ข่าวคณะวิทยาศาสตร์ พฤษภาคม

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 3/53 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2553

www.sc.psu.ac.th

พบคางคาวมงกุฎสามใบพัดเทาด�ำ ครั้งแรกในประเทศไทย อ่านต่อหน้า 2

ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

น.3

กับความภาคภูมิใจ

ในการผันตัวเพื่อช่วยชุมชน

ผลงานนวัตกรรม

น.4

“กล่องควบคุมบรรยากาศ” (Glove Box)

โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

น.7

ภาพบรรยากาศ

กิจกรรมต้อนรับน้องใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2553

ติดต่อสอบถาม

: หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657


เรื่องจากปก

พบคางคาวมงกุฎสามใบพัดเทาด�ำ ครั้งแรกในประเทศไทย

ทีมงานนักวิจัยหนวยวิจัยคางคาว พิพิธภัณฑสถาน ธรรมชาติ วิ ท ยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุ ม ารี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดรายงานการพบคางคาว มงกุฎสามใบพัดเทาด�ำครั้งแรกในประเทศไทย หนวยวิจัยคางคาว มีภารกิจในการศึกษาวิจัย เกีย่ วกับคางคาว ซึง่ พยายามศึกษาอยางครอบคลุม ทุกด้านใหไดมากที่สุด โดยจะแบงทีมในการศึกษา ออกเปน 2 ดานหลักๆ คือ ทีมที่ศึกษาดานของ อนุ ก รมวิ ธ าน (Taxonomy) ซึ่ ง เป น ส ว นของ คุณพิพัฒน สรอยสุข นักวิจัย หนวยวิจัยคางคาว พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ โดยจะท�ำการ ส�ำรวจ ศึกษาและจัดจ�ำแนกสิง่ มีชวี ติ ออกเปนหมวด หมู  ต ามสายวิ วั ฒ นาการ ตั้ ง แต ก ารจั ด จ� ำ แนก สิง่ มีชวี ติ (Classification) ออกเปนหมวดหมูตางๆ การ ก�ำหนดชือ่ สากลของหมวดหมูแ ละชนิดของสิง่ มีชวี ติ (Nomenclature) และการตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร ของสิง่ มีชวี ติ (Identification) เพือ่ แบ่งแยกลักษณะของ สิง่ มีชวี ติ ทีม่ ลี กั ษณะคลายคลึงหรือแตกตางกัน และ น�ำไปจัดล�ำดับ วิวัฒนาการวาสายพันธุไหนมีความ สัมพันธใกลชิดกับสายพันธุใดมากกวา ทีมที่ศึกษาในดานของนิเวศวิทยา จะเปนสวน ของทีมงานของ ผศ.ดร.สาระ บ�ำรุงศรี อาจารย ประจ� ำ ภาควิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งจะเนนการศึกษา พฤติกรรมของคางคาว ศึกษาความสัมพันธของ คางคาวกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ บทบาทของคางคาวที่ สงผลตอชุมชน เชน คางคาวเล็บกุดมีประโยชนตอ

www.sc.psu.ac.th 2

ค้างคาวมงกุฎสามใบพัดเทาด�ำ

ชุมชนอยางไร มีการปรับตัวตอสภาพแวดลอมที่ เปลีย่ นไปอย่างไร รวมถึงพฤติกรรมการใชคลืน่ เสียง โซนาร์ ข องคางคาวในการมองเห็ น และสื่ อ สาร เปนตน คุ ณ พิ พั ฒ น สร อ ยสุ ข นั ก วิ จั ย หน ว ยวิ จั ย คางคาว ไดใหสัมภาษณวา “ทีมงานของหนวยวิจัย คางคาว รวมกับกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและ พันธุพ ชื ส�ำรวจพบคางคาวมงกุฎในประเทศไทยเป็น ครัง้ แรกในเขตพืน้ ทีเ่ ขตรักษาพันธุส ตั วปาแมนำ�้ ภาชี อ.สวนผึง้ จังหวัดราชบุรี ซึง่ เปนพืน้ ทีเ่ ทือกเขาตะนาว ศรี ติ ด กั บ ชายแดนพมา ขณะท� ำ การส� ำ รวจเมื่ อ ป 2008 ในเบื้องตนตั้งชื่อไทยวา คางคาวมงกุฎ สามใบพัดเทาด�ำ Rhinolophus beddomei Andersen, 1905 โดยจากรายงานที่มีกอนหนานี้ สามารถพบคางคาวชนิดนี้ไดเพียงบริเวณฝงตะวัน ตกของประเทศอินเดียเทานัน้ และคางคาวชนิดนี้ อาศัยอยูตามซอกหลืบของโขดหิน หรือตามโพรงไม ซึ่งมักพบอาศัยอยูเปนคูหรือเปนฝูงเล็กๆ เพียง 1-3 ตัวเท่านัน้ ” ค้ า งคาวที่ พ บใหม นี้ มี ข นาดและลั ก ษณะ ใกลเคียงกับคางคาวมงกุฎสามใบพัด (Rhinolophus trifoliatus) แตแผนจมูกและสีขนเปนสีเทาด�ำ ขณะที่คางคาวมงกุฎสามใบพัดนั้นแผนจมูกและ

สีขนเปนสีเทาอมเหลือง คางคาวชนิดนี้เปนคางคาว กิ น แมลงในวงศ Rhinolophidae จั ด อยู ในกลุ  ม trifoliatus group มีลักษณะเด่นตรงที่มีแผนหนัง รูปรางคลายใบพัดยื่นออกมาทั้งสองขางของจมูก คุณพิพัฒนยังใหขอมูลเพิ่มเติมวา “คางคาว มงกุฎสามใบพัดเทาด�ำทีพ่ บในประเทศไทยนีม้ เี พียง ตั ว อยางเดี ย วและเป น การกระจายที่ น าสนใจ เนือ่ งจากประชากรของคางคาวชนิดนีเ้ คยพบเฉพาะ ในประเทศอินเดียและศรีลังกาเทานัน้ ดังนัน้ ขณะนี้ นักวิจัยจึงมีการทบทวนอนุกรมวิธานของคางคาว ทัง้ หมดในกลุม นีเ้ พิม่ เติมและท�ำการตรวจสอบ DNA รวมดวย ซึง่ ทายทีส่ ดุ อาจพิสจู นไดวา คางคาวชนิด นี้แทจริงแลวเปนคางคาวชนิดใหมของโลก ซึ่งจาก การคนพบครัง้ นีไ้ ดตพี มิ พในวารสาร Tropical Natural History เพื่อเผยแพรแลวดวย” และจากขอมูล ปจจุบันขณะนี้ทั่วโลกพบคางคาวทั้งสิ้นประมาณ 1,100 ชนิด การพบครัง้ นีท้ ำ� ใหปจ จุบนั มีรายงานการ พบคางคาวในประเทศไทยอยางเปนทางการแลว 124 ชนิด ขณะนีท้ ีมงานนักวิจัย หนวยวิจัยคางคาว ก�ำลังท�ำการศึกษาวิจัยและตีพิมพรายงานอยาง เปนทางการทัง้ คางคาวชนิดใหมและการพบครัง้ แรก ในประเทศไทยอีกไมนอยกวา 10 ชนิดด้วย


ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

กับความภาคภูมิใจในการผันตัวเพื่อช่วยชุมชน

เมื่อปี 2552 นางสาวผกามาศ ทองค�ำ หรือน้องกาก้า ได้ส�ำเร็จการศึกษาจากภาควิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. และสนใจที่จะเข้าสมัครในโครงการบัณฑิต อาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บอ.มอ.) ซึง่ อยู่ ในความรั บ ผิ ด ชอบของสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา สุขภาพภาคใต้ (วพส.) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา คุณภาพบัณฑิตด้านคุณธรรม จริยธรรม และความ สามารถในการพั ฒ นาชุ ม ชน และเพื่ อ พั ฒ นา คุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น ซึ่งน้องกาก้าได้ ให้ความเห็นในส่วนจุดเริม่ ต้นในการเข้าร่วมโครงการ นี้ว่า “ตอนแรกเพียงแค่สมัครตามเพื่อน ผนวกด้วย ความคิดที่จะพิสูจน์และอยากค้นหาตัวเอง จึงได้ สมัครเข้าทดสอบทัง้ ข้อเขียนและภาคปฏิบตั เิ ป็นการ เข้าค่ายในชุมชนเพื่อทดสอบการอยู่ร่วมกับชุมชนที่ ตะโละใส จังหวัดสตูล จนผ่านการทดสอบได้เป็น 1 ใน 36 คน ในการเป็นบัณฑิตอาสา ม.อ.รุ่นที่ 5 และ ได้ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ในชุ ม ชนบ้ า นนายอดทอง ต�ำบลวังวน อ�ำเภอกันตัน จังหวัดตรัง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ ไม่เคยมีบัณฑิตอาสาลงพื้นที่มาก่อน” ด้วยความที่น้องกาก้าเป็นคนที่มีความ ตั้งใจ ผนวกกับเป็นที่มีอารมณ์ดี มีความเป็นกันเอง มีนำ�้ ใจและจริงใจกับชุมชนในการทีจ่ ะพัฒนาชุมชน ให้มคี วามเป็นอยูแ่ ละชีวติ ทีด่ ขี นึ้ เธอจึงท�ำความรูจ้ กั และคลุกคลีกับคนในหมู่บ้าน โดยได้ท�ำแผนที่เดิน ดิ น และแผนที่ เครื อ ญาติ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ รู ้ จั ก คนใน หมู่บ้านและผู้คนในหมู่บ้านก็ได้รู้จักตัวเธอในฐานะ บัณฑิตอาสาด้วยเช่นกัน

และด้วยระบบความคิดที่ได้ปลูกฝังมา แบบวิทยาศาสตร์ น้องกาก้าได้สังเกตเห็นทางจาก ในชุมชน ซึ่งเป็นของที่เหลือจากอาชีพลอกใบยาสูบ ที่ท�ำให้เกิดขยะทางจากในชุมชนเดือนละ 30,000 – 50,000 ทาง ส่งผลให้ทศั นียภาพในชุมชนไม่สวยงาม และเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง หรือบางคนก็น�ำไปทิ้งในแม่น�้ำหรือในป่า จนกลาดเกลื่อน จนเริ่มท�ำการทดลองขึ้นซึ่งน้องกาก้า ให้สัมภาษณ์ว่า “ตอนแรกหนูได้ลองน�ำมีดมาสับ ทางจากดู พบว่าเป็นเส้นใย จึงคิดว่าขยะทางจาก สามารถน�ำมาท�ำอะไรที่เป็นประโยชน์ได้ จึงลองน�ำ มาลองท�ำเป็นกระดาษ หลังจากนัน้ ได้หาความรูเ้ พิม่ เติมจากคนในชุมชน อินเตอร์เนตและเข้าอบรมใน โครงการต่างๆ เพื่อศึกษาวิธีในการท�ำกระดาษจาก ทางจาก และได้ชวนคนในชุมชนมาช่วยกัน ตอน แรกๆ ก็ลองผิดลองถูกหลายวิธี จนสามารถท�ำเป็น กระดาษได้”

เมื่อประสบความส�ำเร็จจากการแปรรูป ทางจากเป็นกระดาษเป็นครั้งแรกได้แล้ว แต่ยังต้อง ได้รับการปรับปรุง เนื่องจากผลิตภัณฑ์กระดาษที่ ผลิตได้ยังไม่สวยงามพอสามารถที่จะจ�ำหน่ายหรือ พัฒนาต่อไปได้ น้องกาก้าจึงพยายามหาหนทางใน การพัฒนาชิ้นงาน โดยการประสานงานและขอ ความร่วมมือจากหน่วยงานหลายฝ่ายทัง้ ภาครัฐและ เอกชน รวมทั้งหารือกับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ วิจัยของบัณฑิตอาสา ผศ.ดร.สอาด ริยะจันทร์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วั ส ดุ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ จนกระทั่งจัดตั้งกลุ่มผลิตภัณฑ์ทางจาก บ้านนายอดทอง โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้จดสิทธิ บัตรเรียบร้อยแล้ว น้ อ งกาก้ า ได้ ก ล่ า วถึ ง โครงการนี้ ว ่ า “โครงการนี้เริ่มจากไม่มีอะไรเลย จนพัฒนาสินค้า เป็ น ผลิ ต ภั ณฑ์ โอท็ อ ป ภู มิ ใจที่ ได้ พั ฒ นาชุ ม ชน พร้อมๆ กับพัฒนาตัวเอง โครงการนีท้ ี่ส�ำเร็จได้ด้วย การอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายและกระบวน การคิ ด แบบวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ พยายามหาวิธแี ก้ไขอยู่ตลอดเวลา ไม่ท้อเพราะด้วย ความคิดที่ว่าผลงานวิทยาศาสตร์ไม่ได้ผลจากการ ลงมือท�ำเพียงแค่ครัง้ เดียว ผลงานต่างๆ จะส�ำเร็จได้ ผลจะต้องอาศัยความอดทนและความพยายามอีก ด้วย” ปัจจุบัน น้องกาก้าท�ำงานอยู่กับสถาบัน วิจยั และพัฒนาสุขภาพภาคใต้ ม.อ.ในโครงการร่วม “รักษ์เขาคอหงส์” เพราะเธอคิดว่าได้ค้นพบตัวเอง แล้วว่าสามารถน�ำความรู้ที่มีอยู่ไปช่วยชุมชนและ พัฒนาสังคม พร้อมกับการได้รบั มิตรภาพและความ สุขใจอีกด้วย

3 www.sc.psu.ac.th


ผลงานนวัตกรรม

ของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ เนื่องจากการท�ำงานวิจัยและการเรียน การสอนของคณาจารย์และนักศึกษาของภาควิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง ใช้กล่องควบคุมบรรยากาศ (Glove Box) ในงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับสารที่เสี่ยงอันตราย ( Hazardous substances) เช่น สารกัมมันตรังสี หรือ สารติดเชือ้ เป็นต้น ทีผ่ ใู้ ช้ไม่ตอ้ งสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง และส�ำหรับใช้ ในงานที่ต้องด�ำเนินงานในสภาวะแก๊สเฉื่อย หรือ ปราศจากออกซิเจนและความชื้น และเนื่องจากการ สั ง เคราะห์ ส ารบางชนิ ด ต้ อ งท� ำ ในสภาวะแก๊ ส ไนโตรเจน หรือการเตรียมสารตัวอย่างพอลิเมอร์ที่มี คุณสมบัติดูดความชื้นได้ดี ผนวกกับกล่องควบคุม บรรยากาศ ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศและมีราคาสูง มากประมาณ 175,000 – 350,000 บาทขึ้นอยู่กับ ขนาด ท�ำให้นายเศียร บัวแก้ว ต�ำแหน่งช่างเทคนิค ระดับ 6 สังกัดภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ได้คดิ ประดิษฐ์กล่องควบคุม บรรยากาศ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกล่องควบคุม บรรยากาศที่มีราคาถูก ใช้งานง่าย สามารถควบคุม บรรยากาศที่ต้องการได้ และลดการน�ำเข้าจากต่าง ประเทศ คุณเศียร บอกให้เราได้ทราบว่า เนือ่ งจาก ในภาวะบรรยากาศปกติในเมืองไทยโดยเฉพาะใน

www.sc.psu.ac.th 4

ภาคใต้มคี วามชืน้ สัมพัทธ์สงู ประมาณ 65-80% ดังนัน้ หากต้ อ งการเตรี ย มสารเคมี หรื อ ขึ้ น รู ป สาร พอลิ เมอร์ ที่ ไวต่ อ ความชื้ นจะท� ำ ได้ ย าก หรื อ ไม่ สามารถท�ำได้ กล่องควบคุมบรรยากาศเป็นอุปกรณ์ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อควบคุมความชื้นในกล่องให้ต�่ำกว่า สภาวะปกติ และควบคุมความชื้นในกล่องได้ โดยมี ตัวตรวจวัดความชื้นที่อยู่ภายในกล่องเป็นตัวบอก ท� ำ ให้ ส ามารถเตรี ย มสารที่ ต ้ อ งการได้ ในสภาวะ ความชื้นต�่ำ และทราบค่าความชื้นสัมพัทธ์ในขณะ เตรียมสาร ลั ก ษณะการใช้ ง านของกล่ อ งควบคุ ม บรรยากาศ “หลักการง่ายๆ คือใช้อากาศแห้งเป็น ตัวไล่ความชื้นในกล่อง โดยใช้ปั๊มลม ผลิตอากาศ และผ่านสารดูดความชื้นคือ ซิลิก้าเจล ที่บรรจุอยู่ ในขวดทีม่ ฝี าปิดแน่นสนิท ก่อนผ่านเข้าไปในกล่อง ควบคุมบรรยากาศ เพื่อไล่ความชื้นที่อยู่ภายใน ออกไปยังตู้ดูดควันที่เชื่อมต่ออยู่ภายนอก โดย ภายในกล่องควบคุมจะมีเครือ่ งวัดความชืน้ (Moisture Meter) เพื่อวัดค่าที่เหมาะสมกับสารแต่ละ ชนิด ซึง่ วัสดุอปุ กรณ์ทนี่ �ำมาประดิษฐ์นนั้ ดัดแปลง มาจากวัสดุที่พบเจอในชีวิตประจ�ำวันและมีราคา ถูก เช่น ยางขอบตู้เย็นที่มีคุณสมบัติป้องกันการ เข้า-ออกของอากาศ เป็นขอบประตูของกล่อง หรือ การใช้ขวดบรรจุน�้ำเป็นที่บรรจุสารดูดความชื้น เป็นต้น” คุณเศียรกล่าว

โดยกล่องควบคุมบรรยากาศทีค่ ณ ุ เศียรได้ ประดิษฐ์ขึ้นนัน้ มีต้นทุนในการจัดท�ำประมาณกล่อง ละ 5,000 บาท ทั้งนีข้ ึ้นอยู่กับขนาดกล่องด้วย ซึ่งคุณ เศียร ได้บอกให้เราทราบว่า “ในการท�ำงานของผม นัน้ ได้ยึดหลักพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ที่ว่าท�ำงานอย่าหยิบยกเอาความ ขาดแคลนมาเป็นข้ออ้าง จงท�ำงานท่ามกลางความ ขาดแคลนให้บรรลุผล” และผลงานชิน้ นีไ้ ด้รบั รางวัล ชนะเลิศจากการประกวดผลงานในโครงการพัฒนา งาน ประเภทนวัตกรรม ของคณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำ ปี 2553และผลงานเดียวกันได้รับรางวัลชนะเลิศใน ระดับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2553 อี ก ด้ ว ย และขณะนี้ ภ าควิ ช าเภสั ช เคมี คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้สั่งท�ำ กล่องควบคุมบรรยากาศดังกล่าวเพื่อน�ำไปใช้งานที่ คณะฯ ผู ้ ใดสนใจสามารถติ ด ต่ อ ได้ ที่ ภาควิ ช า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. โทรศัพท์ 074-288361 โทรสาร 074-446925 ฉบั บ หน้ า เราจะพาไปรู ้ จั ก อี ก หนึ่ ง นวัตกรรมของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรม นัน่ ก็คอื ผลงาน “สปริงกรรไกรตัดกระดูก แบบใหม่จากคลิปด�ำ 2 ขา” กันนะคะ


แนะน�ำหลักสูตร

ปริญญาตรี(หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาฟิสิกส์) ชื่อปริญญา:วิทยาศาสตรบัณฑิต(ฟิสิกส์) Bachelor of Science (Physics)

โครงสร้างหลักสูตร

จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 131 หน่วยกิต ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 10 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 8 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 95 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 15 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาบังคับ 50 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาเลือก 30 หน่วยกิต ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต โอกาสการท�ำงาน ผูม้ วี ฒ ุ กิ ารศึกษาสาขาวิชาฟิสกิ ส์ เป็นทีต่ อ้ งการใน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชน เช่น สถาบันการศึกษาทุกระดับ กระทรวง สถาบันวิจยั ต่างๆ ห้องวิจยั ของรัฐและบริษทั ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับการ

ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ หรือสามารถประกอบอาชีพอิสระ ตลอดจน ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาฟิสิกส์หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง เช่น วิทยาศาสตร์นาโน นาโนไบโอ-เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ วัสดุศาสตร์ เป็นต้น โอกาสทางการศึกษา ภาควิชาฟิสกิ ส์ เน้นการเรียนการสอนวิชาฟิสกิ ส์ อย่างเป็นระบบทั้งทางทฤษฎีและการทดลอง ในสาขาต่อไปนี้ • ธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) • ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (Nuclear Physics) • ฟิสิกส์วัสดุ (Materials Physics) • ชีวฟิสิกส์ (Biophysics) • ออปโตอิเล็กทรอนิกส์ (Optoelectronics) • อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์(Electronics Computer) • ฟิสิกส์พลาสมาและพลังงาน (Plasma Physics & Energy) • สาขาวิชาฟิสิกส์ทฤษฎี(Theoretical Physics)

สอบถามข้อมูล หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8010

ปริญญาโท(หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรนี้ มีให้เลือกเรียนและท�ำวิจัยทั้งทางด้านทฤษฎีและการทดลอง ได้แก่ สาขาชีวฟิสิกส์ ธรณีฟิสิกส์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ฟิสิกส์วัสดุ พลาสมาและ เลเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ออกโตอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษา สามารถเลือกแผนการเรียนได้ดังนี้ แผน ก แบบ ก(1) มีวิทยานิพนธ์ จ�ำนวน 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก(2) ประกอบด้วย รายวิชาบังคับ จ�ำนวน 14 หน่วยกิต รายวิชาเลือก จ�ำนวน 7 หน่วยกิต และท�ำวิทยานิพนธ์ จ�ำนวน 15 หน่วยกิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ หลักสูตรนี้ มุ่งเน้นผลิตนักวิชาการที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านธรณี ฟิสกิ ส์ และสามารถประยุกต์ใช้ความรูด้ า้ นธรณีฟสิ กิ ส์ เพือ่ การศึกษาและวิจยั เกี่ยวกับแหล่งแร่ แหล่งน�้ำใต้ดิน แหล่งน�้ำมัน ธรณีวิทยาโครงสร้าง และ เพลตเทกโทนิกส์ งานสิ่งแวดล้อม เช่น การติดตามการปนเปื้อนภายใต้ผิวดิน งานโบราณคดี เช่น การค้นหาโบราณคดีสถานหรือโบราณวัตถุทถี่ กู ฝังอยูใ่ ต้ดนิ

งานวิศวกรรม เช่น การค้นหาระบบสาธารณูปโภคทีถ่ กู ฝังอยูใ่ ต้ดนิ ในระดับตืน้ หรือการตรวจหาความลึกถึงชั้นดินดาน เป็นต้น ผูส้ มัครเข้าศึกษาในหลักสูตรนีค้ วรเป็นผูส้ ำ� เร็จการศึกษาในระดับปริญญา ตรี ในสาขาหนึง่ สาขาใดดังต่อไปนี้ เช่น ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ธรณีวิทยา ธรณี เทคนิค วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเหมืองแร่ หรือ โบราณคดี เป็นต้น นอกจากนีน้ กั ศึกษาในหลักสูตรนีท้ ุกคนจะได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ส�ำหรับท�ำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์จ�ำนวนหนึง่ และค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป เสนอผลงานในทีป่ ระชุมวิชาการอีกด้วย ส�ำหรับนักศึกษาผูก้ ำ� ลังศึกษาในภาค การศึกษาสุดท้ายของการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี และมีคะแนนเฉลีย่ สะสมตัง้ แต่ 3.25 ขึ้นไป ทางหลักสูตรขอแนะน�ำให้ท่านสมัครขอรับทุนการศึกษาประเภท ผลการเรียนดีเด่น ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมี จ�ำนวนทุนประมาณ 10 ทุนต่อไป ดังรายละเอียดที่ http://www.psu.ac.th/ graduate

ปริญญาเอก(หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต) สาขาวิชาฟิสิกส์ เป็นหลักสูตรที่เน้นทางฟิสิกส์ประยุกต์ในสาขาต่าง ๆ คือ Biophysics, Geophysics, Material, Electronics, Optoelectronics และ Plasma&Laser ภาค วิชาฯ จะพิจารณาสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการสมัครขอรับ ทุนผู้ช่วยสอน หรือท�ำงานในฐานะผู้ช่วยวิจัยซึ่งจะมีค่าตอบแทนให้ และ นักศึกษาทุกคนจะได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย

สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ เป็นหลักสูตรแบบ 1 ซึ่งเน้นการวิจัย โดยมีการท�ำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว แต่คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์อาจเสนอให้เรียนรายวิชาในระดับ ปริญญาโท หรือท�ำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มเติมได้โดยไม่นับหน่วยกิต ภาควิชาฯจะพิจารณาสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการสมัครขอรับ ทุนผู้ช่วยสอน หรือท�ำงานในฐานะผู้ช่วยวิจัยซึ่งจะมีค่าตอบแทนให้ และ นักศึกษาทุกคนจะได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย

สอบถามข้อมูล ส�ำนักงานภาควิชา : ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์

ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0-7428-8722 โทรสาร : 0-7421-2817 Email : sci-grad@group.psu.ac.th เว็บไซต์ : http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/

5 www.sc.psu.ac.th


คุยกับคนเก่ง ฉบั บ นี้ เราขอแนะน� ำ นัก เรี ย นคนเก่ ง ที่ มี ชื่ อ ว่ า นายสมภพ แซ่เฮง ชื่อเล่นคือ แม็กซ์ ปัจจุบันศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และยังเป็นนักเรียนทุนโครงการ พัฒนาและส่งเสริมผูม้ คี วามสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (พสวท.) อีกด้วย น้องแม็กซ์ ได้เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับ การเรี ย นให้ ฟ ั ง ว่ า “สมั ย มั ธ ยมเรี ย นอยู ่ โรงเรี ย น หาดใหญ่วิทยาลัย ได้สมัครสอบแข่งขันเพื่อเข้าค่าย โอลิมปิกวิชาการ ที่ทางคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.เป็น ศูนย์สอบ 1 ใน 3 ของภาคใต้ เพราะตนเองมีความ สนใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และสิ่งมีชีวิต เพราะเห็น ว่าเป็นสิ่งที่ใกล้ตัว จึงเลือกสอบเข้าอบรมในสาขา ชีววิทยา หลังจากเข้าค่ายในครั้งนัน้ และกลับไปเรียน ก็ได้ใช้ความรูจ้ ากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการเรียน มัธยม สามารถท�ำให้ตนเองปรับตัวในห้องเรียนได้ อย่างง่าย และสามารถแนะน�ำเนื้อหาการเรียนให้กับ เพื่อนๆ ได้อีกด้วย” และเมื่อปี 2550 น้องแม็กซ์ได้มี โอกาสเป็นตัวแทน 1 ใน 3 คน จากนักเรียนที่เข้าค่าย โอลิมปิกของศูนย์ม.อ.ภาคใต้ ไปแข่งขันโอลิมปิก วิชาการระดับประเทศ ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นเจ้าภาพ และได้คว้ารางวัลเหรียญเงินจากการ แข่งขันชีววิทยาโอลิมปิก สอวน. ครัง้ ที่ 4 ซึง่ เป็นความ ภาคภูมิใจของตนเองและครอบครัว และจากการได้ รับรางวัลการแข่งขันครั้งนัน้ ท�ำให้น้องแม็กซ์มีสิทธิ์ เข้าอบรมต่อในโครงการจัดส่งผู้แทนประเทศไทยไป แข่งขันคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่าง ประเทศ สสวท. ที่กรุงเทพมหานครอีกด้วย โดยน้องแม็กซ์ได้เล่าความรู้สึกขณะที่ อบรมค่ายโอลิมปิกวิชาการที่ศูนย์ ม.อ. ว่า “มีความ

รูส้ กึ เหมือนเป็นการแข่งขันจริงๆ เพราะเพือ่ นๆ ทุกคน ที่อบรมด้วยกันต่างก็มีความมุ่งมั่น ส่วนอาจารย์ทุก ท่านของคณะวิทยาศาสตร์ที่ให้การอบรมนัน้ ได้ให้ ความรู้ที่เข้มข้นตลอดทั้งค่าย ซึ่งความรู้ที่เข้าอบรม นัน้ เป็นความรูเ้ ชิงลึกระดับนักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 แต่ขณะ นั้นเราเป็นเพียงนักเรียนมัธยม ดังนั้นจึงต้องความ ตั้ ง ใจเป็ น อย่ า งมาก ส่ ว นตั ว รู ้ สึ ก ประทั บ ใจรอง ศาสตราจารย์ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายวิชาการและพัฒนานักศึกษา และอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาชีววิทยา ที่ได้ให้ข้อคิด ค�ำสอนและความรู้ ตอนอบรมอยู่ในค่ายโอลิมปิกนัน้ ท�ำให้ตนเองเข้าใจ และรับรู้ได้ถึงความตั้งใจและความพร้อมของคณะ วิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการ พยายามสร้างนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” น้องแม็กซ์แสดงความเห็นในช่วงท้ายไว้วา่ “การเรียนวิทยาศาสตร์ เป็นเรื่องของการเข้าใจ หาก พยายามท�ำความเข้าใจและคิดต่อ จะท�ำให้เข้าใจ หลักการและประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นขั้นตอน และไม่ ต้องคิดว่าจบวิทยาศาสตร์แล้วจะไม่มีงานท�ำ เพราะ การเรียนและจบจากสายวิทยาศาสตร์นนั้ มีโอกาสใน การเลือกที่จะท�ำงานได้กว้าง ดังนัน้ เราควรรู้ว่าเรา ชอบอะไร และวางแผนอนาคตของตนเองอยู่ตลอด เวลา และเมือ่ จบไปก็สามารถได้งานทีต่ นเองชอบและ วางแผนไว้ ดังนัน้ เราควรจะค้นหาตัวเองหากเป็นไป

ได้ตงั้ แต่มธั ยมต้น เพือ่ ทีจ่ ะให้รวู้ ่าตนเองชอบทีจ่ ะเป็น อะไร ท�ำอะไรแล้วมีความสุข เราจะได้วางแผนการ เรียนและการท�ำงานต่อไปได้ และคณะวิทยาศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียกได้ว่าเป็นที่ 1 ในภาคใต้ทงั้ ด้านการเรียนการสอนและศักยภาพของ อาจารย์ ที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาเราไปเป็ น พลั ง ของการ สร้างสรรค์ในอนาคตได้เป็นอย่างดี โดยก่อนหน้านีผ้ ม ได้รับทุนโครงการโอลิมปิกวิชาการ และตอนนี้ผม ก�ำลังศึกษาโดยการได้รับทุนพสวท. ซึ่งทุนนีจ้ ะท�ำให้ ผมเรียนได้ถงึ ระดับปริญญาเอก และส่วนตัวชอบเป็น อาจารย์เพื่อที่จะถ่ายทอดความรู้ให้กับรุ่นต่อๆ ไป”

»

ค่ายฝึกอบรมโครงการส่งเสริมโอลิมปิก วิ ช าการและพั ฒ นามาตรฐานวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ศกึ ษา ศูนย์ ม.อ.หาดใหญ่ เปิดรับ สมั ค รนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาจาก โรงเรียนในเขต 5 จังหวัด ดังนี้ จังหวัดกระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรังและสงขลา » ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sc.psu.ac.th/Units/AcedemicService/ Olympic_camp/index.asp

ต่างประเทศ เมือ่ ช่วงเดือนพฤษภาคม และมิถนุ ายน 2553 คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งนักศึกษา และบุคลากร จ�ำนวน 10 คน จากภาควิชาชีววิทยา ฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เดินทางไปศึกษาวิจยั และแลกเปลีย่ น ความรู้เชิงวิชาการ ณ Faculty of Sciences, University of Novi Sad สาธารณรัฐเซอร์เบีย ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล และ อาจารย์คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟิสิกส์ ดูงานด้าน Nuclear Laboratory,

www.sc.psu.ac.th 6

ผศ.ดร.วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ หัวหน้าภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์และ อาจารย์พรรณนิภา แซ่องึ้ ดูงานด้าน Fuzzy Database Research ส�ำหรับภาควิชาชีววิทยาน�ำทีมโดย รศ.ช่อทิพย์ ปุรนิ ทรวรกุล และ ดร.จรัล ลีรติวงศ์ และนักศึกษา อีก 4 คน เข้าร่วมศึกษาวิจัยภาคสนามกับอาจารย์และ นักศึกษาของภาควิชาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของ Faculty of Sciences, University of Novi Sad ซึ่งนับเป็นส่วนหนึง่ ของ รายวิชาชีววิทยาภาคสนามอีกด้วย


» กิจกรรมวันแรกพบวิทย์ ม.อ. 53

คณะวิทยาศาสตร์ ได้จดั งานวันคณะวิทยาศาสตร์พบผู้ปกครอง ประจ�ำปีการศึกษา 2553 ภายใต้ชื่องาน “วันแรกพบ วิทย์ ม.อ.53” ณ ห้อง L1 ศูนย์ปาฐกถา ประดิษฐ เชยจิตร เมื่อวันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม ที่ผ่านมา ในการนีค้ ณะวิทยาศาสตร์ขอขอบคุณ ผู้ปกครองนักศึกษาใหม่คณะวิทยาศาสตร์ทุกท่าน ที่ได้มอบความไว้วางใจให้คณะ วิทยาศาสตร์เป็นเสมือนบ้านหลังที่สองให้กับบุตรหลานของท่าน

เทศนักศึกษาใหม่ »ระดับกิจปริกรรมปฐมนิ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2553

» กิจกรรมประชุมเชียร์

คณะวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมการปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2553 เมือ่ วันศุกร์ที่ 4 มิถุนายนที่ผ่านมา ณ ห้อง L1 ศูนย์ ปาฐกถา ประดิษฐ เชยจิตร มีน้องๆ เข้าร่วมกิจกรรม ทัง้ สิน้ ประมาณ 533 คน ภายในงานนักศึกษาน้องใหม่ ยังได้ฟังการบรรยายพิเศษเรื่อง “สนุกกับการเรียน วิทย์” โดย ดร.จันทร์ชัย หญิงประยูร และความรู้อีก มากมายจากคณาจารย์ แ ละบุ ค ลากรคณะ วิทยาศาสตร์ เพื่อน�ำความรู้และข้อมูลที่ได้ไปปรับใช้ ในชีวิตประจ�ำวันในรั้วมหาวิทยาลัยได้อย่างสมบูรณ์ และมีความสุข และเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ที่ผ่านมาได้ จัดกิจกรรมการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับบัณฑิต ศึกษา ปีการศึกษา 2553 ณ อาคารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี 2 ซึง่ ในครัง้ นีม้ ผี ผู้ ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา ในระดับปริญญาโททัง้ สิน้ ประมาณ 120 คน และระดับ ปริญญาเอกทั้งสิ้นประมาณ 25 คน

สโมสรนักศึกษาจัดกิจกรรมประชุมเชียร์ ขึ้น ณ ห้อง L 1 ศูนย์ปาฐกถา ประดิษฐ เชยจิตร คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งการประชุมเชียร์จะมีทั้งหมด 7 ครั้ง ภายใต้หัวข้อ “วิทยา ยิง่ ใหญ่ภมู ใิ จสถาบัน” กิจกรรมการประชุมเชียร์มที งั้ การสอนน้องร้องเพลงมหาวิทยาลัย เพลงคณะวิทยาศาสตร์ การสันทนาการ รายงานตัวแนะน�ำตนเองให้เพื่อนรู้จัก และ กิจกรรมอืน่ ๆมากมาย ซึง่ ในแต่ละวันจะปิดท้ายด้วยการน�ำขนมมาเยีย่ มน้องๆ sci.42 จาก รุ่นพี่คณะวิทยาศาสตร์

7 www.sc.psu.ac.th


งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 2553 วันที่ 17-20 สิงหาคม 53

ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

“จุดประกายความคิด พัฒนาชีวิต ด้วยวิทยาศาสตร์”

พบกับกิจกรรมการประกวด แข่งขันและนิทรรศการที่น่าสนใจมากมาย »• การบรรยายพิ เศษในหัวข้อ วิกฤตวันสิ้นโลก โดย ศาสตราจารย์ ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

• เชิญทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตื่นตาตื่นใจกับนิทรรศการมหัศจรรย์ธรรมชาติก�ำเนิดโลก และมาตราธรณีการ และระบบนิเวศใต้ทะเลกับพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ

และขอเชิญชมการประกวดโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ในการแข่งขันสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักศึกษาปริญญาตรีและปวส. สาขานวัตกรรมกีฬาและออกก�ำลังกายเพื่อสุขภาพ ของนักศึกษาปริญญาตรี ปวส. ม.ปลายและปวช. เพื่อชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ เงินรางวัลและการดูงานต่างประเทศ

» ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดที่ 074-288008 หรือ

http://www.tia.scisoc.or.th ภายในวันที่ 23 กรกฎาคม 2553

“นวัตกรรม คนไทยท�ำได้”

หน่วยเครือ่ งมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่หน่วยเครื่องมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ ให้บริการทั้งหน่วยงาน ทยาลัยอีกด้วย ได้จัดซื้อ “เครื่องท�ำแห้งสารละลาย” (Freeze dryer) ภายในและภายนอกมหาวิ และเมื่อวันที่ 8 – 16 พ.ค. ที่ผ่านมา หน่วยเครื่องมือ กลาง ได้ส่งบุคลากรของหน่วยงาน คือ นายกรุงประกาย อัมโร ต�ำแหน่งช่างอิเล็กทรอนิกส์ ไปศึกษาดูงานการใช้และซ่อมบ�ำรุง รักษาเครื่องท�ำแห้งสารละลาย ณ โรงงาน Martin Christ Gefriertrocknuny Sanlagen Gmbit สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งการดู งานในครั้งนี้มี ดร.ไพบูลย์ นวลนิล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ ช่วยสนับสนุนและร่วมเข้าชมโรงงานแห่งนีด้ ว้ ย ติดต่อหน่วยเครือ่ งมือกลาง ได้ที่ 0 7428 8058 หรือ ทางเว็บไซต์ http://ced.sci.psu.ac.th/j15/

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

เพื่อทดแทนเครื่องเก่าที่ช�ำรุดเนื่องจาก การใช้ ง านมานาน โดยภายในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ มีเครื่องดังกล่าวที่ให้บริการแก่ นักศึกษาและนักวิจัยเพียง 4 เครื่องเท่านัน้ คือที่ คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะเภสัชศาสตร์ ศูนย์ เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ และทีห่ น่วยเครือ่ งมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งเครื่องท�ำแห้งสารละลายมี คุณสมบัติในการเก็บรักษาสมบัติของสารให้คง สภาพเดิมไว้ได้เป็นระยะเวลานาน โดยใช้เทคนิค ของการดึงน�้ำออกจากสารโดยใช้ความเย็น หรือ เรียกได้ว่าเป็นการใช้เทคนิคของการระเหิดสารให้ กลายเป็นผง ซึง่ เครือ่ งท�ำแห้งสารละลายนีม้ คี วาม ส�ำคัญต่อการท�ำงานในด้านวิทยาศาสตร์เป็น อย่างมาก โดยเฉพาะในงานวิจัย ซึ่งจ�ำเป็นต้อง เก็บรักษาสมบัติของสารนัน้ ๆ ให้ได้นานยิ่งขึ้น ซึ่ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.