โครงการลาดกระบังกําลังดี สนับสนุนโดย สํ านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.) ร่ วมกับโครงการสุ ขแท้ ด้วยปัญญา เครือข่ ายพุทธิกา หลักการและเหตุผล : ลาดกระบังเป็ นพืน้ ทีช่ านเมืองชัน้ นอกทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เขตกรุงเทพตะวันออก มีพน้ื ทีใ่ หญ่เป็ นอันดับที่ 2 รองจากเขต หนองจอก จากทัง้ หมด 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็ นพืน้ ทีร่ อยต่อชนบท (Rural-urban Fringe) ทีม่ ี ลักษณะกํ้ากึง่ ระหว่างความเป็ นชุมชนเมือง (Urbanization) และการพัฒนาทีย่ งั คงสภาพพืน้ ทีช่ ุมชนเกษตรกรรมเดิมเอาไว้ ด้วย จากการสืบค้นข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์ในช่วง 100 กว่าปีทผ่ี า่ นมา ทําให้ทราบว่าเดิมท้องทีท่ เ่ี รียกว่าลาดกระบังนัน้ บางส่วนเคยอยูใ่ นความปกครองของเมืองนครเขือ่ นขันธ์ (ปจั จุบนั เป็ นอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ) ต่อมาได้ นับลาดกระบังเป็ นส่วนหนึ่งของท้องทุง่ อําเภอแสนแสบ ขึน้ ในความปกครองของจังหวัดมีนบุร ี และผ่านการเปลีย่ นฐานะมา อีกหลายครัง้ จนกระทังเป็ ่ นเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เมือ่ ปี พ.ศ.2521 สภาพพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เคยเป็ นทีร่ าบลุม่ แอ่ง กระทะทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยเวิง้ ทุ่งและระบบนิเวศปา่ นํ้าจืด การรวมกลุม่ เป็ นชุมชนในลาดกระบังได้เริม่ ต้น อย่างมีพฒ ั นาการทีช่ ดั เจน ภายหลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงโปรดเกล้าฯให้มกี ารขุดคลอง ต่อเนื่องจากคลองพระโขนงไปเชื่อมกับคลองด่าน ออกสูแ่ ม่น้ําบางปะกงใน จ.ฉะเชิงเทรา ซึง่ เริม่ ขุดตัง้ แต่ พ.ศ.2421 แล้ว เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2423 มีความยาวทัง้ สิน้ 46 กิโลเมตร โดยมีพระราชประสงค์เพื่อขยายพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและการ คมนาคม และทรงพระราชทานเงินร่วมกับเหล่าพสกนิกรเพือ่ สมทบเป็ นค่าขุดคลอง จากนัน้ ได้ทรงพระราชทานนามให้ คล้องจองกับคลองนครเนื่องเขตว่า "ประเวศบุรรี มย์" ซึง่ ได้สร้างคุณประโยชน์สบื เนื่องให้พน้ื ทีแ่ ถบนี้มแี หล่งนํ้าที่ เอือ้ อํานวยต่อวิถเี กษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกข้าวนาปรังทีพ่ ง่ึ พาระบบชลประทานจากคูคลองสาขาต่างๆทีเ่ ชื่อมโยงกัน กว่า 40 สาย จึงเกิดวิถชี วี ติ ท้องถิน่ และมรดกวัฒนธรรมทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชุมชนต่างๆมาช้านาน อาทิ ย่าน ตลาดค้าขายและเรือนแถวไม้รมิ นํ้าของชุมชนเชือ้ สายจีน หมูบ่ า้ นชุมชนเชือ้ สายมอญทีม่ วี ถิ อี าศัยทํากินเกีย่ วโยงกับแหล่ง นํ้า การอยูร่ ว่ มชุมชนเดียวกันของพีน่ ้องไทยพุทธและมุสลิม พัฒนาการของระบบคมนาคมทีเ่ ชื่อมต่อเนื่องกัน รวมทัง้ ภูม ิ ปญั ญาเกษตรกรรม งานช่างและอาหารการกินทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ เหล่านี้เป็ นหลักฐานบางส่วนทีส่ อ่ื สะท้อนถึงความผูกพันสอดคล้องกับทรัพยากรในชุมชนและเชื่อมโยงกับผูค้ นในต่างพืน้ ที่ มีการปรับตัวอยูอ่ าศัยแบบพึง่ พา กันในทางสังคมและเศรษฐกิจ ผูค้ นจากรุน่ สูร่ นุ่ ได้สร้างสรรค์และส่งผ่านภูมิทศั น์ วฒ ั นธรรมทีม่ คี ุณค่าจากต้นทุนที่ หลากหลาย ซึง่ อาจจะเลือนหายไปจากการรับรูข้ องยุคสมัย ปัจจุบนั -ลาดกระบังมีวิวฒั นาการภายใต้แรงผลักของนโยบายพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นการเจริ ญเติบโตด้านเศรษฐกิจเป็ น หลัก เกิดการลงทุนพัฒนาที่ดินเพื่อสร้างที่อยูอ่ าศัยและการประกอบพานิชยกรรมมากขึ้น รวมทั้งโครงการสาธารณูปโภค พื้นฐานต่างๆ ตามแนวโน้มการขยายตัวของชุมชนเมืองที่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ ว ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็ นผลสื บเนื่องจากโครงการ ขนาดใหญ่ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังและท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ที่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทาง เศรษฐกิจและสังคมของคนในพื้นที่ โดยเฉพาะการเปลี่ยนอาชีพจากภาคการเกษตรไปสู่ ภาคอุตสาหกรรม งานบริ การและธุรกิจ ค้าขาย ทําให้เกิดการเดินทางย้ายถิ่นเพื่อสร้างรายได้ รวมทั้งประชากรแฝงในภาคแรงงานต่างถิ่นและผูท้ ี่ยา้ ยเข้ามาอาศัยอยูท่ ้ งั แบบชัว่ คราวและถาวร ความเป็ นชุมชนจึงลดลงเพราะมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมน้อย ความเสี่ ยงภัยในพื้นที่สาธารณะและมลภาวะ ในสภาพแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ความขัดแย้งของกระแสลัทธิทางการเมือง ก็ลว้ นมีผลต่อการรับรู้และละเลยความเข้าใจ ในคุณค่าทรัพยากรวัฒนธรรมในท้องถิ่น
จากแนวโน้มที่สมาชิกในชุมชนจะต้องเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อสุ ขภาวะในการดําเนินชีวติ อย่าง ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ความตื่นตัวในการติดตามข้อมูลข่าวสารรอบด้านและการได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับพื้นที่อาศัยของตนเองในมิติที่ แตกต่างนั้น จะช่วยจูงใจให้คนพื้นถิ่นและผูท้ ี่ยา้ ยเข้ามาใหม่ เข้าใจภูมิหลังและเคารพสิ ทธิกนั มากขึ้น ตระหนักในปั ญหาร่ วมกัน และสร้างภูมิคุม้ กัน ของชุมชนด้วยการสื่ อสารแลกเปลี่ยนอันเป็ นประโยชน์ รวมทั้งสามารถใช้องค์ความรู ้ช่วยจัดการปัญหา อย่างมีส่วนร่ วมและสร้างสรรค์ได้ ท่ามกลางอิทธิพลทางความคิดจากสื่ อกระแสหลักและพลังของสื่ อใหม่ที่มีลกั ษณะแบบ หลอมรวม (Convergence) ทางคณะดําเนินโครงการได้เรี ยนรู้จากประสบการณ์งานจัดการความรู้เชิงสังคมและบูรณาการวิชาการสู่ ชุมชน จึงเล็งเห็น ความสําคัญของสื่ อที่สร้างขึ้นโดยชุมชนเพื่อชุมชน บนพื้นฐานความต้องการมีส่วนร่ วมพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองในแนวทางที่ สร้างสรรค์ โดยอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมสื่ อชุมชนที่จะช่วยถอดประสบการณ์ สร้างความรับรู้ความเข้าใจในพัฒนาการ ทางภูมิทศั น์วฒั นธรรมของชุมชนในเขตลาดกระบังและพื้นที่ใกล้เคียง สร้างทัศนคติเชิงบวกเพื่อนําไปสู่วสิ ัยทัศน์ใหม่ที่ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสร้างสรรค์ของชุมชนนั้น ซึ่ งเป็ นกระบวนการที่ตอ้ งพึ่งพาเครื อข่ายทางสังคมในการจัดการเรี ยนรู้ดา้ น ท้ องถิ่นศึกษาที่แต่ละชุมชนล้วนมีตน้ ทุนทรัพยากรหลากหลายและใช้กลไกการดํารงรักษาที่แตกต่างกัน การเสริ มสร้างให้ชุมชนมีสุขภาวะทางความคิดได้อย่างยัง่ ยืน ต้องเริ่ มต้นจากเยาวชนซึ่ งเป็ นต้นทุนมีชีวติ และมีบทบาท ฟื้ นฟูพฒั นาสังคมได้ต้ งั แต่วนั นี้ ไปจนถึงอนาคต ด้วยการสร้างพื้นที่ให้เยาวชนได้มีส่วนร่ วมจัดการความรู ้ผา่ นการผลิตสื่ อเก่า และสื่ อใหม่ เกี่ยวกับวิถีวฒั นธรรมที่ก่อร่ างจากบริ บทภายในท้องถิ่นและอิทธิ พลของกระแสโลกาภิวตั น์ สื บค้นประวัติศาสตร์ เพื่อเชื่อมโยงผูค้ นและบ้านเมือง สํารวจทรัพยากรในชุมชนที่มีคุณค่าและเป็ นต้นทุนชีวิตสร้างสรรค์ สอดคล้องกับสถานการณ์ สังคม ทั้งนี้ กระบวนการดังกล่าวมีเป้ าหมายให้เยาวชนเกิดความเข้าใจ มีสาํ นึกรักและภูมิใจในวิถีทอ้ งถิ่น สามารถเรี ยนรู้ แลกเปลี่ยนและแสดงออกทางความรู้สึกนึกคิด พร้อมมีส่วนร่ วมในการทําประโยชน์ต่อผูอ้ ื่นตามพื้นฐานและทักษะ ความสามารถของตนเอง โดยโครงการลาดกระบังกําลังดี จะเน้นสร้างความร่ วมมือกันระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ภาค การศึกษาในพื้นที่ สมาชิกในชุมชน ภาคีหนุนเสริ มต่างๆและผูท้ ี่สนใจทัว่ ไป เพื่อให้การพัฒนาศักยภาพแกนนําเยาวชนใน รู ปแบบ ‘สื่ ออาสา’ สามารถเป็ นอีกหนึ่งทางเลือกในการบูรณาการท้องถิ่นศึกษากับการสร้างสุ ขภาวะในชีวิตประจําวันของทุก คนในชุมชน วัตถุประสงค์ ของโครงการ : 1. เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีทกั ษะความคิดและจิตสาธารณะที่เท่าทันสถานการณ์ สร้างประโยชน์ต่อชุมชนและตนเองได้อย่างมี ความสุ ข 2. เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนมีส่วนร่ วมจัดการความรู้ทางภูมิทศั น์วฒั นธรรมชุมชนสู่ การใช้สื่อเผยแพร่ ในรู ปแบบสร้างสรรค์ 3. เพื่อสร้างพื้นที่ทางสังคมด้านการสื่ อสารความรู้ความคิดเห็น และเสริ มสร้างชุมชนสัมพันธ์ในวิถีทางประชาธิปไตย กลุ่มเป้ าหมาย / ผู้เข้ าร่ วมโครงการ ประเภทกลุ่มเป้ าหมาย : เยาวชน อายุ 15-22 ปี ผูเ้ ข้าร่ วมหลัก : นักเรี ยนและนักศึกษาที่อยูใ่ นพื้นที่เขตลาดกระบัง 40 คน ผูเ้ ข้าร่ วมรอง : ครู อาจารย์จากสถานศึกษาในพื้นที่เขตลาดกระบัง เจ้าหน้าที่จากองค์กรท้องถิ่น ตัวแทนชุมชนท้องถิ่น อาสาสมัคร เครื อข่ายสังคมออนไลน์ ระยะเวลา และสถานทีจ่ ัดกิจกรรม กรกฎาคม - ธันวาคม พ.ศ.2555 พื้นที่เรี ยนรู้ภายในชุมชน เขตลาดกระบัง กรุ งเทพมหานคร
แผนการดําเนินงาน 1.สื่ อประชาสั มพันธ์ ชุ ด ‘ลาดกระบังกําลังดี’ รู ปแบบ : ผลิตและเผยแพร่ สื่อประชาสัมพันธ์ในรู ปแบบวีดีโอสารคดีบนั เทิง ความยาว 1-2 นาที จํานวน 3 ชุด เพื่อสื่ อแนวคิด หลักของโครงการและเชื่อมโยงกับการรับรู้ในชีวติ ประจําวัน ดังนี้ 1.1 บันทึกความทรงจําของคนท้องถิ่น 1.2 ทัศนคติแห่งความสุ ขที่เป็ นพื้นฐานการดําเนินงานของโครงการ 1.3 ภูมิทศั น์วฒั นธรรมภายในชุมชน 2.ค่ ายพัฒนาแกนนําเยาวชน ‘สื่ ออาสา’ รู ปแบบ : พัฒนาศักยภาพเยาวชน ผ่านกระบวนการค่าย จํานวน 2 วัน 2.1 เปิ ดรับสมัครและคัดเลือกแกนนําเยาวชนที่อยูภ่ ายในพื้นที่ครอบคลุมชุมชนทั้ง 6 แขวง ในเขตลาดกระบัง โดยเยาวชนเป็ นผู้ ที่มีความสนใจ ความถนัดในการสร้างสื่ อหรื อมีวชิ าเรี ยนที่เกี่ยวข้องอยูแ่ ล้ว และมีความตระหนักต่อปัญหารอบตัว 2.2 ชุดกิจกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ตนเองและกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ให้ผเู้ ข้าร่ วมสามารถเชื่อมโยงตัวเองกับสังคม 2.3 เรี ยนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ เพื่อความเข้าใจท้องถิ่นอย่างมีมิติหลากหลายและปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้ 2.4 สร้างความรู้ความเข้าใจในภูมิทศั น์วฒั นธรรมท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่ วม ผ่านประสบการณ์ชุมชนของผูใ้ หญ่ใจดี โดยใช้สื่อ และงานศิลปะช่วยอํานวยการเรี ยนรู้ตลอดกระบวนการ 3.สื่ อ สาน ชุ มชน รู ปแบบ : ผลิตสื่ อด้วยวิธีเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิ (Action Learning) โดยเลือกรู ปแบบนําเสนอตามความสนใจ ให้ขอ้ มูลที่ ถูกต้อง สร้างจินตนาการและประยุกต์กบั สุ นทรี ยะในวัฒนธรรมร่ วมสมัย ซึ่ งเผยแพร่ ขา้ มสื่ อได้ท้ งั ออนไลน์และออฟไลน์ ได้แก่ -งานเขียนประเภทบันเทิงคดีและประเภทสารคดี ได้แก่ บันทึกบทสัมภาษณ์ ความเรี ยง บทความ เรื่ องเล่า และเรื่ องแต่ง -ภาพถ่ายสร้างสรรค์และภาพถ่ายสื่ อความหมายเชิงสารคดี ได้แก่ ความเรี ยงภาพ(Photo essay) และDear Photography -สื่ อข้อมูลเชิงทัศนศิลป์ (Infographics) และการอธิบายด้วยภาพประกอบ (Illustrations) -คลิปวีดีโอรณรงค์ -วารสารเสริ มสร้างทัศนคติแห่งความสุ ขและถอดบทเรี ยนโครงการ 3.1 วิทยากรที่มีประสบการณ์ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้และให้การปรึ กษาตลอดกระบวนการผลิต 3.2 สร้างทักษะชุมชนสัมพันธ์ควบคู่การจัดการความรู้แบบมีส่วนร่ วม 3.3 เน้นการแลกเปลี่ยนทักษะประสบการณ์และหนุนเสริ มระหว่างกันบนฐานทรัพยากรบุคคลที่หลากหลาย 3.4 ใช้ขอ้ มูลความรู้ที่ได้จากการเรี ยนรู้ชุมชน เป็ นต้นทุนการผลิตงานสื่ อ 3.5 เผยแพร่ สื่อแบบกระจายเชิงพื้นที่ ไปยังองค์กรท้องถิ่น สถานศึกษา สถานที่สาธารณะของชุมชน จุดพบปะและร้านค้า รวมทั้งเครื อข่ายสังคมออนไลน์ 3.6 แบ่งปันประสบการณ์และเผยแพร่ ผลงานสื่ อผ่านเครื อข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อสร้างการรับรู้และการมีส่วนร่ วมแลกเปลี่ยน 4.ท้ องถิ่นศึกษา: ชานเมืองน่ าอยู่ รู ปแบบ : สํารวจ สื บค้น สร้างประสบการณ์และจัดการข้อมูล เพื่อสร้างชุดความรู้ความเข้าใจด้านพัฒนาการและสุ ขภาวะชุมชน 4.1 บูรณาการภาคีความร่ วมมือ เพื่อเข้าถึงและรวบรวมทรัพยากรทางประวัติศาสตร์ โดย -ผูร้ ู้ในชุมชน/สถานศึกษา ในบทบาทวิทยากร/ครู ภมู ิปัญญา (สื บค้นจากของเป็ น) -การสนับสนุนข้อมูลหลักฐานจากองค์กร/หน่วยงานและสมาชิกในชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งเครื อข่ายสังคมออนไลน์ (สื บค้นจากของตาย) 4.2 แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กบั ชุมชน ด้วยวิธีสาํ รวจศึกษาแบบสหวิทยาการ เพื่อรวบรวมข้อมูลและคัดเลือกประเด็นที่น่าสนใจ สามารถนําไปผลิตสื่ อสร้างชุมชนได้อย่างหลากหลายมีมิติ โดยเริ่ มต้นจากสิ่ งที่อยูใ่ กล้ตวั และท้าทายการรับรู ้เดิม
4.2.1 มรดกชุมชน -ค้นหาประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่นจากชื่อย่านและถนนหนซอย -รวบรวมบันทึกวันวานจากคําบอกเล่าของคนคุน้ คลอง ที่มีวถิ ีเกี่ยวคล้องมากับพัฒนาการทางสังคมของไทย -ค้นความเป็ นมา-หาความเป็ นอยูข่ องชุมชนหลากศาสนาแห่งอุษาคเนย์ ในเขตลาดกระบัง 4.2.2 ดัชนีความสุ ข -ตรวจสอบคุณภาพสิ่ งแวดล้อมชานเมืองด้วยการเรี ยนรู้ไลเคน นกและพืชในพื้นที่ชุ่มนํ้า -สุ ข(ภาวะ)ศึกษาในสถาปัตยกรรมเรื อนบ้านสถานที่ -เรี ยนรู้ตาํ รับของคาวหวานและความมัน่ คงทางอาหารในสถานการณ์โลก 4.3 ส่ งเสริ มทักษะทางวิทยาศาสตร์ในกระบวนการเรี ยนรู้และใช้ประสบการณ์ทางศิลปะ (Art Appreciation) ถอดบทเรี ยน หลังกิจกรรม 4.4 เปิ ดรับอาสาสมัครในลักษณะ “เอาแรง” (Crowd sourcing) เพื่อมีส่วนร่ วมในการถอดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการสํารวจ สื บค้น 5.ชุ มชนจินตนาการ รู ปแบบ : จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เชิงรุ กในลักษณะจิตอาสา 5.1 ประสานความร่ วมมือกับภาคีภายในท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมและเผยแพร่ วารสารสู่ ชุมชน 5.2 กระบวนการเรี ยนรู้จิตอาสา “พาไปทํา” ที่เชื่อมโยงคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม ดังนี้ -เรี ยนรู้เศรษฐกิจสร้างสรรค์จากต้นทุนในชุมชน -สร้างชุมชนแห่งการเรี ยนรู้สู่ วสิ ัยทัศน์บา้ นเมือง -จัดกิจกรรมสร้างต้นแบบพื้นที่สร้างสรรค์ 5.3 เผยแพร่ กิจกรรมสู่ สาธารณะ 6.ถอดบทเรียนสื่ ออาสา รู ปแบบ : จัดประชุมสรุ ปแบบมีส่วนร่ วม ระหว่างคณะทํางานโครงการ เยาวชนกลุ่มเป้ าหมาย ตัวแทนสถานศึกษา ตัวแทน ชุมชน ตัวแทนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น อาสาสมัครและผูส้ ังเกตการณ์ จํานวน 1 ครั้ง 6.1 ประเมินและสรุ ปผลการดําเนินงานตลอดโครงการ เพื่อร่ วมกันสํารวจทบทวนปั ญหา อุปสรรค ปัจจัยหนุนเสริ ม ผลที่ได้รับ แนวทางจัดการปัญหาและบทเรี ยนที่ได้จากการเข้าร่ วมโครงการ 6.2 เปิ ดเวทีให้ผเู้ ข้าร่ วมประชุม รวมทั้งสมาชิกเครื อข่ายสังคมออนไลน์ได้แสดงความคิดเห็น สะท้อนความรู ้สึก แลกเปลี่ยน ข้อมูล ทัศนะและเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ 6.3 จัดทําเอกสารรายงานผลการดําเนินโครงการฉบับสมบูรณ์ 6.4 เผยแพร่ การถอดบทเรี ยนในสื่ อสังคมออนไลน์ที่มีสมาชิกติดตามมาตั้งแต่เริ่ มต้นโครงการ ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. ได้พฒั นารู ปแบบการจัดการความรู้เกี่ยวกับภูมิทศั น์วฒั นธรรมชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจในทรัพยากรท้องถิ่น 2. ได้ตน้ แบบสื่ อเพื่อชุมชนที่สามารถเผยแพร่ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพในลักษณะหลอมรวมสื่ อ 3. ได้สร้างเยาวชนที่มีทกั ษะเท่าทันสื่ อและการเปลี่ยนแปลงในสังคม มีความสุ ขและความพึงพอใจที่ได้อาสาฟื้ นฟูชุมชน 4. เกิดเครื อข่ายสังคมของภาคีความร่ วมมือในการฟื้ นฟูสุขภาวะที่ให้ความสําคัญกับการจัดพื้นที่เรี ยนรู้ในชุมชน
ทีป่ รึกษาโครงการ ดร.สมนึก จงมีวศิน ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอนันต์ธนา มงคลศิริ คณะทํางานโครงการ นายจํานง ยังรักษ์โรจน์กลุ นายรุ่ งโรจน์ เพชรบูรณิ น นส.ธนานันท์ แก้วจินดา นส.กฤติยา สมันตรัฐ นส.วสุ ภา หมัดสะและ ติดต่ อและประสานงาน: โครงการลาดกระบังกําลังดี 292 ถ.หลวงพรต แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กทม. 10520 โทร.08-8500-7441
inladkrabang@hotmail.com facebook.com/inladkrabang