“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 4/53 ประจ�ำเดือนกันยายน – ตุลาคม 2553
www.sc.psu.ac.th
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.
ส�ำรวจพบปลาหมึก 3 ชนิดใหม่ ครั้งแรกในน่านน�้ำไทย อ่านต่อ
“การประชุมนานาชาติเรื่องหญ้าทะเลโลกปี 2010” ภาพบรรยากาศ “พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2552” การประชุมวิชาการ
ติดต่อสอบถาม
Geophysic 2010 ครั้งที่ 5
น.3 น.2 น.7 น.8
: หน่ ว ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7428-8008, 0-7428-8022 โทรสาร 0-7444-6657
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.
ร่วมเครือข่ายอนุรักษ์หญ้าทะเลโลก
ระบุเป็นแหล่งผลิตส�ำคัญในระบบนิเวศทางทะเล
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อัญชนา ประเทพ อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผูท้ �ำการศึกษา วิจัยในเรื่องของสาหร่ายทะเล ที่มีในประเทศไทย กล่าวว่า หญ้าทะเล เป็นผู้ผลิตที่ส�ำคัญในระบบนิเวศทางทะเลในล�ำดับต้นๆ เช่นเดียวกับ แพลงค์ตอนพืช สาหร่ายทะเล รวมทั้งป่าชายเลน เนื่องจากเป็นกลุ่มสิ่ง มีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพค่อนข้างสูง มีความหนาแน่น มี ปริมาณมาก โดยหากมองในระดับโลกแล้ว แหล่งทรัพยากรหญ้าทะเล ที่เด่นและมีความส�ำคัญมาก อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความส�ำคัญของหญ้าทะเล นอกจากจะเป็นตัวให้ออกซิเจนกับระบบ นิเวศแล้ว ยังท�ำหน้าที่ดักจับตะกอน ป้องกันการพังทลายของชายฝั่ง ช่วยในการหมุนเวียนของสารอาหาร เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย หลบภัย วางไข่ ของ สัตว์น�้ำ จากการศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่าหญ้าทะเลในไทยมีอยู่ 12 ชนิด โดยจ�ำนวนหญ้าทะเลทั้งฝั่งอันดามันและอ่าวไทยมีปริมาณที่ใกล้เคียง กัน แต่พื้นที่ที่น่าสนใจคือที่จ.ตรัง ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพะยูน ท�ำให้หญ้าทะเลมีความส�ำคัญซึง่ ถือเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ทกี่ ำ� ลังจะ สูญพันธุ์ แต่ดว้ ยอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทีอ่ าจท�ำลายระบบนิเวศทาง ทะเลโดยไม่รู้ตัว รวมทั้งปัญหาการทับถมของตะกอนที่สืบเนื่องมาจาก การเข้าใช้ประโยชน์ของชาวบ้านตามชายฝั่งโดยไม่ได้คิดถึงการจัดการ อย่างยั่งยืนและการเก็บสัตว์ทะเลบางชนิด เช่น ปลิงทะเล หอยชักตีน ปูม้า ซึ่งอาศัยอยู่ในระบบนิเวศหญ้าทะเลในปริมาณมากเกินไป ท�ำให้ ระบบนิเวศเสียสมดุลได้ “คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้ามาศึกษา วิจัยเกี่ยวกับหญ้าทะเลอย่างจริงจัง ตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์สึนามิ ซึ่ง จากความพยายามเข้าไปศึกษาดูพนื้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ พบว่าแม้ระยะ
www.sc.psu.ac.th 2
แรกหญ้าทะเลจะถูกคลืน่ พัดพา แต่สามารถฟืน้ ตัวได้คอ่ นข้างดีและเร็ว จึงไม่มีผลกระทบที่ต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน จากจุดเริ่มต้นของการเข้ามา มีส่วนร่วมดังกล่าว ท�ำให้ทราบว่าเรายังขาดข้อมูลพื้นฐานในด้านนี้อีก มาก จึงได้มกี ารจัดตัง้ ทีมเพือ่ ติดตามศึกษาความเปลีย่ นแปลงของหญ้า ทะเล โดยร่วมกับโครงการ SeagrassNet ซึ่งเป็นเครือข่ายติดตามการ เปลีย่ นแปลงของหญ้าทะเลทัว่ โลก โดยมีผเู้ ชีย่ วชาญช่วยให้การแนะน�ำ ปรึกษา ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการท�ำงาน ขณะนี้คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. เป็นเครือข่ายของ SeagrassNet และได้รับการมอบหมายให้ดูแลใน พืน้ ทีภ่ มู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นพีเ่ ลีย้ งให้กบั ประเทศอืน่ ๆ ในภูมิภาคอีกด้วย” ผศ.ดร.อัญชนา กล่าว การเข้าสู่เครือข่ายผู้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับหญ้าทะเลในระดับโลก ท�ำให้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รบั เลือกให้เป็น เจ้าภาพจัดการประชุมเรื่องหญ้าทะเลโลกปี 2010 หรือ The World Seagrass Conference (WSC) 2010 ในวันที่ 21 – 25 พฤศจิกายน 2553 ที่ จ. ภูเก็ต และ การประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่องหญ้า ทะเล ครั้งที่ 9 หรือ 9th International Seagrass Biology Workshop (ISBW) 2010 ในวันที่ 27 – 30 พฤศจิกายน 2553 ที่ จ. ตรัง การประชุม ดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อสนับสนุนการศึกษาวิจัยด้านหญ้าทะเล และเน้น ความส�ำคัญของทรัพยากรหญ้าทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ และเพือ่ ปลุกให้คนไทยและคนในภูมภิ าคแห่งนี้ เห็นความส�ำคัญใน การอนุรักษ์หญ้าทะเลมากขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการสร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ด้านทรัพยากรหญ้าทะเลและนิเวศวิทยาทางทะเล สามารถดูรายละเอียดของ The World Seagrass Conference (WSC) และ 9th International Seagrass Biology Workshop 2010 เพิ่มเติมได้ที่ http://www.sc.psu.ac.th/seagrass/
เรื่องจากปก
พบปลาหมึก 3 ชนิด ใหม่ครั้งแรกในน่านน�้ำไทย
ความน่าประหลาดใจการจากทายผลฟุตบอลโลกครั้งล่าสุดที่ ผ่านมาของโปรพอล หรือ ปลาหมึกพอล ท�ำให้อยากท�ำความรู้จักกับ สัตว์ชนิดนี้ ฉบับนีเ้ ราจึงได้รบั เกียรติจาก ดร.จารุวฒ ั น์ นภีตะภัฏ อาจารย์ ประจ� ำ สถานวิ จั ย ความเป็ น เลิ ศ ความหลากหลายทางชี ว ภาพแห่ ง คาบสมุทรไทย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ซึง่ ท�ำการศึกษาวิจยั เกีย่ วกับปลาหมึกมากว่า 30 ปีมาให้ความ รู้เกี่ยวกับเจ้าปลาหมึกกันค่ะ “ปลาหมึ ก เป็ น สั ต ว์ กิ น เนื้ อ อาศั ย อยู ่ ใ นน�้ ำ เค็ ม ขณะนี้ ใ น ประเทศไทยส�ำรวจพบสายพันธุ์ปลาหมึกประมาณ 80 ชนิด ในทาง วิชาการถือว่าปลาหมึกเป็นสัตว์กลุ่มหอยโดยทางสรีรวิทยา แต่ในส่วน ของพฤติกรรมจะคล้ายกับสัตว์จ�ำพวกปลา ด้วยมีความว่องไว สามารถ เคลื่อนที่ได้เร็ว ในทางวิชาการถือว่าปลาหมึกเป็น Climax of invertebrate evolution หมายถึงสัตว์ที่เป็นสุดยอดของวิวัฒนาการในสัตว์ที่ ไม่มกี ระดูกสันหลัง เพราะว่าสติปญ ั ญาของปลาหมึกมีการพัฒนาเทียบ เท่าได้กับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และมีความฉลาดเทียบเท่ากับสุนัข ปลาหมึกทัว่ ไปจะไม่มพี ษิ ร้ายแรง แต่จะมีเพียงกลุม่ เดียวทีม่ พี ษิ ถึงตาย คือ ปลาหมึกสายวงฟ้า ซึง่ สามารถพบในน่านน�ำ้ ไทยด้วย” ดร.จารุวฒ ั น์ กล่าว ดร.จารุวฒ ั น์ ได้สำ� รวจศึกษาปลาหมึกในแถบคาบสมุทรไทย โดย ท�ำการรวบรวมตัวอย่างสายพันธุป์ ลาหมึกเพือ่ เก็บไว้ในพิพธิ ภัณฑสถาน ธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษาสยามบรมราชกุมารี และเมื่อปี 2550-2551 ดร.จารุวฒ ั น์ ในนามของสถานวิจยั ความเป็นเลิศความหลากหลายทาง ชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย และภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับทีมงานจากภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส�ำรวจพบปลาหมึก 3 ชนิดใหม่ครั้งแรกในน่านน�้ำไทย ได้แก่ ปลาหมึกลายเสือ mimic octopus, Thaumoctopus cf. mimicus Norman and Hochberg, 2005 เป็นการรายงานจากภาพถ่ายเป็นครั้งแรก ซึ่งพบบริเวณเกาะสาก จ.ชลบุรี ปลาหมึกสายลายเสือมีขนาดความยาวล�ำตัวสูงสุด 58 มม. และความกว้างเมื่อเหยียดหนวดทั้งสองออก 600 มม. ล�ำตัวเป็นกล้าม เนื้อบาง มีช่องเปิดของล�ำตัวกว้าง สีของล�ำตัวเป็นสีน�้ำตาลเข้ม มีขีดสี ขาวประทั่วตัว ปลาหมึกชนิดนี้มีความสามารถในการแปลงกาย (Mimicry) ให้คล้ายคลึงกับสัตว์อื่น เช่น ปลาดาว งูทะเล และสัตว์ชนิดอื่นๆ อีกหลากชนิด เป็นการปรับตัวให้อยูร่ อดได้ในถิน่ อาศัยทีเ่ ป็นหน้าดินเปิด โล่ง ด้วยเป็นปลาหมึกหายาก ท�ำให้ปลาหมึกสายลายเสือกลายเป็น เป้าหมายยอดนิยมในการเสาะหาของนักด�ำน�้ำทัศนาจร ซึ่งกิจกรรมดัง กล่าวอาจเป็นการคุกคามต่อการด�ำรงชีวิตและการอยู่รอด เป็นผลให้ ปลาหมึกสายลายเสือตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ได้ในอนาคต และอีก 2 ชนิดที่พบในฝั่งอันดามัน บริเวณ จ.ภูเก็ต คือ หอยงวง ช้างกระดาษใหญ่ greater argonaut, Argonauta argo Linnaeus, 1758 อยู่ในกลุ่มปลาหมึกสาย จัดรวมอยู่ใน Order Octopodida เช่น กัน แต่เป็นปลาหมึกกลางน�ำ้ การแพร่กระจายอยู่ในทะเลเปิดเขตร้อน และกึง่ ร้อนทัว่ โลก หนวดคูแ่ รกของหอยงวงช้างกระดาษแผ่ออกเป็นแผ่น ซึ่ ง มี ต ่ อ มที่ จ ะหลั่ ง สารเคมี อ อกมาสร้ า งเป็ น เปลื อ กที่ เ ป็ น สารพวก
แคลเซียมบางๆ เรียกว่าเป็น secondary shell ซึ่งแผ่นเนื้อดังกล่าว ท�ำหน้าที่ห่อหุ้มและพยุงเปลือกไว้และยังท�ำหน้าที่ดักจับแพลงก์ ตอนไว้เป็นอาหารอีกด้วย ส่วนเปลือกจะท�ำหน้าทีเ่ หมือนกล่องทีข่ น ย้ายได้สะดวก ใช้เก็บ ห่อหุ้ม ปกป้องแพไข่ไว้จนกระทั่งไข่ฟัก และ อีกชนิดคือ ปลาหมึกผ้าห่ม blanket octopus, Tremoctopus violaceus cf. gracilis Delle Chiaje, 1830 เป็นปลาหมึกในกลุ่ม ปลาหมึกสาย (octopus) ซึง่ เป็นปลาหมึกกลุม่ ทีม่ หี นวดแปดเส้นใน อันดับ Octopoda ครอบครัว Tremoctopodidae สกุล Tremoctopus โดยมีเพียงสกุลเดียวที่จัดอยู่ในครอบครัวนี้ ลักษณะเด่น คือ มี รูเปิด (cephalic water pore) ทีส่ ่วนบนและส่วนล่างของหัวด้านละ 1 คู่ รูที่อยู่ด้านบนจะมีขนาดใหญ่กว่าด้านล่างเล็กน้อย และมีแผ่น เนือ้ บางๆ(web)ทีเ่ ชือ่ มระหว่างหนวดคูแ่ รก(คูท่ อี่ ยูก่ ลางด้านบนของ หัว, dorsal arms)และระหว่างหนวดคู่แรกกับคู่ที่สอง(dorso-lateral arms)จะแผ่ออกเป็นแผ่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส่วนทีอ่ ยูส่ องข้าง ของหนวดคูแ่ รกทัง้ สองเส้นจะยาวมาก อาจยาวเป็นสองถึงสามเท่า ของความยาวล�ำตัว ซึ่งเป็นที่มาของชื่อสามัญ นอกจากนั้น ส่วน ปลายของหนวดคู่แรกนี้ยังมีลักษณะเป็นเส้นยื่นยาวเลยส่วนที่ เป็น“ผ้าห่ม” ออกไปอีกสองถึงสามเท่า รวมแล้วหนวดคูแ่ รกนัน้ ยาว กว่าล�ำตัวประมาณ 5 – 6 เท่า ความยาวรวมของปลาหมึกผ้าห่มจึง อาจจะยาวได้ถึง 2 เมตร ตัวอย่างทีพ่ บในน่านน�ำ้ ไทยครัง้ นีจ้ งึ ถือเป็นครัง้ แรกโดยหอย งวงช้างกระดาษใหญ่ได้มาจากผลจับของเรืออวนล้อมที่ท� ำการ ประมงในทะเลอันดามัน จ.ภูเก็ต ที่บริเวณน�ำ้ ลึกประมาณ 4,000 เมตร และตัวอย่างปลาหมึกผ้าห่มเป็นตัวอย่างทีเ่ ก็บได้จากเรืออวน ล้อม ที่ท่าเรือรัษฎา จ. ภูเก็ต ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 เป็นเพศเมีย ทั้งหมด ตัวอย่างที่พบมีส่วน “ผ้าห่ม” ที่ไม่สมบูรณ์ ขาดแหว่งอาจ จะเพราะความบอบบางประกอบกับวิธีการจับที่มุ่งหมายสัตว์อื่น มากกว่า สุดท้าย ดร.จารุวฒ ั น์ ได้ให้ความเห็นเกีย่ วกับระบบนิเวศของ ปลาหมึกไว้วา่ “ส่วนของระบบนิเวศของปลาหมึกในประเทศไทยซึง่ เคยมีความอุดมสมบูรณ์ แต่ปัจจุบันด้วยสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป น�้ำ เสื่อมสภาพ ผนวกกับมีการจับเพื่อการบริโภคมากขึ้นด้วยปริมาณ ของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น จึงเป็นสาเหตุท�ำให้ทรัพยากรปลาหมึก ลดน้ อ ยลง ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น การรั ก ษาทรั พ ยากรนี้ ใ ห้ ยั่ ง ยื น ขึ้ น อยู ่ กั บ จิตส�ำนึกของทุกคน ในการร่วมกันอนุรักษ์”
3 www.sc.psu.ac.th
พิพิธภัณฑ์เครื่องค�ำนวณและสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมสิ่งประดิษฐ์และ แสดงวิ วั ฒ นาการของเครื่ อ งค� ำ นวณและเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ประเภทต่าง ๆ ไว้จ�ำนวนหนึ่ง ตั้งแต่ สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยแสดงอยู่ ณ อาคาร คณิ ต ศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ปัจจุบันอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาศาสตร์ ก่อนอืน่ เรามาทราบทีม่ าทีไ่ ปของ พิพธิ ภัณฑ์ฯแห่งนี้ จากประธานสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ผศ.ดร.อ�ำนาจ เปาะทอง ซึง่ ให้เกียรตินำ� เราเข้าชมและให้ความรูเ้ กีย่ วกับพิพธิ ภัณฑ์ฯแห่งนี้กันค่ะ “วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ฯ เริ่ม จากการที่ เ ราพยายามเก็ บ รั ก ษาวั ส ดุ เ ครื่ อ งมื อ อุปกรณ์และเทคโนโลยีตา่ งๆ ไว้เป็น 20 ปี เพือ่ อยาก จะให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ซึ่งในประเทศไทยแทบจะ ไม่มีการเก็บรวบรวมสิ่งเหล่านี้ไว้ และอยากให้ เป็นการบริการวิชาการ ให้ความรู้แก่เด็กๆ ต่อไป นอกเหนือจากเพือ่ การเรียนการสอนของสาขาฯ และ ปัจจุบันวางแผนที่จะปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ให้มีความ สะดวกและการจัดแสดงให้เป็นหมวดหมู่ที่สามารถ ใช้ประโยชน์ได้หลายมิติมากขึ้น” ผศ.ดร.อ�ำนาจ กล่าว ทั้งยังเล่าประวัติความเป็นมาของพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้ว่า “สืบเนื่องจากปี 2518 ซึ่งขณะนั้น รศ.ดร. ศิ ริ พ งษ์ ศรี พิ พั ฒ น์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง คณบดี ค ณะ วิทยาศาสตร์ ที่ประชุมคณบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ มี ม ติ เ ห็ น ชอบจากการเสนอให้ ค ณะ วิทยาศาสตร์และบุคลากรของคณะวิทยาศาสตร์จดั ตั้งและรับผิดชอบศูนย์คอมพิวเตอร์ สังกัดคณะ วิทยาศาสตร์ โดยให้บริการแก่นักศึกษาทุกคณะใน
www.sc.psu.ac.th 4
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีทตี่ งั้ อยูท่ พี่ พิ ธิ ภัณฑ์ เครื่องค�ำนวนและสารสนเทศในปัจจุบัน ณ อาคาร คณิตศาสตร์ ซึง่ รศ.ดร.ศิรพิ งษ์ เป็นบุคคลหลักทีว่ าง รากฐานในการจั ด การเรี ย นการสอนทางด้ า น คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ ส มั ย นั้ น เป็ น ต้ น มา โดยน� ำ คอมพิวเตอร์มาใช้และจัดให้มีการเรียนการสอนใน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์ สมัยนัน้ นักศึกษาคณิตศาสตร์ตอ้ งเรียนวิชาทางด้าน คอมพิ ว เตอร์ ด ้ ว ย นอกเหนื อ จากวิ ช าทางด้ า น คณิตศาสตร์และสถิติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นับได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยล�ำดับต้นๆ ที่มีหลักสูตร การเรียนวิชาทางคอมพิวเตอร์ และต่อมา รศ.ดร. ศิริพงษ์ ได้มอบหมายให้ ผศ.วุฒิพงศ์ เตชะด�ำรงสิน เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ในขณะนั้น ปี 2522 มีการจัดซื้อระบบมินิคอมพิวเตอร์ CDC Cyber 18-20 ขนาด 16 บิต ในราคา 160,000 เหรียญสหรัฐ คิดเป็นเงินไทยประมาณ 5 ล้านบาท เพื่อใช้งานส�ำหรับการเรียนการสอนและงานอื่น ๆ ดั ง นั้ น นั ก ศึ ก ษาสมั ย นั้ น สามารถเรี ย นการเขี ย น โปรแกรม (Programming) โดยไม่ ต ้ อ งส่ ง ตั ว โปรแกรมไปแปลและประมวลผลที่สิงคโปร์หรือที่ กรุงเทพฯ ดังเช่นนักศึกษารุ่นก่อน ๆ ส�ำหรับการใช้ งานอื่น เช่น งานการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้ามา ศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดยวิธรี บั ตรง ปี 2534 ศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ย้ายที่ท�ำการ จากอาคารคณิตศาสตร์ ไปยังที่ท�ำการใหม่ซึ่งตั้งอยู่ ที่ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปัจจุบัน โดยมีบุคลากรในสังกัดและด�ำเนินการ ของตนเองด้วย ในขณะนัน้ เครือ่ งนิมคิ อมพิวเตอร์ยงั สามารถ
ใช้การได้ แต่เนื่องด้วยค่าบ�ำรุงรักษาที่ค่อนข้างสูง ผนวกกับน�้ำหนักของเครื่องที่ยากในการขนย้าย กรรมการในสมัยนั้นจึงตัดสินใจไม่ย้ายเครื่องมินิ คอมพิวเตอร์ไปยังศูนย์คอมพิวเตอร์ใหม่ และได้ บริจาคให้ภาควิชาคณิตศาสตร์ ปี 2535 เปิดให้นักเรียนได้เข้าชมในงาน สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ หลังจากนั้นจึงจัดให้ สถานที่ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน เพือ่ ทีจ่ ะให้นกั ศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ได้ทราบถึงวิวฒ ั นาการ ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ของเครื่ อ งค� ำ นวณและเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา จึงจัดเป็นพิพิธ ภัณฑ์ฯ ขึ้นมา ปี 2540 ซึ่งถือว่าเป็นปีฉลองครบรอบ 40 ปี ของคณะวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบดูแลพื้นที่ ได้ ปรับปรุงสถานที่และจัดรูปแบบการแสดงใหม่เป็น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งค� ำ นวณและสารสนเทศ ซึ่ ง ประกอบด้วยห้องพิพิธภัณฑ์เครื่องค� ำนวณและ คอมพิวเตอร์ ห้องสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ห้อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารขั้นสูงและ E-Gallery” ซึ่งสิ่งของที่น�ำมาแสดงในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ส่วนหนึ่งเป็นวัสดุอุปกรณ์ของภาควิชาคณิตศาสตร์ ในสมัยก่อน และอีกส่วนได้มาจากการบริจาคของ หน่วยงานต่างๆและบุคคลทั่วไป หากโรงเรียนและ บุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจเข้าชมพิพธิ ภัณฑ์เครือ่ งค�ำนวณ และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. สามารถ ติ ด ต่ อ ได้ ที่ ส าขาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ สื่อสาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ โทรศัพท์ 0 7428 8680
ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ น แ
เรียนต่อโท/เอก ที่คณะวิทยาศาสตร์ มอ.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาสถิติ
Bachelor of Science Program in Statistics ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต, วท.บ. (สถิติ) Bachelor of Science, B.Sc. (Statistics) โครงสร้างหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1) กลุ่มวิชาภาษา 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2) กลุ่มวิชาบังคับ 3) กลุ่มวิชาเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรีม
โอกาสการท�ำงาน
137 หน่วยกิต 30 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต 10 หน่วยกิต 8 หน่วยกิต 101 หน่วยกิต 15 หน่วยกิต 62 หน่วยกิต 24 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต
• งานธุรกิจในยุคโลกาภิวัฒน์ จ�ำเป็นต้องใช้นักสถิติในการบริหารงานของ องค์กรธุรกิจมากขึ้นโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจเสรี การแข่งขันมี ความเข้มข้นมากยิง่ ขึน้ ความต้องการนักสถิตอิ าจมีแนวโน้มมากขึน้ ดังนัน้ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านสถิติจึงมีโอกาสจะหางาน ท�ำได้ไม่ยากนัก ถ้ายิ่งมี ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ก็จะมีโอกาสมากขึ้น อย่างไรก็ตามผู้ส�ำเร็จการ ศึกษาทางด้านสถิติอาจถูกจ้างให้ท�ำงานในต�ำแหน่งงานอื่น ๆ ที่มิได้ใช้ชื่อ หรือต�ำแหน่งนักสถิติ แต่จะใช้ความรู้ทางด้านสถิติในการท�ำงาน • นักสถิติที่มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ข้อมูล และมี ความสามารถในการบริหารจัดการสามารถทีจ่ ะเลือ่ นขัน้ ได้ถงึ ระดับบริหาร หากได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกและมีความ สามารถในการสอนสามารถทีจ่ ะเป็นอาจารย์สอนในสถาบันการศึกษา ทัว่ ๆ ไป หรือสามารถหารายได้พิเศษโดยรับท�ำงานเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลให้กบั หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆทีต่ อ้ งการใช้ขอ้ มูลสถิตปิ ระกอบการ บริหารจัดการและด�ำเนินงานธุรกิจ เช่น การส�ำรวจตลาดส�ำหรับสินค้าใหม่ การส�ำรวจความต้องการของตลาดเพื่อปรับปรุงสินค้า เป็นต้น
โอกาสทางการศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดสอนหลักสูตรและสาขา วิชาทีห่ ลากหลาย ทัง้ ทางกายภาพและชีวภาพ โดยจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ให้ผู้เรียนมีความรู้ในระดับที่ได้มาตรฐานควบคู่ไปกับการสร้างประสบการณ์จริง จากภาคปฏิบัติทั้งในห้องปฏิบัติการ ภายในคณะวิทยาศาสตร์มีอาคาร ห้องเรียน เครื่องมือ อุปกรณ์ในการท�ำวิจัย และสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย มีสถานวิจัย ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย ได้แก่ สถานวิจยั ความเป็นเลิศความหลาก หลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย และสถานวิจยั จีโนมและชีวสารสนเทศ นอ กจากนีย้ งั มีสถานวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน สถานวิจยั ผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ สถานวิจัยวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ หน่วยวิจัย พลาสติกชีวภาพ และหน่วยวิจัยวัสดุ และศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโน เทคโนโลยีภาคใต้ภายใต้โครงการจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ มีคณาจารย์ และบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถตลอดจนประสบการณ์ในการถ่ายทอดความ รูแ้ ละการท�ำวิจยั ให้กบั นักศึกษา รวมทัง้ มีผลงานทางวิชาการและมีทนุ วิจยั มากมาย ได้ผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต ออกไปแล้วเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น อาจารย์ นักวิจัย เจ้าหน้าภาครัฐและเอกชน เป็นต้น ปัจจุบนั มีการเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท 19 สาขาวิชา และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก 11 สาขาวิชา ในจ�ำนวนนี้ เป็นหลักสูตรนานาชาติ 2 สาขาวิชา ในปีการศึกษา 2554 ได้เปิดรับสมัครนักศึกษาเข้าศึกษาระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอก
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
• กายวิภาคศาสตร์ • เคมี • คณิตศาสตร์ * • เคมีอินทรีย์ • คณิตศาสตร์และสถิติ • ชีวเคมี • เคมี • ชีววิทยา • เคมีอินทรีย์ • ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ • เคมีศึกษา • จุลชีววิทยา • จุลชีววิทยา • ฟิสิกส์ • ชีวเคมี • ธรณีฟิสิกส์ • ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ • สรีรวิทยา • พฤกษศาสตร์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ • สัตววิทยา วิทยาการคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ) * • นิเวศวิทยา (นานาชาติ) • เภสัชวิทยา • สรีรวิทยา • ฟิสิกส์ • ธรณีฟิสิกส์ • วิทยาการคอมพิวเตอร์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ • นิติวิทยาศาสตร์ * หลักสูตรที่คาดว่าจะเปิดสอนในปีการศึกษา 2554
ก�ำหนดการคัดเลือก
15 ต.ค. - 30พ.ย. 2553 17-25 พ.ย. 2553 14 ธ.ค. 2553
รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต รับสมัครด้วยตนเอง (ที่บัณฑิตวิทยาลัย) ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบคัดเลือก สาขาที่เปิดรับสมัคร
สถิติ เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การน�ำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและน�ำผลจากการวิเคราะห์มาสรุปเกี่ยว กับลักษณะที่สนใจเพื่อน�ำไปสู่การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น วิธีการทาง • นักเรียนที่มีผลการศึกษาระดับเกียรตินิยม สมัครสอบฟรี !! สถิติสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในศาสตร์ด้านต่าง ๆ • รายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0 7428 8094 / E-mail: sci-grad@group.psu.ac.th • สังคมศาสตร์ • หรือทางเว็บไซต์ http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/grad • วิทยาศาสตร์กายภาพ -ชีวภาพ • วิศวกรรมศาสตร์ • วิทยาศาสตร์การแพทย์ ิ สามารถสมัครเข้าเรียนต่อได้ที่ หลักสูตรปริญญาโทที่บัณฑิตสาขาสถิตยาศ าสตร์ ม.อ. หาดใหญ ท วิ คณะ ตร์ ศาส ภาควิชาคณิต สถานที่ติดต่อ วท.ม. (สาขาคณิตศาสตร์และสถิติ) ส�ำนักงานภาควิชาคณิตศาสตร์ ) ต์ ก ระยุ ป ิ ต (สถิ . วท.ม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ) ิ ต วท.ม. (ชีวสถิ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ 90112 วท.ม. (สถิติ) 5-8842 MBA (Master of Business Administration)tics) โทร. 0-7428-8630 โทรสาร 0-745 Statis d Applie in c.th ce psu.a Scien math. of er www. MS (Mast MIS (Management Information System) ol) E-mail : souvakon.j@psu.ac.th MMM (Master of Management at Mahid IT (Information Technology) หลักสูตรอื่นๆ
5 www.sc.psu.ac.th
คุยกับคนเก่ง บุคลากรคนเก่งกับการเป็น 1 ใน 10 ของผู้ที่ศึกษาด้านพิพิธภัณฑ์ศึกษาในประเทศไทย ฉบับนี้เราขอน�ำทุกท่านมารู้จักกับบุคลากรคนเก่งที่เพิ่งส�ำเร็จ การศึกษาจากสาขาพิพิธภัณฑ์ศึกษา (Museum Studies) ฟังแล้วอาจจะรู้สึกสงสัยว่าสาขานี้มีความน่าสนใจและมี ความส�ำคัญอย่างไร ถ้าอย่างนั้นเราไปพูดคุยกับคนเก่งของเรากันเลยนะคะ Q : แนะน�ำตัวให้เรารู้จักกันหน่อยค่ะ A : “ผมนายยิ่งยศ ลาภวงศ์ ชื่อเล่นแวน จบปริญญา
ตรี จากภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.เมื่อ ปี 2551” Q: จุดเริ่มต้นที่สนใจศึกษาด้านพิพิธภัณฑ์ศึกษา A : “ความสนใจเริ่มจาก ขณะที่เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ของคณะวิทยาศาสตร์ ได้มีโอกาสเป็นอาสาสมัครรุ่น แรกๆ ที่ ท�ำงานในพิพธิ ภัณฑสถานธรรมชาติวทิ ยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี ของคณะวิทยาศาสตร์ ซึง่ ผมก็ได้ท�ำงานเป็นอาสาสมัครจนกระทั่งเรียนจบ พอ จบปี 4 ทราบข่าวว่าทางคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (กพ.) เปิดรับสมัครผู้สนใจศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโท โดยมีทนุ การศึกษาในสาขาวิชาพิพธิ ภัณฑ์ ศึกษา ส่วนตัวเห็นว่าน่าสนใจจึงลองสอบดู ปรากฎว่า ผ่านการคัดเลือก จากผู้สมัครประมาณ 100 กว่าคน ทั่วประเทศ โดยกพ.รับทั้งหมด 5 คน แต่จริงๆ แล้วมี ผูไ้ ด้รบั ทุนในสาขาพิพธิ ภัณฑ์ศกึ ษาเพียง 2 คนเท่านัน้ ”
Q: ความน่าสนใจและความส�ำคัญของสาขา พิพิธภัณฑ์ศึกษา A: “ตอนแรกผมก็ยงั ไม่แน่ใจว่าสาขาพิพธิ ภัณฑ์ศกึ ษา
เรียนอย่างไรบ้าง แต่ด้วยเคยท�ำงานเป็นอาสาสมัคร ในพิพิธภัณฑ์ฯ ท�ำให้พอทราบว่าลักษณะการท�ำงาน หรือระบบงานของพิพธิ ภัณฑ์เป็นอย่างไร ซึง่ ตอนสอบ สัมภาษณ์ ผูส้ มัครคนอืน่ ทีไ่ ปสอบด้วย เขาจะคิดเพียง แค่วา่ พิพธิ ภัณฑ์เป็นทีเ่ ก็บของเท่านัน้ กรรมการจึงคิด ว่าเรามีความรูแ้ ละสามารถทีจ่ ะพัฒนาในด้านนีต้ อ่ ไป ได้ และเลือกเรียนสาขานี้เพราะ เป็นงานที่สนุก และ เป็นงานทีช่ อบ ถึงแม้จะเรียนมาด้านสายวิทยาศาสตร์ แต่จริงๆแล้วส่วนตัวก็ชื่นชอบงานที่พบปะผู้คน งาน ประชาสัมพันธ์ งานให้ข้อมูล-ให้ความรู้ ซึ่งเป็นการ เรี ย นรู ้ น อกห้ อ งเรี ย นที่ ส ามารถพบเจอได้ จ าก พิพิธภัณฑ์หรือแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ”
Q: เมื่อได้รับทุนแล้วได้เลือกศึกษาที่ไหน A: “โดยทั่วไปสาขาพิพิธภัณฑ์ทั่วโลกจะเน้นไปทาง
พิพิธภัณฑ์ศิลปะหรือหอศิลป์ต่างๆ ซึ่งต้องใช้ความรู้ ทางด้านประวัตศิ าสตร์และศิลปะ ซึง่ ไม่ใช่สงิ่ ทีผ่ มถนัด
ต่างประเทศ
www.sc.psu.ac.th 6
ด้ ว ยผมมี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับด้านวิทยาศาสตร์จะมีเปิด สอนที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ในประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าและ สถาบันที่ผมเลือกเรียน คือ มหาวิทยาลัย Macquarie ประเทศออสเตรเลีย ด้วยมหาวิทยาลัยดังกล่าวมี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ภ ายในวิ ท ยาเขตถึ ง 8 แห่ ง และเป็ น มหาวิทยาลัยทีม่ ชี อื่ เสียงทางด้านสาขาวิชาพิพธิ ภัณฑ์ ศึกษา อีกทั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้มีความร่วมมือทาง วิชาการกับมหาวิทยาลัยมหิดล ท�ำให้เขาทราบถึง ธรรมชาติ ลักษณะจุดอ่อน-จุดแข็งของพิพิธภัณฑ์ใน ประเทศไทยเป็นอย่างดี ส่งผลให้เกิดประโยชน์กับผม ซึ่งเป็นผู้เรียนด้วย ” Q: สาขาพิพิธภัณฑ์ศึกษามีระบบการเรียนเป็นอย่างไร A: “ระบบการเรียนก็เหมือนกับการเรียนในสาขาอื่นๆ คือในปีแรกจะเป็นการลงเรียนในรายวิชาพืน้ ฐาน เริม่ ตั้งแต่ พิพิธภัณฑ์คืออะไร มีกี่ประเภท ระบบการ จั ด การพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ ซึ่ ง เราจะได้ ค วามรู ้ แ ละ ประสบการณ์จริงก็ต่อเมื่อเริ่มท�ำโครงงาน(Project) การท�ำโครงงานดังกล่าวจะต้องเขียนเป็นรายงาน และ สร้างโปรแกรมเกี่ยวกับการสอน (Education program) เพื่อสอนเด็กๆ ซึ่งขณะที่เรียนก็มีการจัดการ แสดงความรูเ้ รือ่ งวิวฒ ั นาการเกีย่ วกับหอย ผมก็ได้จดั เตรียมเอกสารต่างๆ และกิจกรรม Work shop เพื่อให้ เด็ ก ๆได้ เ ข้ า มาเรี ย นรู ้ แ ละท� ำ กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ วิวัฒนาการของหอย และส่วนของการฝึกงาน ซึ่งมี โอกาสได้ฝึกงาน 2 แห่งด้วยกัน คือ พิพิธภัณฑ์ทาง ด้านชีววิทยา ของมหาวิทยาลัย Macquarie และที่ Australian museum ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ วิทยาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศออสเตรเลีย โดยขณะที่ ฝึกงานได้เรียนรูเ้ ยอะมาก ทัง้ ในเรือ่ งการจัดระบบงาน และวางแผนงานควรท� ำ อย่ า งไร อาจารย์ ห รื อ ผู ้ เชี่ยวชาญของพิพิธภัณฑ์ท�ำงานกันอย่างไร และเรื่อง ของงานวิจัยและการเก็บตัวอย่างซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญ ขณะทีเ่ รียนรู้ ส่วนตัวก็คดิ ว่าสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ ประโยชน์กับพิพิธภัณฑ์สถานธรรมชาติฯ ของเราได้ อย่างไรบ้าง”
Prof. Dr. Kunio Suzuki อธิการบดีมหาวิทยาลัย Yokohama National University ประเทศญี่ปุ่น เดิ น ทางมาเยื อ นคณะวิ ท ยาศาสตร์ ระหว่างวันที่ 26-28 ก.ย. 2553 ใน โอกาสร่วมสอบวิทยานิพนธ์นักศึกษา ปริญญาเอก ภาควิชาชีววิทยา และ เมือ่ วันที่ 27 ก.ย. 2553 ได้เข้าหารือกับ คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ รศ.ดร. จุฑามาศ ศราสุข ในการขยายความ ร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน
ยิ่งยศ ลาภวงศ์
Q: ปัจจุบันท�ำงานอยู่ที่ไหน ในต�ำแหน่งอะไร A: “ปัจจุบันท�ำงานอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติ
วิ ท ยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุ ม ารี คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�ำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ งานหลักที่ท�ำในขณะนี้ คือ งานด้าน การตลาดและการประชาสัมพันธ์ รวมถึงงานดูแล ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตทั่วไป และก�ำลังวางแผนและคิด โครงการต่างๆ ที่เพิ่มเติมจากที่พิพิธภัณฑ์ฯ ของเรา เคยมี เช่น พื้นที่เรียนรู้ส�ำหรับเด็ก Kid Space ในพิพิธ ภัณฑ์ฯ โดยจะมีการจัดซุม้ กิจกรรม และเกมส์ให้เด็กๆ ได้เข้ามาเรียนรู้และพัฒนาตนเอง โครงการจัดตั้ง ชมรมธรรมชาติศึกษา เป็นโครงการที่ต่อยอดมาจาก โครงการที่มีอยู่เดิม สมาชิกคือ บุคคลทั่วไป ตั้งเป้า หมายว่าในปีแรกๆ จะเน้นกลุ่มนักศึกษาของคณะ วิทยาศาสตร์ก่อน โครงการนี้ได้รับเงินสนับสนุนจาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ของสมเด็จพระเทพฯ และอีกโครงการซึ่งได้ทดลองด�ำเนินการไปแล้วคือ โครงการหลักสูตรการศึกษาส�ำหรับนักเรียน โดยปกติ ในโรงเรียนก็จะมีการเรียนการสอนด้านชีววิทยาอยู่ แล้ว ในเรื่องธรรมชาติศึกษา หรือวิวัฒนาการต่างๆ แทนที่จะมีการเรียนการสอนเฉพาะในห้องเรียน เราก็ จะน�ำเด็กๆ มาที่พิพิธภัณฑ์ฯ เพื่อได้รับความรู้จาก สถานที่จริงจากวิทยากร และได้ท�ำกิจกรรมเสริม โดย จัดเป็นหลักสูตรสั้นๆ เพียง 2 ชั่วโมง กลุ่มละ 40 คน ซึ่งอาจารย์ที่น�ำเด็กๆมา ก็พอใจ เด็กๆ ก็ได้รับความรู้ จากกิจกรรมที่เราได้เตรียมให้ด้วย”
“ผมอยากจะฝากถึ ง น้ อ งๆ เยาวชนว่ า พิพิธภัณฑ์ไม่น่าเบื่ออย่างที่คิด จริงๆมันมีอะไรมากกว่าแค่ เป็นที่เก็บของพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาไม่กี่ แห่งในประเทศไทยทีม่ คี วามตืน่ ตัว พิพธิ ภัณฑ์แห่งนีใ้ ห้บริการ ทั้งทางด้านความรู้ และเป็นแหล่งทรัพยากรทางด้านการ วิจัยเกี่ยวกับธรรมชาติ คงจะน่าเสียดายมากถ้าเรามีของ ดีๆอยู่ใกล้ตัว ใน ม.อ. นี้เอง แต่ไม่เคยได้มาใช้บริการเลย ลองแวะเข้ามาเยี่ยมชมดู รับรองว่าจะไม่ผิดหวัง”
วันที่ 13-14 ต.ค. 2553 ผศ.ดร.นิซาอูดะห์ ร ะ เ ด ่ น อ า ห มั ด อ า จ า ร ย ์ ป ร ะ จ� ำ ภ า ค วิ ช า กายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ได้ รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายและ แลกเปลี่ยน ทัศนะ รวมทั้งได้รับเชิญเป็นกรรมการในการ ตัดสินการประกวดการแสดงผลงานแบบ Poster ในหัวข้อ Health Regeneration towards Wealth Creation ในการประชุมสัมมนา 3rd Malaysia Tissue Engineering & Regenerative Medicine Scientific Meeting (MTERMS) 2010 ณ Universiti Putra Malaysia (UPM) ประเทศมาเลเซีย
นดีกับบัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต » ขอแสดงความยิ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ทุกท่าน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดั “พิธพี ระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปีการศึกษา 2552” เมือ่ วันที่ 13 – 14 กันยายน 2553 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ » โครงการส่ คณิตศาสตร์ศึกษา ค่าย 1 ปีการศึกษา 2553 คณะวิทยาศาสตร์ ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐาน วิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ กระทรวงศึกษาธิการ และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จัดการอบรมโครงการส่งเสริมโอลิมปิกฯ ค่าย 1 ปีการศึกษา 2553 ในสาขาวิชาเคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ แก่นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ไม่เกิน มัธยมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 177 คน จากโรงเรียนใน 5 จังหวัดภาคใต้ได้แก่ สงขลา ตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ต ในระหว่างวันที่ 4 – 22 ตุลาคม 2553 ณ คณะวิทยาศาสตร์
» สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จัดโครงการค่ายอาสาพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อชนบท ครั้งที่ 31
เมื่อวันที่ 18-22 และ 25-29 ตุลาคม พ.ศ.2553 ซึ่งนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้จัดสร้างห้องสมุด 1 หลัง ณ โรงเรียนบ้านคลองเขาล้อน ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ.สงขลา ทั้งยังจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ชุมชน พัฒนาพื้นที่โรงเรียน ทั้ง ยังซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ช�ำรุด จัดหา และจัดท�ำอุปกรณ์การเรียนการสอนใหม่ๆ พร้อมจัดกิจกรรมวันวิชาการ แสดง นิทรรศการและสาธิตการทดลอง เพื่อให้นักเรียนและผู้สนใจได้มีส่วนร่วมในการทดลอง ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ และจุดประกายความคิดให้นักเรียนมีความสนใจและมีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้น
7 www.sc.psu.ac.th
คณะวิทยาศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิชาการ
เรื่อง Geophysics 2010 ครั้งที่ 5 (5th International Conference on Applied Geophysics) จากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งใน ปัจจุบนั โดยเฉพาะเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีส่ ร้างความเสียหายต่อ ชีวติ และทรัพย์สนิ ในหลายประเทศทัว่ โลก หากจะเป็นการดีถา้ เรา สามารถเข้ า ใจธรรมชาติ และทราบถึ ง ที่ ม าที่ ไ ปของการเกิ ด ปรากฏการณ์ต่างๆและเตรียมพร้อมในการรับมือกับเหตุการณ์ที่ อาจเกิดขึ้นได้ จากเหตุการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นท�ำให้มีผู้คนหันมา สนใจเหตุการณ์ทางด้านธรณีวทิ ยามากยิง่ ขึน้ ส่งผลให้การท�ำวิจยั ทางด้านธรณีฟิสิกส์เพื่อหาวิธีการใหม่ ๆ ในการส� ำรวจแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ การท�ำวิจยั เพือ่ ตอบค�ำถาม อธิบายเหตุการณ์ หรือหาแนวทางป้องกัน/ลดความเสียหายที่จะเกิดจากปัญหาภัย ธรรมชาติ ภัยจากสิง่ แวดล้อม ฯลฯ ดังกล่าวข้างต้น มีแนวโน้มมาก ขึ้นตามไปด้วย ธรณีฟิสิกส์เป็นสาขาวิชาที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้แก้ ปั ญ หาได้ ห ลายด้ า น เช่ น ด้ า นการส� ำรวจหาแหล่ ง ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านวิศวกรรม และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ภัยพิบตั ิ ตามธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิ ฯลฯ จากความ ส�ำคัญของสาขาธรณีฟิสิกส์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจัดประชุม วิชาการและเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติทางธรณี ฟิสิกส์ โดยเป็นการจัดประชุมวิชาการทางธรณีฟิสิกส์ที่ใหญ่ที่สุด
ในประเทศไทย ซึ่งก�ำหนดจัดให้มีขึ้นทุก ๆ 2 ปี และในปี 2553 นี้ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รั บ เป็ น เจ้ า ภาพ จั ด การประชุ ม วิ ช าการและเสนอผลงานทาง วิชาการทางธรณีฟิสิกส์ในระดับนานาชาติครั้งที่ 5 (5th International Conference on applied Geophysics) ระหว่างวันที่ 11-13 พฤศจิกายน 2553 ณ คลับ อันดามัน บีช รีสอร์ท จังหวัดภูเก็ต โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรน�ำ้ บาดาล และกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นเจ้าภาพร่วม เพื่อเป็นเวที ให้กับนักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา และหน่วยงานที่ท� ำงาน เกี่ยวข้องกับสาขาธรณีฟิสิกส์ได้มีโอกาสน�ำเสนอผลงานวิจัยและ เผยแพร่เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทีเ่ กิดจากการวิจยั และเพือ่ ให้นกั วิชาการ นักวิจัย ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อปัญหาวิจัยที่มี ความสนใจร่วมกัน และเพื่อเป็นจุดเกิดความร่วมมือ เกิดความ เข้มแข็งทางวิชาการทางธรณีฟสิ กิ ส์ และจะได้นำ� เอาองค์ความรูท้ ี่ เกิดขึ้น ไปใช้ในการพัฒนาและแก้ปัญหาของประเทศชาติต่อไป
รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ที่ http://www. sc.psu.ac.th/Department/physics/Geophysics2010.html
เปิดรับสมัครเข้าศึกษาต่อ โท, เอก ประจ�ำปีการศึกษา 2554 รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต 15 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2553 รับสมัครด้วยตนเอง 17 - 25 พฤศจิกายน 2553 สอบถามข้อมูล : งานบริการการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ โทร 0-7428-8094 E-mail sci-grad@group.psu.ac.th, http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/
ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์
(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ
Design by blueimage 0-7446-4401
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่