“...ทันข่าวกับเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...”
ฉบับที่ 1/53 ประจ�ำเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ 2553
www.sc.psu.ac.th
คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจ�ำปี 2553 จากสภาวิจัยแห่งชาติ (อ่านต่อหน้า 4-5)
รมต.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาเยี่ยมชม คณะวิทยาศาสตร์ มอ.
รั
ฐมนตรี ว ่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และคณะ ให้เกียรติเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการวิจัย สารสกัด ยางพารา ภาควิชาชีวเคมี และศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ยางพารา ของคณะวิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ 13 มกราคม ที่ผ่านมา โดยมีอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบำ� รุงสุข และ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข และคณาจารย์ให้การต้อนรับ การเยี่ยมชม ครั้งนี้เพื่อด�ำเนินการด้านระบบสังคมเศรษฐกิจ ฐานความรู้ และสังคมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มี วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา เป็นฐานส�ำคัญ
ใ
พญ.คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนนั ท์
ห้เกียรติภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นประธานคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ในหัวข้อ การเปรียบเทียบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของผมผูช้ ายชาติพนั ธ์มุ าเลย์และจีนในจังหวัด ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ณ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657
“GURU Interview : สัมภาษณ์ผู้รู้”
ข
ดร.ไพบูลย์ นวลนิล
ณะนี้ เรื่ อ งราวที่ ก� ำ ลั ง เป็ นกระแส และได้รบั ความสนใจจากคนทัว่ โลก นั่นก็ คื อ ประเด็ น สภาวะของโลกใน ปัจจุบัน ซึ่งน่าเป็นห่วงอย่างยิ่งไม่ว่าจะ เป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหว พายุ น�้ำท่วม หรือแม้แต่หมิ ะตกในแถบพืน้ ทีท่ ไี่ ม่นา่ จะ เกิดปรากฎการณ์ดังกล่าว ในประเทศไทยเอง ก็มกี ระแสของ ประเด็นดังกล่าวที่น�ำเสนอทางสื่อต่างๆ อย่างหนาหูว่าจะเกิดเหตุการณ์แผ่นดิน ไหวขนาดรุนแรง ท�ำให้เกิดคลื่นสึนามิ ถล่ ม ประเทศไทย สร้ า งความตื่ น ตระหนกแก่ ป ระชาชนที่ อ าศั ย อยู ่ ใ น จังหวัดทางฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งเป็น แหล่งท่องเที่ยว เกิดความหวาดกลัว ขวัญผวากับข่าวดังกล่าว ท�ำให้ ดร.ไพบูลย์ นวลนิล นักแผ่น ดิ น ไหววิ ท ยา กลุ ่ ม ธรณี ฟ ิ สิ ก ส์ และ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาฟิสิกส์ คณะ วิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ได้ อ อกมาให้ ค วามรู ้ ผ ่ า น สื่ อ มวลชนหลายแขนงและผ่ า นทาง บทความเรื่อง “ประเทศไทยจะประสบ กับเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิถล่มอีก หรือไม่?” ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ “…สภาพปัจจุบันของแผ่นดินไหว ในบริ เวณสุ ม าตรา-อั นดามั น หลั ง เหตุการณ์แผ่นดินไหว 26 ธันวาคม 2547 เกิดอาฟเตอร์ชอ็ ค ขนาดความแรง M>4 มีประมาณ 2,600 ครั้งในช่วงระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา พลังงานของแผ่นดินไหวที่ ปลดปล่อยออกมาเท่ากับ 3.65 x 1023 J หรือประมาณ 1.3% ของเหตุการณ์ แผ่นดินไหว 26 ธันวาคม และแผ่นดิน ไหวที่มีขนาดความแรงมาก ก็ต้องใช้ เว ล า ในก า ร ส ะ ส ม พ ลั ง ง า น แ ล ะ ความเครียดนาน ซึ่งพลังงานของแผ่น ดินไหวขนาดความแรง M 9.1 นีต้ ้องใช้
เวลาสะสมพลังงานประมาณ 120 ปี ดังนัน้ ถ้าจะเกิดแผ่นดินไหวขนาด นีก้ ็คงต้องเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2667 อย่างไรก็ตาม ความเสียหายจาก แรงสัน่ สะเทือนทีเ่ กิดจากแผ่นดินไหว ไม่ ส่งผลรุนแรงต่ออาคารบ้านเรือนที่อยู่ใน แนวชายฝัง่ เพราะจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหว อยู ่ ใ นระยะไกลประมาณ 400-700 กิโลเมตร ความเสียหายต่อชีวิตและ ทรั พ ย์ สิ น จะเกิ ด ขึ้ น จากคลื่ น สึ น ามิ เท่านัน้ แต่คลื่นสึนามิไม่ได้เกิดทุกครั้งที่ เกิดแผ่นดินไหว และแผ่นดินไหวขนาด ความแรงเกิน M 6.8 ก็ไม่ได้ท�ำให้เกิด คลื่นสึนามิในทุกเหตุการณ์ ทั้งนีข้ ึ้นอยู่ กับกลไกการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก หรือโฟคัลแมคแคนิค (focal mechanic) ของแผ่นดินไหวเช่นกัน และความสูง ของคลื่นสึนามิก็ขึ้นอยู่กับขนาดความ แรงของแผ่นดินไหว และระดับความลึก ของจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหว หากความลึก เกินกว่า 50 กิโลเมตร คลื่นสึนามิก็ไม่ เกิด หรือถ้าเกิด ความสูงของคลื่นก็ต�่ำ กว่าการเกิดพายุหรือลมมรสุมเสียอีก จากสถิติ 250 ปีที่ผ่านมา คลื่น สึนามิเกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย 32 ครั้งหรือเฉลี่ย 8 ปีต่อครั้ง แต่ความสูง ของคลื่นที่สร้างความเสียหายมีเพียง 6 ครัง้ เท่านัน้ และคลืน่ สึนามิทสี่ ร้างความ เสียหายนัน้ จะเกิดเฉพาะแผ่นดินไหวทีม่ ี ความแรง M ≥7 และเมื่อตรวจสอบกลไก การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก พบว่าจะ มี มุ ม ของการเคลื่ อ นตั ว ของเปลื อ ก มากกว่า 110 องศา จากการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูล จึงสรุปได้ว่า ประการแรก แผ่นดินไหว ขนาดความแรงขนาดเกิน M 9 จะไม่เกิด ขึ้ น ในปี นี้ ห รื อ ในเวลาอั น ใกล้ ซึ่ ง
หมายความว่ า คลื่ น สึ น ามิ ที่ มี ค วาม รุนแรงเหมือนเหตุการณ์เมือ่ 26 ธันวาคม 2547 ก็จะไม่เกิดขึ้นแน่นอน ขอเรียนเพิม่ เติมว่า เหตุการณ์แผ่น ดินไหวขนาดความแรงสูงสุดทีเ่ คยเกิดใน โลกนี้เกิดขึ้นที่ประเทศชิลี เมื่อ ปี พ.ศ. 2503 ขนาดความแรง M 9.5 และแผ่น ดินไหวความแรงมากกว่า M 9 เกิดขึ้น ทั่วโลกเพียง 5 ครั้งในระยะเวลา 300 กว่าปี ประการที่สอง แผ่นดินไหวที่เกิด ในบริเวณหมู่เกาะนิโคบาร์-อันดามันจะ ไม่ทำ� ให้เกิดคลื่นสึนามิ และประการสุดท้าย อัตราการเกิด หรือคาบเวลาอุบัติซ�้ำเฉลี่ยของแผ่นดิน ไหวในแนวรอยมุ ด ตั ว ซุ น ดาบริ เ วณ สุมาตรา-อันดามัน ส�ำหรับความแรง M 9 เท่ากับ 120 ปี M 8 11 ปี และ M 7 2.5 ปี ในรอบ 100 ปีทผี่ า่ นมา ในบริเวณ นีค้ วามแรงเกิดแผ่นดินไหว M>7 รวม 14 ครัง้ หรือเฉลีย่ 10 ปีครัง้ ส่วนแผ่นดินไหว ขนาดความแรง M 5-6 และ M 4-4.9 มี อัตราการเกิดเฉลีย่ เดือนละ 1-2 ครัง้ และ สัปดาห์ละครัง้ ตามล�ำดับและดร.ไพบูลย์ ยังกล่าวอีกว่า ประชาชนก็ไม่ต้องกังวล หรือตื่นตระหนกตกใจกับข่าวคราวที่ว่า จะเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีท่ ำ� ให้เกิด คลื่นสึนามิรุนแรงกว่าเหตุการณ์เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 เกิดขึ้น แต่ ข อย�้ ำ ว่ า ไม่ ค วรตกอยู ่ ใ น ความประมาท ขอให้ติดตามข้อมูล ข่าวสารจากทางการและหน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งจากสื่ อ ต่ า งๆอย่ า งต่ อ เนื่อง…”
น้องป๊อบ
ผันเวลาว่างเพื่อการพัฒนาตนเอง ฉบับนี้เรามาพบกับนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งก็ คือ น้อง “ป๊อป” หรือนายจักรพงษ์ ใหมดง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งเวลาว่างนอกเหนือจากการเรียนนั้น น้องป๊อป ทุ่มเทให้กับการฝึกซ้อมกีฬาประเภท ศิลปะป้องกันตัว น้องป๊อบให้สัมภาษณ์ถึงที่มาที่ไปว่า “...เริ่มแรกไม่รู้จักศิลปะการต่อสู้มากนัก รู้จักแต่ มวยอย่างเดียว พอได้เข้ามาเรียนตอนปี 1 จึงได้มีโอกาสเข้าชมรมศิลปะป้องกันตัว ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งทางชมรมได้มีความร่วมมือกับโรงเรียนสอนศิลปะการป้องกันตัว ภายนอกในส่วนของอาจารย์ผู้ฝึกสอนและนักเรียน ท�ำให้ผมได้มีโอกาสพบกับอาจารย์เจ้าของ โรงเรียนสอนศิลปะการป้องกันตัวและได้ชมการสาธิต “ไทฟูโด” ซึ่งเป็นการรวมเอาศิลปะหลาย ประเภทเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นคาราเต้ ยูโด เทควันโด ไอคิโด จูจิตสู เป็นต้น จึงมีความรู้สึก สนใจในกีฬาด้านนี้...” น้องป๊อปเริ่มฝึกจากกีฬา ไทฟูโด เป็นอันดับแรก และพัฒนาไปสู่ประเภทมวย โดย สนใจมวยไทยสายไชยา ซึ่งจะแตกต่างจากมวยไทยทั่วไป ตรงที่มวยไชยามีท่าทางการต่อสู้ คือ มีการ “ทุ่ม ทับ จับ หัก” ซึ่งเป็นท่าของมวยโบราณ ถัดมาจึงเริ่มเรียนรู้กังฟู และไทเก็กเพิ่ม เติมอีกด้วย โดยส่วนตัวน้องป๊อปมีความเชีย่ วชาญในกีฬาประเภทของมวยไทยมากกว่า แต่ทา่ ทางของ มวยไทยนัน้ สามารถน�ำไปปรับใช้กบั ศิลปะป้องกันตัวได้ทกุ ประเภท ในส่วนของการแข่งขันครัง้ ที่ ผ่านมา เมื่อวันที่ 18-20 ธันวาคม 2552 รายการ “1st Regional International KarateDo Malaysia 2009” ที่ประเทศมาเลเซีย ชิงถ้วยรางวัล The Most Honorable Dato Chief Minister of the state of Selangor เป็นการแข่งขันระดับนานาชาติ ซึ่งมีหลายประเภท ของการแข่งขันตั้งแต่การแข่งขันของรุ่นเด็ก เยาวชนและบุคคลทั่วไป และมีทั้งประเภทเดี่ยวและ
ประเภททีม ซึ่งเป็นการแข่งขันรายการแรกของน้องป๊อปอีกด้วย “...ส่วนตัวเริ่มฝึกหนักมากประมาณ 2-3 เดือนก่อนเริ่มท�ำการแข่งขันรายการนี้ เพราะ ถือว่าเป็นรายการแข่งขันแรกของตัวเองด้วย โดยทั่วไปจะเป็นเพียงการแสดงศิลปะป้องกันตัว ทั้ง ที่เป็นมวยไทยและมวยจีนในฐานะตัวแทนชมรมศิลปะป้องกันตัวของมหาวิทยาลัยตามงาน ต่างๆ...” ในครั้งนี้น้องป๊อปเข้าแข่งขันในรุ่นทั่วไป ประเภททีม โดยจับคู่แข่งขันตามน�้ำหนัก ใน ครั้งนี้น้องป๊อปได้แข่งคู่กับนักกีฬาจากประเทศอินเดีย และได้รับรางวัลเหรียญเงินประเภททีม กลับมาให้เป็นที่ชื่นใจ ทั้งยังได้รับประสบการณ์และมิตรภาพจากเพื่อนๆ ทั้งที่เป็นเพื่อนร่วม ทีมและเพื่อนชาวต่างชาติ รวมทั้งได้ฝึกภาษากับเพื่อนนักกีฬาต่างชาติด้วย และขณะนี้ก�ำลังฝึกซ้อมเพื่อเตรียมความพร้อมของร่างกายสู่การแข่งขันในรายการ Mix Mature Art (MMA) เป็นการรวมเอาศิลปะป้องกันตัวทุกประเภทมาต่อสู้แข่งขัน โดยใช้ กฎการแข่งขันเดียวกัน ในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายนนี้ ที่กรุงเทพมหานคร น้องป๊อปได้กล่าวสรุปถึงประโยชน์ของการเรียนศิลปะป้องกันตัว และการน�ำมาปรับใช้ กับการเรียนว่า “การที่เรียนศิลปะป้องกันตัวนั้น สามารถมาน�ำไปพัฒนาตัวเองในส่วนของการใช้ไหว พริบในการแก้ปัญหาขณะท�ำการแข่งขัน และจะต้องมีจิตใจการเป็นนักกีฬา คือ ไม่ใช่ใส่แรงที่ มีทั้งหมดไปที่คู่ต่อสู้ แต่ต้องรู้จักใช้และผ่อนแรง จะต้องไม่ท�ำให้เพื่อนนักกีฬาเจ็บตัวด้วยเช่น กัน รวมถึงใช้วิชาที่เรียนมาเพื่อการป้องกันตัวไม่ใช่น�ำเอาไปรังแกผู้อื่น และสามารถน�ำมาปรับ ใช้ในส่วนของก�ำลังใจและก�ำลังกาย ร่างกายเราเหนื่อยแล้วนะ แต่ถ้าเราฝืนอีกนิด มันก็จะ ข้ามผ่านความรูส้ กึ เหมือ่ ยล้านัน้ ได้ รวมทัง้ ยังสร้างการฝึกสมาธิในขณะเรียนและขณะฝึกซ้อมกีฬา ได้เช่นกัน”
ร่วมแสดงความยินดีกับอาจารย์ผู้ได้รับรางวัลในวันครูสงขลานครินทร์ ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 15 มกราคม ที่ผ่านมา ณ หอประชุมนานาชาติฉลองสิริราช สมบัติครบ 60 พรรษา ในครั้งนี้ คณะวิทยาศาสตร์ได้ท�ำการส�ำรวจจากนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะเสนอรายชื่อของอาจารย์ โดยแยกตามหัวข้อดังนี้
» อาจารย์ปัจจุบันที่ได้รับการเสนอชื่อโดยนักศึกษาในฐานะที่เป็นที่รัก ชื่นชมและศรัทธา จ�ำนวน 3 ท่านได้แก่
»
»
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรณา อินนาจิตร ภาควิชาเคมี • ดร.นรารักษ์ หลีสกุล ภาควิชาเคมี • ดร.นัฐดา จิเบ็ญจะ ภาควิชาคณิตศาสตร์ อาจารย์ปัจจุบันที่ได้รับการเสนอชื่อโดยศิษย์เก่าในฐานะที่เป็นที่รัก ชื่นชมและศรัทธาจ�ำนวน 1 ท่าน • รองศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ วงศ์นาวา ภาควิชาเคมี อาจารย์ที่คณะได้คัดเลือกเป็นอาจารย์ตัวอย่างด้านการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยฯ และของคณะวิทยาศาสตร์ ปี พ.ศ. 2552 • รองศาสตราจารย์ ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ ภาควิชาชีววิทยา รายชื่ออาจารย์ตัวอย่าง/อาจารย์ดีเด่น/บุคลากรดีเด่นและผลงานดีเด่นที่ได้รับรางวัล ปีพ.ศ. 2551 – 2552 ในงานยินดีศรีวิทยา ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2553 ณ ห้องสัมมนา คณะวิทยาศาสตร์
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
13 14 15
ชื่อ - สกุล รศ.ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ ระดับ 9
สังกัด
ได้รับการคัดเลือก/ผลงานเด่นที่ได้รับ
อาจารย์ดีเด่น ด้านการเรียนการสอน คณะวิทยาศาสตร์ และอาจารย์ตัวอย่าง ด้านการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2552 รศ.ดร.เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร ระดับ 9 จุลชีววิทยา อาจารย์ดีเด่น ด้านการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2552 ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ ระดับ 8 ชีววิทยา อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2552 ผศ.ดร.รณสรรพ์ ชินรัมย์ ระดับ 8 คณิตศาสตร์ - อาจารย์รุ่นใหม่ดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2552 - ได้รับโล่เกียรติคุณผู้สร้างคุณประโยชน์และชื่อเสียงให้โครงการ พสวท.และส่วนรวม รศ.ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา ระดับ 9 สถานวิจัยจีโนมและ รางวัลผลงานวิจัย ประจ�ำปี 2551 ระดับชมเชยเรื่อง การศึกษาสมบัติทางชีวภาพของฟอติลินจากกุ้งกุลาด�ำ ชีวสารสนเทศ รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ ระดับ 9 รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา ระดับ 9 เคมี รางวัลชมเชยผลงานเรื่อง อุปกรณ์เก็บตัวอย่างสารอินทรีย์ระเหยในอากาศแบบพาสซีพ รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร ระดับ 9 ฟิสิกส์ ดร.จงดี ธรรมเขต เคมี ผศ.ยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล ระดับ 8 ฟิสิกส์ นักศึกษาเก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจ�ำปี 2551 นายนรฤทธิ์ พูพ่ งษ์ไทย พนักงานรักษาศพ กายวิภาคศาสตร์ บุคลากรดีเด่น กลุ่มลูกจ้างประจ�ำ คณะวิทยาศาสตร์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจ�ำปี 2551 นางสวลี บัวศรี จ.บริหารงานทั่วไป วิทยาการ - บุคลากรดีเด่น กลุ่มพนักงานเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2552 คอมพิวเตอร์ - ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภทโครงการพัฒนางาน ผลงานเรื่อง การน�ำ Dropdown list มาประยุกต์ใช้ งานกับแบบฟอร์มของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ณ เวทีสร้างสรรค์มุ่งมั่นนวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ ปี 2552 และผลงานเดียวกัน ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทโครงการพัฒนางาน ณ เวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2552 น.ส.กรรยา พิทักษ์ฉนวน จุลชีววิทยา ได้รบั รางวัลชนะเลิศ ประเภทโครงการพัฒนางาน ผลงานเรือ่ ง การจัดเก็บข้อมูลรายงานประจ�ำปีการประเมิน ผู้ปฏิบัติงานบริหารทั่วไป 6 คุณภาพด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-SAR) ณ เวทีสร้างสรรค์มุ่งมั่นนวัตกรรม ของคณะวิทยาศาสตร์ ปี 2552 นายจ�ำรัส ณ สุวรรณ ช่างเทคนิค 5 ฟิสิกส์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรม ผลงานเรื่อง เครื่องตัดหินทรงกระบอก ณ เวทีสร้างสรรค์มุ่งมั่น นวัตกรรม ของคณะวิทยาศาสตร์ ปี 2552 น.ส.นุชรีย์ ชมเชย นักวิทยาศาสตร์ วัสดุศาสตร์ ได้รบั รางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรม ผลงานเรือ่ ง ภาชนะเผาสารตัวอย่างทนอุณหภูมิ 1500 องศาเซลเซียส ณ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการพัฒนางาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2552
:: นกั จุลชีวระดับโลก ::
านวิจยั เมอื่ วันที่ 26 มกราคม 53 สถ ร์ ไดจ้ ดั ทิ ยาศาสต ผลติ ภัณฑธ์ รรมชาติ คณะว antibiotics?” โดย สัมมนาในหัวข้อ “What are ทยา ผู้มีชื่อเสียง ได้รับเกียรติจากนักจุลชีววิlian Davies จาก ระดับโลก Professor Ju y & Immunology, Department of MicrobiologColumbia, Canada The University of British ิ ท ยา ศา สต ร์ กา ร ณ ห้ อ งสั ม มน า คณะว ค วา ม สน ใจ จา ก สั ม ม น าใ น ค รั้ ง นี้ ไ ด ้ รั บ ณฑิตศึกษาเข้าฟัง คณาจารย์และนักศึกษา บัการถ่ายทอดความ เป็นจ�ำนวนมาก นอกจาก sor Julina Davies รู้ทางวิชาการครั้งนี้ Profesาวิ ท ยา นิ พ นธ ์ แ ก่ ได ้ เ ป ็ น อา จา รย ์ ที่ ป รึ ก ษ ะวิทยาศาสตร์อีก นักศึกษาบัณฑิตศึกษาคณ ด้วย
ชีววิทยา
:: คณะผู้บริหารจาก UM ::
น เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 ที่ผ่า ำ น� a (UM) มา คณะจาก University of Malay ดี และProf. โดย Prof. Ghauth Jasmon อธกิ ารบวิทยาศาสร์ Dr. Mohd Sofian Azirun คณบดีคณะา ศ า ส ต ร ์ เ ข ้ า พ บ ค ณ บ ดี ค ณ ะ วิ ท ย จาความ รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข ได้มีการเจร างวิชาการ ร่วมมือและแลกเปลี่ยน ความรู้ทะการบริหาร ด้านการเรียนการสอน การวจิ ยั แล วามสนใจที่ โดยผู้มาเยือนจาก UM ได้แสดงค ว่ มกนั ในรูป จะจัดท�ำความร่วมมอื ทางวชิ าการร ญ ิ ญาบัตร แบบคอื Joint Degree Program (1 ปร ารศึกษา), 2 logos และยกเว้นค่าธรรมเนียมกe, Student Co Supervision, Staff Exchang นอให้ทุน Exchange และทั้งสองสถาบันต่างเส ักศึกษาเข้า แบบ Full Grants สนับสนุนให้น ศึกษาจนจบระดับปริญญาเอก
คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร ได้รับรางวัลจากสภ รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย
ผลงาน “อุปกรณ์ส�ำหรับตรวจหาเชื้อแคมไพโรแบคเตอร์” รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ ในรางวัลผล งานประดิษฐ์คิดค้น ปี 2553 จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้านเกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรมเกษตร แคมไพโรแบคเตอร์เป็นเชื้อก่อโรคอุจจาระร่วง ที่เป็นปัญหาส�ำคัญโดยได้รับการปนเปื้อนมาจากผลิตภัณฑ์จาก สัตว์ โดยเฉพาะเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์จากเนื้อไก่ จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์ ทางจุลชีววิทยา อย่างไรก็ดี ปัจจุบันแม้ว่าจะมีวิธีการตรวจหาเชื้อที่มีประสิทธิภาพหลายวิธี รวมถึงวิธีมาตรฐานที่ใช้อยู่ คือ วิธี เพาะเลี้ยงเชื้อและตรวจสอบทางชีวเคมี แต่วิธีดังกล่าวค่อนข้างซับซ้อน ต้องใช้บุคลากรที่มีประสบการณ์ รวมทั้งมีค่า ใช้จ่ายค่อนข้างสูงและใช้เวลานาน ดังนัน้ หากสามารถพัฒนาระบบตรวจวิเคราะห์ที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และราคาถูกขึ้นใช้ได้เองในประเทศ จะ ช่วยรับรองคุณภาพของสินค้าเนื้อสัตว์ส่งออกและสร้างความเข้มแข็งให้กับธุรกิจนี้เป็นอย่างมาก รศ.ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย อาจารย์ประจ�ำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และคณะ ได้คิดค้นและพัฒนาระบบการตรวจหาเชื้อแคมไพโลแบคเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์แยกเชื้อ ร่วมกับชุดตรวจวินจิ ฉัยมัลติเพลกซ์-พีซีอาร์ เพื่อใช้บ่งชี้ชนิดของเชื้อ โดยใช้หลักการในการเคลื่อนที่ผ่านแผ่นกรอง ซี่ง เคลือบด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีความหนืด ซึ่งพบได้ในเชื้อแคมไพโลแบคเตอร์มีชีวิตเท่านัน้ เพื่อใช้ในการแยกเชื้อที่ ปนเปื้อนในอาหาร ซึ่งมีข้อดี คือ ท�ำให้สามารถแยกเชื้อแคมไพโลแบคเตอร์จากเชื้อชนิดอื่นที่ปนเปื้อนในอาหาร โดยวิธีที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถตรวจหาเชื้อแคมไพโลแบคเตอร์จำ� นวนน้อยที่ปนเปื้อนในอาหาร (10 cfu/g) และแยกเชื้อที่มีชีวิตออกจากเชื้อ ที่ตายได้ ในขณะที่การตรวจวินจิ ฉัยบ่งชี้ชนิดของเชื้อท�ำได้รวดเร็วยิ่งขึ้นด้วยเทคนิค มัลติแพลกซ์-พีซีอาร์ที่ได้พัฒนา ควบคู่กัน โดยสามารถบ่งชี้ชนิดของเชื้อได้รวดเร็วทั้งจากดีเอ็นเอ (100ng) และเซลล์แบคทีเรีย (2x105 cfu) อีกทั้งเป็น วิธีที่ง่าย มีความไวและความจ�ำเพาะสูง ใช้ระยะเวลาสั้นภายใน 1 วัน โดยเป็นขั้นตอนการแยกเชื้อ 18 ชั่วโมงและบ่ง ชี้ชนิดของเชื้อ 6 ชั่วโมง และใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างถูกอีกด้วย
ผลงาน “สือ่ การเรียนการสอนเกีย่ วกับการสร้างเครือ่ งมือและวิธกี ารวัดส�ำหรับฟิสกิ ส์วสั ดุ โดยใช้แลปวิวและวิชวลเบสิก” รับรางวัลประกาศ เกียรติคุณ ในรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ปี 2553 จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มาที่ไปของผลงานชิ้นนี้สืบเนื่องจากเครื่องมือทดสอบวัสดุที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนัน้ ในต่างประเทศมีมานานแล้วและมีราคาแพง ส่วนในประเทศไทยมีผู้ ผลิตเครื่องมือในลักษณะแบบนีน้ ้อยมาก คณะผู้วิจัยซึ่งน�ำโดย รศ.ธงชัย พันธ์เมธาฤทธิ์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ ได้ติดตามบทความวิจัยใน Science Direct พบมีราย ละเอียดการทดสอบวัสดุน้อยมาก ด้วยเหตุนจี้ งึ ได้รเิ ริม่ ประดิษฐ์เครือ่ งมือนีข้ นึ้ ด้วย ความหวังว่าประเทศไทยเราจะได้มวี ธิ กี ารสร้างเครือ่ งมือทดสอบวัสดุขนึ้ ใช้ เอง สามารถน�ำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนวิชาวัสดุอิเล็กโตรเซรามิกส์และอุปกรณ์สารกึ่งตัวน�ำ ลดการน�ำเข้าของเครื่องมือทดสอบวัสดุ น�ำไปใช้ในงานใน ห้องปฏิบัติการ ระดับโครงงานและวิทยานิพนธ์ได้ดี ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวมีกระบวนการในการทดสอบสารหรือวัสดุแต่ละชนิดแตกต่างกัน โดยจ�ำเป็นต้องออกแบบและสร้างเครื่องมือส�ำหรับทดสอบสมบัติ และสามารถสาธิตการประยุกต์ใช้งานของวัสดุอิเล็กโตรเซรามิกส์และสารกึ่งตัวน�ำได้ ปัจจุบันเครื่องมือนี้สามารถทดลองได้ทั้งหมด 198 การทดลองโดยแบ่งเป็น 155 การทดลอง ส�ำหรับ Lab VIEW และ 43 การทดลอง ส�ำหรับ Visual Basic โดยจุดเด่นของผลงานชิ้นนีค้ ือ ผลงานประดิษฐ์คิดค้นที่มีลักษณะเป็นสื่อการเรียนการสอนและวิธีการเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นขึ้นใหม่ในประเทศไทยโดย มีรายละเอียดครอบคลุมตั้งแต่การเตรียมสารตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือวัด การวัดสมบัติเชิงฟิสิกส์และการประยุกต์ใช้งาน ต้นทุนในการสร้างเครื่องทดสอบ มีราคาต�่ำกว่าต่างประเทศประมาณ 20 เท่า สิ่งประดิษฐ์ที่ทำ� ขึ้นนี้เป็นผลงานจากความริเริ่ม ความเพียรพยายามของผู้ประดิษฐ์คิดค้นเองและมาจาก ประสบการณ์การท�ำงานในช่วงประมาณ 27 ปี ที่ผ่านมา ขณะนี้ผลงาน “สื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือและวิธีการวัดส�ำหรับฟิสิกส์วัสดุ โดยใช้แลปวิวและวิชวลเบสิก” ได้นำ� ไปใช้ทดลอในการเรียน การสอนวิชา ปฏิบตั กิ ารฟิสกิ ส์วสั ดุ วิชาโครงงานฟิสกิ ส์ วิทยานิพนธ์และการวิจยั ทีห่ อ้ งปฏิบตั กิ ารฟิสกิ ส์วสั ดุ ภาควิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-2551 และคาดว่าในอนาคตมีแนวโน้มน�ำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในโรงเรียน วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอื่นๆ และ ยังเกิดการพัฒนาไปสู่ภาคอุตสาหกรรมโดยผ่านตัวกลางที่เป็นนักศึกษาอีกด้วย
ดร.อาภรณ์ นุ่มน่วม
รศ.ธงชัย พันธ์เมธาฤทธิ์
ขอร่วมแสดงความยินดีกับ รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก ประจ�ำปี 2552 จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจ�ำปี 2552 จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กับ ดร.อาภรณ์ นุ่มน่วม อาจารย์ประจ�ำภาค วิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ในวิทยานิพนธ์เรือ่ ง “โพเทนชิโอเมทริกและคาพาซิทฟี แอฟฟินติ ไี บโอเซนเซอร์” ซึง่ เป็นเทคนิคหรือวิธกี ารตรวจวิเคราะห์ สารโดยอาศัยวัสดุชีวภาพที่สามารถจับอย่างจ�ำเพาะเจาะจงกับสารที่ต้องการตรวจวัด โดยตรวจวัดสัญญาณที่เกิดจากความความต่างศักย์ไฟฟ้า และ ความจุไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสารที่ต้องการวิเคราะห์ เนื่องจากปัจจุบันการตรวจวัดสารปริมาณน้อยซึ่งอาจเป็นสารตกค้างหรือปนเปื้อนในอาหาร ยา สิ่งแวดล้อม รวมถึงการตรวจสารบ่งชี้เพื่อวินจิ ฉัย โรคทางการแพทย์มคี วามส�ำคัญ เพราะสารบางชนิดถึงแม้มปี ริมาณเล็กน้อยก็สง่ ผลกระทบต่อสิง่ มีชวี ติ โดยเฉพาะถ้าในตัวอย่างทีเ่ ราต้องการวิเคราะห์ มีสารอื่นปะปนอยู่ด้วย สารเหล่านี้อาจจะเป็นตัวรบกวนซึ่งจะมีผลต่อความถูกต้องของการวัด ซึ่งเทคนิคที่ใช้ในปัจจุบันมีข้อด้อยหลายประการ เช่น เครื่องมือมีราคาแพง และต้องอาศัยความช�ำนาญของผู้ทำ� การวิเคราะห์ และใช้เวลานาน ดังนัน้ งานวิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาเทคนิคการตรวจวัดสารที่ มีปริมาณน้อยมาก ให้มีความถูกต้อง รวดเร็ว ง่าย และมีความจ�ำเพาะต่อสารที่ต้องการวิเคราะห์ โดยในงานวิจัยจะเลือกใช้วัสดุที่จับอย่างจ�ำเพาะจง จงกับสารทีต่ อ้ งการวัดแล้วตรวจวัดสัญญาณทีเ่ กิดขึน้ และงานวิจยั ก็ได้พฒ ั นาอุปกรณ์ตรวจวัดสองชนิด คือ อุปกรณ์วดั การเปลีย่ นแปลงของศักย์ไฟฟ้า และอุปกรณ์วัดการเปลี่ยนแปลงค่าความจุไฟฟ้า นอกจากนี้พบว่า เทคนิคที่พัฒนาขึ้นนี้ การวิเคราะห์ท�ำได้ง่ายและรวดเร็ว เมื่อเทียบกับเทคนิคที่ใช้ในปัจจุบัน โดยถ้ามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถใช้ในการตรวจหรือเฝ้าระวังสารที่บ่งชี้โรคทางการแพทย์ รวมทัง้ การเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารเคมีทอี่ าจตกค้างในสิง่ แวดล้อมได้ ซึง่ มีผลต่อการเฝ้าระวัง ปรับปรุง และติดตามคุณภาพชีวติ ด้านสิง่ แวดล้อม ที่ดีของคนในสังคมต่อไป
ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาวิจัยแห่งชาติ ประจ�ำปี 2553 ผลงาน “อุปกรณ์สกัดสารแบบไมโคร เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” รับรางวัลประกาศ เกียรติคุณ ในรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ปี 2553 จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้าน วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช โดยมีคณะผูว้ จิ ยั ได้แก่ รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร และดร.จงดี ธรรมเขต อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ และจากบทสัมภาษณ์ผ่านทางสถานี วิทยุกระจายเสียงวิทยุ ม.อ.F.M. 88 ในฐานะคณะผู้วิจัยและคิดค้น“อุปกรณ์สกัดสารแบบไมโครที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม” ทีส่ ามารถลดการน�ำเข้าอุปกรณ์สกัดสารจากต่างประเทศ ซึง่ คาดว่าอนาคต พัฒนาสูอ่ ปุ กรณ์ตรวจหาค่าปริมาณสารพิษในสิง่ แวดล้อม สารพิษในอาหาร และยา พร้อมเผยแพร่ และต่อยอดเข้าหลักสูตรการเรียนการสอนจริงในมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย “กระบวนการสกัดสารทางวิทยาศาสตร์ โดยทัว่ ไปต้องใช้สารละลายเป็นตัวท�ำปฏิกริ ยิ า ซึง่ เมือ่ ใช้สารละลายจ�ำนวนมาก จะเกิดปัญหาการปล่อยสารพิษจากตัวสารละลาย เป็นตัวการหนึง่ กระทบ ต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ดังนัน้ คณะนักวิจยั จึงคิดหาอุปกรณ์ชว่ ยสกัดโดยไม่ตอ้ งอาศัยสารละลาย พบว่ามีการใช้อปุ กรณ์ช่วยในการสกัดสาร ซึง่ ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ เป็นสินค้าน�ำเข้ามูลค่าสูง ผู้ศกึ ษาได้พฒ ั นาอุปกรณ์ให้มรี าคาถูก ท�ำได้ง่าย ใช้วสั ดุทหี่ าได้ในประเทศ หรือห้องปฏิบตั กิ าร โดย ใช้ไฟเบอร์ที่มีความทนทาน มีอายุการใช้งานสูง และให้ผลการเตรียมตัวอย่างก่อนวิเคราะห์ที่มี มาตรฐานเชื่อถือได้เทียบเท่าหรือดีกว่าการน�ำเข้า” ดร.จงดี กล่าว รศ.ดร.เพริศพิชญ์ ได้กล่าวถึงประโยชน์ของผลงานชิ้นนี้ว่า “คุณสมบัติ และหลักการท�ำงาน ส�ำคัญ ของ อุปกรณ์สกัดสารแบบไมโครที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาศัยการสกัดด้วยตัวดูดซับ ของแข็งปริมาณน้อย ประกอบด้วยไฟเบอร์และด้ามจับที่ใช้ร่วมกับไฟเบอร์ ในส่วนของไฟเบอร์ใช้ เส้นลวดโลหะ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นแกนกลางของตัวดูดซับเพือ่ ให้มคี วามแข็งแรง และทนทานต่อการแตกหัก ส่วนตัวดูดซับในขั้นแรกเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวของแกนกลางโดยใช้วิธีการเกาะติดทางไฟฟ้าเคมีด้วย ไออนของโลหะ เพื่อให้เกิดเป็นรูพรุนขนาดนาโน ในขั้นตอนที่สอง ใช้เทคนิคโซลเจลเคลือบบนโลหะ เกาะติดที่มีรูพรุนขนาดนาโน โดยชัน้ ของโซลเจลนีจ้ ะท�ำหน้าทีใ่ นการดูดซับสารทีต่ อ้ งการวิเคราะห์ ซึง่ เป็นขัน้ ตอนสุดท้ายใน การสกัด และเพิ่มความเข้มข้นของสารที่ต้องการวิเคราะห์ ซึ่งให้ผลที่แม่นย�ำตามต้องการ” อุปกรณ์สกัดสารแบบไมโครที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นอุปกรณ์ช่วยลดต้นทุน และประหยัดค่า ใช้จ่าย แต่ให้คุณสมบัติเทียบเท่า และทนทานกว่าอุปกรณ์น�ำเข้า เหมาะส�ำหรับห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ทั่วไปที่ต้องการเลือกใช้ และสามารถท�ำขึ้นมาใช้ได้เอง ประโยชน์ในการใช้งาน สามารถ ประยุกต์ใช้วิเคราะห์สารที่สนใจในงานต่าง ๆ ทั้งทางตัวอย่างชีวภาพ สิ่งแวดล้อมและผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติอีกด้วย
แนะน�ำหลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาเคมี
» ปรัชญาของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีสาขาวิชาเคมีทมี่ คี วามรูพ้ นื้ ฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และมีความ สามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ สามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสม มีทักษะในการบริหารจัดการ มีความพร้อมที่จะท�ำงานได้หลากหลาย หรือสามารถสร้างสรรค์ งานขึ้นเองได้ และมีศักยภาพที่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สูงขึ้น รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และ เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม » วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีความรอบรู้สาขาวิชาเคมี สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ เป็นการตอบสนองความต้องการบุคลากรสาขานีท้ ั้งในภาครัฐและภาค เอกชน 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความใฝ่รู้ สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมีศักยภาพที่จะค้นคว้าวิจัย และศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สูงขึ้น 3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ และแก้ ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคม มีโลกทัศน์กว้าง และสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี » ระยะเวลาการศึกษา เป็นหลักสูตรเรียนเต็มเวลาระดับปริญญาตรี 4 ปี ใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน 8 ปีการศึกษา » โอกาสทางการท�ำงาน ปัจจุบันตลาดแรงงานเปิดกว้าง ในส่วนของราชการ ได้แก่ กรมทรัพยากรธรณี กรมวิทยาศาสตร์ บริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กองทัพและกองพิสูจน์หลักฐาน ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ฯลฯ ใน ภาพเอกชน เช่น โรงงานปิโตรเคมี บริษัทน�้ำมัน สิ่งทอ พลาสติก ยาง ปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มอาหาร บริษัทเคมีภัณฑ์หรือสามารถประกอบอาชีพอิสระได้เช่นกัน » ผู้สนใจสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานภาควิชา : ชั้น 1 อาคารเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8402 โทรสาร 0 7421 2918 หรือหน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา : 0 7428 8010
ดร.จงดี ธรรมเขต
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) สาขาวิชาเคมี หลักสูตรนี้มุ่งผลิตนักวิชาการระดับสูงทางสาขาวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีวิเคราะห์ และเคมีอนินทรีย์ ผูท้ สี่ ำ� เร็จการศึกษาจากหลักสูตรนีจ้ ะมีความรูท้ างวิชาการและประสบการณ์ในการท�ำงานวิจยั ทางด้านเคมี (ตามสาขาที่เลือก)เพียงพอที่จะไปท�ำหน้าที่สอนในสถาบันการศึกษาได้หรือท�ำงานที่เน้นทางด้านวิจัย เช่น นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ หรือนักวิจัย ในหน่วยงานต่าง ๆ สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ ผลิตบัณฑิตสาขาเคมีอนิ ทรีย์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ ทัง้ ความรู้ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ทิ างเคมีอนิ ทรีย์อย่างลึกล�้ำ และทันสมัย งานวิจยั ส่วนใหญ่มงุ่ เน้นทางด้านสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสมุนไพรและการสังเคราะห์เพือ่ ประยุกต์ใช้เป็นยาและผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์อื่น สาขาวิชาเคมีศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีศกึ ษาเป็นหลักสูตรทีใ่ ห้การศึกษาเพิม่ เติมแก่อาจารย์ และบุคลากรทางเคมีให้มีความรู้ และสามารถที่จะปรับตนเองให้ทันกับความก้าวหน้าทางวิชาเคมี ตลอด จนสามารถที่จะท�ำการค้นคว้าวิจัยได้
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) สาขาวิชาเคมี หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรรวม 3 สาขาวิชา คือ เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีวิเคราะห์ และเคมีอนินทรีย์ ผู้สมัคร สนใจทางสาขาใดก็ระบุความสนใจตามสาขานัน้ และเมื่อผ่านการคัดเลือกเข้ามาในหลักสูตรแล้วก็จะเรียน เน้นเฉพาะในสาขานัน้ รวมทัง้ หัวข้อวิทยานิพนธ์จะอยูใ่ นขอบเขตของสาขานัน้ หลักสูตรนีม้ งุ่ ผลิตนักวิชาการ ในขั้นสูงสุดของแต่ละสาขาโดยเน้นการวิจัยเพื่อให้ได้บุคลากรที่มีศักยภาพสูงที่สามารถเป็นผู้น�ำหรือเป็น หัวหน้าโครงการวิจยั ได้ สามารถวิเคราะห์ปญ ั หาจนมองเห็นประเด็นเป็นโจทย์วจิ ยั ใหม่ ๆ ได้ดว้ ยตนเอง และ สร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ หลักสูตรนี้เน้นการท�ำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ งานวิทยานิพนธ์เน้นการสกัดและหาสูตรโครงสร้างของ สารอินทรีย์ ที่มีฤทธิ์ชีวภาพจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นและการสังเคราะห์สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผู้สนใจสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานภาควิชา : ชั้น 1 อาคารเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8402 โทรสาร 0 7421 2918 Email : sci-grad@group.psu.ac.th เว็บไซต์ : http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/
คุยกับคนเก่ง
.................................................. ................................................... .................................................... ...................................................... ....................................................... ........................................................ ......................................................... .......................................................... ................................................................................... ..................................................................................... .............................. ....................................................... ........................................................................................ .......................................................................................... ........................................................................................... ............................................................................................. ............................................ ................................................. ................................................................................................ .................................................................................................. .................................................................................................... ..................................................................................................... ....................................................... .............................................. ........................................................................................................ ..........................................................................................................
................................................................................... .................................................................................... ..........................................
»»
ในฉบับนี้ เรามาพบกับนักศึกษาในโครงการทุน พสวท. ที่มีความหลงใหลในวิชาคณิตศาสตร์ และมีประสบการณ์ผ่านการแข่งขันเชิงวิชาการหลากหลายเวที ไปพบกันเลย....
Q : แนะน�ำตัวให้ได้รู้จักกันหน่อยสิจ๊ะ อย่างสายอาชีพวิทยาศาสตร์นี่ละครับ .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. A : ชื่อนายวิฆเนศ ศิริปะชะนะ ชื่อเล่นชื่อแฟทครับ ตอนนี้เรียนอยู่ชั้นปีที่ 1 ภาค Q : เล่าตัวอย่างของประสบการณ์โครงงานหรือการประกวดแข่งขันที่เคยเข้าร่วมให้ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ฟังกันหน่อยสิคะ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................... Q : ตอนมั ธ ยมปลายเรี ย นที ไ ่ หน/ชอบวิ ช าอะไรเป็ น พิ เ ศษ A : ในส่วนของโครงงานตอนม.ปลาย นั้นผมเองเป็นนักเรียนในทุน พสวท. และ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................... A : ตอนม.ปลาย จบจากโรงเรี ย นหาดใหญ่ ว ท ิ ยาลั ย ส่ ว นม.ต้ น จบจากโรงเรี ย นเบญจม ได้ท�ำโครงงานเรื่อง “รูปแบบกราฟของสมการก�ำลัง3 ในพิกัดสามมิติ” ซึ่งตอนนั้น ......................................................................................................................................................................................................................................................................................... ราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมก็ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็น มี รศ.ช่อฟ้า นิลรัตน์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาคณิตศาสตร์ ม.อ. ซึ่งเกี่ยวกับการ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................ พิ เ ศษอยู แ ่ ล้ ว ครั บ ทดสอบเพื่อขยายรูปแบบของกราฟในเชิงซ้อน จะท�ำให้ทราบรากของค�ำตอบของ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................... Q : ท� ำ ไมถึ ง หลงรั ก ในเรื อ ่ งของคณิ ต ศาสตร์ กราฟและสมการต่างๆ และสามารถน�ำไปขยายทฤษฎีทางคณิตศาสตร์อื่นๆ ได้อีก ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... A : ส่ ว นตั ว ก็ จ ำ � ไม่ ไ ด้ ว า ่ ท� ำ ไมถึ ง ชอบ แต่ เ ป็ น เพราะเราเข้ า ใจและท� ำ มั น ออกมาได้ ผ ลดี ด้วย และได้มีโอกาศเข้าร่วมแข่งขันในรายการเรียลลิ ตี้ “ศึกอัจฉริยะนักวิทยาศาสตร์ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................ และคิดว่าคณิตศาสตร์เป็นอะไรที่สวยงาม ทุกอย่างดูลงตัวไปหมดและมีความมหัศจรรย์ใน.................................................................................................................................................................................................................. (Clever Camp)” ซึ่งออกอากาศทางช่อง 9 ไปแข่งขันเป็นทีมๆละ 3 คนโดย ............................................................................................................................................................................... ตั ว เพราะจากจ� ำ นวนตั ว เลขเพี ย ง 10 ตั ว สามารถต่ อ ขยายผลไปได้ ม ากมาย และเหมื อ น การคัดเลือกจากทั่วประเทศจาก 30 ทีมจากการน�ำเสนอโครงงานหรือสิ่งประดิษฐ์ท................................ ี่ ........................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... กั บ ว่ า คณิ ต ศาสตร์ เ ป็ น รากฐานของทุ ก ๆ อย่ า ง ทั ง ้ ยั ง เป็ น วิ ช าที ช ่ ว ่ ยในการพั ฒ นาสมอง หาก เป็ น ประโยชน์ ใ ห้ เ หลื อ 6 ที ม เพื อ ่ ท� ำ การแข่ ง ขั น ในรายการนี ้ ............................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................. เราเข้าใจคณิตศาสตร์ก็สามารถท�ำให้เข้าใจวิชาอื่นอย่างเป็นระบบและง่ายขึ้นอีกด้วย ซึ่งตอนนั้น ทีมผมได้คิดและน�ำเสนอของเล่นที่เรียกว่า “รูบิคเขาวงกต” ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ส่วนตัวคิดว่าคณิตศาสตร์เป็นเรื่องของการพิสูจน์และท�ำเข้าใจมากกว่า ไม่ต้องท่องจ�ำอะไร เพราะผมคิดว่าการพัฒนาคนต้องพัฒนาและสร้............................................................................................ างสรรค์ตั้งแต่เด็ก จะช่วยส่งเสริม ............................................................................................................................................................................................................................................................................................... มาก หากเราเข้ า ใจแล้ ว ก็ ส ามารถเข้ า ใจอย่ า งอื น ่ ได้ ง า ่ ย ผมเองก็ ฝ ก ึ ฝนจากการท� ำ ข้ อ สอบ และพั ฒ นาศั ก ยภาพของคนได้ ด ข ี น ้ ึ และจากการแข่ งขันกับ 6 ทีมสุดท้านที่เหลือ ........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................. เยอะๆ และเข้ า แข่ ง ขั น ในรายการต่ า งๆ เป็ น การแข่ ง ขั น พิ ช ต ิ ภารกิ จ ต่ า งๆที ร ่ ายการเตรี ย มไว้ ใ ห้ ซึง่ บันทึกเทปทัง้ สิน้ 1 สัปดาห์ ....................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................ และอย่ า คิ ด ว่ า ตั ว เองโง่ เพราะทุ ก คนสามารถตั ง ้ ใจและพยายาม ก็ ส ามารถท� ำ เรื อ ่ งที ย ่ ากๆ ก็ และออกอากาศสั ป ดาห์ ล ะครั ง ้ ประมาณ 2-3 เดื อ น ซึ่งในรายการนี้ผมและเพื่อนๆ ........................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. สามารถท�ำได้ง่ายๆ หากทุกคนตั้งใจก็สามารถท�ำได้อย่างแน่................................................................................................................................................................................................................................................................ นอนครับ ได้รับรางวัลชนะเลิศ 120,000 บาทพร้อมโล่ห์รางวัล และจากการเข้าร่วมแข่งขัน .................................................................................................................... Q : แล้ ว ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กเรี ย นคณะวิ ท ยาศาสตร์ ม.อ. คะ หลายๆรายการที่ผ่านมา ท�ำให้ผมได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติม ซึ่ง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... A : ม.อ.น่ า อยู แ ่ ละอาจารย์ ข องคณะวิ ท ย์ ฯ ใส่ ใ จนั ก เรี ย นดี สอนแล้ ว เข้ า ใจ หากมี ข อ ้ ไม่ว่าผลจะแพ้หรือชนะ ผมว่าถ้ามีโอกาส เราก็ควรจะลองดูและท�ำให้ดีที่สุด ........................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... สงสั ย อะไรก็ ถ ามได้ แ ละอาจารย์ ก จ ็ ะยิ น ดี ช ว ่ ยเหลื อ ตลอด และคิ ด ว่ า หากสนใจจะเรี ย นก็ ไ ม่ Q : ในอนาคตอยากที่จะเป็นอะไร? ....................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................... จ� ำ เป็ น ต้ อ งเรี ย นตามค่ า นิ ย มที ว ่ า ่ เลื อ กเรี ย นคณะที เ ่ ด่ น ๆดั ง ๆ หากเราเลื อ กเรี ย นตามกระแส A : ด้ ว ยส่ ว นตั ว ชอบสอนและอธิ บ ายกั บ เพื อ ่ นๆ น้ อ งๆอยู แ ่ ล้ ว มี ค วามสุ ข เวลาได้ ........................................................................................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................... แต่เราไม่พยายามจริงๆ ก็ตกงานอยู่ดี เพราะฉะนั้นอย่ากลัวว่าเรียนวิทยาศาสตร์แล้วจะ สอน จบไปแล้วก็อยากจะเป็นอาจารย์ เพื่อที่จะน�ำความรู้ไปถ่ายทอดให้รุ่นอื่นๆ ต่อ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ตกงาน ประเทศไทยเรานั น ้ อาชี พ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ก ก ็ ำ � ลั ง ขาดแคลนเป็ น อย่ า งมาก เพื อ ่ น� ำ ไป ไปครับ และอยากฝากให้ทุกๆคน มีแรงบันดาลใจในการไขว่ คว้าโอกาสใหม่ๆ ใน ............................................................. ..............................................................................................................................................................................................................................................................................................
พัฒนาประเทศ เนือ่ งจากเพราะต้องใช้มนั สมองทีต่ อ้ งการความเข้าใจ สร้างสรรค์และพัฒนา ชีวิตเพื่อเพิ่มประสบการณ์และเป็นการพัฒนาตนเองอีกทางหนึ่ง ....................................................................................................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................................................
โครงการพี่เลี้ยงวิชาการ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตระหนักถึงความส�ำคัญของ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ซึ่งเป็น นักศึกษาน้องใหม่ที่จะต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับระบบการเรียนและการใช้ชีวิตใน มหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาจะต้องปรับตัวในหลาย ๆ ด้าน เช่น ที่อยู่อาศัย การเงิน การบริหารเวลา ความสัมพันธ์กับเพื่อน รุ่นพี่ อาจารย์ รวมทั้งระบบการเรียนในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในรายวิชาพื้นฐาน คือ คณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา ซึ่งแตกต่างไปจากระดับ มัธยมศึกษา สาเหตุเหล่านีอ้ าจส่งผลให้นกั ศึกษามีผลการเรียนอ่อนไม่สามารถส�ำเร็จการศึกษาภายใน ระยะเวลา 4 ปี ตามหลักสูตรได้ คณะวิทยาศาสตร์จงึ ได้จดั โครงการพีเ่ ลีย้ งวิชาการ ซึง่ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของนักศึกษา รุ่นพีท่ สี่ ามารถปรับตัวเข้ากับระบบการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยได้และมีประสบการณ์ใน
การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย เพื่อที่จะช่วยเหลือนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ให้สามารถปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมของสังคมใหม่ และด้านการเรียนที่เปลี่ยนไป รวมทั้งการปรับตัวให้เข้าร่วม กิจกรรมนักศึกษาได้อย่างเหมาะสม อันจะส่งผลให้นกั ศึกษาสามารถด�ำเนินชีวติ ในระหว่างการ ศึกษาได้อย่างมีความสุข และส�ำเร็จการศึกษาในระยะเวลาที่หลักสูตรก�ำหนดอีกด้วย ขณะนีก้ �ำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ที่กำ� ลังศึกษาอยู่เพื่อเป็นพี่ เลี้ยงวิชาการให้แก่น้องๆ ที่จะเข้ามาศึกษาในปีการศึกษา 2553 ที่จะถึงนี้ โครงการดังกล่าวยังได้รับรางวัลคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ PSU Quality Award ที่มอบให้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ ด้วยมีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการ เรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต เรือ่ งกระบวนการพัฒนานักศึกษาเรียนอ่อน จากการประเมิน คุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2550 อีกด้วย
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. เปิดรับสมัครนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ภาคการศึกษาที่ 1 ประจ�ำปีการศึกษา 2553 ครั้งที่ 2 เม.ย. 53 : ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบคัดเลือก สามารถสมัครด้วยตนเองตัง้ แต่บดั นี้ – 30 57-24 เม.ย. 53 : แต่ละหลักสูตรด�ำเนินการสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ 7 พ.ค. 53 : ประกาศผลการสอบ เมษายน 53 ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย 7-18 พ.ค. 53 : นักศึกษารายงานตัวเข้าศึกษาทางเว็บไซต์ และช�ำระเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาผ่านธนาคาร สงขลานครินทร์ หรือทางอินเตอร์เน็ต ใน 5 มิ.ย. 53 : ขึ้นทะเบียนการเป็นนักศึกษาและท�ำบัตรนักศึกษา มิ.ย. 53 : ลงทะเบียนเรียนผ่านเว็บไซต์ ระหว่างวันที่ 3 - 31 มีนาคม 53 (เท่านัน้ ) 7-11 7 มิ.ย. 53 : เปิดภาคการศึกษา สนใจสมัคร ได้ที่ http://www.grad.psu. ดูรายละเอียดหลักสูตรที่เปิดรับสมัครที่ http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/ ac.th/admission/
สอบถามรายละเอียดโทร 0-7428-8094 Email: sci-grad@group.psu.ac.th
ภาพกิจกรรมชาวคณะวิทย
์
A c T i V i T i E s
...... ....... ........ .......... ........... ............ ............. .............. ..................... ....................... ........................ .......................... ............................ ............................. ............................... ................................ .................................. .................................... ..................................... ....................................... ......................................... .......................................... ............................................
” ก ด็ เ น วั ม ร ร ก จ ิ ก พ า ภ ล ว ม ะ “ปร
9 มกราคม ที่ผ่านมา หน่วยงานต่างๆ ในคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดกิจกรรม สนุกๆ ที่แฝงไปด้วยสาระความรู้ให้แก่น้องๆหนูๆ ในงาน วันเด็กแห่งชาติ ปี 53
................................... ..................................... ...............................
ปรากฎการณ์สุริยุปราคา
15 มกราคม ที่ผ่านมา ณ ลานวิดยาดินแดง คณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมการสังเกตุการณ์และ ชมปรากฎการณ์สุริยุปราคา ซึ่งปรากฎการณ์นี้เป็น โอกาสส�ำหรับการสังเกตสุรยิ ปุ ราคาทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับ คนไทย เนื่องจากสุริยุปราคาในประเทศไทยครั้ง ถัดไปจะเกิดในเช้าวันที่ 21 พฤษภาคม 2555 แต่ ดวงอาทิตย์แหว่งเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ หลังจากนัน้ จะต้องรอนานถึง 4 ปี กว่าจะเกิดสุริยุปราคาใน ประเทศไทยอีกครั้งในวันที่ 9 มีนาคม 2559 และใน กิจกรรมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากนักศึกษาและ สือ่ มวลชนหลายแขนง ทัง้ ช่อง 3 , 7 และ หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ อีกด้วย
งานเปิดกระปุกออมสินครั้งที่ 6 17 มกราคม ทีผ่ า่ นมา คณะวิทยาศาสตร์ ร่วมกับสมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ จั ด โครงการวั น ละสิ บ บาทเพื่ อ น้ อ ง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อระดมทุนเพื่อใช้เป็นทุน การศึกษาส�ำหรับนักศึกษาของคณะฯที่ ขาดแคลนทุนทรัพย์ และนักศึกษาทุน ท�ำงานแลกเปลี่ยน และในปีนี้ยอดรวม ของการระดมทุนตามโครงการในงานเปิด กระปุกออมสิน ครั้งที่ 6 ประจ�ำปี 2552 รวมทั้งสิ้น 126,126.25 บาท
บรรยายพิเศษ
“2012
วันสิ้นโลกเราจะอยู่อย่างไร” โดย ศ.ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
เนื่องในงานเปิดกระปุกออมสิน ครั้งที่ 6 โครงการวันละสิบบาทเพื่อน้อง เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2553 ระยะหลังมานี้ เกิดเหตุแผ่นดินไหว ดินถล่ม และน�้ำในแม่น�้ำหรือทะเลสาบ เหือดแห้งบ่อยครั้งทั่วโลก เป็นไปได้ที่ส่วนหนึง่ เกิดจาก “ภาวะโลกร้อน” แต่ ก็ ไม่ อ าจปฏิ เ สธได้ เช่ นกั น ว่ า โครงสร้ า งของพื้ น ผิ ว โลกก� ำ ลั ง ขยั บ และ เปลีย่ นแปลงตัวเอง โดยทีม่ นุษย์ไม่รตู้ วั และหากโลกเราจะเกิดการปรากฎการณ์เปลีย่ นแปลง เหมือนในภาพยนตร์เรื่อง “2010 วันสิ้นโลก” ที่มีสาเหตุมาจากดวงอาทิตย์ที่ปล่อยพลังงาน ท�ำลายโลก ทาง ดร.อาจอง กล่าวว่าปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงต่างๆ นัน้ ไม่น่าจะมีสาเหตุ เหมือนดั่งในภาพยนตร์ แต่สาเหตุสำ� คัญเกิดจากฝีมือของมนุษย์นนั่ เอง โดยก่อนหน้านี้ ต้นไม้ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณร้อยละ 80 ตอนนี้เหลือเพียงร้อยละ 18 ต้นเหตุที่ท�ำให้พื้นที่สีเขียวลดลงอย่างรวดเร็ว สืบเนื่องจากเทคโนโลยีที่เข้ามามี บทบาทในการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งในเรื่องการตัดไม้ท�ำลายป่า การปล่อยก๊าซ เรือนกระจก ผนวกกับปัจจุบันจ�ำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทรัพยากรที่มีอยู่ไม่เพียงพอ ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับจ�ำนวนมนุษย์ในปัจจุบัน ต่อการน�ำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อให้ เพียงพอนัน้ ก็ต้องมีโลกเพิ่มขึ้นอีก 3 ใบ จึงจะเพียงพอต่อการใช้ทรัพยากรของมนุษย์ และผลที่ตามมาจากการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาตินนั้ ก็คือ ภัยธรรมชาติ ที่ เพิ่มขึ้นทั้งความถี่และแรงของการท�ำลายล้าง โดยเฉพาะพายุต่างๆ สมัยนีค้ วามรุนแรงของ พายุนนั้ รุนแรงมากขึ้นกว่าเดิมเกือบเท่าตัว และภัยที่น่ากลัวที่กำ� ลังจะเกิดขึ้นอีกประการก็ คือ การขาดแคลนน�ำ้ จืดเพื่อใช้ดำ� รงชีวิต ปัจจุบนั อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น 4 องศา จึงท�ำให้ น�้ำแข็งที่ขั้วโลกละลาย ปริมาณน�ำ้ ในทะเลเพิ่มสูงขึ้น ในอนาคตมีผลท�ำให้นำ�้ ทะเลหนุนสูง ขึ้น จึงท�ำให้ชายหาดต่าง ๆ เริ่มมีการกัดของน�้ำทะเล เช่น หาดสมิหลา จังหวัดสงขลา , บริเวณเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่เกิดน�้ำเซาะชายฝั่งทะเล และคาดว่าอีก 10 ปี ข้างหน้าอาจเกิดเหตุการณ์นำ�้ ท่วมในเขต กรุงเทพมหานคร และ การเปลีย่ นของแกนโลก ซึง่ จะท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมโิ ลกอย่างเฉียบพลันจากอุณหภูมปิ จั จุบนั ก็อาจจะ ลดลงเป็น - 10 องศา โดยเหตุการณ์ดังกล่าวนี้เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีตหลายครั้ง ดังที่นกั วิทยาศาสตร์ได้คน้ พบช้างแมมมอสสภาพสมบูรณ์แช่แข็งในน�้ำแข็ง ทัง้ ทีย่ งั มีเศษหญ้าอยูใ่ น ปากของมัน ศ.ดร.อาจองยังได้กล่าวสรุปอีกว่า “การจะเกิดโลกสลายที่มีสาเหตุเหมือนดัง ในภาพยนตร์เรื่อง 2012 วันสิ้นโลกนัน้ ไม่มีทางเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เพราะการที่โลกจะเกิด ภัยพิบตั ติ า่ ง ๆ นัน้ สืบเนือ่ งมาจากฝีมอื ของมนุษย์เป็นคนท�ำทัง้ สิน้ ฉะนัน้ การทีจ่ ะรักษาโลก ให้เหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นช้าลงได้นนั้ คือจะต้องเริ่มที่จะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดย การไม่ทำ� ลายชัน้ บรรยากาศของโลก หยุดการเผาขยะ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ น�้ำ ป่า ไม้ น�ำ้ มัน ฯลฯ และ มนุษย์เองต้องหันมาดูแล เอาใจใส่และรักษ์โลกกันมากขึ้น” ท่านที่สนใจฟังการบรรยายพิเศษ “2012 วันสิ้นโลก... แล้วเราจะอยู่ อย่างไร?”สามารถรับชมย้อนหลังได้ที่ http://studentaffairs.sci.psu.ac.th/dev1/asp/ newsupload/user_form_view.asp?NewsGroupID=41&NewsID=3509
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์
(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ