Vol.20 / July 2021 ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วยแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
เก็ บ ตกเทคโนโลยี ต่ า งแดน สู่ อุ ตสาหกรรม 4.0 (1)
เปิดมาตรการภาษี จากกรมสรรพากร ช่วยผู้ประกอบการ ฝ่าโควิด-19
“ถ้าคิดว่าความชานาญ ทีไ่ หนๆ...ก็เหมือนกัน” Single Window for
Visa Work Permit “ง่ายสาหรับคุณ... ยืน ่ ขออนุญาตนาเข้าช่างฝี มือและผูช ้ านาญการต่างชาติ ด้วยระบบ Single Window พร้อมบริการติดต่อประสานงานสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และกรมการจัดหางาน แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร”
0 2936 1429 ต่อ 313 (คุณพัชรี) e-mail: counterservice@ic.or.th
www.ic.or.th
04 เปิ ดมาตรการภาษีจากกรมสรรพากร ช่ วยผู ้ประกอบการฝ่ าโควิด-19
ขั บ เคลื่ อ นอุ ตสาหกรรมยานยนต์ ด้ ว ยแนวคิ ด เศรษฐกิ จ หมุ นเวี ย น
07 10
การปรับอัตราค่าบริการงานตัดบัญชีวัตถุดิบ กับใบขนสินค้าขาออกที่ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข [ทาให้ไม่สามารถตัดบัญชีวัตถุดิบแบบ ไร้เอกสารได้]
18
ที่ปรึกษา กรองกนก มานะกิจจงกล บรรณาธิการบริหาร สุกัณฎา แสงเดือน บรรณาธิการ มยุ รีย์ งามวงษ์ กองบรรณาธิการ กฤตยา วิขัยดิษฐ์ กฤษดา ทับทิม ออกแบบ / โฆษณา / งานสมาชิ ก มยุ รีย์ งามวงษ์ เจ้า ของ สมาคมสโมสรนักลงทุน ผลิตโดย กองบรรณาธิการ ICN ติดต่อ ฝ่ ายบริการสมาชิ กและนักลงทุน สมาคมสโมสรนักลงทุน โทรศัพท์ : 0 2936 1429 ต่อ 210 e-mail : icn@ic.or.th
21
เก็บ ตกเทคโนโลยีต่างแดน สู่อุตสาหกรรม 4.0 (1)
Emotional Agility: วัคซีนชัน้ ดี นา (เรา) สู่ความสาเร็จ
ในช่ วงเวลานี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่าการดาเนินธุ รกิจของผู ้ประกอบการ ทัง้ โรงงาน อุ ตสาหกรรม บริษัท และห้างร้านที่เปิ ดให้บริการต่างๆ เช่ น ร้านเสริมสวย ร้านสปา ร้านทาเล็บ สระว่ายนา้ เป็นต้น ต่างหยุ ดชะงักด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 ที่กลับมาระบาดรุ นแรงอีกครัง้ ส่งผลต่อการเกิดรายได้ การทามาหากินของประชาชน โดยรวม แต่ ท่ ามกลางธุ รกิ จที่ ต้ องหยุ ดชะงั ก ร้ านที่ ต้ องปิ ดท าการ บรรดาบริ ษั ทและ กิจการเหล่านี้ยังคงต้ องมีภาระในการจ่ายค่ าใช้ จ่ายต่างๆ โดยเฉพาะภาระด้านการ เสี ยภาษี ดั งนั ้น กรมสรรพากรจึ งได้ มี มาตรการด้ านภาษี เพื่ อช่ วยเหลื อแบ่ งเบา ผู ้ประกอบการในยามวิกฤตเช่ นนี้ มาตรการสาคัญ เช่ น การขยายเวลาการยื่นแบบและชาระภาษี เงินได้หัก ณ ที่จ่าย ผ่านระบบออนไลน์ การขยายเวลายื่นภาษี มูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 30 และ แบบ ภ.พ. 36) เฉพาะการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต มาตรการภาษี สนับสนุน SMEs ยุ คดิจิทัลสู้โควิด-19 โดยยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สาหรับค่าซื้อหรือ จ้างทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) หรือค่าใช้ บริการโปรแกรม คอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) และการยกเว้นภาษี ให้ผู้ประกอบการร่วม โครงการ “พักทรัพย์-พักหนี”้ ซึ่ ง มาตรการด้ า นภาษี จ ากกรมสรรพากรนี้ จะสามารถช่ วยแบ่ ง เบาภาระ ผู ้ประกอบการได้ในระดับหนึ่ง เพื่อให้กิจการสามารถบริหารจัดการค่าใช้ จ่ายสาหรับ ส่วนที่จาเป็นก่อน และยังช่ วยให้ประคองธุ รกิจให้ดาเนินการได้ต่อเนื่อง แน่นอนว่า การออกมาตรการนี้ เป็นการร่วมมือร่วมใจของหลายหน่วยงานในทุกภาคส่วนเพื่อ จะช่ วยกันฝ่ าวิกฤตโควิดไปด้วยกัน สมาคมสโมสรนักลงทุนพร้อมสนับสนุนผู ้ประกอบการในทุกภาคอุ ตสาหกรรม เพื่ อให้ ผ่ านพ้ นสถานการณ์ เลวร้ ายและพร้ อมลุ กขึ้นสู้ ไปด้ วยกั น ด้ วยบริ การที่ ดี สะดวก และรวดเร็ ว ผ่ านการให้ บริ การแบบออนไลน์ ของสมาคม ตลอดจนการ ให้บริการด้านหลักสูตรฝึ กอบรมและสัมมนาครอบคลุมทัง้ การบริหารจัดการและด้าน ภาษี โดยผู ้ ท่ี สนใจสามารถดู รายละเอี ยดหลั กสู ตรและเลื อกลงทะเบี ยนเพื่ อสมั คร ร่ วมสั มมนาได้ ทาง http://icis.ic.or.th หรื อ สอบถามข้ อมู ลเพิ่ มเติ มได้ ท่ี โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205-209 และสามารถติดตามข้อมู ลข่าวสารของสมาคมได้ทาง www.ic.or.th บรรณาธิการ 3
icn
เปิ ด มาตรการภาษี จาก กรมสรรพากร ช่ ว ยผู้ ป ระกอบการ
ฝ่าโควิด-19 มยุรีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ประเทศไทยต้องเผชิญกับสถานการณ์แพร่ระบาดของ โควิด-19 ระลอกใหม่ ที่ครัง้ นีร้ วดเร็วและรุ นแรง ทาให้มียอด ผู ้ ติ ด เชื้ อ พุ ่ ง สู ง ทะลุ ห ลั ก แสนคน และมี ตั ว เลขผู ้ เ สี ย ชี วิ ต เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่ท่ีส่งกระทบผลสาคัญต่อภาพรวมของ ประเทศ คือ กระทบต่อการดาเนินธุ รกิจ การค้าขาย ของ ทัง้ ประชาชนและผู ้ป ระกอบการ ที่ ต้อ งสูญ เสีย โอกาสทาง การค้า รายได้ผลกาไรจากการประกอบธุ รกิจ อีกทัง้ ยังต้อง มีค่าใช้ จ่ายด้านอื่นที่ยังคงต้องแบกรับภาระไว้เพื่อให้ธุรกิจ ดาเนินต่อไปได้ ภาระสาคัญของผู ้ประกอบการที่จาเป็นต้องดาเนินการ ตามกฎหมาย ได้แก่ การเสียภาษี ประเภทต่างๆ เป็นต้น ซึ่ ง ภาครัฐอย่างกรมสรรพากร เล็งเห็นถึงความเดือดร้อนของ ผู ้ป ระกอบการจึง ได้ ออกมาตรการด้า นภาษี เพื่อ บรรเทา ผลกระทบให้กับผู ้ประกอบการ และสามารถรักษาสถานภาพ การดาเนินธุ รกิจได้ต่อเนื่อง โดยมีมาตรการที่สาคัญดังนี้ 1. ขยายเวลายื่ น ภาษี เงิ น ได้ หั ก ณ ที่ จ่ า ย โดยได้ขยายเวลาการยื่นแบบและชาระภาษี เงินได้หัก ณ ที่ จ่ า ย (ภ.ง.ด. 1, ภ.ง.ด. 2, ภ.ง.ด. 3, ภ.ง.ด. 53 และ ภ.ง.ด. 54) ผ่านระบบออนไลน์ ดังนี้ 1.1 การยื่นแบบและชาระภาษี ในเดือนกรกฎาคม 2564 จากก าหนด เดิ ม ที่ ต้ อ งยื่ น ภาย ในวั น ที่ 1 5 หรื อ 23 กรกฎาคม 2564 ให้ ข ยายออกไปเป็ น ภายในวั น ที่ 30 กรกฎาคม 2564 1.2 การยื่นแบบและชาระภาษี ใน เดื อ น สิ ง หา ค ม 2 56 4 จ า ก กาหนดเดิมที่ต้องยื่นภายในวันที่ 15 หรือ 23 สิงหาคม 2564 ให้ ขยายออกไปเป็นภายในวัน ที่ 31 สิงหาคม 2564 icn 4
2. ขยายเวลายื่ น ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม ได้แก่ แบบภาษี มูลค่าเพิม่ (ภ.พ. 30 และ แบบ ภ.พ. 36) เฉพาะการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต ให้ขยายระยะเวลา การยื่ น แบบฯ ถึ ง วั น สุ ด ท้ า ยของเดื อ นที่ ต้ อ งยื่ น แบบฯ โดยเริ่ ม ขยายตั ้ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2564 ถึ ง 30 มิถุนายน 2564 3. มาตรการสนับสนุน SMEs ยุ คดิจิทัลสู้โควิด -19 โดยเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2564 คณะรัฐมนตรี ได้ อ นุ มั ติ ห ลั ก การร่ า งพระราชกฤษฎี ก า ว่ า ด้ ว ยการ ย ก เ ว้ น รั ษ ฎ า ก ร ( ม า ต ร ก า ร ภ า ษี เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ผู ้ประกอบการธุ รกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ปรั บ เปลี่ ย นธุ รกิ จ สู่ เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และ สร้ า งแรงจู ง ใจให้ ผู้ ป ระกอบการธุ รกิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) เพิ่มศักยภาพในการดาเนินกิจการ และสร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ ว ยการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) ที่ จดทะเบี ย นถู กต้ อ งตามกฎหมายในการบริ ห ารจั ด การ ธุ รกิจเพิ่มมากขึน้ ซึ่ งประกอบด้วย 3.1 ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัทหรือ ห้างหุ้น ส่ว นนิติบุคคลซึ่ งมีทุนที่ชาระแล้ว ในวันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้ จากการขายสิ น ค้ า และการให้ บ ริ การในรอบระยะเวลา บัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท โดยให้สามารถหักรายจ่ายได้ 2 เท่า สาหรับรายจ่ายที่เป็นค่าซื้อหรือจ้างทาโปรแกรม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ( Software) ห รื อ ค่ า ใ ช้ บ ริ ก า ร โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ ซอฟต์ แ วร์ (Software) ให้ แ ก่ ผู้ข ายหรือ ผู ้รั บ จ้ า งท า โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ หรื อ ซอฟต์ แ วร์ (Software)
หรื อ ผู ้ใ ห้ บ ริ ก ารโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ หรื อ ซอฟต์ แ วร์ (Software) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสานักงานส่งเสริม เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล เฉพาะส่ ว นที่ ไ ม่ เ กิ น 100,000 บาท สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่เี ริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2564 แต่ ไ ม่ เ กิ น วั นที่ 31 ธั น วาคม 2565 โดยเป็ น ไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขประกาศอธิบดีกรมสรรพากร 3.2 บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ คคล ที่ จ ะได้ รั บ ยกเว้ นภาษี เงินได้นิ ติบุ คคลตามข้ อ 3.1 ต้อ งไม่ไ ด้รั บสิท ธิ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ คคล ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการ ส่งเสริมการลงทุน กฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ของประเทศส าหรั บ อุ ตสาหกรรมเป้ า หมาย กฎหมายว่ า ด้ ว ยเขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก หรื อ สิทธิประโยชน์ทางภาษี ท่ีเกี่ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) นัน้ ตามพระราชกฤษฎีกาที่ออก ตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน 3.3 โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ หรื อ ซอฟต์ แ วร์ (Software) หมายความว่า โปรแกรมหรือชุ ดคาสั่งที่ใช้ ควบคุม การท างานของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ห รื อ ฮาร์ ด แวร์ ห รื อ อุ ปกรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การธุ รกิ จ ด้ า นต่ า งๆ เช่ น โปรแกรมที่ใช้ ในองค์กร โปรแกรมสมองกลฝั งตัว โปรแกรม ด้านการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมู ลขนาดใหญ่ โปรแกรม ที่ใช้ การควบคุมและหรือเชื่อมโยงอุ ปกรณ์ท่ีใช้ ในการควบคุม และ/หรือเชื่อมโยงอุ ปกรณ์ท่ีใช้ เทคโนโลยีขัน้ สูง โปรแกรมที่ใช้ ในงานสนับสนุนการผลิต รวมถึงโปรแกรมที่ให้บริการในรูปแบบ โปรแกรมบริการ (Software as a Service : SaaS) ด้วย 4. ยกเว้นภาษี ให้ผู้ประกอบการร่วมโครงการ “พักทรัพย์-พักหนี”้ โดยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 คณะรัฐมนตรีได้ เห็นชอบร่างกฎหมายตามมาตรการภาษี อากรเพื่อสนับสนุน การรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชาระหนี้ (พักทรัพย์ พั ก หนี้ ) ซึ่ ง เป็ น การยกเว้ น ภาษี อ ากรและการผ่ อ นปรน หลั ก เกณฑ์ ก ารจ าหน่ า ยหนี้ สู ญ จากบั ญ ชี ลู ก หนี้ เพื่ อ สนั บ สนุ น การลดภาระหนี้ ข องผู ้ ป ระกอบการที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทัง้ นี้ ร่างกฎหมายดังกล่าวได้แก่ ร่างพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรั ษ ฎากร ว่ า ด้ ว ยการยกเว้ น รั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ ..) พ.ศ.…. และร่ า งกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ .. (พ.ศ.….) ออกตามความในประมวลรั ษ ฎากร ข้อมู ลจาก: https://www.thebangkokinsight.com/news/business/economics/625827/ https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_8Apr2021.aspx https://www.thebangkokinsight.com/news/the-bangkok-insight-th/601978/ https://www.prachachat.net/finance/news-671951
ว่าด้วยการจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ (มาตรการ ภาษี อากรสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อ ชาระหนี้) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ มีรายละเอียด ดังนี้ 1) ยกเว้นภาษี เงินได้บุคคลธรรมดาและภาษี เงินได้ นิติบุคคลให้แก่ลูกหนีข้ องสถาบันการเงิน สาหรับเงินได้ท่ี ได้ รั บ จากการปลด หนี้ ข องสถาบั น การเงิ น อั น เนื่ อ งมาจากมาตรการสนับ สนุ นการรั บ โอนทรัพ ย์ สิ น หลั ก ประกั น เพื่ อ ช าระหนี้ต ามพระราชก าหนดการให้ ความช่ วยเหลือและฟื้ นฟู ผู ้ประกอบธุ รกิจฯ ทัง้ นี้ ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากร ประกาศกาหนด 2) ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ บุ คคลธรรมดา ภาษี เ งิ น ได้ นิติบุคคล ภาษี มูลค่าเพิ่ม ภาษี ธุรกิจเฉพาะ และอากร แสตมป์ ให้ แ ก่ ลู ก หนี้ ข องสถาบั น การเงิ น และสถาบั น การเงิน สาหรับการโอนทรัพย์สิน การขายสินค้า และ การกระทาตราสาร อันเนื่องมาจากมาตรการสนับสนุน การรั บ โอนทรั พ ย์ สิ น หลั ก ประกั น เพื่ อ ช าระหนี้ ต าม พระราชก าหนดการให้ ค วามช่ วยเหลื อ และฟื้ นฟู ผู ้ประกอบธุ รกิจฯ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกาหนด 3) กฎกระทรวง ฉบั บ ที่ .. (พ.ศ.…) ออกตาม ความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการจาหน่ายหนี้สูญ จากบัญชีลูกหนี้ โดยกาหนดให้การจาหน่ายหนีส้ ูญจาก บัญชีลูกหนีข้ องสถาบันการเงินในส่วนของหนี้ท่ีสถาบัน การเงินได้ปลดหนีใ้ ห้แก่ลูกหนี้ อันเนื่องมาจากมาตรการ สนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชาระหนี้ ตามพระราชกาหนดการให้ ค วามช่ วยเหลื อ และฟื้ น ฟู ผู ้ประกอบธุ รกิจฯ กระทาได้โดยไม่ต้องดาเนินการตาม หลักเกณฑ์ปกติ ซึ่ งการยกเว้นภาษี ให้ผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการ พักทรัพย์-พักหนี้ จะช่ วยลดภาระภาษี อากรที่เกิดจาก การดาเนินการตามมาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สิน หลักประกัน สามารถโอนทรัพย์สินชาระหนี้แก่สถาบัน การเงิน โดยมีเงื่อนไขซื้อคืนในราคาที่โอนไปและมีสิทธิเช่ า ทรัพย์สินนัน้ กลับไปใช้ ประกอบธุ รกิจ เพื่อป้ องกันไม่ให้ เกิดสภาวะขาดสภาพคล่องหรือผิดนัดชาระหนี้ ทัง้ หมดนี้ เป็นมาตรการด้านภาษี ท่ีกรมสรรพากร ต้องการให้ความช่ วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนให้กับ ผู ้ ป ระกอบการ และนั กธุ รกิ จ ที่ ก ารด าเนิ น ธุ รกิ จ ต้ อ ง หยุ ดชะงั ก เนื่ อ งจากการแพร่ ร ะบาดของโควิ ด ให้ สามารถกลับฟื้ นธุ รกิจได้อย่างไม่ลาบากมากนัก และมี โอกาสสร้างธุ รกิจให้เติบโตได้ต่อไป 5 icn
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 28, 29
สมัครใช้ บริการ eMT
ขออนุมัติ บัญชีรายการ เครื่องจักร ครั้งแรก ในระบบ eMT Online
ขอชื่อรอง / ขอรายการอะไหล่ / รายการแม่พิมพ์ใน ระบบ eMT Online
สั่งปล่อย (นาเข้า) เครื่องจักร
ขยาย ระยะเวลา นาเข้า เครื่องจักร
BOI Approve 30 วัน
7 วัน 30-60 วัน 7 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
เป็นเรื่อง ติดต่อ...
ยุงยาก
IC
สา ห รั บ คุ ณ
บริการคีย์ข้อมูล
ทธิและประโยชน์ COUNTER งานสิ ด้านเครื่องจักร
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th
วิหลัธงได้ีดรับาเนิ น การ ส่งเสริมการลงทุน ตามมาตรา 36 (1), (2) ยื่นเรื่องการกาหนดวัน นาเข้าครั้งแรก ในระบบฐานข้อมูล RMTS Online
สมัครใช้ บริการ RMTS
คีย์บัญชี รายการ วัตถุดิบ เข้าสู่ ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online
7 วัน
คีย์ข้อมูล สูตรการผลิต เข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูล RMTS Online
BOI Approve คีย์ข้อมูล สั่งปล่อย (นาเข้า) วัตถุดิบ 30 วัน BOI Approve
30 วัน
หากแต่ละขั้นตอน
ทาให้คุณ ติดต่อ...
คีย์ข้อมูล ตัดบัญชี (ส่งออก) วัตถุดิบ
IC
สับสน บริการคีย์ข้อมูล งานสิทธิและประโยชน์
COUNTER ด้านวัตถุดิบ
SERVICE
ด้วยทีมงานมืออาชีพ
0 2936 1429 ต่อ 312 e-mail : counterservice@ic.or.th
เก็บตก
เทคโนโลยีต่างแดน สู่อุตสาหกรรม 4.0 (1) จาลักษณ์ ขุ นพลแก้ว email: chamluck@gmail.com
ขอเก็บตกสาระสาคัญจากการจัดประชุ มเชิงวิชาการ ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ น าพาให้ ผู้ ที่ เ ข้ า ร่ ว มทั ้ง จากภาครั ฐ ภาค การศึ ก ษา และภาคอุ ตสาหกรรมในแต่ ล ะประเทศได้ ม า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึ งกันและกัน โดยมีผู้บริหารผู ้เชี่ยวชาญ จากหลากหลายประเทศมาถ่ายทอดมุ มมองและประสบการณ์ ตลอดจนผลส ารวจวิ จั ยที่ เกี่ ยวข้ อง นอกจากนั น้ ยั งจั ด ศึ กษาดู งานนอกสถานที่ ณ ศู นย์วิ จั ยการผลิ ตสมัยใหม่ ตัง้ อยู ่ที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของไต้ ห วั น (National Taiwan University of Science and Technology - NTUST)
ระบบภายในไม่โปร่งใส ไม่มีโอกาสเลือกมากนัก เทคโนโลยี การผลิตที่ล้าหลัง ซึ่ งเป็นงานหนักมากสาหรับรัฐบาลใน การก าหนดนโยบายส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น แต่ เ ยอรมนี ไ ด้ กาหนดแผนงานและเป้ าหมายไว้ชดั จนถึงปี 2020
Industry 4.0: The State of the 4th Industrial Revolution in Germany Dr. Eva Diedrichs ผู ้ เ ชี่ ย วชาญชาวเยอรมั น ได้ อธิ บายให้ เห็ นถึ งโครงสร้ างและภาพรวมของการพั ฒนา z รู ปแบบการบริ หารโครงการเพื่ อส่ งเสริ มสนับสนุ น อุ ตสาหกรรมโดยให้ความหมายของ Industry 4.0 ว่า “the การเปลี่ ยนผ่ านของอุ ตสาหกรรมโดยเฉพาะ SMEs ไปสู่ integration of the digital world of the internet with Industry 4.0 ของเยอรมนีที่น่าสนใจก็คือ การรวมกลุ่มของ the conventional processes and services in the manufacturing economy with the potential to create หน่ วยงานที่ มี ความสามารถในด้ านต่ างๆ (Consortium) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยบู รณาการ intelligent value networks” นั่นคือกระบวนการผลิตและ กันตัง้ แต่ภาคการศึ กษา (University) หน่วยงานเชื่อมโยง บริ การในรู ปแบบเดิ มจะได้ รั บการยกระดับและเชื่ อมโยงเข้ า งานวิจัยสู่อุตสาหกรรม (Applied research) และภาคธุ รกิจ ด้วยกันผ่านโลกอินเทอร์เน็ตที่เต็มไปด้วยเครื่องมือดิจิทัล (Enterprise) แบ่งโครงการวิจัยเป็น 2 ส่วนคือ (1) ด้านระบบ มากมายบู รณาการเข้าด้วยกันเป็นโครงข่ายที่ทรงคุณค่าและ และเทคโนโลยี อุ ตสาหกรรม อาทิ การผลิ ต การจั ด ส่ ง มีความเป็นอัจฉริยะ หุ่นยนต์ และการบริการ (2) ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน อาทิ กาแพงขวางกัน้ ที่สาคัญสาหรับ SMEs ในการปรับ กฎหมาย และระเบี ย บปฏิ บั ติ ความมั่ น คงปลอดภั ย ใน เข้าสู่ Industry 4.0 ที่แตกต่างอย่างมากกับธุ รกิจขนาดใหญ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ อนาคตของคนและทักษะการทางานที่ ประกอบด้ วย ความไม่ สมบู รณ์ ของทรั พยากร การขาด จาเป็น และมาตรฐาน ความรู้ท่ีทันสมัย ไอทีท่ีไม่เพียงพอ โครงสร้างองค์กรและ กระบวนการไม่ พ ร้ อ ม พนั ก งานขาดความสามารถ icn 10
Applying Intelligent Machinery to Gear up Productivity Again Mr. Shih Lung Chen ผู ้ เชี่ ยวชาญไต้ หวัน ได้ ฉายภาพให้เห็นถึ งขั น้ ตอนกระบวนการในการเข้า ไปช่ วยภาคธุ รกิ จ เปลี่ยนผ่าน โดยเริ่มตัง้ แต่การประเมินสถานะขององค์กรเบือ้ งต้น ผ่านเกณฑ์การประเมินที่แบ่งเป็น 4 กลุ่ม 48 คาถาม รวม 480 คะแนน มีฐานข้อมู ลเปรียบเทียบ (Benchmark) ผลการวิเคราะห์จะนาไปสู่การฝึ กอบรมและให้คาปรึกษาแนะนา อย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การบริหารโครงการเพื่อยกระดับต่อไป การประเมินผลโดยผู ้เชี่ยวชาญภายนอกในขัน้ ตอนสุดท้าย แบ่งเป็นขัน้ ๆ ดังนี้ Consultation Process Maturity Assessment Indicator planning
Breakthrough
Follow-up
Classification of Operating status
Consensus on Key Strengths
Implementation Strategy
Mechanism for Tracking Performance
Corporate Excellence Consultation project Evaluation planning Consultation and Confirmation of Diagnosis Development Strengths
Introduction of Performance Consultation Integration with Management Technology DEPLOYMENT
Improved Level of Excellence Honor of Excellence
Essence
Focus
ASSESSMENT
APPROACH
Benefits and Objectives
Total Excellence Evaluation Definition of Excellence Level
Determination of Performance Indicators Action Linked with Objectives
Consultation programs and Service items
iBench
RESULT
Evaluation of Focused Consultation Consultation Results Enhanced Operating Competition for Excellence Excellence Awards
Industry 4.0: The State of the 4th Industrial Revolution in the UK Mr. Ron Young ผู ้ เ ชี่ ย วชาญจากสหราชอาณาจั ก ร ได้ ใ ห้ มุ มมองที่ เ ชื่ อ มโยงและเป็ น องค์ ป ระกอบพื ้น ฐานส าคั ญ ในการพั ฒ นาไปสู่ น วั ต กรรมและอุ ตสาหกรรม 4.0 นั ่น คื อ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู ้ ( Knowledge Management) โ ด ย อธิ บ ายให้ เ ห็ น ความส าคั ญ ของการมี Knowledge Asset ซึ่ ง เป็ น ตั ว ขั บ เคลื ่ อ นส าคั ญ ในยุ คนี ้ เพราะในปั จ จุ บั น นี ้เ รา มั ก จ ะ พู ด ถึ ง ปั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ( Artificial Intelligence ห ร ื อ AI) ก า ร เ ร ี ย น รู ้ ไ ด้ ด ้ ว ย ต ั ว เ อ ง ข อ ง เ ค รื ่ อ ง จ ั ก ร (Machine Learning) ตลอดจนพั ฒ นาการของหุ่ น ยนต์ ท่ี ฉลาดขึ้น ดั ง ตารางด้ า นล่ า ง 11 icn
Key Asset / Wealth Creator Asset Management / Organization Key Technology
Key Products
Agricultural Era ยุ คเกษตรกรรม
Industrial Era ยุ คอุ ตสาหกรรม
Information Era ยุ คข้อ มู ล ข่าวสาร
Knowledge Era ยุ คความรู้
Land
Factories
Information
Knowledge
Farm owners
Hierarchy of Managers
Matrix of empowered people
Collaborative communities & teams
Information & Communication Technology
Collaborative technologies
Agricultural tools & Plant & Machinery technologies Food
Manufactured goods
Industry 4.0: The Perspectives from Private Companies in Japan Mr. Soichiro Murata ผู ้ เ ชี่ ย วชาญชาวญี่ ปุ่ น จาก บริ ษัท ผู ้ใ ห้บ ริก ารซอฟต์ แวร์ช นั ้ น าระดั บโลก SAP และยั งเป็ น หนึ่งในบริษัทที่มีส่วนผลักดันแพลทฟอร์มอุ ตสาหกรรม 4.0 ใน เยอรมนี นโยบายใหม่ดังกล่าวไม่ได้ดาเนินการเฉพาะในเยอรมนี เท่ า นั ้น หากแต่ ยั ง มี ส่ ว นผลั ก ดั น ในภู มิ ภ าคอื่ น ทั่ว โลก อาทิ ญี่ปุ่น สหรัฐ จีนและหลายประเทศในเอเชีย ซึ่ งปั จจุ บันสัดส่วน รายได้ของบริษัทไม่ได้มาจากการขายระบบ ERP แบบเดิม แต่มา จากระบบใหม่ที่ตอบสนองและรองรับกับอุ ตสาหกรรม 4.0 ที่ เรียกว่า The New SAP (ประกอบด้วย ระบบวิเคราะห์ข้อมู ล “Analyticsไ ชิพหน่วยความจา “HANA” การให้บริการคราวด์ “Cloud” และระบบเคลื่อนที่ “Mobile”) เมื่อปี 2010 มีสัดส่วน น้ อ ยมาก แต่ ใ นปี 2016 มี สั ด ส่ ว นมากกว่ า รายได้ จ าก ผลิตภัณฑ์หลักอย่าง ERP ดังภาพ
Information products Intellectual products & services & services
ซึ่ งคุณมุ ราตะได้ชีใ้ ห้เห็นว่าคนทัว่ ไปมักคิดว่าด้าน ตรงข้ามของดิจิ ทัล (Digital) คืออนาล็อก (Analog) แต่ ที่ SAP ด้ า นตรงข้ า มของดิ จิ ต อลคื อ กายภาพ (Physical) หรื อ โลกจริ ง ที่ จั บ ต้ อ งได้ และ IoT หรื อ Internet of Thing เป็นตัวเชื่อมสองสิง่ เข้าด้วยกัน IoT = Physical + Digital
ด้ ว ย IoT เราสามารถตรวจจั บ สถานะของสิ่ ง ต่ า งๆได้ ใ นระยะไกลและคาดการณ์ อ นาคตได้ (Track and Predict) ด้ ว ยต้ น ทุ น ที่ ต่า มาก (Zero marginal cost) ทันทีด้วยเวลาที่เกือบเป็นศูนย์ (Zero time lag) ในขอบเขตที่ ก ว้ า งขวางอย่ า งไม่ น่ า เชื่ อ (Unlimited scale) และเจาะลึ ก ลงไปในรายละเอี ย ดของสิ่ ง ๆนั ้น (Personalization) ซึ่ ง รวมเรี ย กว่ า 5 แรงขั บ เคลื่ อ น สู่ดิจิทัล (The Five Forces of Digital) icn 12
คุณมุ ราตะชีใ้ ห้เห็นว่าโรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory) เท่านัน้ ไม่เพียงพอ โรงงานผู ้ผลิตมากมายในญี่ปุ่นที่ทาไคเซน็ (การปรั บปรุ งอย่างต่อ เนื่อ ง) และยกระดั บปรับเข้าสู่ โรงงานอัต โนมัติ แต่ก็ ยัง ไม่ส ามารถสร้า งผลกาไรได้ดีขึ้น ในขณะที่ อุ ตสาหกรรม 4.0 จะสร้างคุณค่าใหม่ให้กับลูกค้า โดยเชื่อมโยงปลาย 2 ด้านของห่วงโซ่ อุ ปทานเข้าด้วยกัน (end-to-end processes) และสิ่งที่เข้ามามีส่วนสาคัญในการเชื่อมต่อนีค้ ือ IoT และ IoP (Internet of Process) เขาได้ยกตัวอย่าง ความส าเร็จของบริษั ท Harley Davidson ที่ สามารถทาการผลิตแบบยืดหยุ ่น และตอบสนองกับ ความต้ องการเฉพาะ ที่ ห ลากหลายของลู ก ค้ า ได้ ท าให้ ป รั บ ระบบการผลิ ต จาก Mass Production ที่ มี Leadtime 21 วั น เป็ น Mass Customization และมี Leadtime ลดเหลือ 6 วัน อีกทัง้ ยังมีต้นทุนลดลง 7%
ส าหรั บ เทคโนโลยี อั น ทั น สมั ย ในแวดวง อุ ตสาหกรรมด้ านอื่น ๆ ซึ่ งมี หลากหลายประเภท โดยจะเป็ น ด้ า นใดบ้ า งนั ้น ฉบั บ หน้ า มาติ ด ตาม กันต่อไป ภาพจาก: https://www.freepik.com/free-photos-vectors/ai https://www.custom-gateway.de/mass-production-to-masscustomization-3-2/ 13 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
Public Training
JOIN A TRAINING ON
แนวทางปฏิบัติระบบงานช่างฝีมือ Single Window for Visas and Work Permit <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติระบบงานช่ างฝี มือ Single Window for Visas and Work Permit” ผ่ า นโปรแกรม Zoom ที่ สามารถรองรั บการฝึ กอบรมและสั มมนาในยุ ค New Normal โดยจัดขึน้ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564
การสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รับเกียรติจาก คุณอรรจน์ อิ่มศูนย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการ สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ สิทธิประโยชน์ภายใต้บีโอไอตาม พ.ร.บ.ส่งเสริม การลงทุ น 2520 มาตรา 24 25 และ 26 ประเภทของวี ซ่า วัตถุ ประสงค์ ของวีซ่า และวิธี การยื่นขอ หลักเกณฑ์ของการยื่นคาขอ เกณฑ์การยื่นขออนุมัติตาแหน่ง เกณฑ์การยื่นขอบรรจุ ต่างชาติและครอบครัว และเกณฑ์ การยื่ น ขอขยายระยะเวลาต าแหน่ ง ตลอดจนผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ร่ ว มซั ก ถามประเด็ น ปั ญหาที่ เ ป็ นข้ อ สงสั ย โดยวิทยากรได้โต้ตอบกับผู ้เข้าสัมมนาเสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการดาเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึน้ icn 14
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
JOIN A TRAINING ON
หลักเกณฑ์และปัญหาการใช้สิทธิและประโยชน์ ที่ได้รับตามพ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน <<สมาคมสโมสรนักลงทุนจัดสัมมนาออนไลน์ เรื่อง “หลักเกณฑ์และปั ญหาการใช้ สิทธิและประโยชน์ท่ีได้รับตาม พ.ร.บ.ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ” ผ่ า นโปรแกรม Zoom ที่ สามารถรองรั บการฝึ กอบรมและสั มมนาในยุ ค New Normal โดยจัดขึน้ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2564
การสั ม มนาครั ้ง นี้ไ ด้ รั บ เกีย รติ จ าก คุ ณ ปุ ณยนุ ช มี กาลั ง ผู ้ อ านวยการกลุ่ ม กฎหมาย และ คุ ณ ธรรมรั ต น์ รัตนพันธ์ นิติกรชานาญการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อ สาคัญ อาทิ ภาพรวมและการแก้ไขพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการลงทุ น การยกเว้ นภาษี อากรสาหรับกิจการที่ได้ รับการ ส่งเสริมการลงทุน สิ่งควรรู้เกี่ยวกับสิทธิและประโยชน์ของผู ้ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ประกาศของสานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู ้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมซักถามประเด็นปั ญหาที่เป็นข้อสงสัย โดยวิทยากรได้โต้ตอบกับ ผู ้ร่วมสัมมนาเสมือนอบรมในห้องสัมมนา เพื่อนาข้อมู ลที่ได้รับไปใช้ ในการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ 15 icn
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
JOIN A TRAINING ON
เคล็ด (ไม่) ลับการใช้สิทธิประโยชน์เครื่องจักร กับมาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต <<สมาคมสโมสรนั ก ลงทุ น จั ด สั ม มนาออนไลน์ ฟ รี สาหรั บ สมาชิ ก เรื่ อ ง “เคล็ ด (ไม่ ) ลั บ การใช้ สิท ธิ ป ระโยชน์ เครื่องจักรกับมาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิต ” ผ่านโปรแกรม Zoom ที่สามารถรองรับ การฝึ กอบรมและสัมมนาในยุ ค New Normal โดยจัดขึน้ จานวน 2 รอบ ในวันที่ 21 และ 28 พฤษภาคม 2564 มีสมาชิ ก เข้าร่วมอบรมออนไลน์ทงั ้ สิน้ กว่า 174 ท่าน
การสัมมนาครัง้ นี้ได้รับเกียรติจาก คุณภาคภูมิ บู รณบุ ณย์ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นวิทยากรบรรยาย โดยมีหัวข้อสาคัญ อาทิ ข้อควรระวังในการนาเข้า เครื่องจักรและอุ ปกรณ์ตามสิทธิประโยชน์มาตรา 28, 29 แนวทางการนาเข้าเครื่องจักรตามมาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิต แนวทางการชี้แจงการนาเข้าเครื่องจักรและอุ ปกรณ์ภายใต้มาตรการส่งเสริม การ ลงทุ นเพื่ อปรั บปรุ งประสิทธิ ภาพการผลิ ต ตลอดจนผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ร่ ว มซัก ถามประเด็ น ปั ญ หาที่ เ ป็ น ข้ อ สงสั ย โดยวิ ท ยากรได้ โ ต้ ต อบกั บ สมาชิ ก เสมื อ นอบรมในห้ อ งสั ม มนา เพื่ อ น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ ไปใช้ ใ นการด าเนิ น งานได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ icn 16
ไม่ พ ลาด !! ทุ ก ข่ า วสารสาคั ญ ส่ ง ตร งถึ ง ปลายนิ้ ว คุ ณ
@investorclub พิมพ์ @ หน้าชื่อ ID ด้วยนะคะ
Add friends
ที่ สาคั ญ ... ตอบทุ ก ข้ อ สงสั ย ของคุ ณ ในทุกงานบริการของสมาคม ด้วย LINE CHAT
IC จะส่งข่าวสารอัพเดท ไปถึงคุณอีกมากมาย
ติ ด ตามกั น ต่ อ ไปนะคะ
อย่ า ลื ม ... บอกต่ อ และแนะนาเพื่ อ นเข้ า มาด้ ว ยกั น นะ !!
ขับเคลื่อน อุตสาหกรรมยานยนต์ ด้ ว ย แนวคิ ด
เศรษฐกิจ หมุนเวียน
มยุ รี ย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
ที่ ผ่ า นมาอุ ตสาหกรรมยานยนต์ มี ก ารขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจในรูปแบบเศรษฐกิจเส้นตรง (Linear Economy) นัน่ คือ มีการผลิต นาใช้ ไป แล้วทิง้ จึงเป็นส่วนหนึ่งใน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่ งมีอยู ่ในทุกกระบวนการผลิต ตลอดจนการทิง้ หลังการใช้ งาน ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการผลิตให้สอด รับกับสภาพการเปลี่ยนแปลง โดยผลิตรถยนต์ท่ีตอบสนอง ความต้องการของผู ้บริโภคและสิ่งแวดล้อม เช่ น รถยนต์ อีโคคาร์ รถยนต์ขนาดเล็กสาหรับคนวัย Gen และรถยนต์ ไฟฟ้ ารองรับการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ นา้ มันเป็นพลังงาน ไฟฟ้ า เป็นต้น แต่ ยั ง คงไม่ เ พี ย งพอส าหรั บ ผลกระทบที่ เ กิ ด กั บ สิ่งแวดล้อม กลุ่มอุ ตสาหกรรมยานยนต์จึงได้นาแนวคิด เศรษฐกิจหมุ นเวียน (Circular Economy) เข้ามาแทรกซึ ม และนามาใช้ โดยให้ความสาคัญกับระบบที่มีการวางแผน และออกแบบมาเพื่ อ ใช้ ท รั พ ยากรและพลั ง งานอย่ า งมี ประสิ ทธิภาพ สามารถคืน สภาพหรือ ให้ชีวิ ต ใหม่แ ก่ วั ส ดุ ต่างๆ ในวงจรชี วิตผลิตภัณฑ์ แทนที่จะทิ้งไปเป็นขยะเมื่อ สิน้ สุดการบริโภค เริ่มตัง้ แต่การออกแบบรถยนต์ท่ีมุ่งเน้น การลดของเสีย ออกแบบรถยนต์ให้สามารถใช้ งานได้อย่าง ยาวนาน มีการนาชิน้ ส่วนมาผลิต ซ่ อมแซ่ ม หรือปรับปรุ ง ใหม่ มีการนาวัสดุกลับมาใช้ ซ้ าให้คุ้มค่า และนากลับไปเข้าสู่ กระบวนการแปรรู ปให้เป็นวัตถุดิบ ตลอดจนการแปรวัสดุ ต่างๆ ที่จะกลายเป็นขยะให้ กลับมาเป็นผลิ ตภัณฑ์ใหม่โดย การนามาเพิ่มมู ลค่า และใส่ไอเดียใหม่ๆ ให้กับสิ่งที่กาลังจะ กลายเป็นขยะ
icn 18
ดังนัน้ “การออกแบบผลิตภัณ ฑ์จึงเป็ นหัวใจ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของระบบเศรษฐกิ จ หมุ นเวี ย น ที่ จ ะไม่ ก่อให้เกิดของเสียออกนอกระบบการผลิต การทาให้ ผลิต ภัณ ฑ์มีค วามคงทน ใช้ ง านได้ย าวนาน มีการ ส ร้ า ง ค ว า ม ยื ด ห ยุ ่ น ผ่ า น ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย มีคุณสมบัติในการแยกส่วน ทาให้สามารถนามาใช้ ได้ อี ก ครั ้ ง โดยใช้ พลั ง งานน้ อ ยที่ สุ ด และสามารถ คงคุณภาพเดิมได้มากที่สุด” โดยในปั จจุ บันอุ ตสาหกรรมยานยนต์ได้มีการ พัฒนาและปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ ตัง้ แต่ระบบ การผลิ ต ไปจนถึ งความปลอดภั ย แบบใหม่ ทั ้งระบบ ไฟฟ้ าและดิ จิ ทั ล โดยมี แ นวคิ ด ส าคั ญ ที่ จ ะมุ ่ ง ไปสู่ ยานยนต์ ป ลอดคาร์ บ อนหรื อ ไม่ มี ก ารปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกสู่บรรยากาศ เพื่อบรรเทาปั ญหาวิกฤต สภาพภู มิ อ ากาศและความเสี่ ย งจากภั ย พิ บั ติ การ พัฒนานีเ้ ริ่มตัง้ แต่การออกแบบยานยนต์คุณภาพสูง ด้ ว ยวั ส ดุ เ กรดดี เลื อ กส่ ว นประกอบและวั ส ดุ ท่ี จ ะรี ไซเคิลได้หรือนากลับมาใช้ ใหม่เมื่อสิน้ สุดอายุ การใช้ งาน ยานพาหนะ โดยพัฒนาระบบการคัดแยกและรวบรวม ให้ดียิ่งขึ้น มีการออกแบบสาหรับการถอดชิ้นส่วนได้ สะดวก การใช้ ซ้ า การผลิ ต ซ้ า และการรี ไ ซเคิ ล รวมถึงแบตเตอรี่ท่ีมีมาตรฐาน เอื้อให้สามารถนาไป ผ่ า นกระบวนการเพื่ อ ใช้ ไ ด้ ม ากกว่ า 1 ครั ้ง และ สามารถรองรั บ ระบบพลั ง งานในอนาคตได้ ทั ้ง นี้ กระบวนการผลิ ต โดยแนวคิ ด นี้ค วรจะต้ อ งมี ก ลไก ทางการเงินหรือแผนทางการเงิน ที่เอือ้ ต่อการลงทุน ในด้านนีใ้ ห้กว้างขวางขึน้ กาหนดเป้ าหมายและส่งเสริม ระบบมาตรฐานและการรองรับ ผลิ ตภั ณฑ์ ยานยนต์ ที่ ป ล่ อ ยคาร์ บ อนต่ า อี ก ทั ้ ง ควรมี ก ารเผยแพร่ องค์ความรู้ในด้านนีใ้ ห้กว้างขวางมากขึน้
ทั ้ ง นี้ โครงการฉลาก เขี ย ว (Green Label) ข อง ประเทศไทย ได้ มี ก ารรั บ รอง ร ถ ย น ต์ ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ด ย มี ก า ร พิจารณาตัง้ แต่การออกแบบ ให้ชิ้นส่วนสามารถนากลับมา รีไซเคิลได้ ลดการปล่อ ยก๊า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ขณะใช้ งาน ลดสารพิษที่ใช้ ในกระบวนการผลิต เช่ น สีและชิ้นส่วนพลาสติกที่ใช้ มีโลหะหนักไม่เกินมาตรฐาน ชิ้นส่วน อลูมิเนียมมีตะกัว่ ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ผ้าเบรกและแผ่นคลัตช์ไม่มีส่วนผสมของแร่ใยหิน เป็นต้น อีกทัง้ ต้องมีคาแนะนา ในการบารุ งรักษาซ่ อมแซมรถยนต์เพื่อยืดอายุ การใช้ งาน ในส่วนของศูนย์บริการรถยนต์ต้องมีการจัดการของเสียอย่าง ถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นต้น ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุ นเวียนที่ทวั่ โลกกาลังให้ความสนใจอยู ่ในขณะนี้ อย่า งไรก็ ตาม แนวคิดเศรษฐกิจ หมุ นเวีย นใน อุ ตสาหกรรมยานยนต์จะเดินหน้าไปได้ไกลหรือไม่นัน้ ขึ้นกับรูปแบบการใช้ รถยนต์ให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด เช่ น การเดินทางไปด้วยกันในเส้นทางเดียวกัน ระบบ การเดินทางที่รวบรวมบริการทุกอย่างด้านการขนส่ง มาไว้ในพืน้ ที่ท่ีอานวยความสะดวกให้ผู้บริโภคได้มาก ที่ สุ ด ภายในแพลตฟอร์ ม เดี ย ว โดยรวบรวมหรื อ เชื่ อมต่อบริการภาคคมนาคมขนส่งจากผู ้ให้บริการ ทั ้ง ภาครั ฐ และเอกชนเข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น ท าให้ ส ามารถ จั ด การรู ป แบบการเดิ น ทางและสามารถก าหนด ค่ า ใช้ จ่ า ย ได้ ด้ ว ย ระบ บเดี ย วกั น รวมถึ ง กา ร ปรับเปลี่ยนเครือข่ายการกระจายสินค้าและซ่ อมบารุ ง ให้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ร วมการผลิ ต ซ้ าและการรี ไ ซเคิ ล ต ล อ ด จ น ก า ร น า ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ มี ก า ร แ ย ก ส่วนประกอบย่อยและการนาวัสดุคาร์บอนต่ามาใช้ ใน การออกแบบและผลิตรถยนต์
ดังนัน้ ผู ้ประกอบการในอุ ตสาหกรรมยานยนต์จึงควรมี การศึ ก ษาและพั ฒ นาแนวคิ ด เศรษฐกิ จ หมุ นเวี ย นมาใช้ กั บ กระบวนการผลิ ต เพื่ อ ให้ ส ามารถผลิ ต รถยนต์ ท่ี ส อดรั บ กั บ สถานการณ์ตลาดรถยนต์ทงั ้ ในปั จจุ บันและในอนาคต โดยเฉพาะ ผู ้ประกอบการรายใหม่ท่เี พิ่งเริ่มดาเนินการกิจการและกาลังเข้าสู่ วงการอุ ตสาหกรรมยานยนต์ หรือ ผู ้ประกอบการรายเดิมแต่ กาลังดาเนินการเพิ่มโครงการใหม่ เพื่อขยายฐานการผลิตและ เพิ่มโอกาสทางการตลาดให้มากขึน้ จึงควรนาแนวคิดเศรษฐกิจ หมุ น เวี ย นนี้ม าพั ฒ นาและปรั บ ใช้ กับ กระบวนการและขั ้น ตอน ต่างๆ ของการทางาน ตัง้ แต่ขัน้ ตอนการเริ่มขอรับส่งเสริมการ ลงทุนกับสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน การจัดทา บั ญ ชี ร ายการวั ถตุ ดิ บ เพื่ อ การน าเข้ า วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ จ าเป็ น สาหรับการผลิตรถยนต์ ไปจนถึงขัน้ ตอนการผลิต การขาย และ บริ การหลั ง การขาย เพื่ อ จะได้ ผ ลผลิ ต รถยนต์ ท่ี มี คุ ณ ภาพสู่ ตลาดสากลและสอดรั บ กั บ เงื่ อ นไขในด้ า นความเป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม อันจะเป็นการการันตีด้านยอดขายที่ดีในอนาคต สมาคมสโมสรนักลงทุ นจึง ได้ จัดกิ จรรมสัม มนาออนไลน์ (ผ่านโปรแกรม Zoom) เรื่อง “เคลียร์ให้ชดั !! การจัดทาบัญ ชี วั ต ถุ ดิ บ อุ ตสาหกรรมยานยนต์ ” ส าหรั บ ผู ้ ป ระกอบการ อุ ตสาหกรรมยานยนต์ท่ีได้รับส่งเสริมการลงทุน เพื่อการจัดทา บั ญ ชี ร ายการวั ต ถุ ดิ บ ส าหรั บ กิ จ การผลิ ต รถยนต์ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ตรงตามเงื่อนไข โดยจัดขึ้นในวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 เวลา 13.30-16.30 น. (เริ่มเข้าระบบเวลา 13.00 น.) ผู ้สนใจสามารถ ลงทะเบี ย นออนไลน์ ส ารองที่ นั่ ง ได้ ท่ี https://icis.ic.or.th และ สอบถามเพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ี แผนกฝึ กอบรมและบริ ก ารนั ก ลงทุ น โทรศัพท์ 0 2936 1429 ต่อ 205
เครดิต: http://www.tgo.or.th/2020/index.php/th/postอุ ตสาหกรรมยานยนต์เดินหน้าด้วยเศรษฐกิจหมุ นเวียน-520 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/933041 https://icis.ic.or.th/i-regist/index.php?r=site/course ภาพจาก: https://manufacturing-review.com/TH/circular-economy-in-automotive-industry/, https://www.brandage.com/article/20879/Tetra-pak
19 icn
สมาคมสโมสรนักลงทุนขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา
เคลียร์ให้ชัด
!!
การจั ด ทาบั ญ ชี วั ต ถุ ดิ บ
อุตสาหกรรมยานยนต์
วันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม 2564 เวลา 13.30-16.30 น.
เริ่ ม เข้ า ระบบ
ออนไลน์
13.00 น. ผ่าน
ZOOM
หัว ข้อ การสัม มนา • การขออนุมัติบัญชีรายการวัตถุดิบและปริมาณ สต็อกสูงสุด และการขอแก้ไขบัญชีรายการและ ปริมาณสต็อกสูงสุด • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดทาข้อมูลสูตร ผลิตภัณฑ์ • การขออนุมัติสูตรผลิตภัณฑ์ และการแก้ไข สูตรผลิตภัณฑ์ • เอกสารประกอบการพิจารณา • รายละเอียดแสดงการใช้วัตถุดิบ (BOM) • รูปผลิตภัณฑ์ • กระบวนการผลิต • ถาม – ตอบ
วิ ท ยากร
คุณนิรินทร ศักดิเศรษฐ์ นั ก วิ ช าการส่ ง เสริ มการลงทุ น ชานาญการ สานั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น
อั ต ราค่ า สั ม มนา สมาชิ ก 1,070 บุ ค คลทั่ ว ไป 1,284
บาท บาท
สมัครเข้าร่วมงานสัมมนา สแกนเลย หรือ คลิก http://icis.ic.or.th
อัตราข้างต้นรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200% อัตราข้างต้นเป็นราคาต่อ 1 ท่าน (ไม่มีค่าเอกสารและค่าอาหาร)
เหมาะสาหรับ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านน าเข้ า -ส่ ง ออก ส าหรั บ บริ ษั ท ผู้ ไ ด้ รั บ การ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น หมวดอุ ต สาหกรรมยานยนต์ และ ผู้เข้า ร่วมสัมมนควรมีพื้นฐานระบบงานสิทธิประโยชน์ด้า น วัตถุดิบ
สแกนเลย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ Tel. : 0 2936 1429 ext.205-208 Email : icis@ic.or.th Website : www.ic.or.th
Emotional Agility วัคซีนชั้นดี นา สู่ความสาเร็จ
(เรา)
เส้าหลิน
ไปฉีดวัคซีนมาหรือยัง? ฉีดวัคซีนตัวไหน Sinovac หรือ AstraZeneca? หลังฉีดวัคซีนแล้วอาการเป็นอย่างไงบ้าง? คาทักทายด้านบนกลายเป็นประโยคยอดฮิ ตในการ เริ่ ม ต้ น สนทนากั น ในช่ วงนี้ หลายท่ า นบอกว่ า ฉี ด แล้ ว หลายท่านอาจตอบว่ายังไม่ฉีดขอรอดูวัคซี นทางเลือ ก ซึ่ งไม่ว่าวัคซีนไข้หวัดใหญ่ หรือวัคซี นอื่นๆ ก็มีเป้ าหมาย หลักคือ ล้วนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ลดโอกาสที่เราจะป่ วย เป็น โรคน้อยลง ความรุ น แรงของโรคก็น้อ ยลง และลด การแพร่กระจายของโรค ถ้าเปรียบเปรยการสู้กับโรคภัยไข้เจ็บที่มาเบียดเบียน กับการดาเนินชีวิตทั่วไปของคนแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นคน มั่งมี หรือยากจน เมื่อเจอเหตุการณ์ต่างๆ ทัง้ ที่คาดคิด และไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น คนทุกคนย่อมมีภูมิคุ้มกันใน การรั บมื อกั บ สถานการณ์ ต่ างๆ เพื่ อให้ตนเองกลับ มา แข็งแรงและยืนหยัดได้อีกครัง้ เพิ่ ม ภู มิ ด้ ว ย Emotional Agility คุณตัน ภาสกรนที ผู ้ประสบความสาเร็จในการทา ธุ รกิจชาเขียว จนทุกคนรู้จักในชื่อ อิชิตัน เคยกล่าวไว้ว่า “...ความสาเร็จมาคู่กับ “อดทน” ผมชอบพู ดว่า ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ และไม่มีอะไรเป็นไปอย่างที่คิด ถ้าเรา เชื่อว่าจะผ่านไปได้ เราก็สามารถที่จะไปได้ พอผ่านไปแล้ว ถึงจุ ดๆ หนึ่ง จะเกิดสิ่งที่เราคาดไม่ถึงเสมอ เพราะฉะนัน้ เราต้ อ งมี ค วามเชื่ อ ถ้ า เราไม่ มี ค วามเชื่ อ หรื อ ไม่ มี ความหวัง เหมือนใบไม้แห้งจากต้นไม้หล่นลงมาที่ต้นนา้ แล้วไหลจากที่สูงไปที่ตา่ ”
สะท้ อนให้ เห็น ว่า การที่ คนๆ หนึ่ง จะประสบ ความสาเร็จ หรือการแก้ไขปั ญหาอะไรสักอย่างให้ผ่าน พ้นไปได้ ต้องมีความอดทน ซึ่ งความอดทนนัน้ ของคน แต่ ล ะคนไม่ เ ท่ า กั น ท าให้ ก ารตอบสนองต่ อ อารมณ์ ความรู้สึกไม่เหมือนกัน โดยผู ้ท่ีประสบความสาเร็จจะใช้ ความคล่ อ งแคล่ ว ทางอารมณ์ (Emotional Agility) เพิ่มความอดทนให้ตนเอง Emotional Agility หมายถึง การฝึ กจิตใจของเราให้ รู้เท่าทันความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ที่เกิดขึ้นเมื่อพบกับ เหตุการณ์ต่างๆ ว่า ทาไมเราจึงคิดอย่างนัน้ รู้สึกอย่างนัน้ และตั ดสิ นใจไปอย่ างนั ้น การฝึ กรั บมื อด้ วย Emotional Agility ดร. ซู ซาน เดวิด จากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ผู ้เขียน หนั งสื อ Emotional Agility ซึ่ งต้ องการให้ เรารู้ ตั วและรู้ อารมณ์ ของตนเอง เกิ ดความคล่ องแคล่ วทางอารมณ์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตอบสนองที่ ถู กที่ ค วร ซึ่ งผู ้ ท่ี มี ค วาม คล่ องแคล่ วทางอารมณ์ มั กจะเป็ นคนที่ รั บมื อกั บความ ซับซ้ อนและการเปลี่ยนแปลงได้ดี มีภูมิต้านความเครียดและ ความยากลาบาก ทาให้ยังสามารถรับมือ เปิ ดใจ และยอมรับ สถานการณ์ได้
21 icn
โดยมีวิธีการฝึ กด้วยกัน 4 ขัน้ ตอนดังนี้ คือ ขัน้ ตอนที่ 1 การยอมรับและตระหนักรู้อารมณ์และ ความคิ ด เมื่ อ มี อ ารมณ์ ห รื อ ความคิ ด อะไรเกิ ด ขึ้ น พยายามฝึ กให้แค่รับรู้ … แต่ไม่ต้องให้นา้ หนักมัน ไม่ต้อง ตัดสินว่าผิดหรือถูก ขัน้ ตอนที่ 2 การรับรู้และจับรู ปแบบ คือ การฝึ ก สั ง เกตรู ป แบบของอารมณ์ ห รื อ ความคิ ด ของตั ว เอง ซึ่ งการจับรูปแบบความคิดความรู้สึกเป็นจุ ดเริ่มต้นในการ จับประเด็นปั ญหาให้ได้ก่อนที่จะเริม่ การเปลี่ยนแปลง ขัน้ ตอนที่ 3 การยอมรับความคิดหรือความรู้สึก ที่เกิดขึ้น ซึ่ งตรงข้ามกับการควบคุมอารมณ์ความรู้สึก ของตน เพราะการควบคุมย่อมตามมาด้วยความกดดัน
ขัน้ ตอนที่ 4 กระทาการใดๆ ตามคุณค่าของเรา เพราะเมื่อเราดึงตัวเองออกจากความคิดและอารมณ์ได้ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น การขยาย “ทางเลื อ ก” ให้ กั บ ตั ว เอง ให้ สามารถเลือกทาให้ตรงกับสิง่ ที่เราสามารถทาได้ ที่ ม า: หนั ง สื อ “เท่ าทั น อารมณ์ก็เข้ าใจตนเอง: Emotional Agility” ซู ซ าน เดวิ ด เขี ยน, วิ ไ ลรั ตน์ เอมเอี่ ยม แปล ภาพจาก: t.ly/7LBp https://www.vectorstock.com/royalty-free-vectors/self-esteem-vectors https://www.facebook.com/photo/?fbid=1204023839990168&set=pcb.1204024279990124
ทั ้ง 4 ขั ้น ตอนข้ า งต้ น จะด าเนิ น ไปได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ มองเห็นถึงคุณค่าของตนเอง ไม่ปล่อยให้การกระทาของ คนอื่น มีผลกับเรามากจนเกินไป ลองสารวจตนเองจาก คาถามต่อไปนี้ • เรามีความสุขกับสิ่งที่เราทาอยู ่ไหม ทุกอย่าง มันปกติดี ใช่ หรือไม่? • เราได้ ใ ช้ ชีวิ ต ในแบบของเรา ที่ ต รงกั บ ความ ต้องการและคุณค่าของตน ใช่ หรือไม่? • เราสามารถตั ด สิ น ใจตามความเชื่ อ ส่ ว นตั ว ไม่ เ พี ย งเพราะท าให้ ค นอื่ น พอใจ หรื อ ถู ก ใครบั ง คั บ ใช่ หรือไม่? ถ้า คาตอบส่ว นใหญ่บ อกว่ า “ใช่ ” แสดงว่ าท่ า น เห็นถึงคุณค่าของตนเอง ซึ่ งถือเป็นภูมิคุ้มกันที่แข็งแกร่ง แม้ จ ะถู กรายล้ อ มไปด้ ว ยกรอบทางสั ง คม ครอบครั ว เพื่ อ น ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และเหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ ที่ ไ ม่ อ าจ คาดเดาได้ ใ นอนาคต เมื่ อ ท่ า นฝึ ก Emotional Agility จนชานาญแล้ ว แม้ ปัญ หาหรื อ อุ ปสรรคจะกลายพั น ธุ ์ ย่อมไม่อาจห้ามท่านสู่ความสาเร็จ...
สมัคร หลักสูตรฝึกอบรม ผ่านระบบ
ออนไลน์
เพียงคลิก http:// icis.ic.or.th
icn 22
หลักสูตรบีโอไอ
หลักสูตรด้านศุลกากร
หลักสูตรการใช้งานระบบ IC
หลักสูตรการบริหารจัดการ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม แผนกฝึกอบรมและบริการนักลงทุน 0 2936 1429 ต่ อ 205-208
การยื่นขอบรรจุตาแหน่งชาวต่างชาติ Q : กรณีท างบริษั ท มีห ลายบัต รส่ง เสริม การลงทุน ซึ่ ง ในบัต รส่ง เสริม บัต รหนึ่ ง มีต าแหน่ง ช่ างฝี มือ ว่า งอยู ่ บริษ ั ท สามารถให้ช่ างฝี มือ ชาวต่า งชาติที่อ ยู ่ใ นบัต รส่ง เสริม เดิม ย้า ยไปบรรจุ ในบัต รส่ง เสริม อีก บัต รหนึ่ ง ได้ห รือ ไม่ โดยช่ างฝี มือ ในบัต รส่ง เสริม เดิม นั น้ ใบอนุญ าต ทางานจะมีอายุ ครบ 2 ปี หากในกรณีที่สามารถย้า ยได้ แต่ตาแหน่ง ใหม่สูง กว่า ตาแหน่ง เดิม จะสามารถดาเนินการได้หรือไม่
มยุ รีย์ งามวงษ์ mayureen@ic.or.th
A : การขอย้ายช่ างฝี มือต่างชาติจากตาแหน่งเดิม ไปทางานในตาแหน่งใหม่ มีขนั ้ ตอนดังนี้ 1. ยื่นขออนุมัติตาแหน่งใหม่ให้ได้รับการอนุมัติเสร็จสิน้ ก่อน (พร้อมตรวจสอบว่าช่ างต่างชาติ ที่จะบรรจุ มีคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์ / เงื่อนไขของตาแหน่งนี)้ 2. ยื่นแจ้งพ้นช่ างฝี มือต่างชาติในตาแหน่งเดิม 3. ติดต่อสานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกรมการจัดหางาน เพื่อแจ้งพ้นระยะเวลาอยู ่ในประเทศและการทางาน ตามที่ได้รับอนุมัติตามข้อ 2 4. ยื่นบรรจุ ช่ างฝี มือต่างชาติในตาแหน่งที่ได้รับอนุมัติตามข้อ 1 5. ติดต่อสานักงานตรวจคนเข้าเมืองและกรมการจัดหางาน เพื่อต่ออายุ วีซ่าและทาใบอนุญาตทางาน ตามที่ได้รับ อนุมัติตามข้อ 4 สิง่ สาคัญ! ทัง้ นี้ การดาเนินการในข้อ 4 และ 5 ต้องดาเนินการให้เสร็จสิน้ ก่อนหมดระยะเวลาการอนุญาตให้อยู ่ ในประเทศ หลังการแจ้งพ้นตาแหน่งตามข้อ 2 ติดตาม FAQ 108 คาถามกับงานส่งเสริมการลงทุน ได้ทาง www.faq108.co.th
สมัครสมาชิก จดหมายข่าว ICN คลิก www.ic.or.th โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 0 2936 1429 ต่อ 210 อีเมล icn@ic.or.th 23 icn