จดหมายข่าวคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

Page 1

“...ทันข่าวทันเหตุการณ์ ข่าวสารคณะวิทย์ เผยแพร่ภารกิจสู่ชุมชน...” ฉบับที่ 3/54 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2554

www.sc.psu.ac.th

ต้อนรับนักศึกษาใหม่ คณะวิทยาศาสตร์

ปีการศึกษา 2554 กิจกรรมปฐมนิเทศและบรรยากาศการต้อนรับนักศึกษาใหม่

คณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2554

นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์คว้ารางวัลในงานประชุม

PERCH-CIC Congress VII

งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2554

ณ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ.

ติดต่อสอบถาม : หน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : sci-pr@group.psu.ac.th โทรศัพท์ 0 7428 8008, 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657


คณะวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2554

.................................................................................................................................. เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2554 คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดกิจกรรมการ ปฐมนิ เ ทศนั กศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2554 ระดับปริญญาตรี ขึ้นที่ห้อง L 1 ศูนย์ .................................................................................................................................. ปาฐกถาประดิ ษฐ เชยจิตร (ตึกฟักทอง) ซึ่งในปีการศึกษานี้มีผู้ผ่านการคัดเลือก .................................................................................................................................. เข้.................................................................................................................................. าศึกษาในระดับปริญญาตรีทั้งสิ้น 737 คน ภายในงานได้รับเกียรติจาก รศ. ดร.จุ ฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กล่าวต้อนรับและให้โอวาทแก่ .................................................................................................................................. นั.................................................................................................................................. กศึกษาใหม่ พร้อมทั้งแนะน�ำผู้บริหารและหัวหน้าภาควิชาต่างๆ ให้แก่นกั ศึกษา ใหม่ ได้รู้จัก ซึ่งทางคณะวิทยาศาสตร์ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจเพื่อเป็นการ .................................................................................................................................. ต้.................................................................................................................................. อนรับนักศึกษาใหม่ไว้มากมาย ได้แก่ การบรรยายพิเศษเรื่อง ความภาคภูมิใจ ในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ โดย ผศ. ดร.อัญชนา ประเทพ และการแนะน�ำให้ .................................................................................................................................. ความรู ้ ใ นด้ านต่างๆ จากคณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ที่หมุนเวียนกันมาให้ความรู้ .................................................................................................................................. ซึ.................................................................................................................................. ง่ จะช่วยให้นกั ศึกษาทีเ่ ข้าใหม่ทราบถึงระบบการเรียน การท�ำกิจกรรมและการใช้ ชี.................................................................................................................................. วิ ต ในรั้ ว มหาวิ ท ยาลั ย ภายในบ้ า นหลั ง ที่ 2 ที่ ชื่ อ ว่ า คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยสงขลานครินทร์ ..................................................................................................................................

................................................................................................................................................................ และในวันเดียวกัน ตัง้ แต่เวลา 12.45 – 15.30 น. คณะวิทยาศาสตร์ได้จดั กิจกรรมปฐมนิเทศ นั................................................................................................................................................................ กศึกษาใหม่ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2554 ณ ห้อง วท.2 อาคารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี คณะวิ ทยาศาสตร์ โดยในปีการศึกษานี้มีผู้ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับปริญญาโททั้งสิ้น 146 ................................................................................................................................................................ คน และระดั บปริญญาเอกทั้งสิ้น 34 คน ซึ่งทางคณะฯ ได้จัดกิจกรรมนีข้ ึ้นเพื่อเป็นการต้อนรับและ ................................................................................................................................................................ ชี................................................................................................................................................................ ้แจงรายละเอียดขั้นตอน การลงทะเบียน ระบบการเรียน กิจกรรม สังคมและการใช้ชีวิตใน มหาวิ ทยาลัย โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ดร. จุฑามาส ศตสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กล่าวต้อนรับ ................................................................................................................................................................ และให้ โอวาทแก่นกั ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใหม่ในการเรียนเพื่อที่จะเป็นผู้ที่ถือได้ว่าเป็นผู้รู้จริง มี ................................................................................................................................................................ ความรั บ ผิดชอบต่อตนเอง ต่องานและต่อสังคม และจะต้องเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์เพื่อการน�ำ ................................................................................................................................................................ ความรู ้ ด ้ า นวิทยาศาสตร์ไปพัฒนาประเทศต่อไป นอกจากนี้ รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ รองคณบดี ................................................................................................................................................................ ฝ่................................................................................................................................................................ ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา ยังได้ให้ข้อมูลในการศึกษา ทั้งในเรื่องของการสนับสนุนทุนการศึกษา ระเบี ยบฯ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ขัน้ ตอนการศึกษาจนส�ำเร็จการศึกษาและข้อแนะน�ำ ................................................................................................................................................................ ต่................................................................................................................................................................ างๆ แก่นกั ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใหม่อกี ด้วย และเมือ่ นักศึกษาใหม่ได้รบั การปฐมนิเทศเรียบร้อย แล้ วต่างแยกย้ายตามสาขาวิชาของตน เพื่อพบปะผู้บริหารและคณาจารย์ของภาควิชา ซึ่งได้เตรียม ................................................................................................................................................................ การต้ อนรับไว้เป็นอย่างดี ................................................................................................................................................................

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2554 คณะวิทยาศาสตร์ได้มีการจัดการ ............................................................................................................................. ปฐมนิ เ ทศนั กศึกษาต่างชาติระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา ............................................................................................................................. 2554 ณ ห้ อ งประชุ ม 3 ส�ำนักงานบริหารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา ............................................................................................................................. นคริ น ทร์ ............................................................................................................................. โดยในปีการศึกษานี้มีจ�ำนวนนักศึกษาต่างชาติทั้งสิ้น 9 คน จาก ............................................................................................................................. สาธารณรั ฐ อินเดีย ราชอาณาจักรภูฎาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ............................................................................................................................. ลาว ราชอาณาจั กรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และสาธารณรัฐประชาชน ............................................................................................................................. บั............................................................................................................................. งคลาเทศ (เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท จ�ำนวน 4 คน และระดับปริญญา เอก จ�ำนวน 5 คน) ซึ่งได้รับเกียรติจาก รศ. ดร. วิไลวรรณ โชติเกียรติ เป็น ............................................................................................................................. ประธานในการต้อนรับนักศึกษา พร้อมเจ้าหน้าทีจ่ ากฝ่ายวิจยั และบัณฑิตศึกษา ............................................................................................................................. และหน่วยวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ เพื่อท�ำความรู้จักและให้ข้อมูลและ ............................................................................................................................. ค�ำแนะน�ำในการเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ .............................................................................................................................

www.sc.psu.ac.th 2


นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์คว้ารางวัล

ในงานประชุมวิชาการศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 “The International Congress for Innovation in Chemistry” (PERCH-CIC Congress VII) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 -7 พฤษภาคม 2554 ณ โรงแรมจอมเทียน ปาล์ม บีช รีสอร์ท เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยมีราย ชื่อดังต่อไปนี้

รางวัลการน�ำเสนอผลงานแบบ Oral Presentation สาขา Analytical Technology : Sensor and Sensing Technology ได้แก่ ..................................................... นางสาวสุ จิ ต รา ภู ่ ร ะหงษ์ ..................................................... นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอก ..................................................... ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ..................................................... จากผลงาน Ru/Rh-Carbon Fiber ..................................................... Microelectode Biosensor for ..................................................... Sensitive Detection of ..................................................... α-Ketoglutarate โดยมี รศ.ดร. ..................................................... เพริศพิชญ์ คณาธารณา เป็น ..................................................... อาจารย์ที่ปรึกษา .....................................................

..................................................... นายโอภาส บุญเกิด นักศึกษา ..................................................... ระดั บปริญญาเอก ภาควิชาเคมี ..................................................... คณะวิ ทยาศาสตร์ จากผลงาน ..................................................... Cost-Effective Formaldehyde ..................................................... Sensing Device for Industry Ap..................................................... plications โดยมี รศ.ดร.เพริ ศ ..................................................... พิ..................................................... ชญ์ คณาธารณา เป็นอาจารย์ ที..................................................... ่ปรึกษา .....................................................

รางวัลการน�ำเสนอผลงานแบบ Poster Presentation ดีเด่น สาขา Analytical Technology ได้แก่

นางสาวจรรยาภรณ์ ศริกาญจน์

นางสาวสุภาภรณ์ ดาวัลย์

นางสาวอรวรรณ ทิพย์มณี

นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาเคมี คณะ ................................................................................ วิทยาศาสตร์ จากผลงาน Spectrophotometric ................................................................................ Method for Determination of Phosphate in ................................................................................ Concentrated Latex โดยมี ดร.ฐิติมา รุจิราลัย ................................................................................ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ................................................................................

นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาเคมี คณะ ................................................................................ วิทยาศาสตร์ จากผลงาน Surface Plasmon ................................................................................ Resonance Immunosensor for Melioidosis ................................................................................ Detection โดยมี รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร เป็น ................................................................................ อาจารย์ที่ปรึกษา ................................................................................

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จากผลงาน ................................................................................ Capacitive Immunosensor Using para-Phenyl................................................................................ enediamine Modified Electrode for HAS Detec................................................................................ tion โดยมี รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร เป็นอาจารย์ ................................................................................ ที่ปรึกษา ................................................................................

รางวั ล การน�ำ เสนอผลงานแบบ Poster Presentation ดีเด่น สาขา Innovation in Bioactive Natural Products ได้แก่

นางสาวธวัลรัตน์ กอบเกียรติถวิล

นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาเคมี คณะ ........................................................................................ วิทยาศาสตร์ จากผลงาน Synthesis, Characteriza........................................................................................ tions and Fluorescence Properties of Chalcones and ........................................................................................ Heteroaryl Chalcone Derivatives โดยมี รศ.ดร.สุชาดา ........................................................................................ จันทร์พรหมมา เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ........................................................................................

รางวัลการน�ำเสนอผลงานแบบ Poster Presentation ดีเด่น สาขา Innovation in Bioactive Natural Products ได้แก่

นางสาวจุฑาทิพย์ จีนแก้วเปี่ยม

นางสาวศิริกานต์ กันนัย

นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาจุลชีววิทยา ................................................................................ คณะวิทยาศาสตร์ จากผลงาน Endophytic ................................................................................ fungi from Rhodomyrtus tomentosa (Ait.) ................................................................................ Hassk which Produced Antimicrobial Sub................................................................................ stances โดยมี รศ.ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร ................................................................................ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ................................................................................

นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาเคมี คณะ ................................................................................ วิทยาศาสตร์ จากผลงาน Pyranone Derivatives ................................................................................ from the Seagrass-derived Fungus Polyporales ................................................................................ PSU-ES83 โดยมี ศ.ดร. วัชรินทร์ รุกขไชยศิรกิ ลุ ................................................................................ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ................................................................................

3 www.sc.psu.ac.th


งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2554 “จุดประกายความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์” โดย ดร.กมลธรรม อ�่ำสกุล

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและประชาสัมพันธ์ และรองประธานกรรมการและประธานคณะอนุกรรมการ ฝ่าย ประชาสัมพันธ์ นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์

งานสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ ถือเป็นหนึง่ ในงาน หลักของบุคลากรและนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ ทุกคน พวกเราตั้งใจจัดงานนีก้ ันมากเพื่อชุมชนภาคใต้ เราได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกจ�ำนวน มากทีร่ ว่ มสร้างสีสนั และกิจกรรมสนุกๆให้นกั เรียนและ นัก ศึ ก ษา โดยในปี นี้น อกจากจะมี ก ารจั ด ประกวด/ แข่งขันทางวิทยาศาสตร์ซงึ่ เป็นรายการทีม่ ปี ระจ�ำทุกปี แล้วนัน้ คณะวิทยาศาสตร์ยังได้เพิ่มกิจกรรมใหม่ที่น่า สนใจคื อ “การประกวดเรื่ อ งสั้ น และหนั ง สั้ น วิทยาศาสตร์” เพื่อให้นกั เรียนได้ประชันฝีมือกัน งานนี้ เราอาจจะได้เห็นผูก้ ำ� กับมือฉมังตัวน้อยๆ ทีจ่ ะโด่งดังใน อนาคตก็ได้นะคะ

และยังต้องขอกระซิบว่าปีนมี้ กี จิ กรรมทีไ่ ม่ ควรพลาดมากมายค่ะ ไม่ว่าจะเป็นการกลับมา ของ “ท้องฟ้าจ�ำลอง กิจกรรมมนต์เปลี่ยนสี นาโนเทคโนโลยี เรื่องของแมลง พลังงาน ทดแทน ธรณี ภั ย พิ บั ติ จุ ลิ น ทรี ย ์ น ่ า รู ้ นิทรรศการหนึง่ เดียวในประเทศไทย” ต้องมา ดู กั น ค่ ะ ว่ า อะไรบ้ า งที่ เ ป็ น หนึ่ ง เดี ย วใน ประเทศไทย ที่ยกมาอยู่ที่คณะวิทยาศาสตร์ค่ะ และท้ า ยสุ ด คื อ กิ จ กรรม “ห้ อ งเรี ย น วิทยาศาสตร์น้อย” ซึ่งจัดขึ้นในปีนี้เป็นครั้งแรก ค่ะ ให้นอ้ งๆ ได้ทดลองจริงในห้องปฏิบตั กิ ารของ เรา โดยกิจกรรมนี้ต้องจองคิวเพื่อเข้ าทดลอง เป็นรอบๆ ไปนะคะ ยังมีอกี กิจกรรมทีไ่ ม่อยากให้พลาดคือ การ บรรยายพิเศษ เรื่อง “วิทยาศาสตร์ลวงโลก (Pseudoscience) กับวิถีชีวิตคนไทย” ค่ะ ฟังหัวข้อในการบรรยายแล้วน่าสนใจทีเดียว ซึ่ง ได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์

จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเล่าให้เราฟังกันค่ะ ว่าเรื่องดังๆ เด็ดๆ ที่เป็น ข่าวหน้าหนึง่ หรือเป็นที่โจษจันกันนัน้ เบื้องหลัง แล้ ว มี ข ้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ ความรู ้ ท างด้ า น วิทยาศาสตร์อยู่มากน้อยแค่ไหนค่ะ และในทุกๆปีจะมี “การประกวดโครง งานวิทยาศาสตร์” นับเป็นกิจกรรมเด่นที่ได้รับ ความสนใจเป็นจ�ำนวนมาก และเมื่อปีที่แล้ว “โครงงานพลาสติ ก จากเกล็ ด ปลา” ของ โรงเรียนสุราษฎร์พิทยาซึ่งชนะเลิศในระดับภาค ใต้ ก็ได้เป็นตัวแทนประเทศไปแข่งขันและคว้า 5 รางวัลจาก 2 เวทีใหญ่ระดับโลก น�ำชื่อเสียงมาสู่ ภาคใต้ ซึง่ ทางสมาคมวิทยาศาสตร์กไ็ ด้ฝากเชิญ ชวนให้ทางโรงเรียนส่งโครงงานที่ใช้หรือพัฒนา ท้องถิ่น ในหัวข้อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน เพื่อ เพิ่มโอกาสในการได้รับคัดเลือกให้ไปแข่งขันใน ต่างประเทศอีกด้วยค่ะ

นอกจากการประกวดโครงงานทาง นอกจากนี้น้องๆหลายคนอาจไม่ทราบว่า ตกรรม สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วั นน ลงา วดผ ระก ารป “ก มี ง ยั เรา ว ล้ แ ร์ วิทยาศาสต ้เป็น ่อสุขภาพ” อีกด้วยค่ะ งานนี้ผู้ที่ชนะจะได ิ เพื กาย ง ลั ำ � อกก า-อ ฬ ี มก กรร ต วั ขาน ะสา แล ยาน าชทานสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัล ตัวแทนของภาคใต้ เข้าประกวดชิงถ้วยพระร วัฒนาฯ ในระดับประเทศด้วยนะคะ

“เอ....ถ้าผมมาถึงงานแล้ว ไม่ต้องกังวลเรื่องสถานที่ของกิจกรรมต่างๆนะคะ เพราะเมื่อมาถึงบริเวณจุดประชาสัมพันธ์ ที่ตั้งอยู่หน้า ไม่รู ้ว่าจะเดินไปทางไหน พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี (สังเกตง่ายๆ ตรงบริเวณหุ่นไดโนเสาร์นะคะ) จะมีพี่ไกด์ จะท�ำอย่างไรดีครับ?”

ซึง่ เป็นนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ของเราคอยพาน้องๆ ไปยังจุดต่างๆ ทีน่ า่ สนใจ ซึง่ น้องๆทุกคนจะได้รบั “แผนทีข่ มุ ทรัพย์ วิทยาศาสตร์” ทีน่ อ้ งๆ จะสามารถร่วมสนุกโดยการล่าขุมทรัพย์ความรูท้ จี่ ะแฝงอยูใ่ นจุดต่างๆ ในแผนที่ และหากร่วมกิจกรรม ได้ครบตามทีก่ ำ� หนดไว้ ทางคณะวิทยาศาสตร์ได้เตรียมรางวัลให้กบั ผูพ้ ชิ ติ ขุมทรัพย์ไว้มากมาย ฟังอย่างนีแ้ ล้วต้องชวนเพือ่ นๆ มาร่วมสนุกกันเยอะๆ นะคะ ซึ่งในทุกกิจกรรมจะมีพี่นกั ศึกษาคอยให้ความรู้กับน้องๆ อย่างเต็มที่ค่ะ ส�ำหรับผูท้ กี่ ำ� ลังมีขอ้ สงสัยว่า คณะวิทยาศาสตร์จะจัดกิจกรรมเหมือนเดิม ซ�ำ้ ๆ อีกหรือเปล่าน๊า?...ต้องขออธิบาย นะคะว่า พวกเราพยายามจะเปลีย่ นแปลงกิจกรรมไปในทุกปีคะ่ มากบ้างน้อยบ้าง บางกิจกรรมก็ตอ้ งคงไว้เพราะเป็นภารกิจ หลักของแต่ละภาควิชาค่ะ แต่รับรองว่าจะมีกิจกรรมที่สนุกๆ และน่าสนใจเปลี่ยนแปลงไปทุกปีค่ะ และน้องๆ นักเรียนก็จะ ได้ลงมือท�ำกิจกรรมด้วยตัวเองมากขึ้นค่ะ จึงอยากขอเชิญนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และประชาชนทั่วไปที่สนใจใน วิทยาศาสตร์มาร่วมงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ในปีนกี้ ันเยอะๆ นะคะ มาชม มาทดลอง มาให้ก�ำลังใจพี่ๆ นักศึกษา และให้ ค�ำแนะน�ำติชมเราได้คะ่ ซึง่ ทางคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้นำ� ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงให้กจิ กรรม ดีๆ อย่างนีด้ ีขึ้นเรื่อยๆ ค่ะแล้วเจอกันในงานนะคะ!!”

www.sc.psu.ac.th 4

น้องๆ นักเรียนและผู ้สนใจสามารถดู ข้อมู ล งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 2554 เพิ่มเติมได้ที่ http://www.sc.psu.ac.th/specialevent/sciweek54/


ร ต ู ส ก ั ล ห ำ�

แนะน

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ชื่อปริญญา :วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ), วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ)

โครงสร้างหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 127 ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 1) กลุ่มวิชาภาษา 12 2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 10 3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 8 ข. หมวดวิชาเฉพาะ 91 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 15 2) กลุ่มวิชาบังคับ 67 3) กลุ่มวิชาเลือก 9 ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6

โอกาสการท�ำงาน หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและ ชีวสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ดังนี้

1. ปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณฑิ ต สาขาวิ ช าชี ว วิ ท ยาโมเลกุ ล และชี ว สารสนเทศ, ปร.ด. (ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ) Ph.D. (Molecular Biology and Bioinformatics) 2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีว สารสนเทศ, วท.ม. (ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ) M.Sc. (Molecular Biology and Bioinformatics) หลักสูตรชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศเป็นหลักสูตรสหสาขา ศึกษาความรู้ใหม่เชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนางานด้านชีวสารสนเทศ • ชีววิทยาโมเลกุล (Molecular Biology) คืออะไร : Watson and Crick ค้นพบ โครงสร้างของสารพันธุกรรมในปี 1953 ในเวลาต่อมามีการค้นพบวิธตี ดั ต่อดีเอ็นเอ ตัดต่อยีน เพิ่มจ�ำนวนดีแอ็นเอ หรือยีนในหลอดทดลอง และการถ่ายโอนยีนจาก สิ่งมีชีวิตชนิดหนึง่ ไปยังอีกชนิดหนึง่ ปัจจุบันเทคนิคพันธุวิศวกรรมได้ถูกน�ำไปใช้ ประโยชน์ทั้งทางการแพทย์ เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม และนอกจาก 3 ด้าน หลักนี้แล้ว งานทางด้านสิ่งแวดล้อม การศึกษาประชากรของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ใน ระบบนิเวศก็เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ทางพันธุวิศวกรรมศาสตร์และชีววิทยา

สถานที่ติดต่อ ส�ำนักงานภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ

คณะวิทยาศาสตร์ั้น 3 อาคารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตู้ ปณ 3 คอหงส์ หาดใหญ่ สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428 8381,0-7428 8117

สามารถท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง เช่น โรงงานผลิตถุงมือ ยาง โรงงาน อาหาร แช่แข็งโรงงานอาหารกระป๋อง หรือท�ำงานหน่วย งาน วิเคราะห์วจิ ยั ของรัฐบาล เช่น มหาวิทยาลัย กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงพยาบาล อื่นๆ หรือประกอบธุรกิจส่วนตัว

โอกาสทางการศึกษา

> หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ > หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและ ชีวสารสนเทศ > หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและ ชีวสารสนเทศ > สามารถศึกษาต่อได้ในระดับปริญญาโทและเอก ทางด้านชีววิทยา ชีวเคมี และ จุลชีววิทยาของมหาวิทยาลัยรัฐบาลและเอกชน > ปริญญาโท – เอก สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาพันธุวิศวกรรม สาขาชีววิทยาโมเลกุล และชีวสารสนเทศ และทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง โมเลกุลเข้าไปช่วยในบางส่วน และในปลายศตวรรษที่ผ่านมาก็ได้ก้าวหน้าไปจนถึง ขั้นการศึกษาจีโนมมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ • ชวี สารสนเทศ (Bioinformatics) คืออะไร : ต่อจากยุคทีเ่ ทคนิคพันธุวศิ วกรรมศาสตร์ เฟื่องฟู ก็ตามมาด้วยชีวสารสนเทศ (Bioinformatics) ชีวสารสนเทศเป็นศาสตร์ที่เกิด จากการผสมผสานระหว่างองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพกับความก้าวหน้า ด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญที่จะเปลี่ยนโฉมหน้างาน วิจัยด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพจากแบบเดิม ชีวสารสนเทศก�ำลังจะเป็นเครื่องมือ ส�ำคัญในงานวิจัยวิทยาศาสตร์ชีวภาพในยุคหลัง จีโนม (post-genomics research) ซึง่ เป็นยุคทีต่ อ้ งอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์และ algorithms หลาก หลายในการค้นหา (search) หรือน�ำข้อมูลเฉพาะทีต่ ้องการ (retrieve) จากฐานข้อมูล (databases) มาท�ำการวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิด ขึ้นในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ในเซลล์ สามารถคาด เดาโครงสร้างของโปรตีน เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของ โปรตีน การค้นหาโปรตีนทีเ่ ป็นของยา และเข้าใจกระบวนการทีท่ ำ� ให้เกิดโรค เป็นต้น ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ความก้าวหน้าด้านคอมพิวเตอร์ได้ส่งผลให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างมากต่อกระบวนทัศน์ของการวิจยั วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ (paradigm shift) จะเห็นได้วา่ คอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาให้มีความเร็วสูงขึ้น มีหน่วยความจ�ำทีม่ ากขึน้ และมีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลในระดับใหญ่จนถึง ใหญ่มาก เพื่อรองรับความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งมีทั้งจ�ำนวน และความซับซ้อนมาก ข้อมูลเหล่านี้เก็บรวบรวมไว้ในฐานข้อมูล (databases) ต่าง ๆ งานวิจัยต่อจากนีจ้ �ำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อน�ำข้อมูลที่มี อยู่แล้วในฐานข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5 www.sc.psu.ac.th


ตร์ ส า ศ า ะวิทย ถ่ายทอด ณ ค ว ข่า เป็นสื่อ จ แ ล ะ จึงขอ ป ร ะ ทั บ ใ กบาง า ม ารณ์จา าร ว ค เมื่อช่วงเดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม 2554 คณะวิทยาศาสตร์ ได้ส่งคณาจารย์และนักศึกษา 3 กลุ่มคือ กลุ่มจากภาค สบก รว่ มโครงก ะ ร ป วิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มภาควิชาชีววิทยา และ ภาควิชาเคมีเดินทางพร้อมกับภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ รวมทั้ง ทเี่ ขา้ ทราบค่ะ น ่ า ท สิ้น 13 คน เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนภายใต้ความร่วมมือ (MoU) กับ University of Novi Sad สาธารณรัฐเซอร์เบีย ประจ�ำ ้รับ ห ใ า ม ้ ี น ปี 2554 เพื่อศึกษา ดูงาน แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับงานวิชาการ วิจัย ณ ห้องปฏิบัติการและวิจัยภาคสนามของภาควิชาชีววิทยา

คุยกับคนเก่ง

กลุ่มภาควิชาเคมีเดินทางพร้อมกับภาค วิชาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวัสดุ ผู้ร่วมเดินทางจากลุ่มนี้มีจ�ำนวน 3 คน ประกอบด้วย รศ.ดร. วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี และ รศ.ดร. วราภรณ์ ตันรัตนกุล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีวัสดุและนางสาวฤดี จรัสโรจน์ก�ำจร นักศึกษาปริญญา โท สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ ภาควิชาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ

กลุ่มสาขาวิชาชีววิทยา

อาจารย์ของภาควิชาชีววิทยา จ�ำนวน 2 คน ได้แก่ อาจารย์จารุวรรณ มะยะกูล และ ดร.นาวี หนุนอนันต์ และ นักศึกษาปริญญาตรี จ�ำนวน 5 คน ได้แก่ นายสมภพ แซ่เฮง นางสาวสิรธิ ร ก้งเส้ง นางสาวณัฐธยาน์ ตันติภิรมย์ นางสาวนิฟารีดา เสมอภพ และนายมรรษภูมิ เดช เจริญ ได้เดินทางไปวิจัยภาคสนามภายใต้โครงการ ดังกล่าว ซึ่งนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถโอน หน่วยกิตในรายวิชาชีววิทยาภาคสนามอีกด้วย โดยดร.นาวี หนุน อนันต์ ได้ ก ล่ า วถึ ง สิ่ ง ที่ นักศึกษาภาคชีววิทยาได้รบั จากการเข้าร่วมโครงการ นี้ว่า “นักศึกษาของเราจะได้ฝึกงาน ณ ห้องปฏิบัติ การและเรี ย นรู ้ ฝ ึ ก ฝนในภาคสนามของภาควิ ช า ชีววิทยาและนิเวศวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ University of Novi Sad ประเทศสาธารณรัฐเซอร์เบีย ท�ำให้ ได้ เรี ย นรู ้ แ ละปฏิ บั ติ ง านในระบบนิ เวศซึ่ ง มี อ งค์ ประกอบของสิง่ มีชวี ติ และสิง่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ แตกต่างจาก ระบบนิเวศซึ่งพบในประเทศไทย รวมทั้งการฝึกฝน ด้านทักษะภาษาอังกฤษในการพูดคุย ซักถาม และ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นทางวิชาการกับอาจารย์และ นักศึกษาต่างประเทศ” ส่ ว นอาจารย์ จ ารุ ว รรณ ได้ ก ล่ า วถึ ง ความ สามารถระหว่างนักศึกษาของ คณะวิทยาศาสตร์ University of Novi Sad กับคณะวิทยาศาสตร์ของเรา ว่า “หากให้เปรียบเทียบความสามารถของนักศึกษา ของทั้งสองประเทศ คงจะเปรียบเทียบค่อนข้างยาก

www.sc.psu.ac.th 6

กลุ่มสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ผศ.ดร.ลัดดา ปรีชาวีร กุลและอาจารย์ปรีชา วงศ์หริ ญ ั เดชา อาจารย์ประจ�ำภาค วิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เดินทางพร้อมกับคุณเชา วนันท์ ขุนด�ำ นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งคุณเชาวนันท์ ได้เล่าเกี่ยวกับ การเข้าร่วมและสิง่ ทีไ่ ด้รบั จากโครงการฯ นีว้ า่ “เนือ่ งจาก เป็นการเดินทางไปต่างประเทศครั้งแรกในชีวิต จึงค่อน ข้างตื่นเต้นและคาดหวังว่าจะได้รับประสบการณ์การใช้ ชีวติ ในต่างประเทศ การท�ำวิจยั และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการสือ่ สาร เพือ่ เป็นแนวทางในการศึกษาต่อในอนาคต ซึ่งเมื่อเดินทางไปที่เซอร์เบียจึงได้ทราบถึงชีวิตความเป็น อยู่ รูปแบบการเรียนการศึกษาในต่างประเทศซึง่ แตกต่าง จากบ้านเรา ซึ่งช่วยให้สามารถเตรียมตัวและปรับตัวใน การศึกษาต่อในอนาคตได้เป็นอย่างดี”

เพราะต่างกันตรงระบบการเรียนการสอน แต่หากจะถาม ถึงความสามารถของนักศึกษาของเรา ก็อยากจะบอกว่า นักศึกษาของเรามีความสามารถทัดเทียมกับนักศึกษา ต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นทางด้านวิชาการ และทางด้าน ภาษา รวมถึงความเป็นผูน้ ำ� นักศึกษาของเราไม่เป็นรอง ใคร แน่นอนคะ” นายสมภพ ได้ เป็ นตั ว แทนนัก ศึ ก ษาภาควิ ช า ชีววิทยากล่าวถึงความประทับใจที่ได้จากการไปฝึกงาน ในห้องปฏิบัติการละอองเรณู และการได้ท�ำวิจัยภาค สนามว่ า “อาจารย์ แ ละพี่ ๆ ของ Novi Sad Universityใจดีมากครับ บรรยากาศภายในห้องแลปส่วน ใหญ่จะมีตน้ ไม้ประดับไว้เยอะ ท�ำให้เวลาท�ำแลปจะรูส้ กึ

สดชื่นอยู่เสมอ และเครื่องมือที่ใช้ก็ทันสมัย ซึ่งใช้กัน อยู่ทั่วไปในประเทศแถบยุโรป ส่วนที่ได้ท�ำวิจัยภาค สนาม (field trip) ผมและเพื่อนๆก็สนุกไปกับการเก็บ ตัวอย่างพืชและแมลง ท�ำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับ สังคมพืชและชนิดของแมลงในประเทศแถบยุโรปที่มี ความแตกต่างจากประเทศไทยมาก รู้สึกตื่นตาตื่นใจ มากครับ” และนักศึกษาปริญญาตรีภาคชีววิทยา ทั้ง 5 คน ยังได้รบั ประกาศนียบัตรการไปฝึกภาคสนามจาก ภาควิชาชีววิทยาและนิเวศวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ University of Novi Sad ภายหลังการฝึกภาคสนาม เสร็จสิ้นอีกด้วย


คณะวิทยาศาสตร์พบสื่อมวลชน ครั้งที่ 1

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 ที่ผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จัดโครงการ “คณะวิทยาศาสตร์พบสื่อมวลชน ครั้งที่ 1” ขึ้น ณ ห้องสัมมนา คณะวิทยาศาสตร์ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ความรู้และการบริการ วิชาการสู่ชุมชนของคณะวิทยาศาสตร์ไปสู่ประชาชนผ่านช่องทางของสื่อมวลชน โดยการน�ำเสนอผลงานวิจัยเด่นๆ ของคณะฯ ทั้งสิ้น 35 ผลงาน แบ่งเป็นผลงาน ทีน่ ำ� เสนอแบบบรรยาย จ�ำนวน 11 ผลงาน ผลงานทีน่ ำ� เสนอแบบโปสเตอร์ จ�ำนวน 14 ผลงานและผลงานที่น�ำเสนอแบบชิ้นผลงาน อีก 10 ผลงาน ซึ่งได้รับความ สนใจจากนักวิจัยและสื่อมวลชนเข้าร่วมโครงการกว่า 90 คน

วันแรกพบวิทย์ ม.อ. 54

เมื่ อ วั นที่ 30 พฤษภาคม 2554 คณะวิ ท ยาศาสตร์ จั ด กิจกรรม “พบผู้ปกครอง วันแรก พบวิทย์ ม.อ. ประจ�ำปีการศึกษา 2554” ซึ่งถือเป็นโอกาสอันดีที่ผู้ ปกครองนั ก ศึ ก ษาใหม่ ค ณะ วิทยาศาสตร์ ได้พบปะกับผูบ้ ริหาร คณาจารย์ ของคณะวิทยาศาสตร์ รวมทั้ ง ได้ ท ราบข้ อ มู ล ด้ า นการ เรี ย นการสอนและการวิ จั ย ของ คณะวิทยาศาสตร์ อีกทัง้ ยังได้เป็น จุดเริม่ ต้นทีด่ ี ในการดูแลนักศึกษา ใหม่ร่วมกัน เพื่อให้บุตรหลานของ ผู้ปกครองทุกท่านได้ใช้ชีวิตและ เล่าเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย อย่าง ประสบความส�ำเร็จและมีความสุข

พิธีไหว้ครู(อาจารย์ใหญ่) ก่อนเริ่มปีการศึกษา 2554

เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2554 ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จัดพิธีไหว้ครู(อาจารย์ใหญ่)และพิธีขอขมา ต่อการใช้ร่างของอาจารย์ใหญ่ ณ ห้อง NML 201 คณะ วิทยาศาสตร์ โดยมีนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ จ�ำนวนกว่า 100 คน เข้าร่วมพิธี

กิจกรรมต้อนรับน้องใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2554

สโมสรนัก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ จั ด กิ จ กรรม ต้อนรับน้องใหม่ที่เข้าสู่รั่วคณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2554 มากมาย ได้แก่ กิจกรรมต้อนรับบานบุรี กิจกรรม ประชุมเชียร์ กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรม Walk Rally สาน สัมพันธ์น้องพี่ ซึ่งแต่ละกิจกรรมจัดขึ้นเพื่อปลูกฝังความรัก ความสามัคคี และความภาคภูมิใจที่ได้เข้ามาอยู่ในรั่ว บานบุรี ที่ชื่อ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์

7 www.sc.psu.ac.th


เชิญทุกท่านเข้าร่วม

“งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2554” ระหว่างวันที่ 15 – 18 สิงหาคม 2554 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อ่านต่อหน้า 4

สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ จัด การประชุม นานาชาติด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติครั้งที่ 1 (1st International Congress on Natural Products) ขึ้ น ระหว่ า งวั นที่ 17-18 ตุ ล าคม 2554 ณ เขาหลั ก เอมเมอร์รัล บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดพังงา ซึ่งจะมีประเด็นส�ำคัญเกี่ยว กั บ เคมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ฤทธิ์ ท างชี ว ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล อาหารเสริมสุขภาพและการใช้อาหารเป็นยา และยาแผนโบราณ ผู้สนใจเข้าร่วมงานสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ HYPERLINK “ http://portal.in.th/nprc หรือ ” http://portal.in.th/nprc หรือ สถานวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ โทรศัพท์ 0 7428 8340

ภาควิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ นทร์ จั ด การประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ เ กี่ ย วกั บ มด ครั้ ง ที่ 8 (8th International Conference on Ants) ขึ้นระหว่างวันที่ 17-21 ตุลาคม 2554 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้สนใจเข้าร่วมงาน สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.entom-psu.com

ตู้ ปณ.3 คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7428-8022, 0-7428-8008

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ 9/2524 ปท.ฝ. คอหงส์

(นายไพบูลย์ เตียวจ�ำเริญ) หัวหน้าหน่วยสารบรรณ

Design by blueimage 0-7446-4401

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.