึน้ มาใช้ งาน และพลังงานที่ไม่ใช่ ฟอสซิ ล ซึ่ งมักเรียก กั นว่ า พลั งงานทางเลื อ ก เนื่ องจาก ผลิตได้น้อย ประสิทธิภาพการใช้ งานตา่ กั ก เก็ บ ใช้ งานไม่ ไ ด้ น าน ต้ น ทุ น สู ง icn 10

ในวันที่โลกต้องจัดหาแหล่งพลังงานต่างๆ มาให้เพียงพอต่อความต้องการ ของผู ้บริโภคที่มีปริมาณการใช้ พลังงานเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เทคโนโลยีใหม่ๆ จึง ถูกนามาคิดค้นเพื่อช่ วยแก้ปัญหาเรื่องนี้ โดยการพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้ า ดัง้ เดิมเปลี่ยนเป็นระบบโครงข่ายไฟฟ้ าจากพลังงานผสม ด้วยการรวมพลังงาน ทางหลัก(เดิม)ผสมร่วมกับพลังงานทางเลือก ซึ่ งนับวันมีการพัฒนาเทคโนโลยี ให้มีประสิทธิภาพสูงขึน้ ด้วยต้นทุนการผลิตที่ตา่ ลง ตัวอย่างที่เห็นชัดและมีการ ผลิตในเชิงอุ ตสาหกรรมคือ พลังงานจากแสงอาทิตย์ หรือ “ไฟจากฟ้ า” แต่เดิมจะ z มีอยู ่ 2 ระบบใหญ่ๆ คือ Off-grid system และ On-grid system และมีการ พัฒนาระบบต่อเนื่องให้ตอบโจทย์ความต้องการใช้ ไฟที่มีความหลากหลายมากขึ้น เป็น ระบบผสม (Hybrid system) หรือเป็นระบบที่มีการจัดการชาร์จและใช้ ไฟให้ มีประสิทธิภาพมากขึน้ จากหลายแหล่งพลังงานที่เรียกว่า Smart grid system Off-grid system ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากแสงอาทิตย์ที่ไม่ต้องยุ ่งเกี่ยวกับ ระบบไฟบ้านที่มาจากการไฟฟ้ า เหมาะสาหรับครัวเรือนที่อยู ่ในพื้นที่ที่สายส่ง การไฟฟ้ าไปไม่ถึง ไร่นา สวน ถิน่ ทุรกันดาร เขตพืน้ ที่ที่ระบบไฟฟ้ าไม่เสถียรมีไฟ ติดดับบ่อยครัง้ โดยแผงโซลาร์เซลจะทาหน้าที่แปลงพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้ กลายเป็นไฟฟ้ ากระแสไฟตรง (Direct current – DC) ต่อผ่าน Charging Controller เพื่ อ ท าหน้ า ที่ ป ระจุ ไฟเข้ า แบตเตอรี่ ทั ้ง นี้ผู้ ใ ช้ ง านสามารถดึ ง ไฟ DC จาก แบตเตอรี่ไปใช้ได้โดยตรง ในกรณีที่อุปกรณ์ไฟฟ้ าในบ้านเป็นแบบใช้ไฟ DC ไม่ว่าจะเป็น 12 Vdc หรือ 24 Vdc ซึ่ งปั จจุ บันมีอุปกรณ์ให้เลือกใช้ จานวนมาก หรือจะแปลง จากไฟ DC เป็นไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternative current – AC) หรือไฟ 220 Vac ที่เราใช้กันปกติทวั่ ไปในบ้าน กับอุ ปกรณ์เสียบปลัก๊ บางส่วน เช่ น พัดลม โทรทัศน์ หม้อหุงข้าว ตู้เย็น เป็นต้น แม้ว่าแผงโซลาร์เซลจะมีอายุ การใช้ งานมากกว่า 20 ปี แต่ข้อเสียของระบบนีค้ ือต้องใช้ แบตเตอรี่จานวนมาก อีกทัง้ แบตเตอรี่มีอายุ การ ใช้งานสัน้ ประมาณ 2-3 ปี ทาให้ต้องมีค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแบตเตอรี่บ่อยครัง้


<<ที่ ม ารู ป ภาพ https://cmajortechnology.com/โซล่าแซลล์ /

On-grid system ระบบผลิ ต ไฟฟ้ าแบบผสมไฟกั บ สายส่งของการไฟฟ้ า การผลิตไฟฟ้ าจากแสงอาทิตย์ในแบบนี้ แผงโซลาร์เซลยังคงทาหน้าที่แปลงแสงอาทิตย์ให้กลายเป็น ไฟฟ้ ากระแสตรง ต่ อ ตรงเข้ า Grid Tie Inverter (โดยไม่ จาเป็นต้องผ่าน Charging controller) ซึ่ งจะทาหน้าที่แปลง ไฟฟ้ ากระแสตรง DC เป็นไฟฟ้ ากระแสสลับ AC และเชื่อมต่อ เข้ า กั บ ระบบไฟฟ้ าในบ้ า นที่ ม าจากสายส่ ง ของการไฟฟ้ า ดังนั น้ การใช้ ไ ฟฟ้ าภายในบ้า นก็จ ะใช้ ไฟที่ม าจากสองแหล่ ง ทาให้ มิ เตอร์ไ ฟบ้า นวิ่ง ช้ าลงเพราะมีไ ฟจากแสงอาทิ ตย์ ม า ช่ วยแบ่งเบา ซึ่ งก็จะทาให้ค่าไฟต่อเดือนลดลงตามขนาดของ On-grid ที่แต่ละครัวเรือนลงทุนติดตัง้ ระบบแบบนีเ้ หมาะกับ ครัวเรือนที่มีการใช้ ไฟในตอนกลางวันจานวนมาก ไม่เหมาะ กั บ บ้ า นที่ ก ลางวั น ไม่ มี ค นอยู ่ เพราะไม่ มี แ บตเตอรี่ กั ก เก็ บ พลังงานไปใช้ ในตอนกลางคืน แต่ก็ทาให้มีต้นทุนการติดตัง้ ที่ ค่อนข้างถูก และคืนทุนได้เร็ว

Smart grid system ระบบสมาร์ ท กริ ด คื อ ระบบโครงข่ า ยไฟฟ้ าอั จ ฉริ ย ะแบบครบวงจร โดยใช้ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ทาหน้ า ที่ ส่ ง ไฟฟ้ าจากผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร ไปยั ง ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารด้ ว ยระบบการสื่ อ สารสองทาง เพื่ อ ควบคุ ม เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ าในแต่ ล ะครั ว เรื อ น ซึ่ ง จะช่ วย ให้ ส ามารถบริ ห ารการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ าได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยบริ ษ ั ท ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบส่ ง จ่ า ย ไฟ ฟ้ า ส ม า ร์ ท ก ริ ด ได้ พ ั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม พ ร้ อ ม กั บ ติ ด ตั ้ง อุ ปกรณ์ ที่ ส ามารถตรวจสอบการใช้ ไ ฟฟ้ าได้ ตามเวลาจริ ง ไว้ ที่ แ ต่ ล ะครั ว เรื อ นว่ า มี ก ารใช้ ไ ฟฟ้ าไป เท่ า ไร จุ ดไหนใช้ ม ากน้ อ ยอย่ า งไร เพื่ อ ช่ วยคานวณ การจ่ า ยกระแสไฟฟ้ าของเมื อ ง ช่ วยให้ ก ารจ่ า ย กระแสไฟฟ้ ามี ค วามเสถี ย ร ลดปั ญ หาไฟดั บ ในช่ วงที่ ม ี ก า ร ใ ช้ ไ ฟ ส ู ง ทั ้ง ย ั ง ท า ใ ห ้ ผู ้ ใ ช้ ส า ม า ร ถ เ ห ็ น พฤติ ก รรมและสามารถปรั บ ลดการใช้ พ ลั ง งานของ ตั ว เองได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ทั ้ง นี้ร ะบบโครงข่ า ยไฟฟ้ าอั จ ฉริ ย ะเป็ น การน า เทคโนโลยี ห ลายประเภทเข้ า มาท างานร่ ว มกั น ซึ่ ง ครอบคลุมการประยุ กต์เทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่ ของระบบ ไฟฟ้ า เริ่ ม ตั ้ง แต่ ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า การส่ ง ไฟฟ้ า การ จาหน่ายไฟฟ้ า ไปจนถึงผู ้บริโภค คือ ผู ้ใช้ ไฟฟ้ าทัว่ ไปที่ เป็ น ภาคครั ว เรื อ น ภาคอุ ตสาหกรรม ภาคธุ รกิ จ และ พาณิ ช ย์ ภาคการขนส่ ง เป็ น ต้ น สมาร์ ท กริ ด จะท า หน้าที่ส่งไฟฟ้ าจากผู ้ให้บริการไปยังผู ้ใช้ บริการด้วยระบบ การสื่อสารสองทาง หรือก็คือการออกแบบให้มีการไหล ของกระแสไฟฟ้ าแบบสองทิศทาง เพื่อให้สามารถบริหาร จัดการและแลกเปลี่ยนข้อมู ลระหว่างกัน รวมถึงควบคุม เครื่องใช้ไฟฟ้ าของบ้านผู ้ใช้ บริการให้ใช้ พลังงานไฟฟ้ าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

<<ที่มารูปภาพ http://www.nt-energysolutions.com/Article/Detail/101927

<<ที่มารูปภาพ www.sdelcc.com/fields/energy/smart-grid/ 11 icn


ในเอเชีย ประเทศเกาหลีใต้ มีความพยายามอย่างมาก ในการลดการใช้ เชื้อเพลิงนา้ มัน ซึ่ งเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้ เกิดก๊าซเรือนกระจก และส่งผลให้เกิดสภาวะโลกร้อน ที่ทาให้ สภาพภู มิ อ ากาศทั่ว โลกแปรปรวนในปั จ จุ บั น นอกจากนี้ รั ฐ บาลเกาหลี ใ ต้ ยั ง เล็ ง เห็ น ว่ า ในอนาคตน ้า มั น ก าลั ง จะ หมดลงและมี ร าคาสู ง มากขึ้ น จึ ง มี ค วามพยายามน า พลังงานทดแทนอื่นๆมาผสมผสานใช้ และเร่งพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพและความมั่งคงด้านพลังงาน อาทิ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และเนื่องจากสภาพอากาศในแต่ละวัน ของเกาหลี ใ ต้ มี ล มแรงอย่ า งสม่า เสมอ มี แ สงแดดแรงและ ยาวนาน จึ ง มี ก ารติ ด ตั ง้ กั ง หั น ลมในจุ ดที่ มี ก ระแสลมแรง เพื่ อ น ามาผลิ ต เป็ น กระแสไฟฟ้ า นอกจากนี้ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ แต่ละบ้านรวมถึงบริษัทห้างร้านต่างๆ ติดตัง้ แผงโซลาร์เซล เพื่อนาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้ าใช้เอง เกาะเชจู เกาะทางใต้และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของเกาหลีใต้ เป็ นจั ง หวั ด ที่มี ก ารปกครองตนเองในรู ป แบบเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษเฉพาะ หรื อ ที่ รู้ จั ก กั น เป็ นการทั่ ว ไปว่ า the Jeju Special Self-Governing Province นอกจากนั ้น เกาะนี้ยั ง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ เมื่อเดือน มิ ถุ น ายน 2007 โดยองค์ ก ารศึ กษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations, Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) อันเนื่องมาจากการประทุของลาวาจากภูเขาไฟในอดีต ทาให้ เกิดภูมิทัศน์ทางธรณีวิทยาของชัน้ หินธรรมชาติที่แปลกตา และมีความหลากหลายทางชีวภาพมากแห่งหนึ่งในโลก นอกจากเกาะเชจู จะเป็นสถานที่ยอดฮิตในการไปท่องเที่ยว ตากอากาศแล้ว ที่นี่ยังเป็นเกาะต้นแบบที่มีการใช้ ระบบโครงข่าย ส่งไฟฟ้ าอัจฉริยะ (Smart Grid) แห่งแรกของเกาหลีมาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2009 โดยการลงนามสัญญาเบือ้ งต้นระหว่างกระทรวง พลั ง งานของสหรั ฐ อเมริ ก าและเกาหลี โดยใช้ เงิ น ลงทุ น ใน โครงการนาร่องแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2013 มีมูลค่ารวม 249.3 พั น ล้ า นวอน (หรื อ ประมาณ 218.7 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ) นอกจากนั ้นยั งมอบหมายให้ The Ministry of Knowledge Economy เป็นผู ้รับผิดชอบจัดทาแผนงานที่เรียกว่า “Smart Grid National Roadmap” เพื่อให้ smart grid มีผลใช้ งานได้ ทั่ว ประเทศในปี ค.ศ. 2030 โดยแบ่ ง ยุ ทธศาสตร์ อ อกเป็ น 5 ส่ ว นได้ แ ก่ (1) Smart Place (2) Smart Transportation (3) Smart Renewable (4) Smart Power Grid และ (5) Smart Electricity Services โดยมี กลุ่ มธุ รกิจร่วมร่ วมทุ นเข้ า มาร่ วมพั ฒ นาในแต่ ล ะยุ ทธศาสตร์ ระบบใหม่ นี้ จ ะช่ วยลด ปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจก ช่ วยให้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ รั บ ข้ อ มู ล การ ใช้ไฟฟ้ า และยังได้รับการเตือนการใช้ไฟฟ้ าในช่ วงพีคโหลดด้วย icn 12

การส่ ง เสริ ม การน าแผงโซลาร์ เ ซลมาติ ด ตั ้ง เพื ่ อ ให้ แ ต่ ล ะบ้ า นสามารถผลิ ต กระแสไฟฟ้ าได้ เ อง พร้ อ มกั บ อุ ปกรณ์ สาคั ญ ในระบบอื่ น ๆ ที่ จ ะช่ วยในการ แสดงผลและติ ด ตามการใช้ ไ ฟฟ้ าภายในบ้ า น ในช่ วงทศวรรษที่ผ่านมามีคณะทางานจากหลาย หน่วยงานของไทย เดินทางไปศึ กษาดูงานที่เกาะเชจู และ ชมการสาธิ ต การท างานของระบบที่ Smart Grid Information Center โดยมี เ จ้ า หน้ า ที่ อ านวยความ สะดวกและอธิ บ ายกลไกการท างาน โดยเฉพาะบ้ า น อั จ ฉริ ย ะที่ ส ร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น การบริ ห าร จัด การพลั งงานไฟฟ้ าในครัว เรื อ น โดยติด ตัง้ อุ ปกรณ์ ควบคุ ม และเชื่ อ มต่ อ กั บ ระบบสมาร์ ท กริ ด ซึ่ ง สามารถ กาหนดได้ว่าจะใช้เครื่องไฟฟ้ าชิน้ ใดในบ้านเมื่อใด สามารถ ตั ง้ เวลาให้ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ าท างานในเวลาต่ า งๆได้ ต าม ต้องการ โดยระบบจะตัดไฟและจ่ายไฟตามเวลาที่ตัง้ ไว้ได้ อย่ า งอั ต โนมั ติ ช่ วยให้ ป ระหยั ด ค่ า ไฟฟ้ าได้ เป็ น อย่ า งดี ซึ่ งหน่วยงานการไฟฟ้ าของไทยได้นาแนวคิดดังกล่าวมา ทาเป็นโครงการทดลองในหลายพืน้ ที่ของไทย

<<ที่มารูปภาพ http://icities4greengrowth.in/casestudy/jeju-islandsmart-grid-test-bed-jeju-south-korea

ตัว อย่ างของไทยจากแผนการพั ฒนาเมือ งด้ วย ระบบโครงข่ายพลังงานอัจฉริยะล่าสุด โดยความร่วมมือ ของ 3 การไฟฟ้ า คื อ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต (น า เทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน energy storage มาใช้ ร่วมกับ 7 เขื่ อ นพลั ง น า้ ระบบส่ ง ไฟฟ้ าและเชื่ อ มต่ อ ไฟฟ้ าแบบ ยืดหยุ ่น) การไฟฟ้ านครหลวง (ปรับปรุ งระบบบริการเพื่อ รองรั บ การใช้ ไ ฟที่ เ พิ่ม ขึ้น ) และการไฟฟ้ าส่ ว นภู มิ ภ าค (ลงทุ น พั ฒ นาโซลู ช นั่ และแอปพลิ เ คชัน ใหม่ เ พื่ อ รองรั บ ไฟฟ้ ารู ป แบบดิ จิ ทั ล ที่ จ ะท าให้ ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ าสามารถรั บ รู้ ข้ อ มู ลเรี ยลไท ม์ ผ่ า น กา ร ติ ดตั ้ ง มิ เต อ ร์ อั จ ฉริ ยะ Smart meter) ร่วมกับภาคเอกชนลงทุนพัฒนาให้สอด รั บ แ ผ น พั ฒ น า ต า ม ก า ลั ง ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า ห รื อ พี ดี พี ใ หม่ ข องส านั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวงพลังงาน เพื่อเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุ นเวียน 15 % เข้ า ระ บบต าม ทิ ศ ท างกา ร อนุ รั ก ษ์ พลั ง งา น


และจัดทาเป็นแผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่าย สมาร์ ท กริ ด 4 ระยะ ได้ แ ก่ ระยะเตรี ย มการ (ปี พ.ศ. 2558-2559) ระยะสัน้ (ปี พ.ศ. 25602564) ระยะปานกลาง (ปี พ.ศ. 2565-2574) และ ระยะยาว (ปี พ.ศ. 2575-2579) เพื่ อ เป็ นกลไก สาคัญที่จะพัฒนาสู่ระบบโครงข่ายไฟฟ้ าที่มั่นคง และเพียงพอ สนองตอบความต้องการใช้ ไฟฟ้ าที่ เพิ่มขึ้นจาก พืน้ ที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวั น ออก (EEC) และการเปลี่ ย นโครงสร้ า ง อุ ตสาหกรรมการผลิตยานยนต์จากระบบสันดาป ที่ใช้ นา้ มันมาเป็นยานยนต์ไฟฟ้ า

ปั จ จั ย สาคั ญ ที่จ ะท าให้ ร ะบบสมาร์ ท กริ ดเกิ ด ขึ้น เป็ น เพราะแนวโน้ ม ในธุ รกิ จ ไฟฟ้ าของโลกเบนเข็ ม มาที่ ก ารใช้ พลั ง งานสะอาด จากพลั ง งานลม พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ พลังงานจากชีวมวล อีกทัง้ ผู ้ใช้ไฟฟ้ ายังสามารถผลิตไฟฟ้ า ขึน้ ใช้ เองได้ด้วย เมื่อครัวเรือนสามารถผลิตไฟฟ้ าได้เกินจาก การใช้ งานก็สามารถส่งขายคืนระบบกลับไปให้หน่วยงานด้าน การไฟฟ้ าของรัฐหรือบริษัทผู ้ให้บริการไฟฟ้ าได้ ซึ่ งสิ่งนีพ ้ บ เห็ น ได้ ใ นประเทศไทย แต่ ยั ง ขาดการบริ ห ารจั ด การที่ ดี พ อ ทาให้ไม่สามารถจัดสรรพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ ในระบบใน เวลาช่ วงที่มีความต้องการใช้ ไฟฟ้ าสูง ระบบสมาร์ทกริดนี้ เข้ามาช่ วยจัดการการผลิต จัดเก็บ และจัดสรรพลังงานได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ฉะนั ้น ไม่ เ พี ย งประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย แ ต่ ร ะ บ บ นี้ ยั ง มุ ่ ง เ น้ น ไ ป ใ น ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ก า ร จัดการพลังงานทดแทนด้วย

<<ที่มารูปภาพ: สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

13 icn



มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สมาคมสโมสรนักลงทุน จัดประชุมใหญ่สามัญ

ประจาปี 2564 <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด “ประชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ประจ าปี 2564” เมื่ อ วั น ที่ 15 มีนาคม 2564 ณ ห้องสุขุมวิท 1, 2 โรงแรม เจ ดั บ บลิ ว แมริ อ อท กรุ งเทพมหานคร เพื่ อ รายงานผลการดาเนินงานของสมาคม ประจาปี 2563 และชี้ แ จงแผนงานประจ าปี 2564 ให้ สมาชิกสมาคมรับทราบ คุ ณ จั ก รมณฑ์ ผาสุ ก วนิ ช นายก สมาคมเป็ น ประธานการประชุ ม ร่ ว มด้ ว ย คณะกรรมการสมาคม โดยมี สมาชิ กเข้าร่วม ประชุ มเพื่ อ รั บ ฟั ง และแสดงความคิ ด เห็ น รวมถึงการเลือกสรรคณะกรรมการสมาคม สโมสรนักลงทุนชุ ดใหม่ ประจาปี 2564-2566 ตลอดจนการให้ ข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ สาหรับนาไปใช้ ในการพัฒนางานบริการต่างๆ ของสมาคมให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับ ความต้ องการของสมาชิ กและผู ้ ใช้ บริ การได้ อย่างครบวงจรในอนาคต

15 icn


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

บริการให้คาปรึกษา แบบ One

On One Training

เคลี ย ร์ ลึ ก ทุ ก ประเด็ น ปั ญ หา เฉพาะรายบริ ษั ท <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดกิจกรรมบริการให้คาปรึกษาแบบ One on One Training บริการใหม่สาหรับบริษัท ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารที่ ต้ อ งการค าปรึ ก ษารายบริ ษั ท เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารใช้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น การคี ย์ ข้ อ มู ล ในระบบงานต่างๆ เป็นการสอนแบบกลุ่มที่เข้าถึงและสร้างความเข้าใจได้ง่าย ภายใต้การจัดกิจกรรมวิถีปกติใหม่ ตรวจวัด ไข้ ใส่หน้ากาก เว้นระยะห่าง ตามมาตรการป้ องกันโควิด-19 โดยจัดขึน้ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 ณ สมาคมสโมสรนักลงทุน กิจกรรมครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณนิรินทร ศักดิเศรษฐ์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และวิทยากรจาก สมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหวั ข้อสาคัญ อาทิ การขออนุมัติสงั่ ปล่อยและตัดบัญชีวัตถุดิบ ผ่าน ระบบ IC Online การสั่งปล่อยใช้ ธนาคารคา้ ประกัน การสั่งปล่อยถอนการใช้ ธนาคารคา้ ประกัน การสั่งปล่อยขอคืนอากร ยกเลิกสั่งปล่อยวัตถุดิบทุกประเภท การตัดบัญวัตถุดิบแบบปกติ การตัดบัญชีวัตถุดิบแบบโอน Vendor ตัดบัญชีแบบ วัตถุดิบใบขนสินค้าขาออกคงค้างเกิน 1 ปี นับแต่วันที่ส่งออก การตัดบัญชีวัตถุดิบเนื่องจากส่งคืนวัตถุดิบไปต่างประเทศ การยกเลิกตัดบัญชีวัตถุดิบและยกเลิกเอกสารการโอนสิทธิ์ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนสูญเสียวัตถุดิบและวัสดุจาเป็น สาหรับกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ตลอดจนผู ้เข้าร่วมกิจกรรมได้สามารถซักถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย อย่างใกล้ชิด เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ในการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ icn 16


มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

เจาะลึก การใช้งานระบบ

ฐานข้อมูล RMTS Online

<<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนา เรื่ อ ง “เจาะลึ ก การใช้ ง านระบบฐานข้ อ มู ล RMTS Online” เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 25 มี น าคม 2564 ณ โรงแรม บางแสน เฮอริ เ ทจ จ.ชลบุ รี เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเข้ า ถึ ง ทุ ก ขั ้น ตอน กระบวนการ เข้าใจหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้ งานระบบอย่างแท้จริง การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณชนินทร์ ขาวจันทร์ รองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กล่าวเปิ ดงานสัมมนา โดยมี คุณนิรินทร ศักดิเศรษฐ์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุน ระดับชานาญการ สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และ คุณชลพัชฏ์ กีรติรุ่งอนันต์ วิทยากรจากสมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากร บรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ การส่งเอกสารประกอบการพิจารณา ประเภทกิจการ Manufacturing และประเภท กิจการ IPO/ITC การขออนุมัติบัญชี รายการและปริมาณสต็อกสูงสุด การขอแก้ไขบัญชี รายการและปริมาณสต็อก สูงสุด การขอแก้ไขชื่ อรองวัตถุดิบ การขออนุมัติสูตรผลิตภัณฑ์ขัน้ ตอนและหลักเกณฑ์การกาหนดวันนาเข้าครัง้ แรกของ โครงการ และ Group_Maximport และการขออนุมัติส่งออกวัตถุดิบไปต่างประเทศ โดยระหว่างการบรรยาย วิทยากร ได้เปิ ดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้สอบถามกรณีปัญหาต่างๆ เพื่อนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์กับการปฏิบัติงาน ทัง้ นีใ้ นภาคบ่าย ผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้เข้าร่วมคลินิกไขปั ญหาและให้คาปรึกษาระบบงานสิทธิประโยชน์ด้านวัตถุดิบ และการใช้ งานระบบฐานข้อมู ล RMTS Online ซึ่ งแยกตามกองส่งเสริมการลงทุน 1-4 โดยได้รับเกียรติจาก สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และสมาคมสโมสรนักลงทุน เป็นวิทยากรให้คาปรึกษาและตอบคาถามแก่ผู้ใช้ บริการ 17 icn


Check List การปฏิบัติตนสาหรับพนักงาน ที่ต้องหยุดงานหรือกักตัวเอง เพราะโควิด-19 มยุ รี ย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ กลั บ มาอี กแล้ ว !! ซึ่ ง เป็ น ผลพวงจากคลั ส เตอร์ ใ นหลาย สถานที่ ส่งผลให้มีผู้ติดเชือ้ พุ ่งสูงขึน้ และแพร่กระจายเป็นวง กว้ า งอย่ า งรวดเร็ ว จนไม่ ว่ า ใครๆ ก็ ต ามต่ า งรู้ สึ ก ว่ า มี ความเสี่ยงที่จะติดเชือ้ ไวรัส เพราะมันมาใกล้ตัวและอยู ่ในทุก พืน้ ที่ของการใช้ ชีวิตประจาวันเลยทีเดียว ในภาวะเช่ นนี้ ผู ้ประกอบการหลายองค์กรต่างได้รับ ผลกระทบ ธุ รกิจระสา่ ระสายจนต้องมีการปรับกลยุ ทธ์การ บริ ห ารงาน การผลิ ต การบริ ก าร และการท างานของ พนักงาน โดยเฉพาะการดาเนินงานตามมาตรการป้ องกัน โควิด-19 ของทางภาครัฐที่ ประกาศให้ผู้ประกอบการและ พนักงานต้องดาเนินการ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาด โดย มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. กรณีพนักงานถูกทางภาครัฐกักตัว 14 วัน หลัง เดินทางกลับจากต่างประเทศ สาหรับพนักงานที่เดินทางไปต่างประเทศในช่ วงที่ โควิด-19 แพร่ระบาด เมื่อเดินทางกลับเข้าประเทศไทยและ ถูกหน่วยงานของภาครัฐกักตัว 14 วัน ถึงแม้จะไปทางาน ไม่ได้เพราะเป็นคาสัง่ ตามมาตรการภาครัฐ แต่นายจ้างไม่ได้ มีส่วนต้องรับผิดชอบ ลูกจ้างจึงไม่ได้รับค่าจ้างในกรณีนี้ ยกเว้นว่าบางบริษัทอาจให้ใช้ สิทธิ์ลาป่ วย หรือลาพักร้อน ลูกจ้างจึงยังคงได้รับค่าจ้างในช่ วงถูกกักตัวได้

icn 18

ก ร ณี พ นั ก ง า น มี อ า ก า ร ป่ ว ย ต้ อ ง ไ ป พบแพทย์ หากพนักงานรู้สึกป่ วย คือ มีไข้ มีอาการ ผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ หรือมีอาการใกล้เคียง กับการติดเชื้อ หลังจากเดินทางไปพื้นที่แพร่ระบาด หรื อ สั ม ผั ส ผู ้ ติ ด เชื้ อ และต้ อ งไปพบแพทย์ เพื่ อ ตรวจหาเชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -19 หรื อ ตรวจสอบว่ า เป็ น อาการจากโรคใด พนักงานสามารถใช้ สิทธิ์ลาป่ วยได้ หรือใช้ สิทธิ์ลาพักร้อนแทนได้ โดยยังคงได้รับค่าจ้าง เต็มจานวน แ ต่ ใ น ก ร ณี ที่ พ นั ก ง า น ก ลั บ ม า จ า ก ต่างประเทศแต่ไม่แ สดงอาการป่ วย หรือกรณีอยู ่ใ น ประเทศ แต่ต้องสงสัยว่าจะติดเชื้อ หากนายจ้างให้ไป ตรวจหาเชือ้ แล้วพนักงานไม่ปฏิบัติตาม แต่มาทางาน จนทาให้คนอื่นๆ มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อตามไปด้วย ถื อ ว่ า พนั ก งานท่ า นนั ้น ฝ่ าฝื นระเบี ย บ ค าสั่ ง ของ นายจ้างในกรณีร้ายแรง กรณีนี้นายจ้างมีสิทธิ์เลิ ก จ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยได้ 3. กรณี พ นั ก งานกั ก ตั ว ที่ บ้ า นเพื่ อ เฝ้ าดู อาการ 14 วัน ส าหรั บ พนั ก งานที่ ต้ อ งกั ก ตั ว ที่ บ้ า นดู อาการ 14 วัน หรือทางนายจ้างแจ้งไม่ให้มาทางาน เพราะสุ่มเสี่ยงเป็นผู ้ติดเชื้อ หรือต้องเฝ้ าระวังอาการ ซึ่ งหากพนักงานต้องการค่าจ้างเต็มจานวน อาจจะ ตกลงกับ นายจ้ างด้ว ยการขอท างานที่บ้ าน หรือ ใช้ สิทธิ์ลาป่ วย/ลาพักร้อน เพราะหากหยุ ดกักตัวเฉยๆ โดยแจ้งเพียงต้องกักตัวดูอาการ 14 วัน นายจ้างไม่ จ าเป็ น ต้ อ งจ่ า ยค่ า จ้ า ง พนั กงานก็ จ ะเสี ย ประโยชน์ ทัง้ นีน้ ายจ้างอาจตกลงกับพนักงานให้หยุ ดงานโดยไม่ รับค่าจ้าง (Leave without Pay) หรือให้พนักงาน หยุ ดงานโดยไม่จ่ายค่าจ้างตามหลักสัญญาต่างตอบ แทน (No Work No Pay) ก็ได้


ซึ่ งจากกรณีนหี้ ากพนักงานมีสิทธิประกันสังคม และไม่ได้รับค่าจ้างจากนายจ้างในช่ วงที่กักตัว จะถือ เป็นกรณีว่างงานด้วยเหตุสุดวิสัย พนักงานสามารถ ยื่นขอรับเงินชดเชยจากประกันสังคมได้ และนายจ้าง ต้ อ งยื่ น หนั ง สือ รั บ รองการหยุ ดงานของพนั กงาน อันเนื่องจากเหตุสุดวิสัยให้กับประกันสังคมด้วย กรณีพนักงานกล่าวอ้างว่าหยุ ดกักตัวเฝ้ าดู อาการที่บ้าน แต่แอบไปเที่ยว พนั ก งานเมื่ อ อยู ่ ใ นข่ า ยต้ อ งกั ก ตั ว เฝ้ าดู อาการที่ บ้ า น แต่ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต ามที่ แ จ้ ง กั บ นายจ้ า ง กลับออกไปเที่ยวหรือเดินทางไปสถานที่ต่างๆ กรณีนี้ ไม่มีรับค่าจ้างแน่นอน แม้จะมีการตกลงกับนายจ้าง ด้วยการใช้ สิทธิ์ลาป่ วยหรือลาพักร้อนก็ตาม เพราะ หากนายจ้ า งสามารถตรวจสอบได้ ว่ า พนั ก งานไม่ ปฏิบัติตามข้อตกลง นายจ้างมีสิ ทธิ์ท่ีจะถือว่าขาด งานและไม่จ่ายค่าจ้างได้ อีกทัง้ การกระทาดังกล่าว นั ้น ยั ง ส่ ง ผลต่ อ บุ คคลทั่ ว ไป เพราะหากพนั ก งาน ออกไปเที่ยวและนาความเสี่ยงของโรคออกไปให้คนอื่น ถือว่ามีความผิดตามกฎหมายอาจจะถูกดาเนินคดีได้ ก ร ณี พ นั ก ง า น ป่ ว ย ติ ด เ ชื้ อ โ ค วิ ด - 1 9 ต้องรักษาตัว เมื่อพนักงานตรวจสอบว่าติดเชื้อและต้อง พักรักษาตัวที่โรงพยาบาล พนักงานยังสามารถรับ ค่าจ้างได้เพราะใช้ สิทธิ์ลาป่ วย หรือสิทธิ์ลาพักร้อน แทนหากสิทธิ์ลาป่ วยหมด แต่หากไม่เหลือสิทธิ์ใดๆ แล้ ว พนั กงานสามารถตกลงกั บ นายจ้า งขอหยุ ด งานโดยรับหรือไม่รับค่าจ้าง ขึ้นอยู ่กับนโยบายของ แต่ละบริษัท กรณี น ายจ้ า งสั่ง ปิ ดสถานที่ ท างานเพราะ เสี่ยงต่อการระบาด เพราะหากพบผู ้ติดเชื้อมาทางานหรือมี ลูกค้าที่ติดเชือ้ เข้ามาใช้ บริการ ทาให้มีความเสี่ยงต่อ การระบาด นายจ้ า งอาจสั่ ง ให้ ปิ ดสถานที่ ท างาน ชั่ว คราวเพื่ อ ควบคุ ม โรค ซึ่ ง ถื อ เป็ น เหตุ สุ ด วิ สั ย นายจ้างมีสิทธิ์ไม่ต้องจ่ายค่าจ้างได้ หรือบางบริษัท แล้ วแต่ต กลงกั นกั บพนักงาน เช่ น ให้ ปฏิ บัติ งานที่ บ้านโดยรับค่าจ้างปกติ เป็นต้น

กรณีนายจ้างหยุ ดกิจการชัว่ คราว เมื่ อ นายจ้ า งหยุ ดกิ จ การลงชั่ ว คราวเพราะ สถานการณ์ โ ควิ ด -19 ส่ ง ผลต่ อ ธุ รกิ จ ท าให้ ไ ม่ ส ามารถ มีร ายได้เ ข้ า บริ ษัท ได้ และส่ ง ผลให้ พ นั กงานไม่ ได้ ท างาน จะไม่ถือเป็นเหตุสุดวิสัย พนักงานมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างตาม กฎหมาย โดยตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2551 กาหนด ไว้ว่าพนักงานจะได้รับไม่น้อยกว่า 75% กรณีพนักงานหยุ ดงานโดยสมัครใจ หากพนักงานเลือกหยุ ดงานโดยสมัครใจ กรณีนี้ จะไม่ ไ ด้ รั บ ค่ า จ้ า ง (Leave without Pay) โดยอาจจะ ปฏิบัติแบบสลับกันไปเป็นบางวันหรือสลับสัปดาห์ หรือตาม นโยบายของแต่ละบริษัทที่ออกมา อย่างไรก็ตาม หากทาง บริ ษั ท บั ง คั บ หรื อ มี ค าสั่ ง ก็ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เพื่ อ ช่ วยให้ บริษัทผ่านอุ ปสรรคไปได้ กรณีภาครัฐมีคาสัง่ ให้หยุ ดกิจการชัว่ คราว กรณี ท่ี ภ าครั ฐ สั่ ง ปิ ดสถานที่ เ พื่ อ ไม่ ใ ห้ มี ค นมา รวมกลุ่มกันจนเกิดความเสี่ยงต่อการระบาด กรณีนี้คือ เป็นการหยุ ดกิ จการชัว่ คราวด้ว ยเหตุสุด วิสัย นายจ้า ง อาจพิจ ารณาไม่จ่ ายค่า จ้า งให้ ก็ไ ด้เ พราะพนักงานไม่ไ ด้ ทางานให้ตามหลัก No Work No Pay หรือนายจ้างอาจ จ่ า ยเงิ น บางส่ ว นเพื่ อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บ พนั ก งาน นั่ น ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ ดุ ล พิ นิ จ ของบริ ษั ท ในการ พิจารณา ทั ้ ง นี้ หา กพ นั กงา นเป็ นผู ้ ป ร ะกั นตน ใ นร ะบ บ ประกั นสั งคม และไม่ ได้ รับ ค่ าจ้ างจากนายจ้ างในกรณี นี้ พนั กงานสามารถยื่ น เรื่ อ งรั บ เงิ น ทดแทนกรณี ว่ า งงาน ด้วยเหตุสุดวิสัยได้ และนายจ้างต้องยื่นหนังสือรับรองการ หยุ ดงานของพนั ก งานอั น เนื่ อ งจากเหตุ สุ ด วิ สั ย ให้ กั บ ประกันสังคมด้วย อย่ า งไรก็ ต าม ไม่ ว่ า จะเป็ น นายจ้ า งหรื อ พนั ก งาน ต่ า งได้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ โ ควิ ด -19 กั น โดยถ้ ว นหน้ า ดั ง นั ้น การช่ วยกั น ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการ ยับยัง้ และป้ องกันการแพร่ระบาด ทัง้ สถานที่ทางาน ที่บ้าน และสถานที่สาธารณะ ตลอดจนการปฏิบัติตนเองอย่าง เคร่งครัดเพื่อให้ห่างไกลจากความเสี่ยงที่จะติดเชือ้ ย่อมจะ สามารถช่ วยให้เราทุกคนผ่านพ้นวิกฤตโรคระบาดนี้ไปได้ ในแบบที่สามารถจะฟื้ นตัวกลับมาได้ใหม่โดยเร็ว

ที่มา: https://money.kapook.com/view222515.html, https://www.facebook.com/ssofanpage/photos/a.507371216008374/2871914486220690/?type=3&theater ภาพจาก: https://www.shutterstock.com/th/image-vector/14day-quarantine-concept-banner-businesswoman-home-1682517847

19 icn




ขั้ น ตอนการยื่ น ขอแก้ ไ ขสู ต รการผลิ ต ผ่ า นระบบ RMTS Online Q : กรณีบริษัทต้องการยื่นขอแก้ไขสูตรผลิตภัณฑ์ จะต้องแนบหนังสืออนุมัติเดิม หรือไม่ หากต้องหนังสืออนุมัติจะต้องแนบในส่วนของฟั งชัน่ ใดในระบบ RMTS มยุ รีย์ งามวงษ์ Online เนื่ อ งจากในระบบมี เ พี ย งการแนบไฟล์ สู ต รผลิ ต ภั ณ ฑ์ (BOM) mayureen@ic.or.th เป็นไฟล์รูปผลิตภัณฑ์เท่านัน้ A : การแก้ ไ ขสู ต รการผลิ ต (กรณี ชื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละโมเดลเป็ น ชื่ อ เดิ ม แต่ แ ก้ ไ ขรายการ/ปริ ม าณการใช้ วั ต ถุ ดิ บ ) หากได้ รั บ อนุ มั ติ แ ล้ ว ระบบจะบั น ทึ ก ให้ เ ป็ น Revision ใหม่ ต่ อ จาก Revision เดิ ม ภายใต้ สูต รการผลิต เดิม เช่ น การขออนุมัติสู ต รการผลิต ครัง้ แรก จะบั น ทึกเป็ น Revision 1 แต่หากมีการ ยื่นแก้ไขสูตรการผลิตและได้รับอนุมัติ สูตรการผลิตที่ยื่นขอแก้ไขจะบันทึกเป็น Revision 2 การแก้ไขสูตรการผลิตในระบบ RMTS Online ไม่จาเป็นต้องแนบสูตรการผลิตเดิมที่เคยได้รับอนุมัติ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ BOI จะพิจารณาจากข้อมู ลข้อเท็จจริงที่ยื่นขออนุมัติในครัง้ นัน้ ๆ Q : กรณีการยื่น ขอแก้ไขสูตรการผลิตในระบบ RMTS Online หากไม่จาเป็ นต้องแนบสูตรการผลิตเดิม ที่เคยได้รับอนุมัติแล้ว อยากทราบว่ า การพิ จ ารณาของเจ้ า หน้ า ที่ ส านั ก งานภู มิ ภ าคจะด าเนิ น การเช่ นเดี ย วกั น หรื อ ไม่ หรื อ ว่ า เป็ น ไปตาม ความต้องการของเจ้าหน้าที่สานักงานภูมิภาคนัน้ ๆ ว่าต้องการให้แนบสูตรการผลิตเดิมมาด้วยเพื่อประกอบการพิจารณา หรือไม่ A : การขออนุมัติ/แก้ไขสูตรการผลิตและปริมาณสต็อกแบบออนไลน์ ปั จจุ บันยังไม่มีประกาศและระเบียบปฏิบัติจาก BOI ดังนัน้ การพิจารณาจึงขึ้นอยู ่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่แต่ละท่าน หากเจ้าหน้าที่ต้องการให้แนบหนังสืออนุมัติสูตรการผลิตเดิม บริษัทควรดาเนินการแนบเพิ่มเติม โดยอาจแนบไว้ในรายละเอียดแสดงการใช้วัตถุดิบ (BOM) ก็ได้ ปั จจุ บันระบบ RMTS Online อยู ่ระหว่างการพัฒนาโปรแกรมส่วนของการแสดงข้อมู ลสูตรการผลิต Revision ล่าสุดของ บริ ษั ท ให้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ BOI เพื่ อ ใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารขอแก้ ไ ขสู ต รการผลิ ต ดั ง นั ้น ในช่ วงระบบยั ง ไม่ สามารถแสดงรายการสูตรการผลิตได้ หากบริษัทต้องการยื่นขอแก้ไขสูตรการผลิต จึงควรแนบสาเนาหนังสืออนุมัติสูตรการ ผลิตล่าสุดของบริษัทมาด้วย เพื่อลดปั ญหาในการที่เจ้าหน้าที่อาจร้องขอ และไม่ต้องดาเนินการหลายขัน้ ตอน ซึ่ งจะช่ วยให้ เจ้าหน้าที่ดาเนินการพิจารณาได้สะดวกมากขึน้ ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th

สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 210 อีเมล icn@ic.or.th icn 22


วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 36 (1), (2) ยื่นเรื่องการกาหนดวัน นาเข้าครั้งแรก ในระบบฐานข้อมูล RMTS Online

สมัครใช้ บริการ RMTS

คีย์บัญชี รายการ วัตถุดิบ เข้าสู่ ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online

7 วัน

คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต เข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online

BOI Approve คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดิบ 30 วัน BOI Approve

30 วัน

หากแต่ละขั้นตอน

ทาให้คุณ ติดต่อ...

คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดิบ

IC

สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์

COUNTER ด้านวัตถุดิบ

SERVICE

ด้วยทีมงานมืออาชีพ

0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.