“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 4/53 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2553
www.sc.psu.ac.th
12 สิงหา ฑีฆายุกา โหตุ มหาราชินี
ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานค�ำขวัญวันแม่แห่งชาติ ปี 2553 ความว่า “แผ่นดินนี้แม่ของลูกใช้ปลูกข้าว กี่แสนก้าวที่เดินซ�้ำย�่ำหว่านไถ บ�ำรุงดินจนอุดมสมดังใจ หวังนาไทยเป็นของไทยไปนิรันดร์”
น.2 น.4 น.7
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัล
“นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2553” ผลงานนวัตกรรม “สปริงกรรไกรตัดกระดูก โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ภาพบรรยากาศ
ติดต่อสอบถาม
แบบใหม่จากคลิปด�ำ 2 ขา”
“งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2553”
: หน่ ว ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7428-8008, 0-7428-8022 โทรสาร 0-7444-6657
เรื่องจากปก
ผศ.ดร. สอาด ริยะจันทร์
ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2553 จากผลงานเรื่อง
“การพัฒนายางชนิดใหม่ที่ทนน�้ำมัน ทนต่อโอโซนและต้านเชื้อแบคทีเรีย”
จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
งานวิจัยของ ผศ.ดร.สอาด ริยะจันทร์ เกี่ยวข้องกับการดัดแปรน�้ำยางพาราธรรมชาติร่วมกับ พอลิเมอร์ละลายน�้ำ เพื่อพัฒนาให้ได้ยางชนิดใหม่ที่มีสมบัติทนน�้ำมัน ทนโอโซนและมีสมบัติเชิงกล ทีด่ ี ซึง่ อาจจะน�ำไปแทนยางสังเคราะห์ได้ ทีผ่ า่ นมาได้น�ำยางชนิดใหม่นไี้ ปเตรียมเป็นแคปซูลห่อหุม้ สารสะกัดสะเดา (สารอะซาไดแรคติน) และปุ๋ยยูเรีย พบว่า สามารถลดปัญหาการสลายตัวและ ยืดอายุในการเก็บรักษาสารอะซาไดแรคติน ซึ่งจะมีประโยชน์ในการก�ำจัดหนอนกอในการเกษตร ได้ ส่วนแคปซูลของปุ๋ยยูเรียที่ห่อหุ้มด้วยยางชนิดนี้นั้นพบว่า สามารถควบคุมการปลดปล่อยของ ปุ๋ยยูเรียได้ในเวลาที่เหมาะสม ลดปัญหาการสูญเสียของปุ๋ยจากการระเหยและการชะล้างจากน�้ำ ซึ่งแคปซูลที่ได้นอกจากจะมีต้นทุนการผลิตต�่ำ ยังสามารถย่อยสลายตัวได้ในธรรมชาติ ผศ.ดร.อาจารย์สอาด ได้ร่วมงานกับนักวิจัยในหลายหน่วยงานในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังสนใจการเตรียมพอลิเมอร์ไฮโดรเจลจากน�้ำยางธรรมชาติและแป้งมันส�ำปะหลังที่เติมปุ๋ยชีวภาพ ชนิด EM และตัวยาเพื่อใช้งานเกษตรกรรม โดยได้รับการสนับสนุนงานประมาณแผ่นดิน และจนถึง ขณะนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ 19 เรื่อง บทความปริทัศน์ 5 เรื่องและได้รับ เชิญให้เป็นผู้พิจารณาบทความของวารสารระดับนานาชาติ เช่น Journal of Hazardous Material, Journal of Applied Polymer Science และ Chemical Engineering Journal เป็นต้น และ ในปี พ.ศ. 2553 อาจารย์สอาด ได้รับรางวัลผู้มีผลงานวิจัย 20 อันดับแรกของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์อีกด้วย
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นอาจารย์ ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2553 จ�ำนวน 2 ท่าน คือ รองศาสตราจารย์ชนิตา พงษ์ลิมานนท์ ภาควิชาเคมี เป็นอาจารย์ตัวอย่าง ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด้านการเรียนการสอน ประจ�ำปี 2553
รองศาตราจารย์ ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา ภาควิชาเคมี เป็นอาจารย์ตัวอย่างของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด้านการวิจัย (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ประจ�ำปี 2553
ซึ่งทั้ง 2 ท่านจะเข้ารับพระราชทานโล่เกียรติยศและประกาศเกียรติคุณใน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรในวันที่ 13 – 14 กันยายน 2553 นี้
www.sc.psu.ac.th 2
คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับคัดเลือก
ให้เป็นคณะที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศประจ�ำปี 2553 ด้านการบริหารจัดการ จากการที่คณะ/หน่วยงานส่งแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ให้แก่สำ� นักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพือ่ น�ำมา คัดเลือกเป็นแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ปี 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการ พิจารณาแนวปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ เมือ่ วันที่ 24 มิ.ย. 2553 และทีป่ ระชุมคณะ กรรมการอ�ำนวยการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 3/2553 วันที่ 20 ก.ค. 2553 มีมติให้คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับ คัดเลือกให้เป็นคณะที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจ�ำปี 2553 ด้านการบริหารจัดการ จากผลงานเรือ่ ง “การพัฒนาคุณภาพงาน หน่วยเครื่องมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์”
ศิษย์เก่าดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2553
คณะวิทยาศาสตร์ และสมาคมนักศึกษาเก่า คณะวิทยาศาสตร์ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของศิษย์ เก่าที่ส�ำเร็จการศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์ และเป็น ผู ้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ออกไปสร้ า งประโยชน์ ใ ห้ กั บ ภาคเอกชน และภาครัฐอย่างกว้างขวาง จึงได้ร่วมกัน คัดเลือกดีเด่นขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความผูกพันและความร่วมมือศิษย์เก่า เพื่อ ยกย่องเกียรติคุณแก่ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ และ ด�ำเนินการคัดเลือกโดยคณะกรรมการศิษย์เก่าสัมพันธ์ พิจารณาคัดเลือกศิษย์เก่าดีเด่น ทั้งสิ้น 5 ประเภท ส�ำหรับปี 2553 นี้คณะวิทยาศาสตร์ ทางคณะฯ และ สมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ได้คดั เลือกศิษย์ เก่ า ดี เ ด่ น เพื่ อ ยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ ใ ห้ กั บ ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะวิทยาศาสตร์ ดังนี้
1.1 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านความส�ำเร็จในอาชีพ/หน้าที่การงาน ได้แก่
พล.ต.ต. สุเมธ พงษ์ลิมานนท์ (และรางวัลศิษย์ เก่ า ดี เ ด่ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประจ� ำ ปี พุทธศักราช 2553) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ
1.2 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านผลงานเด่น ได้แก่
ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล ดร.นพวรรณ ตันพิพัฒน์ (และรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีพุทธศักราช 2553)
1.3 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและสถาบัน ได้แก่ นายชาติ ลีลาภรณ์ นายชูชัย ปิติเจริญกิจ
1.4 ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ คือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รณสรรพ์ ชินรัมย์ (และรางวัล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประจ� ำ ปี พุทธศักราช 2553)
1.5 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ได้แก่
ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ป ระสาท มี แ ต้ ม (และรางวั ล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประจ� ำ ปี พุทธศักราช 2553) ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัมพร ศรประสิทธิ์
2
1
6
7
5
4
3
8
9
ุล ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริก สตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ 3. ยศา ว ่ ช ้ ผู 2. ย์ ม ท์ รั น ชิ านน ม ิ ล ์ รพ์ พงษ ณสร มธ เ ดร.ร สุ 1. พล.ต.ต. . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ิ ลีลาภรณ์ 6. นายชูชัย ปิติเจริญกิจ 7 4. ดร.นพวรรณ ตันพิพัฒน์ 5. นายชาต ์ ธิ ท ระสิ . ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัมพร ศรป 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประสาท มีแต้ม 9
โดยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข ให้เกียรติ มอบโล่ห์เกียรติคุณแก่ศิษย์เก่าดีเด่นปี 2553 และเป็นประธานเปิดงาน Science Night 2010 ที่จัดขึ้นเพื่อต้อนรับบัณฑิตใหม่ SCI 38 ซึ่งในปีนี้ศิษย์เก่า รุ่นที่ 28 ได้เป็นผู้จัดงาน ภายในงานมีศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์เข้าร่วมมากมายตั้งแต่รุ่น แรกๆ จนถึงปัจจุบัน บรรยากาศเต็มเปีย่ มไปด้วยไออุน่ จากพลังความรัก ความคิดถึงและความผูกพันของรุน่ พี่ รุ ่ น น้ อ งชาวบานบุ รี ที่ ม าร่ ว มงานพบปะสั ง สรรค์ กั น ณ แหล่ ง สมาคมนายทหาร พล ม2 รอ ในกองทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ (สนามเป้า) กรุงเทพฯ และผู้ที่ได้รับ การคั ด เลื อ กเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย ก� ำ หนดเข้ า รั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศและ ใบประกาศเกียรติยศในวันสงขลานครินทร์ ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ม.อ.ในวันที่ 14 กันยายน 2553 นี้ค่ะ
3 www.sc.psu.ac.th
ผลงานนวัตกรรม
ของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์
คุณชนวรรฒน์ ชูแสง
ต่ อ จากฉบั บ ที่ แ ล้ ว เราภู มิ ใ จน� ำ เสนอ อีกหนึง่ นวัตกรรมของบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ ในการประกวด โครงงานพัฒนางานประเภทนวัตกรรม ระดับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2553 นั่นก็คือผลงาน “สปริงกรรไกรตัดกระดูก แบบใหม่ จากคลิปด�ำ 2 ขา” เนื่องจากการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการ ทางชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์จ�ำเป็นต้องใช้ เครื่ อ งมื อ ผ่ า ตั ด ประกอบการเรี ย นภาคปฏิ บั ติ ดังนั้น กรรไกรตัดกระดูก เป็นเครื่องมือผ่าตัด ชิน้ หนึง่ ในชุดเครือ่ งมือผ่าตัดทีม่ คี วามส�ำคัญและ ราคาค่อนข้างสูง ซึง่ ทุกๆ ปีกรรไกรตัดกระดูกจะมี การช�ำรุด คือสปริงหักท�ำให้ใช้งานไม่ได้ เมื่อนับ รวมกันแล้วมีจ�ำนวนมาก เกิดปัญหาจ�ำนวนไม่ พอใช้ ประกอบกับมีจำ� นวนนักศึกษามากขึน้ ด้วย ท�ำให้ต้องซื้อเพิ่มเป็นประจ�ำ ทีมงานนักวิทยาศาสตร์ประจ�ำห้องปฏิบัติ การชีววิทยา น�ำโดยคุณชนวรรฒน์ ชูแสง ต�ำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ ระดับ 6 มีแนวคิดร่วมกันในการ ที่ จ ะช่ ว ยลดปั ญ หาดั ง กล่ า วพร้ อ มกั บ ลด งบประมาณของภาควิชา จึงได้รวมตัวกับเพื่อน ร่วมงานอีก 3 ท่านได้แก่คุณรัตนา หิรัญพันธ์ุ
www.sc.psu.ac.th 4
คุณจวงจันทน์ วิฬาประไพ และคุณสง่า อินทมาโน โดยมี ดร.ศันสรียา วังกุลางกูร เป็นที่ปรึกษากลุ่ม จุดเริ่มต้นเป็นความต้องการช่วยกันคิดหาวัสดุ ทดแทน โดยมีแนวคิดที่จะน�ำวัสดุเหลือใช้ หรือที่ ไม่ได้ใช้นำ� กลับมาใช้แทนสปริงกรรไกรตัดกระดูก ให้ได้ หรือถ้าจะต้องซื้อวัสดุทดแทนได้ก็ต้องมี ราคาถูก ทีมงานจึงได้พยายามช่วยกันทดลอง จนพบว่า ขาของ คลิปด�ำ 2 ขา ที่ใช้หนีบเอกสาร เบอร์ 110ใช้แทนได้และราคาถูกกว่า 40 เท่า ถ้ า ซื้ อ สปริ ง ของกรรไกรตั ด กระดู ก โดยตรง “ผมสังเกตว่าต�ำแหน่งที่หักจะเป็นส่วนข้องอของ สปริงกรรไกร จึงทดลองน�ำวัสดุหลายชนิดมาดัดแปลง ใช้ ก็ ไ ม่ ส ามารถใช้ ไ ด้ จึ ง ทดลองใช้ ข าของคลิ ป ด� ำ ถึ ง แม้ ว ่ า จะทราบแล้ ว ว่ า ขาของคลิ ป ด� ำ สามารถ ใช้แทนสปริงได้ แต่กย็ งั ต้องคิดค้นต่อว่าคลิปด�ำยีห่ อ้ ใด ขนาดไหนจึงจะเหมาะพอดีกับรูขากรรไกร แล้วจึง ดัดแปลงดัดให้ขาคลิปด�ำไขว้เพื่อเพิ่มแรงของสปริง ได้ดีขึ้น เมื่อน�ำมาทดลองใช้งานดูก็ใช้งานได้ใกล้เคียง สปริงเดิมมาก” คุณชนวรรฒน์กล่าว จากการพัฒนางานกลายมาเป็นผลงาน นวั ต กรรมแบบง่ า ยๆ ท� ำ ให้ ภ าควิ ช าชี ว วิ ท ยา สามารถประหยัดงบประมาณ ที่ต้องซื้อกรรไกร ตัดกระดูกราคาอันละ 600 – 700 บาท หรือสปริง
ราคาอั น ละ 50 บาท (ขาคลิ ป ราคาอั น ละ 1.25 บาท) เป็นการน�ำ กรรไกรตัดกระดูกที่ไม่ สามารถใช้งานได้กลับมาใช้ได้อย่างสมบูรณ์ และ เป็นการช่วยในการน�ำวัสดุ-อุปกรณ์ หรือเครือ่ งมือ มาใช้งานอย่างคุ้มค่า ตัวคลิปด�ำยังใช้งานได้อีก ไม่ ต ้ อ งทิ้ ง กล่ อ งกระดาษน� ำ ไปท� ำ กล่ อ งเก็ บ แผ่นสไลด์ตัวอย่างได้อีก คุณชนวรรฒน์ ได้กล่าว เพิ่มเติมอีกว่า “สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการท�ำโครงการนี้ เราภูมใิ จลึกๆ ว่าเราก็สามารถท�ำได้ เพราะฉะนัน้ ทุกคน ก็ท�ำได้ แค่คิดแก้ปัญหาและปรับปรุงกับสิ่งที่เราท�ำอยู่ ทุกวัน ให้ดีขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยให้ตัวเราเองท�ำงานได้ ราบรื่ น แล้ ว มี ค วามสุ ข ไม่ ต ้ อ งคิ ด มาก” ทั้งนี้ คุณชนวรรฒน์ก�ำลังจัดท�ำคู่มือในการสาธิตวิธี การท� ำ สปริ ง กรรไกรตั ด กระดู ก แบบใหม่ จ าก คลิปด�ำ 2 ขา พร้อมค�ำบรรยายเพื่อจัดส่งไปยัง โรงเรียนที่สนใจต่อไป หากผูใ้ ดสนใจคุณชนวรรฒน์ยนิ ดีทจี่ ะแลก เปลี่ยนและให้ค�ำปรึกษาโดยสามารถติดต่อได้ที่ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 0-7428-8481
ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ น แ
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ เป็นหลักสูตรทีม่ กี ารเชือ่ มโยง
ระหว่างคณิตศาสตร์และสถิติ และน�ำคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องมือในการศึกษา ค้ น คว้ า จึ ง เหมาะส� ำ หรั บ อาจารย์ ผู ้ ส อนคณิ ต ศาสตร์ ผู ้ ที่ จ บการศึ ก ษาสาขา คณิตศาสตร์ สาขาสถิติ และสาขาอืน่ ๆ ทีส่ นใจเรียนคณิตศาสตร์และสถิตเิ พิม่ เติม เน้นงานวิจัยและวิชาการในด้าน กึ่งกรุป, ทฤษฎีจ�ำนวน, การวิเคราะห์ฟังก์ชันนัล, แบบจ�ำลองเชิงสถิติ และ สถิติประยุกต์
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
Bachelor of Science Program in Computer Science ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต, วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) : Bachelor of Science, B.Sc. (Computer Science) โครงสร้างหลักสูตร
จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1) กลุ่มวิชาภาษา 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2) กลุ่มวิชาบังคับ 3) กลุ่มวิชาเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรี
146 31 12 10 9 109 15 73 21 6
หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต
โอกาสการท�ำงาน • • • • •
โ ปรแกรมเมอร์ / วิศวกรซอฟต์แวร์ / นักวิเคราะห์ระบบ ผู้ออกแบบและดูแลระบบฐานข้อมูล ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ออกแบบและดูแลเว็บ อาจารย์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ประกอบธุรกิจส่วนตัว และอื่นๆ
โอกาสทางการศึกษาต่อทางด้าน • • • •
เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะส�ำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีและ ต้องมีพื้นฐานความรู้วิชาคณิตศาสตร์และสถิติในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 30 หน่ ว ยกิ ต หรื อ อาจจะพิ จ ารณาตามดุ ล ยพิ นิ จ ของคณะกรรมการบริ ห าร หลักสูตรฯ วิชาพื้นฐานในการเตรียมตัวเข้าสอบคัดเลือกคือ แคลคูลัส พีชคณิต เชิงเส้นและสถิติ
สอบถามข้อมูลได้ที่ผู้รับผิดชอบหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รณสรรพ์ ชินรัมย์ : ronnason.c@psu.ac.th โทรศัพท์ : 0-7428-8660 โทรสาร : 0-7455-8842 http://www.math.psu.ac.th
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นงานวิจยั และวิชาการ
ในด้านต่อไปนี้ • การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย • วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการประยุกต์ • ปัญญาประดิษฐ์ / การจัดการความรู้ / เครือข่ายประสาทเทียม • เทคโนโลยีฐานข้อมูล / เหมืองข้อมูล / คลังข้อมูล • เทคโนโลยีระบบสารสนเทศและการวิจัยประยุกต์ • e-Business / e-Learning อื่น ๆ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. เป็นผูส้ ำ� เร็จการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี หรือก�ำลังศึกษาอยูใ่ นภาคการศึกษา สุดท้ายของการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี โดยมีคะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ตำ�่ กว่า 2.50 หรือ เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมต�่ำกว่า 2.50 หรือเป็นผู้ส�ำเร็จ การศึกษาขัน้ ปริญญาตรี โดยมีคะแนนเฉลีย่ สะสมต�ำ่ กว่า 2.50 และมีประสบการณ์ การท�ำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาแล้วอย่างน้อยไม่ต�่ำกว่า 1 ปี โดยมีผู้บังคับ บัญชาให้การรับรอง และ 2. เป็นผูผ้ า่ นการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐานมาแล้วอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคัดเลือกประจ�ำหลักสูตร
วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นให้ความรูแ้ ละทักษะในเชิงลึกเกีย่ วกับการโปรแกรมและเทคนิค การสั่งงานคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังให้ความรู้ในแนวกว้าง เกีย่ วกับการท�ำงานของระบบคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ การจัดการ ข้อมูลสารสนเทศ และระบบงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมายเหตุ วิชาทีน่ บั ว่าเป็นวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน มีดงั นี้ คือ Fundamental Mathematics, Calculus, Linear Algebra, Logic and Set Theory ฯลฯ โดยรวม รายวิชาทางสถิติ เช่น Statistics และ Probability
สถานที่ติดต่อ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ.3 ปณ.ฝ. คอหงส์ 90112 โทรศัพท์ : 0-7428-8578 โทรสาร : 0-7444-6917 www.cs.psu.ac.th E-mail : supranee.o@psu.ac.th
สอบถามข้อมูลได้ที่ผู้รับผิดชอบหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ : wipada.w@psu.ac.th ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐิดา เอลซ์ : nittida.n@psu.ac.th โทรศัพท์ : 0-7428-8580 , 0-7444-8574 โทรสาร 0-7444-6917 หรือ http://www.cs.psu.ac.th/
5 www.sc.psu.ac.th
คุยกับคนเก่ง ความพยายามอยูท่ ไี่ หน ความส�ำเร็จอยูท่ นี่ นั่ !!
อับดุล มุตตา
ฉบับนี้เราจะน�ำมาพูดคุยกับคนเก่งผู้ได้รับรางวัลการศึกษายอดเยี่ยมขั้นวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จากมูลนิธิ ศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ โดยสอบได้คะแนนยอดเยี่ยมเป็นอันดับ 1 ของแต่ละหลักสูตร และมีแต้มระดับเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.70 คือนายอับดุลมุตตา ธาตรีบุต คุณอับดุล มุตตา ได้เล่าประสบการณ์ ความส�ำเร็จจากการเรียนให้ฟังว่า “ตอนม.ต้น ผมเรียนที่โรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ อ�ำเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยส่วนตัวแล้วเป็นคนไม่อ่านหนังสือ แต่จะตั้งใจเรียนให้ห้องเป็นอย่างมาก และตอนนั้นก็ เรียนได้เป็นอันดับ 1 ของห้องมาโดยตลอด แต่พอ เข้าม.ปลาย เข้ามาเรียนในตัวเมือง การตั้งใจเรียนใน ห้องเรียนเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ เพราะการสอน ของอาจารย์ในห้องเรียนเป็นการสอนทั่วๆ ไป และ เราไม่ได้เรียนพิเศษเหมือนเพื่อนๆ คนอื่น เนื่องจาก ต้องเดินทางไป-กลับบ้านและโรงเรียนเป็นระยะทาง 30 กิโลเมตรทุกวัน ท�ำให้เรียนตามเพือ่ นไม่ทนั ผลการ เรียนต�่ำมาโดยตลอด จะได้ประมาณ 2.3-2.4 ตลอด จนจบม.ปลาย” ด้วยส่วนตัวมีความใฝ่ฝันอยากจะเป็น อาจารย์ เมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมปลาย คุณอับดุล มุตตา จึงได้เข้าศึกษาต่อในภาควิชา เคมี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี “ตอนเข้าปี 1 ผมยัง
ต่างประเทศ
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2553 Prof. Yo-Sung Ho จาก Gwangju Institute of Science and Technology (GIST) สาธารณรัฐ เกาหลี มาเยือนคณะวิทยาศาสตร์ โดยสนใจเจรจาความร่ ว มมื อ กั บ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
www.sc.psu.ac.th 6
ใช้ เ ทคนิ ค การเรี ย นแบบเดิ ม นั่ น คื อ ตั้ ง ใจเรี ย น ในห้องเรียน แต่ผลการเรียนออกมาก็ยังอยู่ประมาณ 2.3-2.4 ท�ำให้ลองย้อนมองเพื่อนๆ ที่เรียนเก่งๆ ว่ า เขาอ่ า นหนั ง สื อ กั น ดึ ก ดื่ น ทุ ก วั น บางคนอ่ า น ถึงตี 3 ตี 4 ขณะที่เรานอนหลับและไม่ได้อ่านหนังสือ เลย เมื่อเข้าปีที่ 2 ผมเปลี่ยนสาขาจากเคมี มาเรียน ฟิสิกส์ จึงเริ่มต้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหม่ โดยนอกจากการตั้งใจเรียนในห้องเรียนแล้ว ยังอ่าน หนังสือทบทวนการเรียนทุกวัน แรกๆก็อ่านไม่เข้าใจ แต่ก็พยายามอ่านซ�้ำๆ ท�ำโจทย์ซ�้ำๆ วิชาใดๆหรือ โจทย์ ใ ดๆ ผมจะอ่ า นและท� ำ โจทย์ ซ�้ ำ ๆ ประมาณ 3-4 ครั้งจนสามารถจ�ำได้อย่างแม่นย�ำ” การเปลี่ยนเทคนิคการเรียน เป็นพยายาม อ่ า นทบทวนและหมั่ น ท� ำ โจทย์ ส ่ ง ผลให้ ผ ล การเรียนเฉลี่ยของคุณอับดุลมุตตาในเทอมนั้น เพิม่ ขึน้ จากเมือ่ ตอนปี 1 เป็น 3.6 ท�ำให้คณ ุ อับดุล มุตตาทุ่มเทเวลาให้กับการอ่านหนังสือทุกวันมา โดยตลอด จนส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 2 และเข้าศึกษาต่อใน
ระดับปริญญาโท ทีภ่ าควิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ด้วยเหตุผลที่ว่า “คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. หาดใหญ่ อยู่ใกล้บ้าน และเปิดสอนในสาขาวิชาที่สนใจคือฟิสิกส์ ผนวกกับค่าใช้จ่ายการเรียนการเป็นอยู่ก็ไม่สูงมากนัก เมือ่ เข้ามาเรียนท�ำให้ทราบว่าระบบการเรียนการสอนก็เป็น มาตรฐานเดียวกันกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่วโลก ทั้งในด้าน ของต�ำราและการสอนของอาจารย์ ซึ่งตอนที่ผมเรียน ปริ ญ ญาโท ผมได้ รั บ รางวั ล การศึ ก ษายอดเยี่ ย ม ขั้นวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตและทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์ จากมูลนิธิ ศาตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ประจ�ำปี การศึกษา 2551” ขณะนีค้ ณ ุ อับดุลมุตตา ก�ำลังศึกษา ต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาเอกสาขาฟิ สิ ก ส์ ที่ ค ณะ วิทยาศาสตร์ ม.อ. และยังคงการอ่านหนังสือทบทวน บทเรี ย นทุ ก วั น ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ ทุ น บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สงขลานครินทร์ และอยูร่ ะหว่างการท�ำสัญญารับทุน โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อผลิตและพัฒนา อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ระดับปริญญาเอก จากส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอีกด้วย
ค ณ บ ดี แ ล ะ ร อ ง ค ณ บ ดี ฝ ่ า ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ ์ และประชาสั ม พั น ธ์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ให้ ก ารต้ อ นรั บ Dr.Susanto Rahardja ผู้อ�ำนวยการและ ดร.เลขา ไชยสร หั ว หน้ า กลุ ่ ม วิ จั ย สถาบั น วิ จั ย Institute for Infocomm Research ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งทั้งสองท่านให้เกียรติมาเป็น วิทยากรในโครงการสัมมนาวิชาการทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ของภาควิ ช าวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ในระหว่างวันที่ 5 – 7 ก.ค. 2553
ภาควิ ช าฟิ สิ ก ส์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ได้ จั ด การฝึ ก อบรมโครงการ Seismic prospecting ให้แก่อาจารย์จากมหาวิทยาลัย แห่ ง ชาติ ล าว สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว จ� ำ นวน 2 ท่ า น เมื่ อ วั น ที่ 15 มิ.ย.–15 ก.ค. 2553 ตามข้อตกลงความร่วม มือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว Memorandum of Understanding (MoU ระหว่ า ง Prince of Songkla University และ National University of Laos)
» คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. จัดคอนเสิร์ต Fun & Fund คณะวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมเงิน เข้ากองทุนคณะวิทยาศาสตร์ ส�ำหรับใช้ดูแลนักศึกษาและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้แก่ ทุนนักศึกษา การพัฒนาการเรียนการสอนและวิจัย โดยมีศิลปินวงดา เอนโดรฟิน และ แคลลอรี่ บลาบลา มาจัดการแสดงให้ได้ รับชมกัน
จกรรมงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ » ภาพบรรยากาศกิ ประจ�ำปี 2553 และโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 10 ระหว่างวันที่ 17 - 20 ส.ค. 2553 ณ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. มีกิจกรรมสนุกๆ ที่เปี่ยมไปด้วยสาระความรู้มากมาย ในปีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษเรื่อง “วิกฤตวันสิ้นโลก” ซึ่งได้รับความสนใจจาก น้องๆ และประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก
» คณะวิทยาศาสตร์ เข้าร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 14
ระหว่างวันที่ 17-18 สิงหาคม 2553 ณ ศูนย์ประชุมนาชาติเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้ท�ำการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพือ่ สื่อสารข้อมูลของคณะฯ สูก่ ลุ่มเป้าหมายโดยตรง ได้แก่คณาจารย์ และนักเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษารู้จักคณะฯ มากขึ้น ทั้งนี้คณะฯ ได้น�ำเสนอการแสดง Science show ของนักศึกษาโครงการ พสวท. ซึ่งสร้างความสนใจแก่ผู้เข้าชมงานเป็นอย่างมาก
7 www.sc.psu.ac.th
กิจกรรมร่วมฉลองเนื่องในโอกาส
“ปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ 2010” ด้วยในปี 2553 องค์การสหประชาชาติได้ก�ำหนดให้เป็นปีสากลแห่งความ หลากหลายทางชีวภาพ (International Year of Biodiversity) ส�ำนักความ หลากหลายทางชีวภาพ ส�ำนักนโยบายและแผน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ ม จึ ง ได้ จั ด กิ จ กรรมร่ ว มฉลองเนื่ อ งในโอกาส “ปี ส ากลแห่ ง ความ หลากหลายทางชีวภาพ 2010” เมื่อวันที่ 9-10 ก.ค. 2553 ณ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ปสี ากลแห่งความหลาก หลายทางชีวภาพ และผลการด�ำเนินงานของประเทศไทยตามอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ ในด้านการลดอัตราการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างมีนัยส�ำคัญตามเป้าหมายปี 2010 ในการนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.พรศิลป์ ผลพันธิน ผูอ้ ำ� นวยการสถานวิจยั ความ เป็ น เลิ ศ ความหลายหลายทางชี ว ภาพแห่ ง คาบสมุ ท รไทย คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นตัวแทนคณบดีคณะวิทยาศาสตร์รบั ธงสัญลักษณ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ จากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ เนือ่ งด้วยสถานวิจยั ความเป็นเลิศความหลายหลาย ทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทยเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการด�ำเนินงานด้านการ อนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
ส�ำหรับนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายสามัญ ของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ใน 14 จังหวัดภาคใต้ สามารถสมัครเข้ารับทุนโครงการ พิเศษของคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีทั้งหมด 5 โครงการ ดังนี้ • โครงการพัฒนาและส่งเสริมผูม้ คี วามสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (โครงการ พสวท.) • โครงการพัฒนาก�ำลังคนทางวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวทิ ยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย) • โครงการรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามสามารถสู ง เข้ า ศึ ก ษาในคณะ วิทยาศาสตร์ • โครงการส่งเสริมผู้มีทักษะพิเศษทางวิทยาศาสตร์ • โครงการรับนักศึกษาจากผู้เข้าค่ายฝึกอบรมโครงการส่งเสริม โอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์
::::: เปิดรับสมัคร : สิงหาคม – ตุลาคม 2553 ::::: คุณวรรษมน มีเสน/ คุณเยาวลักษณ์ ตะเภาน้อย โทร. 0-7428-8028 โทรสาร 0-7444-6926 E-mail: wassamon.m@psu.ac.th / yaowalak.p@psu.ac.th Website: www.sc.psu.ac.th/quota หรือ www.sc.psu.ac.th
เปิดรับสมัครเข้าศึกษาต่อ โท, เอก ประจ�ำปีการศึกษา 2554 รับสมัครทางอินเตอร์เน็ต 15 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน 2553 รับสมัครด้วยตนเอง 17 - 25 พฤศจิกายน 2553 สอบถามข้อมูล : งานบริการการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ โทร 0-7428-8094 E-mail sci-grad@group.psu.ac.th, http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์
(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ
Design by blueimage 0-7446-4401
ก�ำลังเปิดรับสมัคร!!