จดหมายข่าวคณะวิทย์พฤศจิกายน-ธันวาคม 53

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 6/53 ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2553

www.sc.psu.ac.th

ทรงพระเจริ ญ

๕ ธันวา มหาราช

ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าฯ คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะวิทยาศาสตร์

ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม น.ศ. คณะวิทยาศาสตร์ พบ

“ส้มกุ้งใบเฟิร์น”

“พืชชนิดใหม่ของโลกและเป็นพืชเฉพาะถิ่นภาคใต้ของไทย”

“ภาพบรรยากาศ

วันพ่อแห่งชาติ ปี 2553” ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657


คณบดีคณะวิทยาศาสตร์กล่าวแสดง ความยินดีและอวยพรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ ในศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2554 ขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้ ง หลายในสากลโลก และขออั ญ เชิ ญ อานุ ภ าพแห่ ง พุ ท ธานุ ภ าพ ธรรมานุภาพและสังฆานุภาพ ตลอดจนเดชะพระบารมีของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินนี าถ ได้โปรด ดลบันดาลประทานพรให้ทุกท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญปราศจาก ทุกข์โศกโรคภัย และขอให้ปี 2554 นี้ เป็นปีแห่งการยึดมั่นและเจริญรอยตาม เบื้องพระยุคลบาท ด�ำรงตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้ประมาณตน เพื่อวิถีความเป็นอยู่ที่ยั่งยืน ประสบแต่ความสุขที่แท้จริงตลอดปี 2554 รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข

คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เรื่องจากปก

คณะวิทยาศาสตร์

ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม จากสถานการณ์น�้ำท่วมเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน 2553 ทีผ่ า่ นมา ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพืน้ ทีภ่ าคใต้หลายจังหวัด รวมทั้งอ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึง่ เป็นเมืองเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของภาคใต้ จากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำโดยรองศาสตราจารย์ ดร. จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์ ทีมบริหารคณะฯ คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษาได้ร่วมแรง ร่วมใจให้ ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ประสบภัยในการผลิตน�้ำดื่มเพื่อแจกจ่ายแก่ผู้ประสบภัย โดย คณะวิทยาศาสตร์ และ สถานวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ผลิตน�้ำดื่มด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน โดยใช้เครื่องกรองน�้ำแบบ Mobile unit ด้วย ระบบ Reverse Osmosis บรรจุขวด ทั้งยังได้รับความร่วมมือจาก บริษัทควอลิเทค ซัพพลาย จ�ำกัด ในการน�ำเครือ่ งกรองน�ำ้ ดืม่ มาช่วยในการเพิม่ ปริมาณการผลิตน�ำ้ ดืม่ จ�ำนวน 1 เครือ่ ง ด้ ว ยระบบกรองน�้ ำ แบบ Ultrafiltration เพื่อให้เพียงพอ กับความต้องการของผู้ได้รับ ความเดื อ ดร้ อ นในขณะนั้น โด ย เริ่ ม ผ ลิ ต น�้ ำ ดื่ ม เพื่ อ แจกจ่ายให้กับประชาชนใน เขตพื้ น ที่ จั ง หวั ด สงขลา ศู น ย์ รั บ บริ จ าคช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ และคณะ ต่างๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เพื่อน�ำไปแจกจ่าย

www.sc.psu.ac.th 2

รองศาสตราจ

คณบดีคณะวิท ยา

ารย์ ดร.จุฑาม

ศาสตร์ มหาว

าส ศตสขุ

ิทยาลัยสงขลาน ครินทร์

ให้กับพี่น้องประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนต่อไป รวมทั้ง หน่วยงานภายนอกทีข่ อรับความช่วยเหลือ ได้แก่ ต�ำรวจตระเวน ชายแดน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ค่ายเสนาณรงค์ มทบ. 42 ก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 2 - 7 พฤศจิกายน 2553 คณะวิทยาศาสตร์ผลิตน�้ำดื่มเพื่อแจกจ่ายให้ แก่ผู้ประสบภัยประมาณ 100, 000 ขวด และหลังจากน�้ำลด คณะวิทยาศาสตร์ ยังคงให้ความ ช่วยเหลือแก่ผปู้ ระสบภัยอย่างต่อเนือ่ ง โดยจัดทีมงานทีป่ ระกอบ ด้วยคณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ลงพืน้ ทีไ่ ปยังสถาบันการ ศึกษาในเขตจังหวัดสงขลาเพื่อให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นด้วย

การตรวจสอบและท�ำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับ ความเสียหายจากอุทกภัยและวาตภัย และเมื่อวันที่ 12 พ.ย. 2553 บุคลากรและหน่วยงานต่างๆ ในคณะวิทยาศาสตร์ ต่าง ช่วยกันน�ำเสื้อผ้าที่ไม่ใช้แล้ว รวบรวมโดยภาควิชาวิทยาการ คอมพิ ว เตอร์ เพื่ อ น� ำ ไปให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ ผู ้ ป ระสบภั ย ณ ต�ำบลดอนคัน โรงพยาบาลสทิงพระ และต�ำบลท่าคุระ ซึ่งอยู่ในพื้นที่จังหวัดสงขลาอีกด้วย


“ส้มกุ้งใบเฟิร์น” พืชชนิดใหม่ของโลก

และเป็นพืชเฉพาะถิ่นภาคใต้ของไทย

รายงานใหม่พรรณไม้วงศ์ส้มกุ้งใหม่ของไทยอีก 2 ชนิด พร้อมเทคนิคการเก็บตัวอย่างพืชแบบใหม่

คุณธรรมรัตน์ พุทธไทย นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก สาขาชี ว วิ ท ยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ผูท้ ที่ ำ� การ ศึ ก ษาเรื่ อ งพรรณไม้ ว งศ์ ส้มกุ้งในประเทศไทย ได้ ส�ำรวจพบพืชชนิดใหม่ของ โลก (New Species) มีชื่อ เรี ย กว่ า ส้ ม กุ ้ ง ใบเฟิ ร ์ น ( Begonia pteridiformis Phutthai) พืชชนิดนี้ยังเป็น พืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย ซึ่งจะพบเฉพาะในกลุ่มภูเขา หินปูนในจังหวัดพังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานีและสตูล โดยจะพบ ตามก้อนหินปูน หรือหน้าผาหินปูน ในที่แสงแดดส่องถึงน้อย และมีความชืน้ สูง ส้มกุง้ ใบเฟิรน์ มีขนาดตัง้ แต่ 12-35 เซนติเมตร ทุกส่วนของพืชมีขนปกคลุมหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยวที่เรียงตัว แบบเรียงสลับ เมื่อมองแบบผิวเผินนัน้ เหมือนใบประกอบของ เฟิรน์ ใบและล�ำต้นอวบน�ำ้ ช่อดอกแบบช่อกระจะซ้อนประกอบ ดอกย่ อ ยแยกเพศแต่ อ ยู ่ บ นต้ น เดี ย วกั น กลี บ ดอกเรี ย กว่ า กลีบรวม สีขาวหรือสีขาวอมชมพู ดอกเพศผู้มีกลีบรวม 4 กลีบ ดอกเพศเมียมีกลีบรวม 6 กลีบ เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย สีเหลืองสด ผลเป็นผลแห้งแบบแคปซูล มีปีกยาว 1 ปีก ปีกสั้น 2 ปีกด้านข้าง มีหัวสะสมอาหารใต้ดิน โดยฝังอยู่ในซอกหินปูน พืชชนิดนีจ้ ะยุบตัวในหน้าแล้งเหลือไว้แค่หวั สะสมอาหารทีฝ่ งั อยู่ ในซอกหิน ซึ่งจะงอกงามใหม่อีกครั้งในฤดูฝนถัดไป

“พืชวงศ์ส้มกุ้งเป็นพืชที่สามารถพบได้ทั่วประเทศในเขตป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ และ ตามภูเขาหินปูน เหตุที่เรียกว่าส้มกุ้งเป็นเพราะพืชชนิดนี้มีรสเปรี้ยว ก้านของต้นจะออกสีแดง ลักษณะคล้ายกับสีของกุ้ง และเมื่อปี 2551 ผมได้ออกส�ำรวจพรรณไม้วงศ์ส้มกุ้งของ ประเทศไทยและได้สำ� รวจพบส้มกุง้ ใบเฟิรน์ ขึน้ อยูต่ ามซอกหินใกล้กบั น�ำ้ ตกในบริเวณวนอุทยาน น�้ำตกมโนราห์เป็นที่แรก อยู่ในเขตจังหวัดพังงา การค้นพบดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงใน Thai Forest Bulletin ปี 2553 ซึ่งวารสารด้านพฤกษศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทยเป็นที่เรียบร้อย แล้ว และเมื่อปี 2552 ได้ส�ำรวจพบพรรณไม้วงศ์ส้มกุ้งชนิดใหม่ครั้งแรกของประเทศไทย (New Record) ได้แก่ ส้มกุ้งธารปลิว (Begonia aliciae C.E.C Fisch) จัดเป็นพืชหายากชนิดหนึ่งอีก ทัง้ แหล่งทีพ่ บค่อนข้างจ�ำเพาะ ต้องเป็นป่าทีส่ มบูรณ์ มีความชืน้ สูงและต้องไม่มกี ารรบกวนจาก สิ่งภายนอกแต่ด้วยปัจจุบันการขยายพื้นที่รอบภูเขาหินปูนนั้น ท�ำให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงส่ง ผลกระทบต่อระบบนิเวศของพืชประเภทนี้เป็นอย่างมาก เพราะพืชไม่สามารถปรับตัวได้ ส่งผล ให้ประชากรพืชลดน้อยลงและอาจสูญพันธุ์ไปในที่สุด และอีกชนิดคือ ส้มกุ้งพังงา (Begonia surculigera Kurz ) พืชชนิดนี้พบครั้งแรกในประเทศพม่า ส่วนในประเทศไทยขณะนี้พบส้มกุ้ง พังงาแค่เพียงในจังหวัดพังงาเท่านั้น ” คุณธรรมรัตน์กล่าว และเมื่อวันที่ 10 -12 ตุลาคม 2553 โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบาย การจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (โครงการ BRT) จัดโครงการการประชุมวิชาการ ประจ�ำปี โครงการ BRT ครั้งที่ 14 ณ โรงแรม สุนีย์แกรนด์ แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี โดยคุณธรรมรัตน์ พุทธไทย และ รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐ์ อาจารย์ ที่ปรึกษาได้รับ รางวัลแห่งความพยายามและความส�ำเร็จครั้งแรกในประเทศไทย จาก ผลงาน “อัดไว้ในเรซิ่น? พืชวงศ์ส้มกุ้ง” เป็นผลงานที่น�ำเสนอวิธีการเก็บรักษาตัวอย่าง พืชโดยการอัดไว้ในเรซิ่น ซึ่งจะท�ำให้ตัวอย่างพรรณไม้คงความงดงามของรูปร่างและสีสัน โดยคุณธรรมรัตน์ได้ต้นแบบจากพิพิธภัณฑ์ในต่างประเทศซึ่งเป็นการเก็บตัวอย่าง พืชทีย่ งั คงสีสนั สวยงามของใบและดอกพืชเอาไว้ได้ การเก็บตัวอย่างพืชวิธนี ไี้ ม่เคยมีการท�ำ มาก่อนในประเทศไทย คุณธรรมรัตน์ได้ทดลองใช้วัสดุอุปกรณ์หลายอย่างจนสามารถเก็บ ตัวอย่างพรรณไม้วงศ์ส้มกุ้งไว้ในเรซิ่นได้ส�ำเร็จ

3 www.sc.psu.ac.th


แผ่นดินไหว และสึนามิ ความจริงจาก...นักธรณีวิทยา โดย

Dr.Helmut Durrast อาจารย์ประจ�ำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โลกเป็นดาวเคราะห์ที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา เปลื อ กโลกชั้ น นอกสุ ด (crust: แผ่ น ดิ น +น�ำ้ ทีเ่ ราอาศัยอยู)่ และชัน้ รองลงไปหรือทีล่ กึ ลงไปใต้ชนั้ แผ่น ดินชั้นนอก (mantle: ลึกจากเปลือกชั้นนอกราว 30 กิโลเมตร หากเป็นแผ่นดิน หรือประมาณ 7 กิโลเมตรใต้เปลือกส่วนที่ เป็นน�้ำ) ที่รวมเรียกว่า เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่และมีการ เลื่อนตัวอยู่เกือบตลอดเวลา ปรกติมนุษย์ทั่วไปไม่สามารถ รู้สึกถึงการเคลื่อนที่เหล่านี้ได้ นักธรณีวิทยาสามารถวัดค่า การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นได้ การเคลื่อนที่ของ เปลือกโลกท�ำให้เกิดแรงเค้น (stress) บริเวณรอยต่อของ เปลื อ กโลกแผ่ น ที่ อ ยู ่ ชิ ด กั น และอาจท� ำ ให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของเปลือกโลกแผ่นนั้นๆ ไปจากเดิม (strain) เมื่อไรก็ตามที่การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกท�ำให้เกิด แรงเค้นบริเวณรอยต่อ ในคราวเดียวกันมากๆ อาจท�ำให้แผ่น เปลือกโลกบริเวณขอบหรือรอบต่อแยกออกจากกัน จะท�ำให้ เกิดแผ่นดินไหวในบริเวณนัน้ นักธรณีวิทยาต่างทราบเรื่อง ราวเหล่านีด้ ี และทราบต่อไปว่า ผลจากปรากฏการณ์เหล่า นีจ้ ะไม่เป็นเหตุให้เกิดการจมของแผ่นเปลือกโลกหรือส่วน หนึ่งส่วนใดของแผ่นดินหายไปใต้พื้นพิภพคราวละมากๆ ดังเช่นที่ปรากฏตามข่าวว่า ส่วนของประเทศไทยภาคใต้ ตัง้ แต่จงั หวัดชุมพรจะจมหายไป หากพิจารณาจากทีต่ งั้ และ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ข้างต้น กรณีที่เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร แผ่นดินไหวใต้ มหาสมุทรจะเกิดขึน้ ในระดับความลึกไม่มากนักคือประมาณ 10-30 กิโลเมตร การเกิดรอยแตกของเปลือกโลกหรือแผ่นดิน ไหวรุนแรงเกิดขึ้นใต้พื้นทะเลหรือมหาสมุทร สามารถท�ำให้ เกิดการเพิ่มขึ้นของระดับน�้ำทะเลตามมาได้ในทันที ซึ่งเป็น ทีม่ าของการเกิดคลืน่ สึนามิ ดังเช่น สึนามิทเี่ กิดในมหาสมุทร อินเดียเมื่อปี 2004 ที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาเข้าใจความ สัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นดี ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงเค้นเนือ่ งจากการเคลือ่ นทีข่ องเปลือกโลกทีเ่ กิดขึน้ กับการ เปลีย่ นแปลงของลักษณะของเปลือกโลกทีเ่ ป็นผลตามมาไม่ ได้มคี วามสัมพันธ์กนั แบบเส้นตรง แรงเค้นทีเ่ กิดขึน้ แต่ละครัง้ เกิดขึ้นสะสม ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ลักษณะของเปลือกโลกเสมอไป

www.sc.psu.ac.th 4

ปรากฏการณ์ข้างต้น ยังคงเป็นสิ่งที่นกั ธรณีวิทยา นักธรณีฟิสิกส์หรือนัก วิทยาศาสตร์ใดๆ ไม่สามารถระบุ วัน เวลา ความรุนแรง และสถานที่ของเหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้นได้แน่นอน นับแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน การเกิดแผ่นดินไหวไม่สามารถ พยากรณ์ในรายละเอียดที่ระบุข้างต้นได้เลย จึงท�ำให้ไม่สามารถพยากรณ์การเกิดสึ นามิที่จะตามมาได้เช่นกัน ข่าวลือที่ว่าจะเกิดแผ่นดินไหวและสึนามิในทะเลฝั่ง อันดามันในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 นี้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถพยากรณ์ หรือบอก แน่ชัดได้ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า เหตุการณ์นจี้ ะเกิด ขึ้นจริงหรือไม่ การเกิดแผ่นดินไหว สึนามิ หรือภัยธรรมชาติอื่นๆ โดยทั่วไปแล้วจึงเป็นสิ่ง ทีม่ นุษย์ไม่สามารถหยุดยัง้ ได้ดงั เหตุผลทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น สิง่ ทีม่ นุษย์สามารถ ท�ำได้ คือ ต้องปรับตัวให้เพือ่ ให้สามารถอยูใ่ นโลกใบนีต้ อ่ ไปให้ได้ มนุษย์อาจพยายาม หาหนทางป้องกันความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นกับชีวิต และความเป็นอยู่ ซึ่งความจริง แล้วก็ไม่สามารถป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมด เพียงเป็นความ พยายามที่จะป้องกันให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เท่านัน้ ระบบการเตือนภัย สึนามิท�ำงานโดยอาศัยหลักจากความจริงที่ว่า ความเร็วของคลื่นสึนามิช้ากว่าของ คลื่นที่ท�ำให้เกิดแผ่นดินไหว นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ความแตกต่างระหว่างความเร็ว ของคลื่นทั้งสองชนิดในการวิเคราะห์เกี่ยวกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น และใช้ข้อมูลที่ได้ ส�ำหรับคาดคะเนความเป็นไปได้ของการเกิดสึนามิ เพือ่ ให้สามารถใช้ในการเตือนภัย แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงให้อพยพขึ้นพื้นที่สูงต่อไป ระบบการท�ำงานเตือนภัย สึนามิของประเทศไทยใช้หลักการดังกล่าวในการท�ำงานเช่นเดียวกัน หน่วยงานราชการทีเ่ กี่ยวข้อง และรับผิดชอบเรื่องเหล่านี้ในประเทศของเรา และท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง ไม่มีหยุด เพื่อที่จะให้ได้ข้อมูลและสารสนเทศ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเตือนภัย ที่ส�ำคัญได้แก่

ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ เว็บไซต์ www.ndwc.go.th ส�ำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว เว็บไซต์ “www.seismology.tmd.go.th/” www.seismology.tmd.go.th/ และกรมอุทกศาสตร์ เว็บไซต์ www.navy.mi.th/hydro/ เป็นเรือ่ งส�ำคัญอย่างยิง่ ทีป่ ระชาชนทีอ่ าศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง และทีอ่ นื่ ๆ จะได้ รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง มีความรู้ และเข้าใจการท�ำงานของระบบการเตือนภัย สึนามิเพื่อให้สามารถป้องกันชีวิต และสิ่งอื่นที่จ�ำเป็นให้ได้มากที่สุดเท่าที่สามารถ ท�ำได้


ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ น แ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์

Bachelor of Science Program in Polymer Scienceชื่อ ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต, วท.บ. (วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์) Bachelor of Science, B.Sc. (Polymer Science)

โครงสร้างหลักสูตร

จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 130 หน่วยกิต ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 10 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร 8 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 94 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 26 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาบังคับ 53 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

โอกาสการท�ำงาน หลักสูตรวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์จัดเป็นหลักสูตรเชิงประยุกต์ ดังนั้นผู้เรียนหรือนักศึกษา วิชาเอกจะได้รับความรู้ในหลายด้าน เมื่อส�ำเร็จการศึกษาของหลักสูตรฯแล้วสามารถประกอบ อาชีพได้ในหลายรูปแบบ ตั้งแต่เป็นพนักงานในภาคอุตสาหกรรมยางหรืออุตสาหกรรมพลาสติก รับราชการในหน่วยงานต่างๆ เช่น ทหาร ต�ำรวจ รัฐวิสาหกิจ ครู อาจารย์ เป็นต้น ประกอบ อาชีพส่วนตัวหรือศึกษาต่อในระดับความรู้ที่สูงขึ้น ซึ่งทางสาขาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ มี หลักสูตรขั้นสูงเปิดทั้งในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

โอกาสทางการศึกษา นักศึกษาวิชาเอกวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ต้องเรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐานทั่วไปก่อน เริ่มเรียนรู้วิชาต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 โดย นักศึกษาต้องเรียนเกีย่ วกับการสังเคราะห์หรือการผลิตพอลิเมอร์ การแปรรูปเพือ่ ได้เป็น ชิ้นงานพลาสติกและยาง การวิเคราะห์ การทดสอบสมบัติพอลิเมอร์ด้านต่างๆ ตลอด จนการประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ในลักษณะต่างๆ เช่น กาว สี สิ่งทอ ตลอดจนการใช้เชิง เทคโนโลยีชั้นสูง ได้แก่ พอลิเมอร์กับงานทางไฟฟ้าและพลังงาน พอลิเมอร์กับงาน ทางการแพทย์ พอลิเมอร์กบั เทคโนโลยีนาโน พอลิเมอร์กบั งานก่อสร้างหรือสิง่ แวดล้อม เป็นต้น และนักศึกษาวิชาเอกวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์จะส�ำเร็จการศึกษาได้ตอ้ งผ่านการ ท�ำงานวิโครงงาน 1 เรื่องพร้อมการท�ำรายงานการวิจัยและผ่านการสอบประมวลผล งานการวิจัยจากคณะกรรมการจึงจะถือว่าได้ว่าส�ำเร็จศึกษา

ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้ ปริญญาโท (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาสรีรวิทยา

เป็นหลักสูตรที่เปิดสอนแห่งเดียวในภาคใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตนัก วิชาการทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถระดับสูงทัง้ ด้านทฤษฎี และการวิจยั ทางสรีรวิทยา หลายสาขา ซึ่งการศึกษาในหลักสูตรนี้จะท�ำให้เข้าใจกลไกการท�ำงานของอวัยวะ ต่าง ๆ ของร่างกายในภาวะปกติและผิดปกติได้ถงึ ระดับเซลล์และโมเลกุล สามารถ ใช้เป็นความรู้พื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้กับความรู้ทางสาขาอื่น ๆ ได้อย่างกว้างขวาง และช่วยให้เกิดความก้าวหน้าในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

ปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต) สาขาวิชาสรีรวิทยา

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีคุณธรรมและจริยธรรม เป็นนักวิจัยที่สามารถ วางแผนและด�ำเนินงานวิจัยด้วยตนเอง สร้างงานวิจัยที่น�ำไปสู่องค์ความรู้ใหม่ และสูค่ วามเป็นสากลและพร้อมทีจ่ ะแข่งขัน โดยในขณะเดียวกันเป็นงานวิจยั ทีต่ อบ สนองต่อความต้องการและการแก้ปัญหาของประเทศ มีความพร้อมที่จะเป็น บุคลากรทางวิชาการที่มีคุณภาพเพื่อให้ความรู้ทางสรีรวิทยาและสาขาที่เกี่ยวข้อง ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพและวิทยาศาสตร์สุขภาพ

สอบถามข้อมูลได้ที่

ส�ำนักงานภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8212 หรือ 089-7341574 โทรสาร : 0 7444 6680 Email : siriphun.h@psu.ac.th เว็บไซต์ : http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/

สอบถามข้อมูลได้ที่ โทรศัพท์ : โทรสาร : E-mail :

ส�ำนักงานภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ 90112 0 7428 8395, 0 7428 8361 0 7444 6925 jeeranee.m@psu.ac.th

5 www.sc.psu.ac.th


คุยกับคนเก่ง ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ดร.สาระ บ�ำรุงศรี

อาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ที่ได้รับรางวัล The Spallanzani Award 2010

จ าก North American Society for Bat Research Organization ซึ่งได้เข้า รับรางวัล ในงานการประชุมวิชาการแห่งทวีปอเมริกาเหนือทางด้านการวิจัยค้างคาว เมื่ อ วั น ที่ 27-30 ตุลาคม 2553 ที่เมือง Denver รัฐ Colorado ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาระ บ�ำรุงศรี เป็นผู้ที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับค้างคาว มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นระยะเวลากว่า 17 ปี ซึ่งผลงานที่ ผศ.ดร.สาระ ได้ท�ำการ ศึกษาที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง คือเรื่อง ค้างคาวเล็บกุดช่วยผสม เกสรทุเรียนและสะตอ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจภาคใต้ โดย ผศ.ดร.สาระ ได้กล่าวถึงการที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้ว่า “รู้สึกเป็นเกียรติและรู้สึก เหมือนกับรางวัลนี้เป็นการให้ก�ำลังใจในการท�ำงาน อีกทั้งต้องขอ ขอบคุณ รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ที่ให้การ สนับสนุนและผลักดันในงานวิจยั และความร่วมมือกับต่างประเทศ ท�ำให้ เรามีเครือข่ายกับองค์กรและสถาบันต่างประเทศอย่างเหนียวแน่น เพื่อที่จะ พัฒนาผลการศึกษาวิจัยได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น”

ต่างประเทศ เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤศจิกายน – 5 ธันวาคม 2553 นักวิจัย จาก Shainghai Institute of Materia Meica, Chinese Academy of Science, ประเทศจีน น�ำโดย Prof. Dr. Xu Shen , Director of Pharmacology Department เดินทางมาด�ำเนินกิจกรรมทาง วิชาการ ร่วมกับ กลุ่มวิจัยของ ศ.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริ กุล ภาควิชาเคมี ภายใต้ ความร่วมมือในการทดสอบฤทธิ์ ทางชีวภาพของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

Ms. Wei Xuemei และ Ms. Mo.Haoyi อาจารย์จาก Faculty of Applied Mathematics, Guangdong University of Technology เดินทางมา ร่วมกิจกรรมทางวิชาการภายใต้ MoU กับภาควิชาคณิตศาสตร์ ระหว่างวันที่ 8-9 ธันวาคม 2553 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2553 Prof. Dr.Chang Ming Li และ Assoc. Prof. Dr. Peng Chen จาก Division of Bioengineering, Nanyang Technical University ประเทศสิงคโปร์ เดินทางมาหารือทาง วิ ช าการและให้ สั ม มนาแก่ ส ถานวิ จั ย การ วิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา

www.sc.psu.ac.th 6

Dr. Sho Sakurai, Vice President, และคณะอีก 5 คน จาก Kanasawa University, ญี่ปุ่น มาเยือนคณะวิทยาศาสตร์ ในวันที่ 3 ธันวาคม 2553 เพื่ อ หารื อ ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ โดยมี รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ รองคณบดี ฝ ่ า ย วิ จั ย แ ล ะ บัณฑิตศึกษา เป็น ผู้น�ำการต้อนรับ


ทยาศาสตร์ร่วมแสดงความ »จงรับุกคภัลากรคณะวิ กดีและน้อมจิตอธิษฐานให้พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2553

มวิชาการและเสนอผลงานวิชาการ » การประชุ เรื่อง Geophysics 2010 ครั้งที่ 5 ภาควิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมวิชาการและเสนอผลงานทาง วิชาการทางธรณีฟิสิกส์ในระดับนานาชาติครั้งที่ 5 (5th International Conference on applied Geophysics) เมื่อวันที่ 11-13 พ.ย. 2553 ณ คลับ อันดามัน บีช รีสอร์ท จังหวัดภูเก็ต เพื่อเป็นเวที ให้กบั นักวิชาการ นักวิจยั นักศึกษา และหน่วยงานทีท่ ำ� งานเกีย่ วข้องกับสาขาธรณีฟสิ กิ ส์ได้มโี อกาส น�ำเสนอผลงานวิจยั และเผยแพร่เทคโนโลยีใหม่ ๆ และแลกเปลีย่ นความคิดเห็นในหัวข้อปัญหาวิจยั ที่มีความสนใจร่วมกัน และเพื่อให้เกิดความร่วมมือและความเข้มแข็งทางวิชาการทางธรณีฟิสิกส์ จนน�ำเอาองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นไปใช้ในการพัฒนาและแก้ปัญหาของประเทศชาติต่อไป

มเรื่องหญ้าทะเลโลกปี 2010 » การประชุ และการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่องหญ้าทะเล ครั้งที่ 9

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเรือ่ งหญ้าทะเลโลกปี 2010 หรือ The World Seagrass Conference (WSC) 2010 เมื่อวันที่ 21 – 25 พ.ย. 2553 ที่จังหวัดภูเก็ต และ การ ประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่องหญ้าทะเล ครั้งที่ 9 หรือ 9th International Seagrass Biology Workshop (ISBW) 2010 เมื่อวันที่ 27 – 30 พ.ย. 2553 ที่จังหวัดตรัง เพื่อสนับสนุนการศึกษาวิจัยด้านหญ้า ทะเล เน้นความส�ำคัญของทรัพยากรหญ้าทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเพื่อปลุกให้คน ไทยและคนในภูมิภาคแห่งนี้ เห็นความส�ำคัญในการอนุรักษ์หญ้าทะเลมากขึ้น

7 www.sc.psu.ac.th


งานประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 5 th

5 International Conference on Algae and Plankton

เกมส์ร่วมสนุก

สงขลานครินทร์)

ลัย (เฉพาะบุคคลภายนอกมหาวิทยา

ค�ำถาม : พืชชนิดใหม่ของ

โลก (New Species) และเป็น พืชเฉพาะถิ่นภาคใต้ของไทย ในพรรณไม้วงศ์ส้มกุ้ง ที่ถูก ค้นพบโดยนักศึกษาปริญญา เอกของคณะวิทยาศาสตร์ มีชื่อเรียกว่าอย่างไร?

ร ่ ว ม ส ่ ง ค� ำ ื่ อ รั บ “ เสื้ อ ที่ ร ะลึ ก จ�ำนวน 10 ตรอางบวเพ ล ั ” ท่านแรก มาที่ หน่ว ส�ำหรับผู้โชคดี 10 ยวิเทศสัม ันธ์และ ป ร ะช าสั ม พ ค ณ ะวิ ท ย าศพาส มหาวิทยาลัยสั นงธข์ ลาน ตร์ ตู้ปณ. 3 คอหงส์ ต ครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขล .หอหงส์ า 90112

รายละเอียดเพิ่มเติม: www.sc.psu.ac.th/algaeplankton หรือ 0 7428 8484 / 0 7428 8067

การประชุมวิชาการประจ�ำปีสมาคมเภสัชวิทยาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

สมาคมเภสัชวิทยาแห่งประเทศไทยร่วมกับภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ก�ำหนดจัดการประชุมวิชาการประจ�ำปีสมาคมเภสัชวิทยาแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 33 ในวันที่ 17 – 19 มีนาคม 2554 ณ ห้องประกายเพชร โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 0 7428 8484 / 0 7428 8067 หัวข้อการประชุมในครั้งนี้ ได้แก่ • Pharmacogenomics of ADRs • Molecular drug targets and management of pain • Update on antimicrobials • Metabolic syndrome: its importance and management • Medicinal Plant Utilization: Costs, Risk and Rewards • Medicinal plants: Research & Development for the community

รายละเอียดเพิ่มเติม: www.sc.psu.ac.th/algaeplankton หรือ

รายละเอียดเพิ่มเติม:ดร.วันดี อุดมอักษร ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โทร. 074-288185, 074-288171 E-mail: wandee.u@psu.ac.th หรือ ying_wandee@yahoo.com

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

ัล ว ง า ร อ ้ ื เส

สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่ง คาบสมุทรไทย ร่วมกับภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ พิพธิ ภัณฑสถานธรรมชาติวทิ ยา ๕๐ พรรษาสยามบรม ราชกุมารี ชมรมสาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งประเทศไทยและโครงการ พัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพแห่ง ประเทศไทย (BRT) ร่วมกันจัดการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอน แห่งชาติ ครั้งที่ 5 ในระหว่างวันที่ 16-18 มีนาคม 2554 ณ โรงแรมบีพี สมิหลา บีช รีสอร์ท จังหวัดสงขลา เพื่อเป็นเวทีในการสร้างองค์ความรู้ เผยแพร่งานวิจัยจากห้องปฏิบัติการสู่สาธารณชน และปัจจุบนั จากการศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกับสาหร่ายและแพลงก์ตอน สามารถน�ำไปพัฒนาและ ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเครือ่ งส�ำอาง การน�ำไปเป็นอาหารของทัง้ คนและสัตว์ซงึ่ มีมลู ค่าทาง เศรษฐกิจ หรือการค้นพบน�ำ้ มันในสาหร่ายซึง่ สามารถพัฒนาเป็นพลังงานทดแทนได้ในอนาคต ทั้งยังเป็นการพัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการของบุคลากรรุ่นใหม่และน�ำไปสู่การพัฒนางานด้าน สาหร่ายและแพลงก์ตอนให้ก้าวหน้าต่อไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.