“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...”
ฉบับที่ 2/54 ประจ�ำเดือนมีนาคม – เมษายน 2554
www.sc.psu.ac.th
ค่ายอบรมโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการฯ และค่ายโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์
การประชุมวิชาการสถิติและสถิติประยุกต์แห่งชาติ ครั้งที่ 12 ประจ�ำปี 2554
ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657
เรื่องจากปก
คณะวิทยาศาสตร์ร่วมช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ บุ ค ลากรของคณะฯร่ ว มบริ จ าค เงิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 14 - 31 มีนาคม 2554 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 47,800 บาท
และเมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2554 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดั งาน “ชาว ม.อ.และชาวหาดใหญ่รวมใจส่งก�ำลังใจแก่ผู้ประสบภัยประเทศญี่ปุ่น” ณ ลาน อาคารคณะเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมีกิจกรรมประกอบด้วยการเสวนาให้ความรู้เรื่อง แผ่ นดิ น ไหวและสึ น ามิ แ ละโอกาสที่ ป ระเทศไทยจะได้ รั บ ผลกระทบจากสาร กัมมันตภาพรังสี นอกจากนี้มีกิจกรรมการจ�ำหน่ายสินค้าเพื่อน�ำเงินร่วมบริจาค ตัวแทนบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ร่วมกับบุคลากรจากคณะต่างๆ เดินขอรับเงิน บริจาคในเขตตัวเมืองอ�ำเภอหาดใหญ่ บริเวณย่านธุรกิจ (สถานีรถไฟชุมทาง หาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้าโรบินสันหาดใหญ่, ศูนย์การค้าโอเดียนแฟชั่นมอลล์, ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล และลีการ์เด้น พลาซ่า) และการจัดกิจกรรมร่วมแสดง ความเสียใจ ไว้อาลัยและส่งก�ำลังใจ ด้วยการจุดเทียน ร่วมอธิษฐานให้ชาวญี่ปุ่น ผ่านพ้นวิกฤตครั้งนี้ โดยมี รศ.ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เป็นประธาน คณะวิทยาศาสตร์ ได้รวบรวมยอดเงินบริจาคยอดแรกจนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2554 รวมเป็นเงิน 45,000 บาท ซึ่งเป็นเงินที่บุคลากรของคณะ วิทยาศาสตร์บริจาค 23,000 บาท และคณะวิทยาศาสตร์บริจาคสมทบ เพิ่มอีก 22,000 บาท โดยมี รศ. ดร.จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์ เป็นตัวแทนมอบเงินบริจาคในงานดังกล่าว และเงินบริจาค ที่เหลือน�ำส่งกองคลัง ส�ำนักงานอธิการบดีเพื่อเข้าบัญชี “กองทุน เยียวยาเพื่อผู้ประสบภัย” เป็นที่เรียบร้อย
www.sc.psu.ac.th 2
ดร. ไพบูลย์ นวลนิล
สึนามิจะเกิดหลังจากเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ซึง่ จะใช้เวลานานเป็นชัว่ โมง หรือหลายชั่วโมงกว่าที่คลื่นสึนามิจะเดินทางถึงฝั่งขึ้นอยู่กับระยะทางและ ความลึกของทะเล โดยแผ่นดินไหวทีจ่ ะท�ำให้เกิดคลืน่ สึนามิมปี จั จัย 3 อย่าง รวมกัน คือ 1.ต้องเป็นแผ่นดินไหวในทะเลหรือมหาสมุทร 2.มีขนาดความ รุนแรงมากกว่า 7 ริกเตอร์ และ 3.มีกลไกของมุมการเคลื่อนตัวใกล้แนวดิ่ง หรือใกล้เคียง 90 องศา” ดร.ไพบูลย์ กล่าวอีกว่า “สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดหากได้รับการแจ้งเตือน พิบตั ิ คือเรือ่ งการทบทวนความพร้อมของประชาชน การจัดให้มกี ารซักซ้อม การอพยพของประชาชนหากเกิดภัยพิบัติ ที่ผ่านมาแม้จะมีการซักซ้อม ประชาชนในเรือ่ งของเส้นทางการอพยพเมือ่ เจอภัยพิบตั นิ นั้ แต่ประชาชนใน พื้นที่เหล่านัน้ ที่ได้เข้าร่วมการซักซ้อมเผชิญสถานการณ์จริงยังอยู่ในสัดส่วน ที่น้อย ผู้คนที่มีโอกาสจะเจอกับสถานการณ์จริงยังละเลยการซักซ้อมและ ไม่มกี ารซักซ้อมอย่างจริงจัง จึงท�ำให้ดเู หมือนแผนการเผชิญเหตุสามารถใช้ งานได้จริง แต่หากเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวหรือคลื่นยักษ์สึนามิจริงๆ การ ซักซ้อมตามแผนก็จะไม่เป็นผล รวมทั้งการให้ความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติตั้งแต่ ระดับเยาวชนไปจนถึงประชาชนทัว่ ไปให้รบั ทราบถึงลักษณะของภัยพิบตั ใิ น แต่ละประเภทที่เกิดขึ้นในโลกของเรา เพื่อให้ประชาชนได้เตรียมรับมือกับ
เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2554 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ จัดเสวนาในหัวข้อ “เสวนาบทเรียนจากสึนามิในประเทศญี่ปุ่น กับการเตรียมความพร้อมในการรับมือของประเทศไทย” โดยนักแผ่นดิน ไหววิทยา ดร.ไพบูลย์ นวลนิล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาฟิสิกส์ คณะ วิทยาศาสตร์ เพื่อให้ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวและ คลื่นยักษ์สึนามิที่เกิดกับประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ที่ผ่าน มา ดร.ไพบูลย์ วิเคราะห์สาเหตุที่ท�ำให้ประเทศญี่ปุ่นได้รับความเสีย หายจากภัยธรรมชาติในครัง้ นี้ ทัง้ ทีเ่ ป็นประเทศทีม่ รี ะบบเตือนภัยล่วงหน้า และเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งคุ้นเคยกับเหตุการณ์ของแผ่นดิน ไหวและคลื่นยักษ์สึนามิว่า “เป็นเพราะจุดที่เกิดแผ่นดินไหวอยู่ใกล้กับฝั่ง ระยะเวลาเดินทางของคลื่นยักษ์สึนามิเข้าฝั่งเพียง 10 นาที ท�ำให้มีระยะ เวลาอพยพคนไปสู่ที่ปลอดภัยเป็นไปในระยะเวลาอันสั้น ประมาณ 5-10 นาทีเท่านัน้ ผนวกกับพืน้ ทีท่ อี่ ยูอ่ าศัยมีประชากรอยูก่ นั อย่างหนาแน่น ท�ำให้ การอพยพคนเป็นไปได้ยาก ซึ่งอัตราผู้เสียชีวิตถือได้ว่าอยู่ในระดับต�่ำมาก เมื่อเทียบกับระยะเวลาที่คลื่นยักษ์สึนามิจะเข้าฝั่ง ดังนัน้ ประเทศญี่ปุ่นจะ ต้องตระหนักในเรือ่ งของการสร้างแนวกัน้ คลืน่ ตามชายฝัง่ และการกระจาย ข่าวสารให้กับประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลหลังจากที่เตือนภัยแล้ว” จากสถานการณ์ภัยพิบัติสึนามิที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่นท�ำให้ หลายคนมีความเป็นห่วงและกังวลถึงภัยพิบตั ทิ อี่ าจเกิดขึน้ กับประเทศไทย และการเตรียมความพร้อมในการรับสถานการณ์ดงั กล่าวนัน้ ดร.ไพบูลย์ให้ ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับคลื่นยักษ์สึนามิว่า “การเกิด รศ. ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา และอาจารย์ประจ�ำภาค วิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ส�ำนักงาน พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้ข้อมูลกรณี ผลกระทบจากเตาปฏิกรณ์ ในโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ระเบิด จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามิถล่มประเทศญี่ปุ่น ว่า “โดยปกติประชาชน ทั่วไปในไทย ก็จะได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์ทุกวันอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ขอให้ติดตามข่าวสารจาก ส�ำนักงานปรมาณูเพือ่ สันติ ซึง่ มีเครือ่ งมือวัดปริมาณรังสีในอากาศทีส่ ำ� นักงานปรมาณูเพือ่ สันติตดิ ตั้งตรวจสอบแบบ Real time ไว้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จ�ำนวน 8 แห่ง ซึ่งจะมีการรายงาน ปริมาณรังสีในอากาศเป็นประจ�ำ โดยติดตามข้อมูลได้จากhttp://www.oaep.go.th และในช่วงนีถ้ ้า ใครมีความจ�ำเป็นต้องเดินทางไปยังประเทศญี่ปุ่น ก็ควรหลีกเลี่ยงบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ รวมทั้งพื้นที่โดยรอบในรัศมีประมาณ 100 กิโลเมตร หากเป็นไปได้ควรเตรียมโพตัสเซียมไอโอไดน์ (KI) ชนิดเม็ด ขนาด 65 mg หรือ 130 mg ด้วยการรับประทานเมื่อเข้าพื้นที่เสี่ยง และขอให้เตรียม หน้ากากอนามัย เมื่อเข้าไปในบริเวณที่ฝุ่นกัมมันตรังสีแพร่เข้าถึงด้วย และเมื่อกลับมาที่เมืองไทย แล้วควรจะผ่านการวัดปริมาณรังสีทงั้ ร่างกาย เพือ่ การเฝ้าระวังของเจ้าหน้าทีท่ ตี่ งั้ เครือ่ งวัดทีส่ นาม บินสุวรรณภูมิ (Total count dose) และถ้าเราอยู่ในข่ายเสี่ยงที่ได้รับ I-131 เข้าไปในร่างกาย ก็ควร จะพักแยก และไม่ควรพบปะครอบครัวและญาติประมาณ 1-2 สัปดาห์” รศ. ดร.ธวัช ยังได้ฝากข้อคิดเห็นเกีย่ วกับอาหารทีน่ ำ� เข้าจากประเทศญีป่ นุ่ ว่า “อาจมีความ เป็นไปได้ที่อาหารน�ำเข้าจากญี่ปุ่นจะมีสารปนเปื้อน แต่ประชาชนก็ต้องเชื่อมั่นในระบบการตรวจ สอบสารปนเปือ้ นทัง้ ฝ่ายญีป่ นุ่ และฝ่ายไทยทีม่ มี าตรฐานอยูใ่ นระดับสูงและสามารถเชือ่ ถือได้ ทัง้ นี้ ขอให้ประชาชนอย่าตื่นกังวลกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อีกทั้งควรที่จะเฝ้าติดตามข่าวสารจากหน่วย รศ.ดร. ธวัช ชิตตระการ งานของรัฐที่รับผิดชอบ”
3 www.sc.psu.ac.th
คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.จัดค่ายอบรมโครงการส่งเสริม โอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ศึกษา ค่าย 2 ปีการศึกษา 2553
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดโครงการค่ายอบรม โครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ศกึ ษา ค่าย 2 ระหว่างวันที่ 7 – 26 มีนาคม 2554 ณ คณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการด�ำเนินการ ร่วมกันระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมูลนิธิส่งเสริม โอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศกึ ษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้า พี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ วัตถุประสงค์ของการจัดค่ายโอลิมปิกวิชาการฯ เพื่อเป็นการส่งเสริม และพัฒนา ศักยภาพทางปัญญาที่มีความพร้อม ทั่วประเทศและคัดเลือกนักเรียนที่มีศักยภาพสูงทาง ปัญญาจ�ำนวนหนึง่ เข้าสู่ระบบของโครงการโอลิมปิกวิชาการ โดยคณะวิทยาศาสตร์เป็นศูนย์ที่ รับผิดชอบโรงเรียนใน 5 จังหวัด ได้แก่ สงขลา ตรัง กระบี่ พังงาและภูเก็ต เพื่อให้นกั เรียนที่เข้า ร่วมโครงการได้มคี วามพร้อมและมีโอกาสเข้ามารับการพัฒนาศักยภาพทางปัญญาของตนเอง และยกระดับมาตรฐานของโรงเรียนในด้านการสอนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เทียบเท่า ระดับสากลกระจายอยู่ทวั่ ประเทศ โดยการพัฒนาความรู้ วิธสี อน และทัศนคติของครูไปพร้อม ๆ กัน รวมทัง้ ให้เยาวชนไทยทีจ่ ะไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการอย่างเต็มทีท่ งั้ ภาคทฤษฎี และภาค ปฏิบตั ิ สามารถเข้าแข่งขันกับเยาวชนจากนานาชาติได้อย่างมัน่ ใจ และประสบความส�ำเร็จมาก ขึ้น ซึ่งในครั้งนี้มีนกั เรียนผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมกิจกรรมโอลิมปิกวิชาการฯ ค่าย 2 เป็นจ�ำนวน 106 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมในสาขาเคมี 20 คน, สาขาฟิสิกส์ 20 คน, สาขา ชีววิทยา 26 คน, สาขาคณิตศาสตร์ 20 คน และสาขาคอมพิวเตอร์ 20 คน โดยร่วมท�ำกิจกรรม
ที่คณะวิทยาศาสตร์ เป็นระยะเวลา 20 วัน ซึ่งนักเรียนที่ผ่านการเข้าร่วมโครงการค่าย อบรมโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศึกษา สามารถสมัครเข้าเรียนทีค่ ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้โดย ได้รับการยกเว้นการสอบคัดเลือก ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ • กลุ่มที่ 1 เป็นนักเรียนที่ผ่านเข้าค่ายฝึกอบรมโครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการฯ ค่าย 1 หรือ ค่าย 2 สามารถสมัครเข้าเรียนได้ที่คณะวิทยาศาสตร์โดยได้รับการ ยกเว้นการสอบคัดเลือก (ไม่มีทุนการศึกษาสนับสนุน) • กลุ่มที่ 2 เป็นนักเรียนที่ผา่ นการคัดเลือกจากการเข้าค่ายฝึกอบรม ค่าย 2 ไป แข่งขันในระดับประเทศ หรือ ผ่านการแข่งขันจาก สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สามารถสมัครเข้าเรียนได้ทคี่ ณะวิทยาศาสตร์ โดยได้รับการยกเว้นการสอบคัดเลือก ทั้งยังมีทุนสนับสนุนให้กับนักเรียนในกลุ่ม ที่ 2 โดยทุนที่ได้จะไม่มีข้อผูกพันใด ๆ หลังส�ำเร็จการศึกษา และสามารถเลือก เรียนสาขาวิชาเอกที่เปิดสอนในคณะฯ ได้ทุกสาขาวิชาตามความสนใจอีกด้วย (สนับสนุนทุนการศึกษาเดือนละ 2,000 บาท*)
ค่ายโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เป็นเจ้าภาพจัดค่ายโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 2) (ระดับปริญญาตรี ) ขึ้นในระหว่างวันที่ 28 – 31 มีนาคม 2554 ที่ผ่านมา โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 2) เป็นโครงการที่คัดเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนดีและ สนใจวิทยาศาสตร์ เข้าเรียนในคณะวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศ ในสาขาเคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์และสถิติ ความพิเศษคือ โครงการนีจ้ ะให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษา โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใดๆ แต่ตอ้ งเป็นผูเ้ รียนดี ประสงค์ศกึ ษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา และประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์ อีกให้ทนุ ศึกษาในหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิตอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระดับปริญญาตรี-โท-เอก แก่ผู้มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศไทยต่อไปในอนาคต ค่ายโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้ มีนกั ศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับทุนโครงการดังกล่าวเข้าร่วมกว่า 184 คน จาก 16 สถาบันทั่ว ประเทศ ซึ่งทางคณะวิทยาศาสตร์ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ไว้มากมาย ได้แก่ วันที่ 29 มีนาคม 2554 ในช่วงเช้ามีพิธีเปิดค่ายโครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 2) (ระดับ ปริญญาตรี ) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานกล่าวเปิดงาน และได้รับเกียรติจาก วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่านมาบรรยายในหัวข้อ วิทยาศาสตร์กับการวิจัย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเจ้าของรางวัล “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ ประจ�ำ ปี 2553” และการแนะน�ำโครงการทุนเรียนดีฯ ทัง้ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนนั ทา วิบลู ย์จนั ทร์ ประธานอนุกรรมการโครงการ ทุนเรียนดีฯ และรองอธิการบดีฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ในช่วงบ่ายได้น�ำนักศึกษาที่เข้าร่วมค่ายฯ เดินทางไปทัศนศึกษาที่โรงไฟฟ้าจะนะ อ�ำเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา ในช่วงค�่ำมีงานเลี้ยงต้อนรับและสานสัมพันธ์ ณ โรงแรมเจบี หาดใหญ่ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะ วิทยาศาสตร์ ม.อ.เป็นประธานเปิดงาน และได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธุ์ อาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Pseudoscience กับชีวิตคนไทย” ทั้งยังมีกิจกรรมสานสัมพันธ์และการแสดงจากนักศึกษาในโครงการฯ วันที่ 30 มีนาคม 2554 นักศึกษาที่เข้าร่วมค่ายได้มีโอกาสเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ/ห้องวิจัยของภาควิชาต่างๆ ในคณะวิทยาศาสตร์ และเดินทาง ไปทัศนศึกษา ณ สถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำ (Aquarium) จังหวัดสงขลา และสถาบันทักษิณคดีศึกษาอีกด้วย
ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมหรือมีข้อสงสัยประการใด ติดต่อได้ที่ www.sc.psu.ac.th 4
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8028 โทรสาร 0-7444-6926 หรือทางเว็บไซต์ www.sc.psu.ac.th
ร ต ู ส ก ั ล ห ำ � น ะ แน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์
ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต, วท.บ. (วัสดุศาสตร์) Bachelor of Science, B.Sc (Materials and technology)
โครงสร้างหลักสูตร
จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ก. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 1) กลุม่ วิชาภาษา 2) กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3) กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน 2) กลุม่ วิชาบังคับ 3) กลุม่ วิชาเลือก ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ง. ฝึกงาน
โอกาสการท�ำงาน
135 30 12 10 8 98 15 64 19 6
1
หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต
หน่วยกิต
อุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์ดา้ นโลหะ ยาง พลาสติก และ เซรามิกส์วสั ดุ อุปกรณ์การแพทย์ อุตสาหกรรมการบริการ ผู้แทนจ�ำหน่ายวัสดุเครื่องจักรกล งานทดสอบ ผลิตภัณฑ์กบั หน่วยงานทีท่ ำ� งานวิจยั หรือหน่วยงานทีใ่ ห้บริการด้านวัสดุ แก้ปญ ั หา นักวิจยั และนักวิทยาศาสตร์ ด้านการวิจยั และพัฒนาเทคผผโนโลยีวสั ดุตา่ งๆ เช่น วัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ กีฬา พลังงาน โทรคมนาคม เชือ้ เพลิง ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ แก้ไขปัญหาการผลิต สร้าง ดัดแปลงบ�ำรุงรักษา เครือ่ งมือและอุปกรณ์ ศึกษาโครงสร้างสมบัตแิ ละสมรรถนะของวัสดุ พัฒนากรรมวิธี การผลิตแบบใหม่ ภาคราชการ มหาวิทยาลัยต่างๆ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ทหาร ต�ำรวจ กรมวิทยาศาสตร์บริการ ภาครัฐวิสาหกิจ เช่น สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (งานด้านพัฒนาวิจยั และทดสอบสมบัตขิ องวัสดุตา่ งๆ) ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แห่งชาติ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ บริษทั ต่างๆและโรงงานอุตสาหกรรม ทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นจ�ำนวนมากและสามารถ ท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมทางวัสดุตา่ งๆทีเ่ กีย่ วข้องเช่น กระเบือ้ ง แก้ว พลาสติก ปิโตรเคมี สี ยาง โลหะ
โอกาสทางการศึกษา
• จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์แบ่งเป็น 2 สาขาคือ สาขาเซรามิกส์ และวัสดุศาสตร์ และ สาขาพอลิเมอร์และสิ่งทอ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาเหมืองแร่และวัสดุ (ด้านโลหะ) • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาควิชาฟิสกิ ส์หลักสูตรวัสดุศาสตร์ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ด้านโลหะ การเคลือบวัสดุ ทา งอิเล็กโทรเซรามิกส์ • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี • มหาวิทยาลัยอืน่ ๆในด้านการออกแบบวัสดุผลิตภัณฑ์
ปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา เป็นหลักสูตรทีม่ งุ่ เน้นให้นกั ศึกษาทีม่ ี พืน้ ฐานทางจุลชีววิทยา ได้ศกึ ษาเพิม่ เติมและเพิม่ ประสบการณ์ทางด้านการวิจยั ทางจุลชีววิทยาขัน้ สูง ตามสาขาทีน่ กั ศึกษาสนใจ และสามารถน�ำประสบการณ์ทไี่ ด้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจยั ต่อไป ภาควิชา จุลชีววิทยา ประกอบด้วย 2 สาขาหลัก คือ - จุลชีววิทยาการแพทย์ ประกอบด้วย วิทยาอิมมูน วิทยาแบคทีเรีย ราวิทยา วิทยาไวรัส และ ปรสิตวิทยา - จุลชีววิทยาประยุกต์ ประกอบด้วย จุลชีววิทยาทางอาหาร จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม และ จุลชีววิทยาสิง่ แวดล้อม และเทคโนโลยีชวี ภาพ ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. วิทยาอิมมูน เป็นการศึกษาเกีย่ วกับการตอบสนองของร่างกายต่อสิง่ แปลกปลอม ปฏิกริ ยิ า ระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี เซลล์ทเี่ กีย่ วกับการตอบสนองทางอิมมูน ประโยชน์และโทษทีเ่ กิดจาก การตอบสนองทางอิมมูน 2. วิทยาแบคทีเรีย เป็นการศึกษาเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องแบคทีเรียทีท่ ำ� ให้เกิดโรค กระบวนการ ตอบสนองของร่างกาย การเก็บสิง่ ส่งตรวจ การเพาะเลีย้ ง การวินจิ ฉัย การควบคุม การป้องกัน และ การรักษาโรคทีเ่ กิดจากแบคทีเรีย 3. ราวิทยา เป็นการศึกษาเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องเชือ้ ราและยีสต์ การจ�ำแนกหมวดหมู่ สรีรวิทยา ประโยชน์และโทษของราและยีสต์ 4. วิทยาไวรัส เป็นการศึกษาเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องไวรัส การจัดหมวดหมู่ วิธกี ารเข้าสูเ่ ซลล์ การ เพิม่ จ�ำนวนการเพาะเลีย้ ง การตรวจวินจิ ฉัย ประโยชน์และโทษของไวรัส 5. ปรสิตวิทยา เป็นการศึกษาเกีย่ วกับปรสิตชนิดต่างๆ ในคน พืช และสัตว์ วงจรชีวติ ของปรสิต การตอบสนองของโฮสต์ การป้องกัน การควบคุม และการรักษา 6. จุลชีววิทยาประยุกต์ เป็นการศึกษาการน�ำจุลินทรีย์ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในโรงงาน อุตสาหกรรม หลักการคัดเลือกสายพันธุ์ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ โดยใช้จลุ นิ ทรีย์ จุลนิ ทรียท์ ี่ เกีย่ วข้องกับทางอาหาร การหมักดองการเน่าเสีย การถนอมอาหาร การแก้สภาวะสิง่ แวดล้อมเป็นพิษ โดยใช้จลุ นิ ทรีย์ บทบาทของจุลนิ ทรียใ์ นการก�ำจัดของเสีย และการน�ำของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม มาใช้ประโยชน์ 7. เทคโนโลยีชวี ภาพ เป็นการศึกษาการใช้เซลล์ทมี่ ชี วี ติ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ ปี ระโยชน์ในทาง อุตสาหกรรม ในสาขาวิชาจุลชีววิทยาโดยใช้เซลล์จลุ นิ ทรีย์ ซึง่ เน้นการหมักโดยใช้ถงั หมักจุลนิ ทรีย์ การ ปรับปรุงสายพันธุจ์ ลุ นิ ทรียโ์ ดยใช้สารก่อการกลายพันธุ์ การถ่ายโอนยีนส์โดยวิธตี า่ งๆ การตัดต่อโยกย้าย ยีนส์โดยวิธที างพันธุวศิ วกรรม และการบ่งชีจ้ ลุ นิ ทรียโ์ ดยวิธกี ารทางพันธุศาสตร์โมเลกุล
ปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาจุลชีววิทยา เป็นหลักสูตรทีเ่ น้นการผลิตนักวิจยั ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในระดับสากล มีความคิดริเริม่ และ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ โดยให้นกั ศึกษาเลือกท�ำวิทยานิพนธ์ในสาขาจุลชีววิทยาการแพทย์ เช่น วิทยาอิม มูน วิทยาแบคทีเรีย ราวิทยา วิทยาไวรัส และปรสิตวิทยา หรือสาขาจุลชีววิทยาประยุกต์ เช่น จุลชีววิทยา อาหาร จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม จุลชีววิทยาสิง่ แวดล้อม เอนไซม์ทผี่ ลิตจากจุลนิ ทรียแ์ ละพันธุศาสตร์ ของจุลนิ ทรีย์
สอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ห้องวท. 505 อาคารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8311-3 โทรสาร : 0 744 6661 E-mail : sci-grad@group.psu.ac.th Website : http://www.sc.psu.ac.th/units/graduate/
สอบถามข้อมูลได้ที่
ส�ำนักงานภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ.3 ปณ.ฝ คอหงส์ 90112 โทรศัพท์ : 0 7428 8395 และ 0 7428 8361 โทรสาร : 0 7444 6925 E-mail : jeeranee.m@psu.ac.th
5 www.sc.psu.ac.th
คุยกับคนเก่ง ฉบับนีเ้ ราขอแนะน�ำนักศึกษาทีไ่ ด้ รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจ�ำปี 2553 ระดับ ปริญญาโท กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คือ นายศักดิ์ชัยบดี สังข์แก้ว นัก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาวิ ช าเคมี (เคมี วิเคราะห์) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จาก วิทยานิพนธ์เรื่อง “พัฒนาเทคนิคเฮดสเปซร่วมกับ ตัวดูดซับของแข็งปริมาณน้อยส�ำหรับวิเคราะห์ส ไตรี นตกค้ า งในอาหารบรรจุ ภั ณฑ์ ช นิด พอลี สไตรีนโฟม” โดยมีรศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา, รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร และดร.จงดี ธรรมเขต เป็ นคณะ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คุณศักดิ์ชัยบดี สังข์แก้ว หรือ โด่ง เล่าถึงที่มาที่ไปของตนเองในการมา เป็นนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ให้ฟังว่า “เรียนระดับปริญญาตรีทคี่ ณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เลือกวิชาเอกคือสาขาเคมี ด้วยส่วนตัวชอบเรียนทางด้านนี้และมีความใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นครู เพื่อถ่ายทอด วิชาความรู้ให้กับเด็กๆ นักเรียน ขณะที่เรียนอยู่ได้ไปฝึกสอนที่โรงเรียนเดชะปัตตน ยานุกูล จังหวัดปัตตานี ท�ำให้ตัวเองได้ค้นพบว่าจริงๆแล้ว อยากจะเป็นนัก วิทยาศาสตร์ ที่ได้ท�ำงานวิจัยและการทดลอง ดังนัน้ จึงตัดสินใจศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโท ในสาขาวิชาเคมีทคี่ ณะวิทยาศาสตร์ ซึง่ เชือ่ มัน่ ว่าทีน่ ี่ สามารถสานฝัน ของเราได้ ด้วยศักยภาพของคณาจารย์ และความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ ต่างๆ” แรกเริม่ คุณศักดิช์ ยั บดีสนใจศึกษาเรือ่ งของการพัฒนาของตัวดูดซับของ สารปริมาณน้อย แต่ยงั ไม่มแี นวคิดในส่วนของการพัฒนาว่าจะพัฒนาไปในแนวทาง ไหน หลังจากได้เข้าฟังการน�ำเสนองานของรุ่นพี่และการชี้แนะจากอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก คือ รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา ท�ำให้คุณศักดิ์ชัยบดี มีแนวความคิดในการท�ำงานวิจัยชิ้นนี้ “ โดยปกติการเตรียมตัวอย่างเพื่อการ วิเคราะห์ในส่วนของการสกัด ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อแยกและเพิ่มความเข้มข้นของ สารตัวอย่าง ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ ครือ่ งมือสามารถตรวจวัดได้อย่างถูกต้อง และเทคนิค ทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั มีขอ้ ด้อย คือ ใช้ตวั ท�ำละลายอินทรียป์ ริมาณมาก ซึง่ มีความเป็น
ต่างประเทศ เ มื่ อ วั น ที่ 3 - 2 5 มีนาคม 2554 คณาจารย์และ นักศึกษาระดับปริญญาโทจาก University of Novi Sad, สาธารณรัฐเซอร์เบีย จ�ำนวน 7 คน ได้ เ ดิ น ทางมาท� ำ วิ จั ย ภาคสนามร่ ว มกั บ คณาจารย์และนักศึกษาภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ ซึ่งนอกจากจะได้ร่วมแลกเปลี่ยน ทางวิชาการร่วมกัน ณ ภาควิชาแล้ว ยังได้ออก ปฏิบัติการภาคสนามร่วมกันในหลายพื้นที่อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโตนงาช้าง จ.สงขลา และ อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ. ตรัง เป็นต้น กิจกรรมนี้เป็นการด�ำเนินการภายใต้ข้อ ตกลงความร่วมมือทางวิชาการซึง่ จัดขึน้ เป็นประจ�ำ ทุกปี เช่นเดียวกับนักศึกษาและคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์จะได้มโี อกาส ไปฝึกภาคสนามที่ University of Novi Sad ด้วยเช่นกัน
www.sc.psu.ac.th 6
พิษและสามารถก่ออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน และหาก ไม่มีระบบจัดการตัวท�ำละลายที่ใช้แล้วที่ดีและถูกต้อง ตัวท�ำละลายมักถูกทิง้ สูส่ งิ่ แวดล้อมและเป็นสาเหตุหนึง่ ของการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนได้ วิทยานิพนธ์ของผม จึงเป็นการพัฒนาเทคนิคการสกัดทีล่ ดการใช้ตวั ท�ำละลายหรือไม่ใช้เลย คือ การสกัดด้วยตัวดูดซับของแข็งปริมาณน้อย ซึ่งสารที่สนใจวิเคราะห์คือ สไตรีน โดยวิเคราะห์สไตรีนตกค้างในอาหารที่บรรจุในกล่องโฟม ทั้งยังได้ ศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ ทัง้ ในส่วนของ ไฟเบอร์ และ ด้ามจับทีใ่ ช้รว่ มกับ ไฟเบอร์ ให้มีราคาถูก ท�ำได้ง่าย มีความแข็งแรงทนทาน มีมาตรฐานเทียบ เท่ากับอุปกรณ์ทนี่ ำ� เข้าจากต่างประเทศ มีตน้ ทุนในการประดิษฐ์และใช้งาน จริงต�่ำ และไม่ใช้ตัวท�ำละลายอินทรีย์ (Green chemistry) ในการวิเคราะห์ ซึ่งจัดเป็นเทคนิคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental friendly techniques)” นอกจากนีส้ ามารถประยุกต์นำ� อุปกรณ์ทพี่ ฒ ั นาไปใช้วเิ คราะห์สาร ที่สนใจในงานต่างๆ ทั้งตัวอย่างทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ ยา สารพิษ อาหารและทางอุตสาหกรรม วิทยานิพนธ์เล่มนีไ้ ด้คว้ารางวัลมาแล้วถึง 2 เวที คือรางวัลผลงาน ประดิษฐ์คิดค้น ประจ�ำปี 2553 รางวัลประกาศเกียรติคุณ จากส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) และล่าสุดคือรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจ�ำปี 2553 ระดับปริญญาโท กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ จากบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อีกด้วย สุดท้ายคุณศักดิ์ชัยบดีได้กล่าวว่า “ ส�ำหรับรางวัลต่างๆที่ได้มา คิดว่าส่วนส�ำคัญเป็นเพราะอาจารย์ทปี่ รึกษาทีใ่ ห้การชีแ้ นะแนวทางในการ ศึกษาวิจัย และชีวิตการท�ำงาน นอกจากนีก้ ารส่งวิทยานิพนธ์เข้าประกวด ในเวทีต่างๆ จะส่งในนามสถานวิจัย การวิเคราะห์สาร ปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ คณะ วิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพและความ น่าเชื่อถือ ทั้งอยากฝากถึงน้องๆ ที่ สนใจและชอบในด้านวิทยาศาสตร์ ใ ห ้ ม า ส า น ฝ ั น ต ่ อ ที่ ค ณ ะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์กันนะครับ”
เมื่อวันที่10 มีนาคม 2554 คณะวิทยาศาสตร์ ให้การต้อนรับคณะดูงานจาก ประเทศมาเลเซีย จ�ำนวน 45 คน ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย บุ ค ลากรด้ า นสารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำในประเทศมาเลเซีย กว่า 8 สถาบัน ในการนีภ้ าควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ หลั ก สู ต รเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ สื่ อ สาร คณะวิ ท ยาศาสตร์ ร ่ ว ม ให้ ก ารต้ อ นรั บ และเจรจาเพื่ อ แสวงหาความร่ ว มมื อ ทางด้ า น วิ ช าการและการแลกเปลี่ ย น นักศึกษาร่วมกัน คณะวิทยาศาสตร์สง่ คณาจารย์และนักศึกษา จ�ำนวน 11 คน เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนประจ�ำปี 2554 กับ Guangdong University of Technology, สาธารณรัฐประชาชนจีน โดย อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ระหว่างวันที่ 1218 มีนาคม 2554 นักศึกษาใช้เวลา 2 สั ป ดาห์ ระหว่ า งวั นที่ 12-25 มีนาคม 2554 กิจกรรมครัง้ นีเ้ ป็นการ เชื่ อ มโยงและเปิ ด โลกทั ศ น์ ท าง วิชาการกับต่างประเทศ
คณะวิทยาศาสตร์ร่วมกับเครือข่ายประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เข้าร่วมงานมหกรรมการศึกษาต่อ กีฬาและศิลปะ การแสดง สู่อนาคต (Sea future expo 2011) เมื่อวันที่ 5-6 เมษายน 2554 ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ ชัน้ 5 สยามพารากอน และในงานสุดยอดมหกรรมการศึกษาแห่งปี U expo 2011 เมื่อวันที่ 8-10 เมษายน 2554 ณ Grand Hall ไบเทค บางนา เพื่อประชาสัมพันธ์ หลักสูตรและผลงานต่างๆ ของคณะ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้แก่ นักเรียนและผู้สนใจที่เข้าร่วมงาน
คณะวิทยาศาสตร์สง่ เสือ้ ยืดจ�ำนวน 200 ตัว ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย น�้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ผ่านศูนย์รับบริจาคที่สถานีวิทยุกระจายเสียง (FM 88) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
บุคลากรและนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ร่วมสืบสานประเพณีไทยในเทศกาลวันสงกรานต์
คณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมเนื่องในวันปีใหม่ไทยขึ้น ในวันศุกร์ที่ 8 เมษายน 2554 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
7 www.sc.psu.ac.th
ะ ล แ ิ ต ิ ถ ส ร า ก า ช ิ ว ม ุ ช ะ ร ป ร กา ิ ต า ช ง ่ ห แ ์ ต ก ุ ย สถิติประ 4 5 5 2 ี ป ำ � จ ะ ร ครั้งที่ 12 ป
. .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ............ งค......์คว...า...ม...รู...้แล...ะ...เป...ิ...ด .......... .....................ิด...ก...า...รแลกเป...ล...ี่ย...น...ข...องอ ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ............ ......้เก..................กา...รณ์ที่เกิด...จ...าก...ก...า...รน...�ำ...ศ...า...ส...ตร์...ท...า...ง .......... ...............เพ...ื่อ...ให .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...... ......สบ...............วิ...จ...ยั ในศาสต...ร์ต...า่ ...งๆ......นอ...ก...จ...าก............. งใ...ห...ม...่จ...า...ก...ผู้ม...ีป...ระ ........................ อ ... ม ... ม ุ ... ม ... .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ..................... สถติ แิ ละสถ...ติ ...ปิ ...ระ...ย...กุ ...ตไ์...ป...ใช...ก้ ...บั ...ก...าร...............ก...่ผ...ู้สนใจ ซึ่ง...ประ ........................ กอบ . ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...... ..................... ารแ ...... ...... ... ก ... ... า ... ... ... ช ิ ... ... ... งว ... ... ... า ... ... ท ... ... ... น ... ... ... ... งา ... ... ... ล ... ... ผ ... ... ร่ ...... ยงาน . ยแพ .................. ............ จาก .............................. ......ห...น...ว่ .................. ปู้ ...ฏ...บิ ...ตั งิ ...าน .....................ว...ิท...ย...าศาสต...ร...์ ...............นี้ย...ัง...เป...็น...ก...า...รเ...ผ.........าก ... ผ ... ... ... าร ก ... ช ... รา ... ้ า ... ... ข ... ... ... าร ... ... ... ะ ... ช ... ่างๆ ...... .....................ภ...า...ค...วิชาคณ...ติ ...ศ...า...ส...ต...ร์แ...ล...ะ...ส...ถ...ิต...ิ ค...ณ......า...ด...ให...ญ......่ เป ็ น ...............ดว้ ...ย...อ...าจ...าร......ย์ ...น...กั วิ............ก...ช...น...รวมทั้ง...น...กั ศ...ึก...ษ...า...ใน...ส...า...ขา...วิ...ช...าต................... ห ... ... เอ ... ต ... ... ... ... เข กิจ ...... . ...... .........ว...ิ ท...ย...า ล...ั ย...ส ง ข ล...า น...ค...ร...ิ น...ท...ร...์ ...วิ ท...ย...า............แ...ห...่ง...ได......้แก...่ ...............ภา...ค...รั...ฐ...รั...ฐวิ...ส...า...ห..................... .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... า ... ... ... 5 ห ... ... บ ม ..................... อีก ............... ล งา นท า งวิ ช...า...ก...า...ร ...ท...ั้ ง...แบ................ ............ิว...เต...อร์ ที่เ...ก...ี่ยวข ...............าพ ่วย...งา...น...แ...ล...ะ...ส...ถ...าบ...ัน............า...กา...รค ...้อ...ง ...............า...รน น ... ห บ ั ก พ ... ม ม ... ว ่ อ ... ร ... ... ภ ... ... า ้ ... ... ย ull เจ ี ก � ำ เส น...อ ...ผ..................... ... ท ... .....................(1...)...ภ...าควิชา...ค...ณ...ติ ...ศ...าส...ต...ร์...แ...ละ...วิ............ะ...วิ ท...ย...า...ศ...า...ส ต ร ์ ............... ...............ท...ั้ ง...ยั ง...ม............เต...อ...ร์... โดยบ...ท...คว...า...ม...ฉ...บ...ับ...ส...มบ...ูร...ณ...์ ...(F................ ......... โล......ยี ......ค...ณ................................. ระ...ช...ุม...วิ...ชา...ก...า...ร .......... าย...แ...ล...ะ...แ...บ...บ...โป...ส..................น...เนื่องจาก...กา...รป ย รร บ ............ะ...วิ...ท...ย...า...ศ...า ส ต ร ์ แ...ล...ะ...เท...ค...โน ... ... ... ... ... ... ... ... ... งา ิมพ์ใ...น...รา...ย..................... าธิการจัดท�ำรา...ย...งา...น............. คณ ..................... ัตตานี ......... ...............ิท...ย...าล...ัย...ส...งขลาน...คริ...น...ท...ร์ ...วิท...ย...าเ...ข...ต...ป............ต...ร์...ม...ห...าว...ทิ ...ยาลยั ...............pa...pe...r)......ที่...ได...้ร...ับ...ตีพ.........าต ......... ี้ จ...ะ...ม...ีกอ...งบ ...รร...ณ...............ณ น ิ ... ... ช ห......าว........................... วิทยา คณะแพทยศาส ... บ ั ม ... ด ... ระ ... ... ) ... ... gs ... ... in ... ... ed..................... ะค......ะ...ก...รร...ม...ก...า...ร .......... ...... ce ล ... ro แ ... (P . ... อ าด ...... ก ... บ ส ... ระ ... ... ะ ย ... ... ่ ว ล ... ... น ... ... .แ ... ห ... ศ ... ) ... ... ม (2 ...... ญ่ ............ร์............ ตามเกณ......ฑ...์มา...ต...รฐ...า...น...ข...อ...ง ...ส.....................าอกี ดว้ ย ............................... ...............ร์ ...วิ...ท...ยาเ...ข...ตหาดให ............ย...าศ ... ... ... ............ล...าน ... ... ... ต ... ... าะสาข ......... ... ท ... น ริ โด าญ สงข ค ...............ณ...ติ ...ศาสตร์และส...ถ...ติ ิ...ค...ณ...ะ...วิท............าส........................ก...ลนั่ ...กรองผล...งา...น...ท...เี่ ช...ยี่ วช ......ยเฉ...พ..................... ... ....... ... ... .....................(3...)...ส...าขาวชิ าค ... ... ... .............................. ......... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ............................................................ ... ... ...... .... ......... ... .............................. .............................. .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ห......าว...ิท...ย...าล...ัย...ท...ัก...ษ...ิณ............วิ...จัย...ส...ถ...ิต...ิศาส ... ม ... ... ตร์ ....... ............ ............ ...... ่ายนกั .............................. ...............ย......ร่...วม...ก...ันก�ำหน...ด...จ...ัด................................................... ... ... ... ... ... ... ... ... ..................(4...) ...เค...รื...อ...ข .........ิต...ิแ...ห...่ง...ประ ... ...... ....... เท...ศ...ไท........................... ปี ... มสถ .............................. .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ..................(5...)...ส...ม...า...ค .........ิแ...ล...ะ...สถ...ิต...ิป...ระยุกต...์ ค...รั...้งท...ี่ ...12......ป...ระ...จ...�ำ.............................. ... ....... ........................ ... .............................. ... ... ... ... ช...ุม...วิ...ชา...ก...า...รส...ถ...ิต..................st...ic...s ...an...d Applie...d...S...ta...ti...st...ic...s....................................... ... ระ ... ... ... า...รป ก ... ....... ...... ......(T...he 2011 Nat...io...na...l ...S...ta...ti........................า...รใช้ระเบียบวิธี ............................................................ .............................. ... ... ... ... ... ... ... ก ... 54.............................. ... ย ... ว ้ 25 ... ... ด ... กวิ...จ...ัย.............................. ng .......... ............... ......... ference) ภายใต้ห...ัวข...้อ...“เ...ป...ิด...โล .............................. ... h...U...si................................................... ... rc ... ea ... ... ... ... C......on.............................. n Networ...k... for Gai...a......Res ... ... . ... มาะสม” หรือ Ope .............................. ...... ............ .............................. ี...่เห.......................................es......ใน...วั...น...ท...ี่ 18-22 ...พ...ฤ...ษ...ภ...าค...ม......25...54................................. ............................................................ ท .......... ...... ropriate Methodo...lo...gi.............................. ......... .............................. ... ... ... ... ... ... ... A......pp.............................. าดใหญ่ จังหวัดสงข...ล...า...................................................... ... ... ...... ....... ... .............................. .............................. ... ี...อ...�ำ...เภ...อ...ห.............................. ......ภาควิ ... บ ... ... เจ ... ... ... รม ... ... ... งแ ... ... โร ... ... ... ณ ... ... ... ช าคณิ ต ศาสตร์ แ ... ละสถิ ต ิ คณะวิ ทยาศาสตร์ .......... ............ ..................... ........................... .............................. ... ..................โทรศั .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... พ ท์ 0 7428 8684-5 ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...... ............ ...............0 ...7455 ........................... 8842 ... ...............โทรสาร .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... Email: ststconf2011@gmail.com ... ......... ............ .............................. ... ... ... ... ... ... ... ... ... ............
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
.
ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์
(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ
Design by blueimage 0-7446-4401
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่