“...ทันข่าวกับเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...”
ฉบับที่ 2/53 ประจ�ำเดือนมีนาคม – เมษายน 2553
www.sc.psu.ac.th
ขอแสดงความยินดีแก่ ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา ซึ่งได้รับการโปรดเกล้าให้ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (อ่านต่อหน้า 2)
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ตรวจวิเคราะห์สิ่งแปลกปลอม ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับก้อนน�ำ้ มันสีดำ� ทีจ่ บั ตัวกันเป็นก้อน ที่ถูกคลื่นซัดมาติดแนวชายฝั่งทะเลพื้นที่ อ.สทิงพระ และ บริเวณชายหาดสมิหลา จ.สงขลา จนชาวบ้านและชาว ประมงในพืน้ ทีด่ งั กล่าวหวาดกลัวว่าอาจจะเป็นร่องรอยของ น�้ำมัน ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตและอาจจะ เป็นการท�ำลายสิ่งแวดล้อม
วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาป สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณ ริญญาเอก ะว มหาวิทยาลัยสงขลิทายนาคศราินสตร์ ทร์ "การศึกษาการก่อเชื้อในล ซึ่งระบาดข้ามเขตชายแดน �ำไส้ ไทย"
(อ่านต่อหน้า 8)
(อ่านต่อหน้า 3)
ขตหาดใหญ่
ครินทร์วิทยาเ าน ล งข ส ย ั าล ย ท ิ าว ห ม ร์ ต าส าศ คณะวิทย
จัด “งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2553”
ในวันที่ 17-20 สิงหาคม 2553
ต่อจากหน้า 1
ร่วมแสดงความยินดีกับคณาจารย์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดงความยินดีแก่ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา ซึง่ ได้รบั การโปรดเกล้าให้ดำ� รงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชา ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ตั้งแต่วันที่ 3 ก.ค. 2551 โดยประกาศ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ณ วันที่ 3 ก.พ.2553 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง หัวหน้าหลักสูตรเทคโนโลยีชวี สารสนเทศและโมเลกุล คณะวิทยาศาสตร์ ผลงานการแต่งต�ำรา ได้แก่ "ชีวโมเลกุล : เพื่อการอยู่รอด ของกุ้ง" ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา และคณะวิจัย ได้รับรางวัลผล งานวิจัยประจ�ำปี2551 จากสภาวิจัยแห่งชาติ กลุ่มสาขาเกษตรศาสตร์และ ชีววิทยา ผลงานเรื่อง "การศึกษาสมบัติทางชีวภาพของฟอติลินจากกุ้ง กุลาด�ำ" (Study of Biological Properties of Fortilin Isolated from Black Tiger Shrimp) โดยผลิตโปรตีนส�ำหรับผสมในอาหารกุง้ แก้ปญ ั หาการระบาดโรคไวรัสใน กุ้งเพาะเลี้ยง ซึ่งเป็นปัญหาส�ำคัญยิ่งของเกษตรผู้เลี้ยงกุ้งได้เป็นผลส�ำเร็จ
. .อ ม ์ ร ต ส า ศ า ย ท ิ ว ะ ณ ค อาจารย์ทสี่ ร้างชือ่ เสียงให้กบั
รองศาสตราจารย์ชนิตา พงษ์ลิมานนท์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี ได้รับรางวัล อาจารย์ดีเด่นด้านการเรียนการสอน ของ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ประจ� ำ ปี 2553 เนือ่ งจากเป็นผูว้ างตนอย่างเหมาะสมในการ เป็นครู เป็นแบบอย่างที่ดี ดูแลนักศึกษาที่ มีปัญหาด้านการเรียน มีส่วนร่วมในการ ช่วยแก้ไขปัญหาเมื่อนักศึกษาในภาควิชา เป็นผู้ผลิตสื่อการสอน เช่น LMS หนังสือ ประกอบการสอน อีกทัง้ ยังท�ำ E-learning ทั้งที่เป็นเนื้อหาวิชาและการท�ำโจทย์เพื่อใช้ สอนนักเรียนที่อยู่ในจุดเสี่ยง
รองศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชนก กะราลัย อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี ได้รับรางวัล อาจารย์ ดี เ ด่ น ด้ า นการวิ จั ย ของคณะ วิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2553 โดยได้ ด�ำเนินการวิจยั ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมา อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลากว่า 30 ปี มี ผลงานตี พิ ม พ์ ใ นวารสารวิ ช าการระดั บ นานาชาติในฐานข้อมูล ISI กว่า 80 เรือ่ ง และยั ง มี ผ ลงานที่ มี ป ระโยชน์ ต ่ อ วงการ วิชาการพืชสมุนไพรไทยทั้งในส่วนของภาค ใต้และระดับประเทศ
ศ ท เ ะ ร ต่างป
553 17 มี.ค.2 จ า ก – . .พ ก า 7 ษ เมื่อวันที่ 2า จ า ร ย ์ แ ล ะ นั ก ศึ ก ประเทศ d ก ลุ ่ ม ค ณ y of Novi Sa กิจกรรม Universit เดินทางมาร่วม วิทยาร่วม เซอร์เบีย งนิเวศวิทยาและชีว าชีววิทยา ส�ำรวจทา ษาปริญญาตรีสาข าชีววิทยา กับนักศึก าศาสตร์ ในรายวิช กเปลี่ยน คณะวิทย ายใต้โครงการแล ช่วงเดือน กิจกรรมภ ะจ�ำทุกปี โดยใน าวิทยาการ น ็ ป เ ้ ี น ง ้ ั ร กิจกรรมค จัดขึ้นเป็นปร า จากภาควิช างไป ภาคสนามและบุคลากร ซึ่ง อาจารย์และนักศึกษ ยาศาสตร์ จะเดินท นักศึกษา ม – มิถุนายนนี้ วิทยา ของคณะวิท มนี้เช่นเดียวกัน พฤษภาค อร์ ฟิสิกส์ และชีว เพื่อเข้าร่วมกิจกรร คอมพิวเต y of Novi Sad Universit
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุเมธา สุ ว รรณบู ร ณ์ อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวสั ดุ ได้รบั รางวัล อาจารย์รุ่นใหม่ดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2553 เนื่องจากเป็นผู้มีความ ประพฤติที่เหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับนักศึกษาและมีการร่วมท�ำกิจกรรมทัง้ ใน และนอกสถานทีก่ บั นักศึกษาอย่างสม�ำ่ เสมอ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน มี ความเสียสละและช่วยงานด้วยความเต็มใจ และเต็มก�ำลังความสามารถ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ พรหมวิกร อาจารย์ประจ�ำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ ได้รบั เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ เหรียญ เงินดิเรกคุณาภรณ์ ทีม่ อบให้ผกู้ ระท�ำความดีเป็น ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติและประชาชน เมือ่ ครัง้ ทีช่ ว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัย “สึนามิ” เมือ่ วันที่ 26 ธ.ค. 2547 ซึ่งถือว่าเป็นผู้เสียสละและท�ำ คุณประโยชน์ให้แก่สงั คม ในพิธมี อบเครือ่ งราช อิสริยาภรณ์ และเครื่องหมายเชิดชูเกียรติคุณ พร้อมใบประกาศเกียรติคุณแสดงความยินดีแก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจ�ำดีเด่นของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2553 ที่ผ่านมา
ต่อจากหน้า 1
GURU Interview
หลังจากทีม่ กี ารพบสิง่ แปลกปลอมทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับก้อนน�ำ้ มันสีดำ� ทีจ่ บั ตัวกัน เป็นก้อน ซึ่งถูกคลื่นซัดมาติดแนวชายฝั่งทะเลพื้นที่ อ.สทิงพระ และบริเวณชายหาด สมิหลา จ.สงขลา เมื่อ 2-3 เดือนที่ผ่านมา จนชาวบ้านและชาวประมงในพื้นที่ดังกล่าว หวาดกลัวว่าอาจจะเป็นร่องรอยของน�ำ้ มัน ซึง่ อาจจะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวติ และ อาจจะเป็นการท�ำลายสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลาจึงได้เก็บตัวอย่างวัตถุดังกล่าว ส่งมาเพื่อขอความอนุเคราะห์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อ วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของนักท่องเที่ยวที่มาพักผ่อน ตามชายหาดและต่อสภาพแวดล้อมทั่วไปของทะเลและสัตว์น�้ำหรือไม่ ทีมงานของหน่วยเครื่องมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.ซึ่งน�ำโดยนายบุญสิทธิ์ วัฒนไทย นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการ ระดับ 8 ได้ท�ำการตรวจวิเคราะห์วัตถุดังกล่าว พบว่าเป็นสารกึง่ ของแข็ง มีลกั ษณะอ่อนนิม่ แตกสลายได้งา่ ย (Friable solid) มีสนี ำ�้ ตาลด�ำ มีความหนาแน่นมากกว่าน�้ำเล็กน้อย เมื่อมีการเสียดสี จะเปลี่ยนสภาพเป็นสารกึ่ง เหลวเหนียวคล้ายยางมะตอย (Asphalt) และเมือ่ ปะปนในน�ำ้ ทะเล วัตถุดงั กล่าวทีม่ ขี นาด เล็กจะแขวนลอยอยู่เหนือน�้ำ แต่เมื่อมีการจับตัวจนมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นหรือเมื่อจับรวมตัว กับอนุภาคของตะกอนดินและทราย วัตถุดังกล่าวจะจมตัวลงได้ ซึ่งวัตถุตัวอย่างมีจุด หลอมตัวทีอ่ ณ ุ หภูมมิ ากกว่า 65 องศาเซลเซียส และจะเป็นของเหลวลอยตัวอยูบ่ นผิวน�ำ้ แต่เมือ่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ อากาศลดลงจะจับตัวเป็นคราบของแข็งกลายเป็นสารแขวนลอย หรือจมตัวลงดังที่กล่าวข้างต้น
นายบุญสิทธิ์ วัฒนไทย นักวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการ ระดับ 8
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ตรวจวิเคราะห์ ตะกอนสีด�ำประหลาดแนวชายฝั่งทะเลสงขลา ตัวอย่างดังกล่าวเป็นสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ที่เรียก ว่า Blown Asphalt ซึง่ สังเคราะห์จากยางมะตอย เป็นของแข็งทีอ่ ณ ุ หภูมติ ำ�่ และจะหลอม ตัวเป็นของเหลวที่อุณหภูมิสูงกว่า อาจจะเกิดไอระเหยคล้ายยางมะตอย ซึ่งไม่ควรจะ สูดดมไอระเหยดังกล่าว นายบุญสิทธิ์ วัฒนไทย ให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า “...วัตถุดังกล่าวไม่จัดเป็นสาร อันตราย แต่อาจจะท�ำให้เกิดความสกปรก เหนียว เลอะเทอะหรือระคายเคือง โดยจะ เกิดเมือ่ อุณหภูมสิ งิ่ แวดล้อมสูงขึน้ เท่านัน้ และสามารถจับตัวกับผิวหนังของมนุษย์หรือ เสื้อผ้า แต่ไม่เป็นอันตรายต่อระบบหายใจของสัตว์น�้ำในทะเลหรือสิ่งแวดล้อม โดยสาร ประกอบดังกล่าวใช้เป็นส่วนผสมตัวหนึง่ ในสารเคมีทใี่ ช้ในการขุดเจาะปิโตรเลียม (Drilling Fluid) ของเหลวดังกล่าวเป็นชนิดที่เรียกว่า Oil-base Drilling Fluid ซึ่งแตกต่างจากน�้ำมัน ดิบหรือน�้ำมันเตาที่มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลาย ชนิ ด ผสมกั น แต่ ตั ว อย่ า งที่ ต รวจพบเป็ น สารประกอบเชิงเดี่ยวไม่ใช่สารผสม จากผลการ ตรวจวิเคราะห์นี้สามารถใช้ยืนยันได้วา่ มีการรั่ว ไหลของตัวอย่างดังกล่าวจากหลุม หรือโพรงของแท่นขุดเจาะ ปิโตรเลียมที่ใดที่หนึง่ อย่าง ค่อนข้างแน่นอน...”
“โดย...หน่วยกิจการนักศึกษา”
กิจกรรมนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์
สัมภาษณ์นายกสโมสรฯ คนใหม่ ในโครงการเสริมสร้างทักษะผู้น�ำนกั ศึกษาชุดใหม่
ดน แ ง อ ้ น อ รื ห น ิ พ น ู พ นายชินกร ฉบับนี้เรามารู้จักกับนายกสโมสรนักศึกษา คนเก่งของคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งก็คือ นายชิ น กร พู น พิ น หรื อ น้ อ งแดน นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 3 สาขาเทคโนโลยี ชี ว ภาพ คณะวิทยาศาสตร์ กันนะคะ น้องแดนจบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จ.สงขลา ซึง่ นอกเหนือจากการเรียน แล้ว น้องแดนยังท�ำกิจกรรมตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น กิจกรรม ประชุมเชียร์ และกิจกรรมพี่เลี้ยงวิชาการ กีฬา 14 คณะฯ เป็นต้น ปัจจุบันน้องแดนเป็น นายกสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2553 จากชื่อทีมที่ว่า “Family Science” โดยมีนโยบายหลักในการสร้างความกลมเกลียวให้กับนักศึกษา เสริม
สร้างจิตส�ำนึกสาธารณะ รู้จักรัก (ษา) โลก รู้จักรัก (ษา) วัฒนธรรม โดยมีคณะกรรมการใน ทีมทั้งสิ้น 23 คน ซึ่งนายกสโมสรนักศึกษาได้กล่าวถึงการมาท�ำหน้าที่เป็นนายกสโมสรว่า “แรกเริม่ มาจากการทีเ่ พือ่ นๆทาบทามมาให้เป็นนายกฯ เพือ่ นเห็นว่าเราเป็นคนทีจ่ ะสามารถ ท�ำงานเพื่อคณะฯ ได้ ปกติเราก็เป็นคนที่ชอบท�ำกิจกรรมอยู่แล้วด้วย ที่ชอบท�ำกิจกรรม เพราะกิจกรรมท�ำให้ได้รจู้ กั เพือ่ นมากขึน้ ถ้าเราเรียนอย่างเดียวเราก็จะมีเพือ่ นแต่ในภาควิชา ไม่รู้จักเพื่อนต่างภาควิชา แต่พอเราเริ่มมาท�ำกิจกรรม ท�ำให้เรารู้จักเพื่อนทุกภาควิชาและ เพื่อนต่างคณะเลยก็ว่าได้ครับ” น้องแดนได้พดู ถึงประโยชน์ของการใช้เวลาว่างมาร่วมท�ำกิจกรรมต่างๆ ของคณะฯ ว่า “การท�ำกิจกรรมยังท�ำให้เรารูจ้ กั การท�ำงาน การวางแผนในเรือ่ งของเวลา เพราะเราไม่ได้ทำ� กิจกรรมเพียงอย่างเดียวครับ เรายังมีหน้าที่หลักคือการเรียนด้วย เวลาจึงมีส่วนส�ำคัญมาก ครับส�ำหรับการเรียนและการท�ำกิจกรรมต่างๆ” และน้องแดนได้ฝากน้องที่จะเข้ามาเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ว่า “ที่นี้ไม่ใช่คณะวิทยาศาสตร์ที่ดีที่สุดในประเทศ แต่เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ดี สุดในภาคใต้ ทั้งในเรื่องของศักยภาพของคณาจารย์ อุปกรณ์การเรียนการสอน และ บรรยากาศในการใช้ชีวิตของนักศึกษา และถ้าน้องๆได้มีโอกาสเข้ามาเรียน ผมอยากจะให้ น้องๆมั่นใจได้ว่าที่นี้มีอะไรให้เรียนรู้มากมาย และพวกพี่จะดูแลน้องเป็นอย่างดีครับ”
แนะน�ำหลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาชีววิทยา
โครงสร้างหลักสูตร
130 หน่วยกิต จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 30 หน่วยกิต ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 12 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาภาษา 10 หน่วยกิต ร์ 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสต 8 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 94 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 15 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 63 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาบังคับ 23 หน่วยกิต - วิชาแกน 40 หน่วยกิต - วิชาเฉพาะ 16 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาเลือก 6 หน่วยกิต ศึกษาชั้นน�ำต่างๆ ทั้งภายในประเทศ การ น ั ถาบ ในส น ้ ขึ ง ู ส ่ ที บ ะดั ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ในร อ ต่ ษา ก ศึ ารถ การพิเศษอีกด้วย จากภาควิชาชีววิทยา สาม โอกาสทางการศึกษา ผู้ที่จบการศึกษาสมคั รเขา้ ศึกษาคณะแพทยศาสตร์ในบางมหาวทิ ยาลยั ทีเ่ ปิดรับสมคั รในการผลติ แพทย์โครงสถาบนั อุดมศกึ ษา และต่างประเทศ นอกจากนนี้ กั ศึกษาสามารถ ภาควิชาชีววิทยา สามารถเลือกทำ� งานได้ทงั้ ในภาครฐั และเอกชน เช่น นักวิทยาศาสตร์ (ในกรมวิชาการเกษตร โอกาสการทำ� งาน ผูท้ จี่ บการศกึ ษาจาก ่างๆ เช่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม นสิ่งแวดล้อม สวน ต่างๆ ) เป็นนักวิชาการในหน่วยงานราชการตะสหกรณ์ ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (แผนกการถนอมอาหาร) ส�ำนักนโยบายและแผ กรมป่าไม้ กรมประมง กระทรวงเกษตรแล นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ หรือเป็
ัยสงขลานครินทร์ ยาล ท วิ มหา ร์ าสต ยาศ ท ะวิ คณ ยา ท วิ ว าชี ช วิ ภาค ่ ี ท ได้ ล มู อ ข้ ถาม ผู้สนใจสอบ 0-7421-2917 สาร โทร 81 -84 428 0-7 . โทร 112 90 า งขล จ.ส ่ หญ าดใ อ.ห ตู้ ปณ. 3 E-mail: dungporn.w@.psu.ac.th
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท)
ฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขา พั การ บ ั ก ช้ ใ ต์ ก ุ ระย สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ ไปป ำ น� อ ่ เพื ง ย ้ ลี าะเ ะเพ ทรัพยากรธรรมชาติ รมวิธาน สรีวิทยา แล เป็นหลักสูตรที่เน้น 3 ด้าน คือด้านอนุกตร ประมง งานวิจยั ส่วนใหญ่เป็นงานวิจยั พืน้ ฐาน ซึง่ จะนำ� ไปสกู่ ารวางแผนและการจัดการกจากนี้ยังมีงานวิจัย ต่างๆ ของประเทศ ได้แก่ ด้านการแพทย์ เกษ ากหลายทางชีวภาพและอนุกรมวิธานของพืชกลุ่มต่างๆ เช่น สาหร่าย และพืชดอก นอ ในเชิงอนุรักษ์ได้แก่ งานวิจัยทางด้านความหละโพรโทพลาสในแง่การขยายพันธุ์และการสร้างพันธุ์ใหม่ ด้านเพาะเลี้ยงสาหร่าย เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแล ไก ระดูกสันหลัง จนถึงสัตว์มีกระดูกสันหลัง กล น ก ี ม ม่ ไ ว์ ต ั ส ่ แต ง ้ ตั สาขาวิชาสัตววิทยา งๆ า ต่ ม ่ ุ กล ต ิ ว ี ช มี ง ่ สิ ของ งาน สั ่สัตว์ไม่มีกระดูก กลักษณะการท�ำ การเรียนการสอนครอบคลุมการจัดจ�ำแนัยส่วนใหญ่ ได้แก่ งานวิจัยทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์กลุ่มต่างๆ ตั้งแตงคาว) นอกจากนี้ยัง การควบคุม และการผิดปกติที่เกิดขึ้น งานวิจ ปู แมลง) และสัตว์มีกระดูกสันหลัง (ปลา นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ชะนี ลิง ค้า หลัง (แพลงก์ตอนสัตว์ สัตว์หน้าดิน กุ้ง หอย งเนื้อเยื่อสัตว์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การเจริญของสัตว์ มีงานวิจัยด้านเนื้อเยื่อวิทยา ศึกษาลักษณะขอ ญ่เน้นทางด้านงานชีววิทยาเชิง นให ว ส่ ย ั จ วิ งาน ม อ ล้ แวด ง ่ ิ นส า สาขาวิชานิเวศวิทยา (นานาชาติ) งด้ ทา หา ญ ั ัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ่อใช้ในการประยุกต์ใช้ในการแก้ป เน้นให้ความรู้พื้นฐานทางนิเวศวิทยา เพื ้งพืชและสัตว์ในภาคใต้ โดยเน้นป่าเขตร้อนบริเวณเทือกเขาบรรทัด มีการศึกษาทางด้านส , หญ้าทะเล, และ อนุรักษ์ และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั ลง งานวิจัยในส่วนระบบนิเวศทางน�้ำ เน้นการศึกษาองค์ประกอบสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน ะเล (ชะนี, ลิง, ค้างคาว เป็นต้น) นก, ปลา และแม เลน และการจัดการพื้นที่คุ้มครองในอุทยานแห่งชาติทางทะเล นิเวศวิทยาของสาหร่ายท แนวปะการัง การศึกษาห่วงโซ่อาหารในป่าชาย
ก) าเอ ญ ญ ริ (ป ยา ท วิ ว ี าช ช วิ ขา สา ต ิ ฑ ณ ั บ ฎี ษ ุ าด ญ ช รั หลักสูตรป
่งทางวิชาการในสาขาวิชาชีววิทยาให้กับ แกร ง แข็ าม งคว า สร้ กไป ะออ จ ่ ที น ั ในอ ง สู ารถ งอนกุ รมวิธานและ านชีววิทยาที่มีความสาม เป็นหลักสูตรที่เน้นการสร้างนักวิจัยทางด้ งอนกุ รมวิธานและนิเวศวิทยาของพืช แขนงอนกุ รมวิธานและนิเวศวิทยาของสัตว์น�้ำ แขน องพืช โดยเฉพาะ ประเทศ งานวิจัยแบ่งเป็น 6 แขนง ได้แก่ แขน ิเวศวิทยาของแมลง กีฎวิทยาประยุกต์ แขนงเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และแขนงสรีรวิทยาข นิเวศวิทยาของสัตว์บก แขนงอนกุ รมวิธานและนืชและสัตว์ s เทศออสเตรเลียในสาขา Ecology systematicปี ประ fith Grif ย ั งานทางด้านอนุกรมวิธานและนิเวศวิทยาของพ ยาล ท าวิ มห บ กั น ั ถาบ มส ว ร่ fith เป็นเวลา 1 ศึกษาต่อในโปรแกรม นอกจากนี้ยังเปิดรับนักศึกษาที่สนใจเข้า มวิจัยอย่างเดียว ผู้ศึกษาในโปรแกรมร่วมสถาบันนีจ้ ะมีโอกาสไปท�ำวิจัยที่มหาวิทยาลัย Grif and evolution ของพืชและสัตว์ ซึ่งเป็นโปรแกรมจาก 2 มหาวิทยาลัย และเมื่อส�ำเร็จการศึกษา จะได้รับปริญญาร่ว
าสตร์ สอบถามข้อมูล ส�ำนักงานภาควิชา : ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศ 28 8481 โทรสาร 0 7421 2917 ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 74w.sc.psu.ac.th/units/graduate/ Email : sci-grad@group.psu.ac.th เว็บไซต์ : http://ww
คุยกับคนเก่ง
ร์ Sci 12 ฉบับนี้เราจะน�ำทุกท่านมารู้จักกับศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสต และนายกสมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ เรา ที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ของ
คือ คุณมนตรี ภู่พิชญาพันธุ์
ประวัติการศึกษา
.................................................................................................................................................................................... มัธยมศึกษา : โรงเรียนสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี .................................................................................................................................................................................... ปริญญาตรี : คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี ปี 2523 ................................................................................................................................................................................... จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ .................................................................................................................................................................................... ปริญญาโท : คณะวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกคัลเคมี ปี 2530 ................................................................................................................................................................................... จากมหาวิทยาลัยมหิดล ..................................................................................................................................................................................... ปริญญาโท : คณะวิทยาการจัดการ สาขาบริหารธุรกิจ ปี 2534 ..................................................................................................................................................................................... จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ .................................................................................................................................................................................... ปริญญาโท : รัฐประศาสนศาสตร์ ปี 2551 จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ....................................................................................................................................................................................
ประวัติการท�ำงาน
มนตรี ภู่พิชญาพันธุ์
........................................................................................................................................................................................... ï ปี 2549 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานภาค 9 เป็นองค์คณะ ........................................................................................................................................................................................... ร่วมพิจารณาคดีพิพาทแรงงาน และนายกสมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ และปัจจุบัน ด�ำรง ........................................................................................................................................................................................... ต�ำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พิธานพาณิชย์ จ�ำกัด ........................................................................................................................................................................................... ï คุณมนตรี ถือได้วา่ เป็นศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อกี ท่านทีป่ ระสบ ........................................................................................................................................................................................... ความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก ซึ่งคุณมนตรีได้กล่าวถึงการเรียนสายวิทยาศาสตร์ว่าเป็นฐานพื้นของชีวิต ........................................................................................................................................................................................... เพราะจะฝึกให้เราคิดแบบวิทยาศาสตร์ คือมีเหตุ มีผล มีกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ ........................................................................................................................................................................................... ปัญหาเป็นระบบ และสามารถต่อยอดการเรียนสาขาวิชาอื่นๆ ได้ และคุณมนตรีได้แสดงถึงความภาค ........................................................................................................................................................................................... ภูมิใจในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่า “คณะวิทยาศาสตร์เปรียบเสมือนประตู ........................................................................................................................................................................................... บานแรก ที่ท�ำให้เป็นอย่างทุกวันนี้และสร้างอนาคตได้ เพราะการเรียนวิทยาศาสตร์ และฝากให้น้องๆ ........................................................................................................................................................................................... และเด็กรุ่นต่อไปให้ความส�ำคัญกับวิทยาศาสตร์ รู้จักวางแผน การวางแผนที่ดีเปรียบเสมือนเข็มทิศ ........................................................................................................................................................................................... ในการน�ำทางให้เราไปสู่จุดหมายที่วางไว้ โดยจะต้องท�ำทุกวันให้ดีที่สุด” ........................................................................................................................................................................................... "โดย...หน่วยกิจการนักศึกษา" ...........................................................................................................................................................................................
โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ยวงใย หรือ น้องจูน นักศึกษา ชั้น ญา ช ิ วพ งสา นา า นม า ่ ผ ่ ที 53 าคม น มี างสาวลัดดา เมื่อวันที่ 7- 20 มาศ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาเคมี และน ฆย อรร รา ศ ริ วณ งสา นา มี าเค รงการแลก สาข 3 มโค ่ ี ว ปีท วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ได้เข้าร่ ณ มนฑล ว ชี า สาข 1 ่ ี ท ปี น ้ ชั ษา ก ศึ ก นั ง พ็ เ ทร์ น นจีน วรรณ จั สงขลานครินทร์กับสาธารณรัฐประชาช เปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างมหาวิทยาลัย ร์ได้มโี อกาสพดู คุยกับน้องจูน ถึงความเป็นมาเป็นไปใน กวางโจ โดยทางทีมข่าวคณะวิทยาศาสตอกนั้นน้องจูนได้แสดงความสามารถด้านนาฎศิลป์ การเข้าร่วมโครงการฯ รอบการคัดเลืดสอบ และสอบสัมภาษณ์กับคณะกรรมการเป็นภาษา การแสดงระบ�ำตะลีกีปัสส์ - ในการท ลานครินทร์ได้น�ำคณะแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย ไปแสดง อังกฤษ โดยในครั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงข สั ส์เปอร์ซาย หนมุ านจบั นางและเซงิ้ โปงลาง ซึง่ การแสดง ทัง้ สิน้ 4 ชุด คือ ระบำ� นครเชยี งใหม่ กีป งประเทศไทยในทุกภาค และร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยน แต่ละชุดแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมขอence and Technology และ Guangdong University of วัฒนธรรมที่ Jiangxi University of Sciงดี ในการเดินทางครั้งนี้มีผู้เดินทางไปกับโครงการฯ โดย Technology โดยได้รับการต้อนรับอยา่ ทร์ จากทุกวิทยาเขต รวม 40 คน น้องจูนและเพื่อนเป็น เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานคริน ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการฯ น้องจูนบอกว่า นักศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์ 3 คนอบและการคัดเลือกจากเพื่อนๆ หลากหลายคณะฯ เธอภูมิใจมาก เพราะต้องผ่านการทดส ร์และศิลปะนัน้ น้องจูนสามารถผสมผสานสองอย่างนี้ าง ความแตกต่างของสายวิทยาศาสต ร์ไม่จำ� เป็นว่าต้องเกง่ แตว่ ทิ ยาศาสตร์อย่ีวิต าสต ยาศ ิ ท นว ี ย รเร “กา า ลว่ ุ ผ หต เ ให้ ของการใช้ช ได้อย่างลงตัว โดย เพราะการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน ยี่ นวัฒนธรรม ย ว ด้ ก ี อ ได้ น ่ งอื า ่ อย ง เก่ ารถ สาม เรา ว ย เปล เดี ได้ และสิง่ ทีต่ วั เองได้รบั จากการไปแลก ดังนัน้ เรียนวิทยาศาสตร์กช็ อบนาฎศิลป์ รู้จักเพื่อนใหม่ต่างวัฒนธรรม ต่างการเป็นอยู่ และการ ในครั้งนีค้ ือการได้ประสบการณ์ชีวิต การ ัยและคณะวิทยาศาสตร์ที่หยิบยื่นโอกาสที่ดีให้” ไปในครั้งนีต้ ้องขอขอบคุณทางมหาวิทยาล
ภาพกิจกรรมชาวคณะวิทย ฯ ์
ภาพในพิ ธี พ ระราชทาน เพลิ ง ศพ(เป็ นกรณี พิ เศษ)แก่ ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษา ปีการศึกษา 2552 ในวันที่ 7 มีนาคม 2553 ที่ผ่านมา โดยในช่วงเช้ามีการด�ำเนิน พิธีทางศาสนา ณ ห้องปฏิบัติ การมหกายวิ ภ าคศาสตร์ (NML. 210) คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. และช่วงบ่ายตั้งแต่เวลา 13.00 น. มีการมอบเกียรติบัตรแก่ญาติ อาจารย์ใหญ่ และประกอบพิธี พระราชทานเพลิง ณ วัดโคกนาว อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดย มี ญ าติ ข องผู ้ อุ ทิ ศ ร่ า งกายฯ คณาจารย์ และนักศึกษาเข้า ร่วมพิธีอย่างพร้อมเพรียงกัน
เทศกาลสงกรานต์คณะวิทย์ฯ 53 วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน 2553
ลานตึกฟักทอง คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.
AcTiViTiEs
ค่ายโอลิมปิกวิชาการและพัฒนา มาตรฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เมื่อวันที่ 8 – 27 มีนาคม 2553 คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ได้รับมอบหมายจากมูลนิธิ ส่ ง เสริ ม โอลิ ม ปิ ก วิ ช าการและพั ฒ นา มาตรฐานวิทยาศาสตร์ศกึ ษา (มูลนิธิ สอวน.) ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้า ฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์ โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงเป็ น องค์ ประธาน ให้ทำ� หน้าทีค่ ดั เลือกนักเรียนทีม่ คี วาม รู ้ แ ละสามารถในวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์ เข้าค่ายฝึก อบรมโครงการส่งเสริมศึกษา ต่อเนื่องใน ค่ายที่ 2 การจัดค่ายในปีนี้นับเป็นปีที่ 9 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ เ ยาวชนไทยได้ มี ก าร พั ฒ นาศั ก ยภาพทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ รวมทั้งจะได้ เตรียมความพร้อมทั้งภาคทฤษฎี และภาค ปฏิบัติอย่างเต็มที่ ให้สามารถเข้าร่วมแข่งขัน กับเยาวชนจากนานาประเทศได้อย่างมั่นใจ และประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันมากยิง่ ขึ้นรวมทั้งเป็นการเพิ่มจ�ำนวนอาจารย์ผู้สอน วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ที่มีคุณภาพ ที่ มีความพร้อมทีจ่ ะช่วยกันพัฒนาการเรียนการ สอนในระดับโรงเรียน ให้ได้มาตรฐานเทียบ เท่าสากล และ สามารถน�ำประโยชน์ที่ได้รับ จากการด�ำเนินโครงการไปพัฒนาหลักสูตร และได้หลักสูตรพิเศษที่สามารถน�ำไปใช้คัด เลือกนักเรียนดีเด่นเข้ามหาวิทยาลัยในประเทศ ต่อไปในอนาคต
ต่อจากหน้า 1
"วิทยานิพนธ์ ในหัวข้อการศึกษาการก่อเชื้อในล�ำไส้ ซึ่งระบาดข้ามเขตชายแดนไทย Investigation of enteric pathogens spreading across Thai borders."
ช่วงหน้าร้อนอย่างนี้ ควรระมัดระวังในเรือ่ งของอาหารการกินทีไ่ ม่สะอาดหรือไม่ถกู สุขอนามัย อาจท�ำให้เราไม่สบาย เกิดอาการท้องร่วง ยิ่งอาหารที่ปรุงไม่สุกหรืออาหารปิ้งๆ ย่างๆที่ก�ำลังเป็นที่นิยม อย่างเนื้อย่างเกาหลี หรือหมูกะทะนัน้ เราจะต้องมั่นใจว่าเนื้อที่ทานเข้าไปจะต้องปรุงสุกอย่างเพียงพอ เพื่อป้องกันเชื้อที่เป็นอันตรายที่อาจแฝงอยู่ในเนื้อสัตว์ได้ นายภารนัย สุขุมังกูร นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ท�ำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อ การศึกษาเชื้อก่อโรคในล�ำไส้ ซึ่งระบาดข้าม เขตชายแดนไทย Investigation of enteric pathogens spreading across Thai borders. โดยเชื้อที่ศึกษา นัน้ เน้นเป็นเชือ้ ทีร่ ะบาดผ่านทางชายแดนไทย-มาเลเซีย ซึง่ ในการศึกษาได้ทำ� การศึกษาเชือ้ แบคทีเรียสอง ชนิด อีโคไล O157 โดยได้ท�ำการศึกษาในหัวข้อ การแยกเชื้ออีโคไล O157 ที่มีจีนสร้างสารพิษ Shiga จากเนื้อวัวทางภาคใต้ของประเทศไทยรวมถึงเนื้อวัวที่น�ำเข้าจากประเทศมาเลเซีย และศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างเชื้อที่แยกได้ (Isolation of Shiga toxin gene-bearing Escherichia coli O157:H7 from beef marketed in Southern Thailand including the import from Malaysia and the relationship among the isolates) เน้นการศึกษาเชื้ออีโคไล O157 ที่เป็นเชื้ออีโคไล ชนิดที่สามารถสร้างสารพิษได้ ส่วนใหญ่พบ เชื้อดังกล่าวในล�ำไส้ของวัว ซึ่งอาจเกิดการปนเปื้อนขณะช�ำแหละได้ พบการระบาดครั้งแรกเมื่อปี 1983 ต่อมาพบการระบาดทั่วโลก ระบาดมากในประเทศญี่ปุ่นและประเทศฝั่งตะวันตกซึ่งพบการระบาดสูง มี ผู้ป่วยจากโรคนีจ้ �ำนวนมากถึง 70,000 รายต่อปี และเสียชีวิตกว่าร้อยราย หากประชาชนทั่วไปบริโภค เนื้อวัวที่มีเชื้อดังกล่าว จะส่งผลต่อเซลล์ล�ำไส้และอาจส่งผลต่อร่างกายทั้งระบบ ส่วนใหญ่จะพบอาการ ไตวายในเด็ก และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ภารนัยได้กล่าวถึงที่มาที่ไปของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ว่า “...งานวิจัยชิน้ นี้เป็นการต่อยอดจากงาน วิจัยของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นเป็นอีกประเทศหนึง่ ที่ประสบปัญหาการระบาดของเชื้อ อีโคไล O157 และถือว่าเชื้อดังกล่าวเป็นเชื้อที่รุนแรงอย่างมาก โดยในการท�ำวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผมได้รับ การสนับสนุนทุนการศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมี รศ.ดร.วราภรณ์ วุฑฒะกุล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เป็นอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อีกทั้งได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University โดยมี ศ.ดร.มิซูอากิ นิชิบูชิ เป็นอาจารย์ผู้ดูแลในส่วนของการท�ำวิจัยที่ญี่ปุ่นอีกด้วย
เนื่องจากประเทศไทยมีอัตราการผลิตเนื้อวัวไม่เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ ท�ำให้ไม่มีการส่งออกเนื้อวัวไปยังต่างประเทศ อีกทั้งมีการรับเนื้อวัวจากประเทศ มาเลเซียเพื่อบริโภคอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งงานวิจัยก่อนหน้านี้พบเชื้ออีโคไลในเนื้อวัวของ ประเทศมาเลเซีย จึงมีความจ�ำเป็นทีเ่ ราจะต้องตรวจสอบหาเชือ้ อีโคไลทีส่ ามารถสร้าง สารพิษได้ในเนื้อวัวจากประเทศมาเลเซียว่ามีหรือไม่ ผมจึงสนใจท�ำการวิจัยเรื่องนี้ เพราะหากเราพบเชื้อดังกล่าวจากเนื้อวัวที่น�ำเข้าจากมาเลเซียก็ถือว่าอันตราย และ อาจแสดงว่ามีแพร่กระจายเชื้อจากประเทศมาเลเซียเข้าสู่ประเทศไทยได้เช่นกัน” ผลการศึกษาพบว่า “...ขณะนี้เชื้ออีโคไล ในเนื้อวัวที่น�ำเข้าจากประเทศ มาเลเซียมีการแพร่กระจายเข้าสูป่ ระเทศไทย แต่ยงั ไม่พบสายพันธุท์ สี่ ามารถสร้างสาร พิษได้ เพราะฉะนัน้ เนือ้ วัวทีใ่ ช้ในการบริโภคในประเทศไทยยังมีความปลอดภัย อย่างไร ก็ตามมีความจ�ำเป็นที่จะต้องตรวจสอบการน�ำเข้าของเนื้อวัวจากประเทศมาเลเซีย อย่างสม�่ำเสมอเพื่อป้องกันการหลุดรอดของเชื้ออีโคไลที่สามารถสร้างสารพิษได้ จาก ผลการศึกษาถือว่าเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์เพื่อการเฝ้าระวังและกระตุ้นให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วย งานที่เกี่ยวข้องในเขตภาคใต้ เตรียมการรับมือหากเกิดการพบการระบาดของเชื้อ ดังกล่าวขึ้น...” จากการท�ำวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ท�ำให้ภารนัยมีโอกาสได้เดินทางเพื่อท�ำวิจัยที่ ประเทศญีป่ นุ่ เป็นเวลาทัง้ สิน้ 7 เดือน ตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน-ธันวาคม 2552 โดยนอกจาก จะใช้ความทุ่มเทกับการทดลองในห้องทดลองและงานวิจัยของตนเองเพื่อน�ำเสนอ ผลงาน ณ มหาวิทยาลัยเขตโอซากา มหาวิทยาลัยโอกายาม่าและมหาวิทยาลัย เกียวโต ในเวทีการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 2nd Thai- Japan International Academic Conference, Kutsura Campus ภารนัยยังมีโอกาสได้ท่องเที่ยวและเพิ่ม ประสบการณ์ให้ตนเองอีกด้วย “...ตอนที่ไปน�ำเสนอผลงานตามที่ต่างๆ ผมเองได้มี โอกาสเที่ยวชมเมืองและสถานที่ส�ำคัญในประเทศญี่ปุ่นไม่ว่าจะเป็นวัดคินคาคุจิ วัดเรียวอันจิ ปราสาทโอซาก้า ปราสาทโอกายาม่าและผมยังได้ชว่ ยงานในห้องทดลอง ของมหาวิ ท ยาลั ย เกี ย วโตรวมถึ ง ช่ ว ยคุ ม แล็ ป นัก ศึ ก ษาแพทย์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย อีกด้วย...” ท้ายที่สุดภารนัยได้กล่าว ขอบคุณทุนสนับสนุนไปท�ำวิจัยต่าง ประเทศ จากกองทุ น วิ จั ย คณะ วิ ท ยาศาสตร์ ทุ น บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สงขลานครินทร์ ของบัณฑิตวิทยาลัย และทุนสนับสนุนการวิจัยจาก Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University ที่ท�ำให้เขาได้มี โ อ ก า ส แ ล ะ ก า ร เ พิ่ ม เ ติ ม ประสบการณ์ดีๆ ที่เขาได้รับอีกด้วย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์
(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ