Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
¢Ø¹·ÐàÅ
¢Ø¹·ÐàÅ Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
ชุมชนเหลานี้อาจจะไมมีหาดสีขาวทอดยาว ทะเลไมใสจัด แถมยังไมมีตลาดโบราณรอยป แตนอกเหนือจากความสุขในวันนี้แลว สิ่งที่พวกเขามีอีกแนๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราใหเปนไป แบบไหน ลองเดินตามเราเขาไปชมตัวอยางสาธิต ไดจากหนังสือที่มีคำนิยามแปลกๆ อยูสักหนอย ของหนังสือเลมนี้ เปน Healthy planet ที่บงบอกลักษณะสุขภาวะที่ดี ของชุมชน เปนสุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู เปนหนังสือทองเที่ยวเชิงเรียนรูวิธีการสรางความสุข ของคนในชุมชน
àÃ×èͧ: áʧ¨ÃÔ§ ÀÒ¾ : ͹ت ¹µÁصÔ
แสงจริง
ขุนทะเล โดย แสงจริง
3
Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ ขุนทะเล เรื่อง แสงจริง / ภาพ อนุช ยนตมุติ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-616-7374-05-5 บรรณาธิการอำนวยการ
ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ
สำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 0500 ต่อ 1707 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th พิมพ์ครั้งที่ 1
กรกฎาคม 2553
ดำเนินการผลิตโดย
เปนไท พับลัชชิ่ง โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com
คำนำ เมื่อไม่นานมานี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สักแห่ง เรามักจะมีจินตนาการด้านดีเกี่ยวกับสถานที่ที่ เรากำลังจ ะไป...ทะเลสฟี า้ ใส หาดทรายทอดยาวสขี าวจดั ภูเขาเขียวครึม้ ห มอกโรยเรีย่ ย อดไม้ อาหารทอ้ งถนิ่ ร สชาติ แปลกลิ้นแต่ถูกปาก ชาวบ้านจิตใจดีหาบคอนตะกร้า ฉีกยิ้มบริสุทธิ์ต้อนรับนักท่องเที่ยว ฯลฯ เมื่อเร็วๆ นี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สักแห่ง เรามักพกพาอารมณ์โหยหาอดีต ก่อนลงมือ ค้นหาข้อมูลพิกัดตำบลเป้าหมายที่จะพาเราพบ...อาคาร บ้านเรือนยุคคุณปู่คุณย่า ตลาดเก่าแก่ กาแฟโบราณ ของเล่นส งั กะสี ขนมกนิ เล่นห น้าต าเชยๆ แต่อ ร่อย เพราะ ปรุงแต่งด ้วยรสชาติอดีต ฯลฯ จินตนาการและความคาดหวังทำนองนี้ บางทีก็ สมดังใจ แต่หลายครั้งก็คลาดเคลื่อนไปจากภาพที่เคย คิดเอาไว้ คลาดเ คลื่ อ นเ พราะข้ อ เ ท็ จ จริ ง ห ลายป ระการ เปลี่ยนไป แล้วท กุ ว นั น ี้ เรายงั ม จี นิ ตนาการและอารมณ์ค วาม
รู้สึกชนิดใดอีก เมื่อคิดถึงการท่องเที่ยวศึกษาบ้านเมือง ของเราเอง ความจริงมีอยู่ว่า ปัจจุบันนี้ชุมชนทุกตำบลหย่อม ย่านในประเทศไทยลว้ นกำลังเปลีย่ นไป และกแ็ น่นอนวา่ ความเปลี่ยนแปลงที่ว่าน ี้ หาได้มีแต่ค วามหมายเชิงล บ หลายปี ที่ ผ่ า นม า ผู้ ค นใ นชุ ม ชุ น ร ะดั บ ต ำบล หลายต่อหลายแห่งในประเทศของเรา ได้อาศัยต้นทุน ทรัพยากรเดิมเท่าที่ชุมชนมี ผนวกกับอ อกแรงขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง สร้างสรรค์ชุมชนที่พวกเขาเป็นเจ้าของให้ เป็นชุมชนที่สามารถผลิตความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ป้อนกลับคืนสู่วิถีชีวิตของสมาชิกในชุมชนด้วยกันเอง คนเล็กคนน้อยเหล่านี้ลงมือทำมานาน หลายแห่ง ประสบความสำเร็จในระดับน ่าอิจฉา แต่เราจะอจิ ฉาได้อ ย่างไร ถ้าไม่ได้ไปสมั ผัสจ บั ต อ้ ง และมองเห็นด้วยตาร้อนๆ ของเราเอง ชุมชนเหล่านี้อาจจะไม่มีหาดสีขาวทอดยาว ทะเล ไม่ใสจัด แถมยังไม่มีตลาดโบราณร้อยปี แต่น อกเหนือจ ากความสขุ ในวนั น แี้ ล้ว สิง่ ท พี่ วกเขา มีอีกแน่ๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราให้เป็นไป แบบไหน ลองเดินตามเราเข้าไปชมตัวอย่างสาธิตได้จาก หนังสือเล่มน ี้ คณะผู้จัดทำ
สารบัญ นาฬิกาของขุนทะเล ดอกไม้ของขุนทะเล ขุนทะเลวิทยาลัย ประวัติศาสตร์ช ุมชน โฮมสเตย์ สเตย์โฮม ชา กาแฟ และขโมยเมื่อคืนนี้ ความพ่ายแพ้ของนายกฯ ธนาคารขุนทะเลชีวาสุขี เล่าประกอบภาพ ภาคผนวก ข้อมูลทั่วไปตำบลขุนทะเล
10 24 34 55 66 71 76 80 89 98
10 ขุนทะเล
01 นาฬิกาของขุนทะเล ความสุขคืออะไร ความสุขเกิดจากอะไร
แสงจริง
11
12 ขุนทะเล
ความสุขอยู่ที่ไหน เงินนำพาความสุขมาได้จ ริงหรือไม่ สถานีข นส่งส ายใต้เต็มไปดว้ ยผคู้ นสะพายกระเป๋า เดินท าง บางคนเดินท างคนเดียว บางคนมเี พือ่ นขา้ งกาย มีไม่น้อยที่เดินทางร่วมกับคนรักหรือครอบครัว พวกเขา อาจเป็นคนต่างจังหวัดที่กำลังจะกลับบ้านในวันหยุดสุด สัปดาห์
แสงจริง
กลับไปหาพ่อแม่พ ี่น้อง...กลับบ้าน ปลายทางตรงนั้น น่าจะมีความสุขรอพวกเขาอยู่ บางคนอาจกำลังเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเติมเต็ม ประสบการณ์ให้ต วั เอง ฉันน า่ จ ะจดั อ ยูใ่ นคนประเภทหลัง ฉันกับช่างภาพกำลังเดินทางไปขุนทะเล โจทย์ของการเดินทางท่องเที่ยวในคราวนี้ คือข้อความแรกในบรรทัดแรกสุดที่คุณเพิ่งผ่าน ตามา
13
14 ขุนทะเล
11 ชั่วโมงผ่านไป ตอนที่ พ ระอาทิ ต ย์ ค ลี่ ผ้ า ห่ ม ล ายด าวอ อกม า จากผืนฟ้าชื่อราตรี เราก็มายืนอยู่สถานีขนส่งจังหวัด นครศรีธรรมราช สอนไชยา ภู ดี ทิ พ ย์ นั ก วิ ช าการโ ครงการส ร้ า ง สุขภาวะตำบลขุนทะเล ในอีกฐานะหนึ่ง ‘เขยขุนทะเล’ จอดรถรอรับเราอยู่กับลูกชายวัย 9 ขวบ การเจอกันครั้งแรกของคนแปลกหน้า เชื่อเถิดว่า ร้อยทั้งร้อยหนีไม่พ้นกำแพงโปร่งแสง พวกเราก็เป็นเช่นนั้น
20 กิโลเมตรจากสถานีขนส่งเมืองนครศรีธรรมราช มีสองเส้นทางสามารถเดินทางไปตำบลขุนทะเล เส้นทางแรก วิ่งไปบนเส้นนคร-นาพรุเลี้ยวขวา ตรง 3 แยกตลาดนาพรุ ตรงมาเรื่อยๆ จะเจอ 4 แยก งานชลประทานล่าง ตรงไปจะเจอองค์การบริหารส่วน ตำบลขุนทะเล อีกเส้นท าง วิง่ ไปบนเส้นถ นนลานสกา-นาพรุ เลีย้ ว ซ้ายข้างสถานีตำรวจภูธรอำเภอลานสกา ตรงมาเรื่อยๆ จะเจอกับองค์การบริหารส่วนตำบลขุนทะเล ทั้งสองเส้นทางห่างจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช ประมาณ 20 กิโลเมตร ขุนท ะเล เป็นต ำบลหนึง่ ในอำเภอลานสกา จังหวัด
นครศรีธรรมราช เชื่อมติดกับอำเภอร่อนพิบูลย์ และ อำเภอพระพรหม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของที่ว่าการ อำเภอลานสกา ซึ่งห่างจากที่ว่าการอำเภอลานสกา ประมาณ 9 กิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 65 ต าราง กิโลเมตร หรือ 40,625 ไร่ ในร ถก ระบะ นั่ ง ม องส องข้ า งท างที่ มี ค ลอง ชลประทาน ต้นเงาะ ต้นมังคุด ต้นลางสาด ต้นยาง กองห มากต ากแ ดดบ นพื้ น วั ว ช นถู ก ผู ก ล่ า มไ ว้ กั บ เสาเหล็กท่ามกลางพระอาทิตย์ร ่าเริง “วัวชนครับ” สอนไชยาบอก “นี่เขาฝึกความอดทน ของวัวอยู่ เพราะเวลาเอาวัวไปชนมันจะได้ทน ตากแดด ฝึกความอดทนและรีดไขมัน” การชนววั เป็นว ฒ ั นธรรมพนื้ ถ นิ่ ข องภาคใต้ ฉันเคย อ่านเจอในเรื่องสั้นเรื่องหนึ่งของกนกพงศ์ สงสมพันธ์ุ นักเขียนรางวัลซไีรท์ผู้วายชนม์ เมื่อเจ้าของปล่อยวัวพ้น คอก วัวทั้งสองจะตรงรี่เข้าปะทะ และใช้เขาเสยเกยเขา ขาทั้งสี่ยืนหยัดสู้อย่างไม่ยอมถอย วัวที่นิยมใช้แข่งขันเป็นวัวที่มีรูปร่างบึกบึนกำยำ เขา หัวตัว และขาหน้า ต้องแข็งแรง เมื่อวิ่งเข้าป ะทะหัว ชนหัว เสียงสนั่น ต่างไม่ยอมถอย ชนกันจนกว่าฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งจะหมดแรง ใช้ลานดินที่กว้างและล้อมคอกไว้ เป็นสนามชนวัว
อ ภอล นสก 15 16
18 17
14
19 12 13
11
09 10
เขาลานสกา
08
02 21 01
20
อ ภอพระพรหม
03
07 06 05
04
ภอพระพรหม
á¼¹·Õè ͺµ.¢Ø¹·ÐàÅ 01 หลักการบริหารทองถิ่น (อบต.) 02 แผนแมบท 03 สถาบันการเงิน (หมู 10) 04 การจัดการสวนมังคุด (หมู 7) 05 กลุมอาชีพคนพิการเพาะเห็ด (หมู 6) 06 นกสวยงาม (หมู 6) 07 การเลี้ยงสุกรแบบครบวงจร (หมู 10) 08 รานน้ำชาแมเฒา 09 กลุมอาชีพคนพิการดอกไมดิน (หมู 3) 10 ตาขุนพล 11 บานสมุนไพร (หมู 2) 12 ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานศาลาขี้เหล็ก (หมู 11) 13 สวนสมรม (หมู 11) 14 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต (หมู 1) 15 นวดแผนไทย 16 ระบบเกษตรสุขภาวะ 17 โรงเรียนแกจน (หมู 9) 18 การปลูกพืชแซมในสวน 19 หลักสูตรสาระบานบาน โรงเรียนบานสำนักใหม (หมู 9) 20 กลุมเพาะเห็ดฮังการีและเห็ดหูหนู (หมู 8) 21 การผลิตน้ำยาอเนกประสงค (หมู 4)
18 ขุนทะเล
ในช่วงสุดท้ายของชีวิตนักเขียนผู้นี้ใช้ชีวิตเขียน หนังสืออยู่อำเภอพรหมคีรี และมักจะวิ่งออกกำลังขึ้น ไปยังน้ำตกกรุงชิง “เห็นเขาลูกนั้นมั้ย” สอนไชยาชี้ “น้ำตกกรุงชิง อยู่บนนั้น เส้นทางโหดมาก แต่พอขึ้นไปคุณจะหาย เหนื่อย” “คุณรู้จักก นกพงศ์ สงสมพันธุ์ไหม” ฉันถาม “เขาเป็นนักวิจัยเหรอครับ” สอนไชยาไม่รู้จักกนกพงศ์ แต่เขารู้จักช ีวิต ต้นไม้ ลำคลอง น้ำตก ถ้ำ ผู้คน ในขุนทะเลเป็นอย่างดี พื้นที่ส่วนใหญ่ในขุนทะเลเป็นที่ราบสลับพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาด อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เทือกเขา อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ มีค ลองชลประทานไหล ผ่านตลอดแนว ตำบลขุนทะเลมดี ินและน้ำดี สามารถทำ เกษตรได้หลากหลาย ไม่แปลกที่สองข้างทางเรียงรายด้วยมังคุด ทุเรียน เงาะ ลางสาด ลองกอง เพราะขนุ ท ะเลเป็นพ นื้ ทีท่ เี่ หมาะ กับการเพาะปลูกพืชทั้งไม้ผลและไม้ยืนต้น อีกทั้งพืช เศรษฐกิจอย่างยางพารา นอกจากนี้ชาวขุนทะเลยังมี อาชีพเลี้ยงสัตว์ เช่น สุกร และโคพื้นบ้าน
แสงจริง
19
20 ขุนทะเล
08.30 นาฬิกา รถกระบะเลีย้ ววงิ่ เลียบคลองชลประทานกอ่ นเลีย้ ว เข้ามาในรั้วเฟื่องฟ้า สอนไชยามาส่งเราที่โฮมสเตย์แห่งหนึ่ง “อาบน้ำอาบท่า กินข้าวกินปลาก่อนนะครับ เดี๋ยว ผมจะพาไปลงพื้นที่ทำงาน” สอนไชยาว่า “ไม่ต อ้ งเกรงใจ คิดว า่ เหมือนกลับม าเยีย่ มบา้ นเก่า” ลุงดนัย เกตจงกลเจ้าของบ้านต้อนรับ ป้าเฉลิมศรี เกตจงกล ภรรยาของลุงยืนยิ้มอยู่ หน้าบ้าน สอนไชยาเอ่ยถามสองเจ้าของบ้านว่าเก็บมังคุด ได้กี่กิโล ทั้งสองบอกพร้อมถามไถ่กันเรื่องราคามังคุด “ราคาขึ้นลงเหมือนหุ้น” สอนไชยาว่า “แล้วแ ต่ลิ้น พ่อค้าคนกลาง” ตอนทเ่ี รากำลังจ ะเข้าไปอาบนำ้ เป็นเวลา 08.30 น.
แสงจริง
21
22 ขุนทะเล
ทั้งลุงกับป้าเข้าส วนเก็บมังคุดได้กว่า 100 กิโลกรัม จาก 05.00 น. ถึง 08.30 น. ลุงด นัยก บั ป า้ เฉลิมศ รี ตื่นน อนมาเก็บมังคุด ทำอาหารเช้า นั่งคุยก ันไม่รู้กี่เรื่อง ต่อกี่เรื่อง ถ้าเป็นกรุงเทพมหานครและวัดจากจำนวน กิจกรรมที่ทำไป ป่านนี้คงบ่ายคล้อย แต่ที่ขุนทะเลเพิ่ง แปดนาฬิกาเช้า ใช่ว่าจ ะรีบ พวกเขาทำกิจกรรมทุกอย่าง แบบไม่รีบร ้อน ฉั น ส งสั ย ว่ า น าฬิ ก าข องที่ ขุ น ท ะเลกั บ น าฬิ ก า ในที่จากมาใช้เวลาเดิน 1 นาที 60 วินาทีเท่ากันหรือไม่
แสงจริง
23
24 ขุนทะเล
02 ดอกไม้ของขุนทะเล “ความสุขของฉันก็คือความสุขของเพื่อน” รัชนี ธงทอง อาสาสมัครดแู ลผพู้ กิ ารตำบลขนุ ท ะเล
แสงจริง
ส่งมือมาเราจะเดินไปด้วยกัน การสำรวจข้อมูลคนพิการของ อบต.ขุนทะเลในปี 2547 พบผู้พิการ 149 คน “บางคนเข้าไม่ถึงการบริการ ปิดกั้นตัวเองจาก สังคมภายนอก” จำลอง ศรีจ ำรัส ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชนบอก เป้ า ห มายข องก ารส ำรวจห นนั้ น คื อ ก ารเข้ า ถึ ง สุขภาพของคนในชุมชนเพื่อให้พวกเขาเข้าถึงบริการ สาธารณสุขรวมถึงจัดส วัสดิการให้คนพิการ “คนขุนทะเลต้องได้รับการบริการเท่าเทียมกัน” จำลองย้ำแนวทางการบริหารด้านสุขภาพของ อบต. ขุนทะเล เริม่ จ ากฟน้ื ฟูส ภาพรา่ งกายและจติ ใจ โดยเจ้าห น้าที่ อนามัยท ำการฟื้นฟูด้านจิตใจ ออกเยี่ยมพูดคุยประหนึ่ง เปิดประตูให้พวกเขากล้าอ อกมาเจอสังคม จากนั้ น พั ฒนาศั ก ยภาพ พั ฒนาทั ก ษะใ นก าร ประกอบอาชีพให้ผ พู้ กิ าร เกิดก ารรวมกลุม่ ก นั ข องผพู้ กิ าร เป็น ‘ชมรมผู้พิการตำบลขุนทะเล’ ในชมรมจะมีกลุ่มย่อยแยกไปอีกตามความถนัด ผูพ้ กิ ารบางคนในขนุ ท ะเลมอี าชีพเพาะเห็ด ผูพ้ กิ ารบางคน ทำดอกไม้ดินวิทยาศาสตร์ โดยการสนับสนุนของ อบต. ขุนท ะเลและคนในชมุ ชน เช่น เห็ดจ ากผพู้ กิ ารจะกระจาย ไปยังครัวของโฮมสเตย์หลายแห่งในขุนทะเล
25
26 ขุนทะเล
ดอกไม้ด ิน นงลักษณ์ สุตระ เกษตรกรชาวสวนธรรมดา แต่ท ี่ไม่ ธรรมดาก็คือพ ี่นงลักษณ์ยัง ‘ปั้นดอกไม้ด ิน’ เริ่ ม จ ากส นใจไ ปเรี ย นรู้ ก ารปั้ น ด อกไม้ดิ น จ าก ตำบลอื่น ใช้ดินวิทยาศาสตร์หรือดินไทยในการปั้น ดิน วิทยาศาสตร์เนื้อสีขาวจะต้องผสมสีก่อน ป้ายสีตาม ต้องการแล้วนวดคลึงให้เนื้อดินกลืนสี แล้วจากนั้นก็ใช้ ความประณีตและฝีมือเชิงงานประดิษฐ์
แสงจริง
นอกจากนพ้ี น่ี งลักษณ์ย งั เปิดส อนผสู้ นใจงานฝมี อื น ี้ รวมถึงส่งเสริมอาชีพผู้พิการ “เมือ่ ก อ่ นเขา (ผูพ้ กิ าร) ไม่มรี ายได้ หลังๆ มากเ็ ริม่ มีร ายได้ เมือ่ มี ร ายได้ม นั ป ฏิเสธไม่ได้ว า่ ม นั ท ำให้เกิดค วาม สุข มีคนหนึ่ง ทำจนมีเงินซื้อเครื่องซักผ้า ไม่ใช่เรื่องวัตถุ อย่างเดียว อย่างน้อยมันเป็นคุณค่าอย่างหนึ่งที่มาจาก สองมือของเขา” นงลักษณ์บอก ผู้พิการส่วนใหญ่มีรายได้เดือนละ 500 บาทจาก เบี้ยยังชีพผู้พิการ พอเขาได้มาทำงานมันเหมือนคุณค่า ของเขาเกิดข ึ้น สบายใจ อารมณ์ด ี “อย่างพี่ แรกๆ ก็ไม่ค อ่ ยชอบนะงานประดิษฐ์แ บบ นี้ แต่พอทำๆ ไปมันเริ่มรู้สึกว่าต ้องอดทน ต้องใช้สมาธิ พอตอนนี้ถ้าวันไหนไม่ได้ท ำมันเหมือนจะลงแดง”
27
28 ขุนทะเล
แสงจริง
กว่าจะปั้นดอกไม้เป็นกลีบเป็นใบก็ว่ายาก แต่ ผลลัพธ์ข องมันคือความสวยงามที่สร้างความสุข นี่พี่นงลักษณ์ปั้นวิชาชีพให้ผ ู้อื่นอีก คิดดูว่าเธอจะ มีความสุขข นาดไหน
วันพฤหัสสุขพอดี ปี 2549 พร้อมๆ กับการจัดตั้งชมรมคนพิการ ตำบลขุนทะเล มีการสร้างระบบอาสาสมัครดูแลผพู้ ิการ ขึ้นมาด้วย ซึ่งม าจากตัวแทนหมู่บ้านละ 2 คน ในตำบล ขุนทะเลมี 12 หมู่บ้าน อาสาสมัครดแู ลผพู้ กิ ารในตำบล ขุนท ะเลมี 24 คน
หลายคนที่เป็นอาสาสมัครก็เป็น ผู้พิการเองด้วย เวลา ออกเยี่ยมเพื่อนผู้พิการตามบ้านต่างๆ เช่นเดียวกับ รัชนี ธงทอง ต้องใช้รถแทนขาทั้งสองข้าง แต่มันไม่ได้เป็น อุปสรรค เธอบอกว่าอ ุปสรรค...ถ้ามันจะมี มันอ ยู่ที่ใจ
29
30 ขุนทะเล
เมื่อก่อนรัชนีรู้สึกมีปมด้อย ไปไหนก็รู้สึกว่ามี สายตาคอยจ้องมองมาตลอด ช่วงวัยรุ่นเธอไปเรียนที่ ‘ศูนย์ฝึกอาชีพ ผู้พิการภาคใต้’ ตำบลสาแก้ว อำเภอ ท่าศาลา อยู่ 1 ปี ที่นั่นทำให้เธอรู้จักค วามหมายของคำว่า ‘เพื่อน’ “ทีน่ นั่ จ ะมแี ต่ผ พู้ กิ ารเหมือนเรา ก็ท ำให้เริม่ ม คี วาม กล้ามีความมั่นใจมากขึ้น” รัชนีว่า “ตอนไปเรียนมีเพื่อนมาก ค่อยมีความรู้สึกว่าคน พิการสามารถทำอะไรได้มาก เรากลับมาเจอเพื่อน ก็ พยายามให้เขาลุกขึ้น คนพิการสามารถทำอะไรได้อีก เยอะแยะ ก็ชวนคนอื่นๆ ในหมู่บ้านลุกขึ้นมา”
แสงจริง
ตอนที่ อบต.ขุนทะเลจัดตั้งชมรมคนพิการตำบล ขุนทะเล พร้อมๆ กับอาสาสมัครดูแลผู้พิการ รัชนีเดิน เข้าไปสมัครเป็นอาสาสมัครดูแลผู้พิการทันที...แม้ขาไม่ด ี แต่เดินเข้าไปด้วยใจ เป้าหมายคือดึงเพื่อนให้ล ุกขึ้นมา โชติมา ทรายขาว เป็นหนึ่งในเพื่อนที่รัชนีเอื้อมมือ ไปคว้า โชติมามีปมด้อยมาตั้งแต่เด็กไม่ต่างรัชนีในวัย เยาว์ “ไม่กล้าสู้หน้าเพื่อน” โชติมาบอก “เกิดมามันมีปมด้อย แขนไม่ดมี าตั้งแต่กำเนิด มือ ซ้ายอ่อนแรง มีป มด้อยตั้งแ ต่เด็กๆ ไปโรงเรียนกอ็ าย ไม่ อยากเล่นก บั เพือ่ น ปมด้อยมนั ต ดิ ตัว ไม่อ ยากสมาคมกบั ใคร แต่ต อนนคี้ นพกิ ารตนื่ ต วั อ อกสโู่ ลกกว้างเยอะ ตอนนี้ พีเ่หมือนคนธรรมดา ไม่มีปมด้อยแล้ว เก็บมังคุดได้ พอ อบต. เขามาจดทะเบียนคนพกิ าร ตัง้ ช มรมคนพกิ าร ก็ได้ ออกไปสหู้ น้า พบปะประชาชน” นอกจากเก็บม งั คุด โชติม ายังเพาะเห็ดอ กี ด ว้ ย ยัง... ยังไม่หมด เธอยังทำงานอาสาสมัครดูแลเพื่อนผู้พิการ “เห็นร ชั นีแ ล้วม กี ำลังใจ คนสชู้ วี ติ ข องจริง คนนเี้ ขา เก่ง” โชติมาชมเพื่อน ทุกวันพฤหัส รัชนีกับโชติมารวมถึงอาสาสมัคร ดูแลผู้พิการคนอื่นๆ จะลงพื้นที่เยี่ยมผู้ป่วย ผู้พิการ
31
32 ขุนทะเล
รวมถึงผู้ติดเชื้อ “เราเอาความพกิ ารของเราไปเล่าให้เขาฟงั ว า่ เราก็ พิการเหมือนกันให้เขากล้าออกมาเผชิญโลก เป้าหมาย งานอาสาคือเพื่อนช่วยเพื่อน ทำให้เขามีความสุข ช่วย เหลือต วั เองได้ ไม่ต อ้ งเป็นภ าระของบา้ นมาก นอกจากนี้ เรายังเยี่ยมผู้ป่วย รวมถึงผูต้ ิดเชื้อด้วย” รัชนีบอก รัชนีอยู่บ้านคนเดียว เย็บผ้าบ้างถ้ามีงานเข้ามา งานหลักของเธอคืองานอาสา เป็นง านแห่งความสุข “ฉันอ ยูบ่ า้ นไม่ได้ท ำอะไร ถ้าม งี านเย็บผ า้ ก ท็ ำอยูท่ ี่ บ้าน ฉันอยูค่ นเดียวจึงทำงานอาสาได้เต็มที่ เวลาเราไป หาเพือ่ นบางทีเขากม็ คี วามทกุ ข์ เรากไ็ ปบอ่ ยๆ ให้เขาดขี นึ้ บางคนนอนอยูก่ บั ท ี่ เวลาผา่ นไปเขาเริม่ น งั่ ได้แ ล้ว ฉันไม่ ค่อยอยู่บ้านหรอก เพราะเวลาเราอยูค่ นเดียวมันคิดมาก “ถ้าเราออกจากบ้านไปบ้านคนนั้นคนนี้มันก็ไม่ คิด ลืมเรื่องส่วนตัวข องเราไปเสีย ถ้าเรามีเพื่อนคุย เวลา ฉันไปเยี่ยมเพื่อน เวลาไปปลุกเพื่อนให้เขาลุกขึ้นมาให้ มีความสุข “ฉันก็มคี วามสุขไปด้วย” รัชนีบ อก
แสงจริง
33
34 ขุนทะเล
03 ขุนท ะเลวิทยาลัย
ชีวิตที่หยุดก ารเรียนรู้เหมือนต้นมังคุดแ คระแกร็น ฉันบ นั ทึกข อ้ ความนหี้ ลังจ ากกลับอ อกมาจากสวน มังคุดของโกเด็ก
แสงจริง
35
36 ขุนทะเล
แอบดูคนข่มขืนม ังคุด “เท่าไหร่” “20” บนถนนหนทางในขุนทะเล เรานั่งรถพ่วงข้างที่ อบต.ขุนทะเลจัดไว้สำหรับผู้สนใจลงมาดูงานในตำบล และนกั ท อ่ งเทีย่ วเชิงเรียนรอู้ ย่างเรา ใบหน้าร บั ล มเหมือน ใบมะพร้าวต้านลมทะเล
แสงจริง
ไปไหนมาไหนก็จะมีชาวขุนทะเลตะโกนถามสอน ไชยาตลอด คำทักทายในช่วงนี้ของชาวขุนทะเลก็คือ “เท่าไหร่” ส่วนจะบอกวา่ เท่าไหร่น น้ั ตอ้ งตดิ ตามกนั วนั ต อ่ วนั ช่วงนี้เป็นฤดูกาลของมังคุด แต่ราคามังคุดขึ้นลง วันต่อวันราวหุ้นบนกระดาน กลไกการค้าขายของพ่อค้า คนกลางกดราคามังคุด บ างทีก็เป็นไปอย่างไม่มีเหตุผล สอนไ ชยาพ าเ ราม าที่ บ้ า นข อง โกเด็ ก -นิ พ นธ์ ภู่วัฒนาพันธ์ คนข่มขืนมังคุด!
ในสวนมังคุด ที่ดินรอบๆ บ้านของโกเป็นสวนมังคุด 27 ไร่ มี ลำห้วยผ่ากลาง มีต้นมังคุด 350 ต้น เมื่อก่อนเป็นสวนสมรมที่มีผลไม้ มียางพารา ปี 2516 โกเด็กเริ่มดัดแปลง จากสวนสมร มมาเป็นสวน มะนาว ปี 2530 ได้แนวทาง จะปลูกมังคุดในสวนมะนาว โดยคดิ ว างแผนจะปลูกม งั คุด โดยไม่โค่นมะนาว หากช ายห นุ่ ม จ ะจี บ
37
38 ขุนทะเล
แสงจริง
หญิงสาว แต่ไม่เข้าใจธรรมชาติแ ห่งเธอ ยากนักจะได้ใจ สาวเจ้ามาครอง จนถึงปัจจุบัน โกเด็กใช้เวลาเรียนรู้ ธรรมชาติของมังคุด ศึกษานิสัยใจคอของมัน เจ้ามังคุด เจ้าชอบอะไรไม่ชอบอะไร จนวันนี้ มังคุดจ ากสวนของโก เด็กมีมาตรฐานต้องตาต้องใจตลาดต่างประเทศ มังคุดของโกเด็กส่งขายจีน ที่สำคัญมังคุดของโก ออกผลนอกฤดูกาลได้ นั่นหมายถึงราคาต่อกิโลกรัมที่ พุ่งส ูงราวยอดเขาน้ำตกกรุงชิง ใครไปใครมากต็ นื่ ต าตนื่ ใจกบั เทคนิคก ารปลูกข อง โก อย่างต้นมันสำปะหลังที่ปลูกไว้คานกิ่งก้านของมังคุด ก็ถือเป็นภูมิปัญญาของแท้ เคล็ดลับจากโกเด็กคือการเรียนรอู้ ย่างเปิดกว้าง “การศึกษาของนักวิชาการเขาก็ศึกษาบนฐานของ ความรู้ เขาก็ให้เรามา 100 เปอร์เซ็นต์ เราก็เอามา 50 เปอร์เซ็นต์ เพราะบางทีทฤษฎีกับปฏิบัติมันไม่ตรงกัน แต่เราจะไปคนเดียวก็ไม่ได้ เพราะนักวิจัยเขาก็คำนวณ มาดี โดยเราก็เอาประสบการณ์เข้าไปด้วย ต้องแชร์กัน” โกเด็กบอก คุณคงเคยถูกพ่อแม่ค้อนเข้าให้เวลาเราร้องอยาก กินมังคุดในหน้ามะม่วง นีค่ อื กลไกของตลาด ผลไม้นอกฤดูยอ่ มมรี าคาแพง ในฐานะเกษตรกร ผลไม้น อกฤดูค อื ร ายได้แ สนงาม
39
40 ขุนทะเล
แสงจริง
เป็นรางวัลของความพยายาม
เทคนิคของโก โกเด็กเป็นเกษตรกรชาวสวนที่ลองผิดลองถูกใน สวนมายาวนาน ในที่สุดก็เข้าใจกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ รู้นิสัยของมังคุด และเข้าใจข้อจำกัดในพื้นที่ของตัวเอง จนสามารถบังคับมังคุดให้ออกผลนอกฤดูกาลได้ มังคุดนอกฤดูราคากิโลร่วมร้อย โกเด็กเรียนจบ ป.4 ทีข่ า้ งฝาบา้ นมเี กียรติบ ตั รแปะ ราวปริญญาบตั รของมหาบณ ั ฑิต มีท งั้ ใบรับร องมาตรฐาน ของมังคุดที่สามารถเข้าเกณฑ์ส่งออกต่างประเทศได้ ใบ ประกาศนียบัตรจากผวู้ า่ ร าชการจงั หวัดน ครศรีธรรมราช เพือ่ แ สดงวา่ โกเด็กเป็นผ บู้ ำเพ็ญป ระโยชน์ให้แ ผ่นด นิ ด า้ น ผู้นำเกษตรเมื่อปี 2548 ในโลกที่มีการแข่งขันสูง โอกาสทางการศึกษา เป็นเหมือนใบเบิกท างเพือ่ เป็นเครือ่ งคำ้ ย นั ช นั้ ต น้ ข องชวี ติ แต่โกเด็กสาธิตให้เห็นแล้วว่า บนโลกการค้าไร้พรมแดน คนจบ ป.4 ก็สามารถทำได้ หากเราใส่ใจเรียนรู้ธรรมชาติอ ยู่ตลอดเวลา
เกษตรกร 100 เปอร์เซ็นต์
พื้นที่กว่า 5 ไร่ อันเป็นทั้งออฟฟิศและบ้านของ น้าสมบูรณ์ จันทร์จรุง เต็มไปด้วย ถั่วงอกในถัง น้ำยา
41
42 ขุนทะเล
อเนกประสงค์ น้ำหมักช ีวภาพ ปุ๋ยห มักแห้ง ไบโอดีเซล ก๊าซชีวภาพ บาดาลคนจน พืชสมุนไพร สวนยางพารา สวนสมรม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ถูกสร้างมากับสองมือกร้านของเขา เกษตรกรถ้ามือไม่กร้าน พืชผลก็ไม่ง อกเงย “ผมเป็นเกษตรกร” น้าส มบูรณ์ต อบหลังถ กู ถ ามวา่ ประกอบอาชีพใด “เกษตรกร 100 เปอร์เซ็นต์ครับ” สวนยางพารากบั ส วนสมรมถอื เป็นร ายได้ห ลักข อง เขา นั่นแหละ...ออฟฟิศของเขา สวนสมรมของนา้ ส มบูรณ์ม มี งั คุด ลางสาด ทุเรียน สะตอ เหลียง ลองกอง ฯลฯ เขาบอกว่าใน 1 ปี มีกิน ตลอด “ถ้าไม่มมี งั คุด เรากไ็ ด้ก นิ ล างสาด สวนสมรมมนั ให้ พืชผลเราตลอดปีเพราะปลูกหลากหลาย ผลไม้ทุกอย่าง อยู่โดดๆ ไม่ดี มันก ็ต้องการการพึ่งพาอาศัยก ันและกัน” น้าสมบูรณ์บ อก เหมือนคน
แสงจริง
43
44 ขุนทะเล
บาดาลคนจน อากาศร้อน แดดแรง อีกหน้าที่ของน้าสมบูรณ์คือวิทยากรประจำแหล่ง เรียนรู้ระบบเกษตรเพื่อสุขภาวะ ถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์ในการทำเกษตรแบบพึ่งพาตัวเอง “อากาศร้อนๆ” น้าสมบูรณ์พูดพลางเดินไปเปิด วาล์วน้ำพลาง “ผมก็เปิดพัดลมไอน้ำให้ผู้มาบรรยายได้ เย็นกัน คนก็เย็น ต้นไม้ก็เย็น” ภายในลานบ้านเป็นพื้นที่ว่างโล่งรองรับผู้มาฟัง บรรยาย ไม่มพี ดั ลมสกั ต วั ไม่ต อ้ งสงสัยว า่ ผ มู้ าฟงั บ รรยาย จะรอ้ นแค่ไหน เพราะสมบูรณ์เดินไปเปิดว าล์วน ำ้ แ ล้วน ำ้
แสงจริง
ก็ฟุ้งกระจายมาจากหลังคา สปริงเกลอร์อ ยูบ่ นหลังคาเริม่ ท ำงานเหมือนพดั ลม ไอน้ำ เย็นแบบไม่ต้องพึ่งพัดลม น้ำที่นำมาใช้ สมบูรณ์ก ็คิดค้นขึ้นมาเอง เขาเรียก ว่า ‘บาดาลคนจน’ เป็นระบบขุดน้ำบาดาลขึ้นมาใช้เอง นอกจากทำ พัดลมไอนำ้ น้าสมบูรณ์ย งั ใช้น ำ้ จ ากบาดาลรดพชื ผ ลทาง เกษตร โดยไม่เสียค่าน้ำ
ทำงานให้สนุก สนุกเมื่อท ำงาน “ตู้เย็นผมอยู่นอกบ้าน” น้าสมบูรณ์บ อก ฉันกับช่างภาพหันซ้ายหันขวาก็ไม่พบตู้เย็น “นั่น...ตาไม่ดีรึคุณ” น้าสมบูรณ์ยั่ว “นั่นไง...ตรง หน้าคุณไง” ฉันเห็นแต่ต ้นมังคุด “นั่นแหละ ตูเ้ย็น” เขาบอก “ตู้เย็นอยู่นอกบ้าน จะทำน้ำพริกก็เดินเข้าไปเด็ด เอง” ใครจะยึดหลักทฤษฎีไหน น้าสมบูรณ์ไม่รู้จักด้วย หรอก เขาบอกว่าชีวิตนี้มีความสุขแล้วด้วยความพอ เพียง “ตั้งแต่จำความได้ พ่อก็ทำแบบนี้แล้ว แต่ไม่รู้ว่า เรียกเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกอันนี้ก็ได้กินอันนี้ ปลูกผสม
45
46 ขุนทะเล
แสงจริง
ผสานก็ได้ก ินหมด ชีวิตต ้องผ่านการเรียนรู้ สูตรบางสูตร ก็ลองกันเอง ดินดมี ีไส้เดือน ถ้าใช้เคมีไม่มไีส้เดือน “ทำก๊าซชีวภาพหรือทำปุ๋ยหมัก ผมก็แค่ใส่ขี้วัว ขี้หมู ของพวกนี้ใส่ขี้ได้ทุกชนิด” เขาบอก ใส่ได้ทุกขี้ “ยกเว้น ขี้คร้าน” ความสุขคืออะไร “ทำงานให้ส นุก สนุกเมือ่ ท ำงาน” เขาบอก “เป็นสุข เมื่อท ำงาน”
โอกาสอยู่ ในช่องว่าง ในสวนของ กิตตินนท์ นงค์ น วล ปลู ก มั ง คุ ด กั บ ลองกองเป็นหลัก แต่ ที่ ว่ า งร ะหว่ า งต้ น มั ง คุ ด จ ะมี ผั ก เ ขลี ย งบ้ า ง พริกไทยบ้าง แซมอยู่ ที่ ว่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ต้ น ลองกองจะมีต้นหมากแซมอยู่ “เป็นวิถีเก่า” กิตตินนท์บอก ถ้าป ลูกมังคุดกจ็ ะได้ มังคุดอย่างเดียว ระหว่างที่รอมังคุด รอลองกอง เราก็ ไม่มีอะไรขาย” การป ลู ก พื ช แ ซมส วนข องช าวขุ น ท ะเลถื อ เป็ น ภูมิปัญญา เพราะปุ๋ยที่ใช้ก็ไม่ได้ใช้ปุ๋ยเคมีซึ่งมีค่าใช้จ่าย
47
48 ขุนทะเล
แต่ใช้เปลือกลองกองมาทำปุ๋ยหมักเอง การป ลู ก พื ช แ ซม คื อ ก ารป ลู ก เ พิ่ ม ล งไ ป เช่ น พริกไทย พลู ถั่วพู ผักเขลียง มันปู ตะไคร้ มะนาว ชะอม พริกไทย พริกข หี้ นู เป็นการเพิม่ ม ลู ค่าให้ค รัวเรือน อีกท งั้ ยังเป็นซูเปอร์มาร์เก็ตขนาดย่อม
สวนโบราณ หากคุณมโีอกาสมาเยือนขุนทะเล สิ่งหนึ่งที่จะพบ สองข้างทาง คือ สวนสมรม สวนสมรม เป็นม รดกทางปญ ั ญา สมรมหรือส มลม เป็นภาษาถิ่น หมายถึง สวนทปี่ ลูกพืชผสมผสานกันของ ผลไม้นานาชนิด ไม่มีการแยกแปลงแยกชนิดเลียนแบบ ระบบป่าไม้ธรรมชาติ การทำสวนสมรม เริม่ จ ากการถางไม้พ มุ่ ถางหญ้า ออกให้หมดก่อน แล้วนำกล้าไม้ผลบางชนิดที่เพาะไว้ ก่อนในกระบอกไม้ไผ่ เช่น ทุเรียน มังคุด สะตอ ละมุด ลางสาด ปลูกในหลุมที่กว้างและลึกพอที่จะใส่กระบอก ไม้ไผ่ลงไปได้เท่านั้น บางชนิดก็ปลูกเมล็ดลงไปโดยตรง เช่น จำปาดะ การปลูกไม่ต อ้ งเป็นแ ถวเป็นแ นว ดูแ ต่ร ะยะ ห่างที่พอเหมาะเท่านั้นก็พอ ไม้ผลต้นไหนแคระแกร็นก็ ใช้น้ำปัสสาวะรดบำรุง โดยไม่ใช้สารเคมีใดๆ วิธีถางก็ใช้ มีดพร้า ไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
แสงจริง
49
50 ขุนทะเล
ผลไม้แต่ละชนิดออกผลผลิตไม่พร้อมกนั สวนสม รมทำให้เจ้าของสวนสามารถจำหน่ายผลผลิตได้ท งั้ ป ี ช่วย แก้ปัญหาผลผลิตล้นตลาด ช่างภาพโบราณศรัทธาในแสงแดดฉันใด สวนสมรมก็ศรัทธาในความหลากหลายฉันนั้น
จังหวะแทงโก้ ในสวนสมรม ปี พ.ศ. 2505 เกิ ด ว าตภั ย ใ นภ าคใ ต้ พื้ น ที่ การเกษตรรวมถงึ ส วนสมรมหลายแห่งในชนุ ท ะเลกไ็ ด้ร บั ความเสียห าย ปีถ ัดม า มีก องทุนสงเคราะห์ผู้ประสบภัย เริ่มสนับสนุนให้ปลูกผลไม้ห รือต้นไม้เป็นแถวเป็นแนว “ชาวบา้ นกเ็ ห็นดี ดีก ว่าป ลูกส ะเปะสะปะ” ประเสริฐ บรรจบกาญจน์บอก ประเสริฐเป็นเกษตรกรชาวสวน เป็นเจ้าของสวน สมรมที่ยังคงวิถีของสวนสมรมโบราณอยู่ พื้นที่กว่า 65 ตารางกิโลเมตรในขุนทะเลเป็นสวน สมรม ไม่แปลกที่สองข้างทางจะเขียวชอุ่ม “การป ลู ก ส วนส มร มมี ข้ อ ดี คื อ ก ารป ลู ก มั ง คุ ด ลองกอง ลางสาด ทุเรียน บางครั้งมันเป็นผลพร้อมกัน
แสงจริง
มันได้รายได้จากทุกทาง” ยิ่งถ้าผลไม้ชนิดไหนออกนอกฤดูกาล รายได้ก็ จะยิ่งงามนัก ยกตัวอย่างมังคุดในฤดูราคาอาจจะอยู่ที่ 30-50 บาท แต่น อกฤดูร าคาพุ่งไปถึงร้อยกว่าๆ “สวนสมรมเพิ่มรายได้ของครัวเรือน แทนที่จะได้ มังคุดอ ย่างเดียว เราก็ได้ล างสาด ลองกอง ทุเรียนด้วย
51
52 ขุนทะเล
ถ้ามันเป็นผลพร้อมกันนะ” ข้อเสียอาจอยู่ที่แสงสว่าง พืชบางชนิดต้องการ แสงสว่าง “ระบบแ สงบ างทีมั น ไ ม่ พ อ พื ช บ างช นิ ด ก็ แ ย่ ง อาหารกัน ผลที่ได้จะไม่ค่อยสมบูรณ์ อาจต้องปลูกเป็น ระยะให้ม ันมีแสง มีอ ากาศพอเพียง ต้องหาช่องว่างของ ธรรมชาติด้วยความเข้าใจ” ลุงประเสริฐบอกวา่ สวนสมรมเป็นรายได้หลักไม่ได้ วิถีการปลูกแบบสวนสมร มเหมาะแก่การบริโภคเอง เหมือนแนวคิด ‘ตูเ้ ย็นน อกบา้ น’ ของนา้ ส มบูรณ์ เกษตรกร 100 เปอร์เซ็นต์ “ถ้าทำสวนสมรมอย่างเดียวอาจอยู่ลำบาก ต้องมี รายได้หลัก สวนสมรมเป็นกำไรทไี่ม่ได้คาดหวัง” นอกจากเป็นเกษตรกร ลุงประเสริฐยังเล่นดนตรี ก่อนมานงั่ ค ยุ ก นั ในสวนสมรมแห่งน ี้ ลุงป ระเสริฐเพิง่ แ ยก ย้ายจากลูกวงหลังไปเล่นงานงานหนึ่งมา “เมื่อก่อนจังหวะมันมีให้เราเล่นเยอะมาก แทงโก้ สวิง อะไรตา่ งๆ เดีย๋ วนคี้ นฟงั อ ยูไ่ ม่ก จี่ งั หวะ ผมเล่นด นตรี ด้วยใจรักอย่างเดียวเลย ใครมีงานอะไรเราก็ไปเล่น” สำหรับลุงประเสริฐ การเล่นดนตรีก็เหมือนการ ทำสวนสมรม ทำไปด้วยใจรัก
แสงจริง
53
54 ขุนทะเล
แสงจริง
04 ประวัติศาสตร์ชุมชน “เราค้นข้อมูลในอดีตเพื่อจัดการปัจจุบันแล้วร่วม กำหนดอนาคต” โสภณ พรหมแก้ว นายกองค์การบริหารสว่ นตำบล ขุนทะเล
55
56 ขุนทะเล
พระเจ้าศ รีธรรมโศกราช มีเรือ่ งเล่าส บื ต อ่ ก นั ม าวา่ ต วั เมืองนครศรีธรรมราช เดิมต งั้ อ ยูท่ เี่ ขาวงั ซึง่ ในปจั จุบนั ต งั้ อ ยูใ่ นพนื้ ทีข่ ององค์การ บริหารส่วนตำบลขุนทะเล พระเจ้าศ รีธ รรมโศกราชองค์แ รก ได้ต งั้ เมืองแล้วห นี โรคไข้ห่า (ไข้ยมบน) จากตะกั่วป่า จังหวัดพ ังงา อพยพ มายังคลองท่อม จังหวัดกระบี่ แต่ก็ต้องอพยพมาอยู่ที่ เวียงสระ จังหวัดส ุราษฎร์ธานี แต่โรคไข้ห่ายังระบาดขึ้น อีก จึงได้อพยพมายังว ัดพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ขณะที่กำลังก่อสร้างพระธาตุนคร ณ หาดทราย แก้ว (อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช) ได้เกิดโรค ไข้ห่าขึ้นอีก จึงนำไพร่พลหนีโรคไข้ห่าม ายังเขาวัง เพราะ เขาวงั เป็นแ หล่งต น้ น้ำเหมาะในการหนีโรคไข้ห า่ ตัวเมือง เดิมของนครศรีธรรมราชจึงตั้งอยู่ที่เขาวังในเขตตำบล ขุนทะเล
แสงจริง
เคยเป็นทะเลมาก่อน ในปัจจุบัน ขุนท ะเลมีบึงใหญ่คล้ายทะเลสาบ ตั้ง อยู่แนวด้านข้างของเขาวัง ซึ่งเหมาะในการเป็นท่าเรือ ทำให้เป็ นไ ปไ ด้ว่ าท ะเลค งจะกิ น ม าถึ ง เขาวั ง ตำบล ขุนทะเล อำเภอลานสกา พระเจ้าศรีธรรมโศกราชและพระอนุชารวมถึง ไพร่พลอยู่ที่ลานสกาประมาณปีเศษ ได้พบพระภิกษุรูป หนึง่ ซ งึ่ ได้ท ำการปลุกเสกนำ้ มนต์ร ดไพร่พลและบา้ นเรือน จนหาย พระเจ้าศรีธรรมโศกราชองค์แรก จึงได้นมัสการ ถามพระคุณเจ้าอ งค์น นั้ ว า่ ท ำอย่างไรจงึ ไม่เกิดก ารระบาด ของโรคไข้ห่าอีกเพราะตนเองจะกลับไปตั้งวังที่ท่าวัง (หาดทรายแก้ว) อำเภอเมือง จังหวัดน ครศรีธรรมราช
57
58 ขุนทะเล
การค้นพบ เมื่อ พ.ศ. 2509 คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศ ลิ ปากร ได้เดินท างมาเพือ่ ศ กึ ษาคน้ คว้าแ หล่งโบราณคดี ในพื้นที่เขาวังหมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลขุนทะเล อำเภอ ลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เพราะหนังสือทาง ประวัติศาสตร์ต่างๆ เช่น หนังสือนิพพานโสตร และ หนั ง สื อ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไ ด้ มี ก ารร ะบุ ว่ า ตั ว เ มื อ ง นครศรีธรรมราชเดิมนั้นตั้งอยู่ที่เขาวัง อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ผลการสำรวจศึกษาเพื่อ ค้นหาเมืองโบราณที่คิดว่าเป็นตัวเมืองนครศรีธรรมราช เดิมนั้น ปรากฏว่ายังไม่พบหลักฐาน แต่ค ณะศึกษาก็ยัง เชื่อว่าคงจะยังมีเมืองเก่าอยู่ในแถวนี้เป็นแน่ จึงได้กล่าว ว่า “ไม่พบ – ไม่ได้หมายความวา่ ไม่มี แต่ยงั หาไม่พบ” องค์ ก ารบ ริ ห ารส่ ว นต ำบลขุ น ท ะเล ได้ ท ำการ ศึกษาตั้งแต่ พ.ศ. 2539 และได้พบเมื่อ พ.ศ. 2549 (ศึกษาค้นคว้าตลอด 10 ปี) ได้ทำการศึกษาค้นคว้า จากหนังสือนิพพานโสตร จากสำนักงานโบราณคดีและ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 11 นครศรีธรรมราช จุด เริ่มต้นในการศึกษาในครั้งนี้ได้พบทั้งโบราณสถานและ โบราณวัตถุ ตามที่ ค ณะผู้ ศึ ก ษาจ ากค ณะโ บราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เคยกล่าวไว้ว่า ‘ไม่พบ – ไม่
แสงจริง
59
60 ขุนทะเล
ได้หมายความว่าไม่มี แต่ยังหาไม่พบ’ แต่ด้วยความ พยายามขององค์ ก ารบ ริ ห ารส่ ว นต ำบลขุ น ท ะเล ทำให้กล้าพูดได้อย่างภาคภูมิว่า “พบแล้วแ ละมีจริงตาม ที่ประวัติศาสตร์ร ะบุไว้”
แสงจริง
ที่มาของขุนทะเล ในตอนนั้น พระเจ้าศรีธรรมโศกราชจึงนำไพร่พล หนีไข้ห่าขึ้นไปอยู่บนเขาวังชั่วคราว โดยได้เสด็จข น้ึ ไปยงั เขาวงั ผ่ านถำ้ น ำ้ ค ลุง้ -บ้านในลา และขึ้นไปประทับอยู่ที่หน้าถ้ำชีหรือถ้ำปู่ชี มีการสำรวจ พื้นที่พบที่ราบในหุบเขา ที่กว้างใหญ่หลายพันไร่ซึ่งมี ลำคลองไหลผ่านกลางที่ราบที่มีหุบเขาล้อมรอบ คลอง นี้เกิดจากน้ำตกเทวดาบนเขาวัง แต่ที่น่าแปลกคือน้ำใน คลองนี้ไม่สามารถไหลเป็นลำคลองสู่พื้นดินที่ราบได้ น้ำ จึงไหลเข้าสู่ใต้ถ้ำชีลอด ออกมาทถี่ ้ำน้ำคลุ้งที่บ้านในลา พระเจ้ า ศ รี ธ รรมโ ศกร าช ทรงส งสั ย ใ นค วาม อัศจรรย์ของน้ำที่ไหลเข้าใต้ภูผานั้นเป็นอันมาก จึงได้นำ ทหารลงมาสำรวจทถี่ ้ำน้ำดังกล่าว และทรงเชื่อม ั่นว่าน้ำ ที่ออกจากถ้ำน้ำคลุ้งนั้น มาจากน้ำบนเขาวังไหลออกสู่ ที่ราบบริเวณที่ติดกับถ้ำน้ำทั้งหมด จึงเรียกพื้นที่นั้นว่า ‘ขุนทะเล’ ซึ่งแปลว่า ต้นน้ำ
การคำนวณของภิกษุรูปหนึ่ง มีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า เมื่อโรคไข้ห่าซ าลง พระเจ้า ศรี ธ รรมโ ศกราชก็ เกณฑ์ ไ พร่ พ ลล งไ ปส ร้ า งพ ระธ าตุ เมื อ งน ครซึ่ ง ก็ คื อ เ ขตอ ำเภอเ มื อ งนครศรี ธ รรมราช ในปั จ จุ บั น ในตอนนั้ น มี ก ารตั ด ไ ม้ ซุ ง บ นเ ขาวั ง
61
62 ขุนทะเล
เพื่ อ น ำไ ปบู ร ณะพ ระธ าตุ เ มื อ งน คร ด้ ว ยค มนาคม และระบบขนส่งในสมัยน้ันยังไม่สะดวก เมื่อตัดไม้ซุง ข นาดใหญ่แ ล้ว ชาวบา้ นกถ็ ามภิกษุแ ห่งว ดั พ ระสอรปู ห นึง่ ว่า จะขนย้ายไม้ข นาดใหญ่นี้ลงไปยังเมืองได้อย่างไร ภิกษุร ปู น นั้ จ งึ บ อกวา่ ไม่ต อ้ งทำอะไร เดีย๋ วกลางดกึ น้ำป่ามันก็พาไม้ซุงลงไปเอง ปรากฏวา่ คืนน นั้ ทัง้ คนทงั้ ไม้ต า่ งไหลตามนำ้ ลงมา จากเขาวังไปยังตัวพระธาตุเมืองนคร
สำรวจถ้ำ
สอนไชยาพาเรามายังถ ้ำน้ำวังศ รีธรรมโศกราช ซึ่ง เป็นแ หล่งท อ่ งเทีย่ วของตำบลขนุ ท ะเล มีเด็กว ยั ร นุ่ ม าเล่น น้ำบริเวณน้ำค ลุ้ง ซึ่งอยู่ปากทางก่อนขึ้นเขาลงไปยังถ ้ำ
แสงจริง
เราเริ่มต้นเดินขึ้นเขาที่ชันพอสมควร เมื่อถึงจุดที่ เป็นปากถ้ำ เราต้องเดินลงมายังปากถ้ำซึ่งความชันไม่ แพ้ตอนเดินขึ้นเขา เมื่อเข้าใกล้ปากถ้ำความสว่างก็เริ่ม ถอยห่าง ภายในถำ้ ม หี นิ งอกและหนิ ย้อย ภายในถำ้ แ ห่งน จี้ ะ มีธารน้ำไหลผ่าน ซึ่งปลายทางของถ้ำคือน้ำตกถ้ำน้ำวัง ศรีธรรมโศกราชที่หาดูยาก แต่หนทางก็ใช่ว่าจะง่าย เพราะเราต้องเดินลุยน้ำไปตามโพรงถ้ำซึ่งระดับน้ำมี ตั้งแต่ระดับหน้าแข้ง หัวเข่า จนมิดศีรษะ เนื่องจากหิน บนเพดานพยายามลงมาจุมพิตพื้นหินเบื้องล่าง เดินไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะพบทางแยก ทางหนึ่งเป็นทางแห้ง อีกทางเป็นทางน้ำ ผู้สำรวจเส้น ทางมาก่อนไม่แนะนำให้เดินไปทางแห้ง เพราะอาจมี
63
64 ขุนทะเล
สัตว์มพี ิษอย่างงู เดินต ามทางน้ำไปไม่ไกล คุณจ ะได้ยินเสียงน้ำตก และไม่น านจะพบน้ำตกสวยงาม ความยากลำบากในการเดินทางไปยังถ้ำทำให้ เรารู้ว่าห่างเหินจากการออกกำลังกายมานานเพียงใด ทุกครั้งที่เราหยุดพักเหนื่อยสอนไชยาจะหยุดเป็นเพื่อน เสมอ ถ้าไม่ได้สอนไชยาคอยช่วยเหลือ เราคงได้นั่งมอง พระอาทิตย์ต กดินแถวนั้น กำแพงโปร่งแสงค่อยๆ หายไปตอนไหนก็ไม่รู้ ระหว่างเรากับสอนไชยา อาจจะเป็นกับข้าวมื้อนั้นทเี่ขาชวนเรา หรืออาจจะเป็นกาแฟเย็นธรรมดาแก้วหนึ่งที่เรา ยื่นให้เขา
แสงจริง
65
66 ขุนทะเล
05 โฮมสเตย์ สเตย์โฮม โฮมสเตย์ ที่ขุนทะเลได้ชื่อว่าเป็นที่ที่อากาศดีแห่งหนึ่งของ ประเทศ และต้องเห็นคล้อยเมื่อมาสัม ผัสด้วยตนเอง ขุนทะเลล้อมรอบด้วยเทือกเขา มีแอ่งเก็บน้ำขนาดใหญ่ สวนสมร มทำหน้าที่ประหนึ่งเครื่องกรองอากาศชั้นดี มิพ ักต้องพูดถ ึงผลผลิตที่มอบแก่ชาวสวน เย็นแล้ว สอนไชยาพาเรากลับมายังโฮมสเตย์ โฮมสเตย์ในตำบลขนุ ท ะเลมที งั้ หมด 85 หลัง หลัง ที่เราพักเป็นบ้านของลุงดนัยกับป้าเฉลิมศรี สองสามี ภรรยาอยู่ลำพังในบ้านหลังใหญ่ ล้อมรอบด้วยต้นมังคุด เงาะ สะตอ ฯลฯ ป้าเฉลิมศรีหรือป้าแดง ผัดสะตอใส่กะปิ ไข่เจียว แกงเลียง ไว้รออยู่แล้ว หลังอาหารเย็นผ่านไป สองลุงป ้า ก็มานั่งพูดคุยกันความเหงาให้ห่างเรา ลุงดนัยและป้าแดงเป็นคนที่นี่โดยกำเนิด แต่ลุง ดนัยเพิ่งเกษียณอายุราชการจากกรมประชาสงเคราะห์ ได้ 3 ปี จึงเดินทางกลับบ้านมาใช้ชีวิตเรียบง่าย สมัยหนุ่มๆ ลุงดนัยเขียนคอลัมน์ลงวารสารของ กรมประชาสงเคราะห์ แกเขียนหนังสือเพื่ออยากให้คน เห็นความสำคัญของวันขึ้น 8 ค่ำ วันขึ้น 15 ค่ำ หน้าบ้านมีระนาด ลุงด นัยเป็นอาจารย์พ ิเศษสอน
แสงจริง
วิชาดนตรีไทยให้เด็กนักเรียน “ลุงต ้องซ้อมทุกวัน ไม่ง ั้นมือไม้ม ันแข็ง” ลุงว ่า ทั้งสองมีลูก 3 คน ทำงานทกี่ รุงเทพฯ “ลูกแม่มีผู้หญิง 2 คน คนกลางเป็นผู้ชาย” “เขาทำงานอะไร” ฉันถาม “เขาชอบงานอสิ ระ แม่ถ ามวา่ อ สิ ระยงั ไงละ่ ล กู เขา บอกไม่ต้องทำตามคำสั่งใคร เขาชอบอิสระ ตอนนี้ขับรถ แท็กซี่ที่กรุงเทพฯ แม่ก็อยากให้เขามาอยู่ด้วยกันที่บ้าน” ป้าแดงเล่า
67
68 ขุนทะเล
แสงจริง
69
70 ขุนทะเล
ก่อนความง่วงจะพาร่างขึ้นนอน เรามองนาฬิกา เป็นเวลากว่าเที่ยงคืน ลุงดนัยย ังคงนั่งพูดค ุยกับเราเรื่อง แล้วเรื่องเล่า ก่อนนอนแกขอบรรเลงระนาด กันมือไม้ แข็งสักเพลง เป็นเพลงโสมส่องแสง
สเตย์โฮม โฮมสเตย์ในความหมายของคุณเป็นแบบไหน ตื่น เช้าม กี าแฟรอ้ นๆ พร้อมเสิรฟ์ ตามดว้ ยอาหารเช้าบ นจาน ที่ตกแต่งด้วยผักสวย หรืออาบน้ำในอ่างหรูๆ โฮมสเตย์ท ี่นี่อาจทำคุณผิดหวัง กาแฟมี แต่เป็นกาแฟธรรมดาๆ คุณต ้องชงเอง อาหารเช้ามี มันอยู่บนจานที่ไม่ได้ตกแต่งอ ะไร อ่างอาบน้ำของป้าแดงก็มี แต่ค ุณอย่าล งไปแช่ร่าง ในนั้นล่ะ เพราะแกใช้รองน้ำให้ขันจ้วงอาบ จริงอยู่ว่าโฮมสเตย์เป็นสถานที่ชั่วคราว เรามา เพื่อพักเพียงชั่วคราว แต่ที่นี่เหมือนเราได้กลับมานอน บ้าน กลับมาเจอพ่อแม่เหมือนทลี่ ุงดนัยแกว่าไว้ “คิดว่า กลับมาเยี่ยมบ้านนะลูก” เหมือนกลับมานอนบ้าน ที่มีคนแก่ 2 คนคิดถึงลูก
แสงจริง
06 ชา กาแฟ และขโมยเมื่อค ืนนี้ หลังกาแฟที่โฮมสเตย์ สอนไชยาพาเราตะลอนไป บนรถพ่วงข้างมาที่ร้านน้ำชา ‘บ้านแม่เฒ่า’
71
72 ขุนทะเล
แสงจริง
เมาท์ทูเมาท์ ไม่เหมือนสตาร์บัคส์ ไม่มีโน้ตบุ๊คคอยกักขังตัวเองไว้หน้าจอ แต่ร้าน น้ ำ ช าแ ม่ เ ฒ่ า ไม่ ว่ า คุ ณ จ ะนั่ ง โ ต๊ ะ ไ หนก็ ไ ม่ มี ก ำแพง โปร่งแสงคอยกั้นให้คุณเป็นคนแปลกหน้าก ัน ร้านน้ำชาที่นี่เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ของคนในชุมชนในลักษณะปากต่อปาก ชาวขุนทะเลนิยมมานั่งดื่มชาร้อนหรือไม่ก็กาแฟ ร้อนแกล้มกับข้าวเหนียวย่างบ้าง ไข่ลวกบ้าง ขนมไข่ บ้างตามแต่เมนูเช้าทพี่ ี่ต้อย-วิรัตน์ วัยวิจิตร เจ้าของร้าน จะจัดทำ ร้านแม่เฒ่าเปิดมา 15 ปีแ ล้ว เรือ่ งเล่าข องชาวบา้ นมตี งั้ แต่เรือ่ งขา่ วสารบา้ นเมือง ไปจนถึงเรื่องใกล้ตัวอย่างใครบวช ใครเกิด ใครตาย แม้กระทั่งเมือคืนนี้ขโมยขึ้นบ้านใคร “เป็นการบอกเล่าส กู่ นั ฟ งั ” พีต่ อ้ ยบอก “ถ้าเมือ่ ค นื นี้ใครไม่รู้ก็จะมารเู้อาตอนเช้านี่แหละ” เช้านี้ เรื่องเล่าหนีไม่พ้นราคายางพาราและราคา มังคุด จับใจความภาษาถิ่นได้ความว่า ตอนนี้ต้นกล้า ยางพารากำลังขาดตลาด เพราะผู้เพาะกล้ายางพารานำ ไปขายที่ภาคอีสาน เพราะทางภาคอีสานให้ราคาดี และ
73
74 ขุนทะเล
ตอนนี้กำลังค ึกคักปลูกยางพารากัน “มังคุดราคาเท่าไหร่” ใครคนหนึ่งถามหลังแก้วชา ใส่นม “ถูก” เพื่อนตอบคำเดียวสั้นๆ ภาษาถิ่น ถูกในที่นี่ไม่น ่าจะหมายถึงถูกต้อง ถูกก็คือถูก ชาหมดถ้วย พวกเขาก็แยกย้ายกันไปทำงานใน สวนสเีขียว
เสียงตามสาย นอกจากร้านน้ำชา ภายในชุมชนยังมีการสื่อสาร กันในระบบ ‘เสียงตามสาย’ ครอบคลุมพ นื้ ทีท่ งั้ 65 ตาราง กิโลเมตร โดยมีคณะทำงานของ อบต. รับผ ิดช อบดำเนิน รายการ รวมถึงค้นคว้าหาความรู้มาบอกกล่าวต่อคนใน ชุมชน ซึ่งจะมีทุกวันไม่เว้นวันห ยุดราชการ ระหว่างเวลา 12.00-13.00 น. การสื่อสารระบบเสียงตามสายจะเป็นข้อมูลอย่าง เป็นทางการ “เมื่อก่อนเกษตรกรในหมู่บ้านทั้ง 12 ตำบลกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ทใี่ช้สารเคมีเร่งผลผลิต ตอนนี้เหลือ 20 เปอร์เซ็นต์ท ยี่ งั ค งใช้ส ารเคมี เราไม่ได้ห มายความวา่ เสียง ตามสายมนั เปลีย่ นพฤติกรรมทงั้ หมด แต่ม นั ก เ็ ป็นเครือ่ ง มือในการเผยแพร่ส อื่ สาร” โสภณ พรหมแก้ว นายกอบต.
แสงจริง
ขุนทะเลบอก นอกจากนี้ ข้อถกเถียงหรือเรื่อง เล่ า จ ากย ามเ ช้ า ใ นร้ า นน้ ำ ช าก็ จ ะถู ก ยืนยันอีกครั้งว่า เมื่อคืนนี้มีขโมยขึ้นบ้านใครจริง หรือเปล่า
75
76 ขุนทะเล
07ความพ่ายแพ้ของนายกฯ บ้ า นนาย กอ งค์ ก ารบ ริ ห ารส่ ว นต ำบลขุ น ท ะเล เลี้ยงหมู ภายในบ้านมีการจัดการพลังงานหมุนเวียนจาก ‘ขีห้ มู’ ขีห้ มูบ างสว่ นจะถกู น ำไปเป็นแ พลงตอนในบอ่ ป ลา ของนายกฯ แต่เรื่องที่เรานั่งคุยกับนายกฯ ไม่ใช่เรื่องขี้ๆ “เราเก็บข อ้ มูลจ ากอดีตเพือ่ จ ดั การกบั ป จั จุบนั แ ล้ว กำหนดอนาคตว่าเราจะไปทางไหน”
แสงจริง
โสภณ พรหมแ ก้ ว บอกว่ า แผนแม่ บ ทชุ ม ชน เป็นหัวใจของการบริหารจัดการ “ทำยังไงให้ชุมชนเข้มแข็ง” นายกฯตั้งคำถามด้วย แววตาดุดัน เขาบอกความเข้มแข็งมาจากฐานล่าง – คนใน ชุมชน ‘พวกเติ้นทำคลอด ถ้ารอด อบต. เลี้ยง’ เป็น สโลแกนข องเ ขา ซึ่ ง เ ป็ น แ นวคิ ด ใ นก ารส ร้ า งใ ห้ ประชาชนพึ่งตนเองภายใต้ความเชื่อมั่นในศักยภาพของ ประชาชนใ นต ำบล อบต.ขุ น ท ะเลไ ม่ ไ ด้ ส นั บ ส นุ น งบประมาณให้ทันที แต่ประชาชนต้องทำให้เห็นว่าการ ทำงานของตนเองมีผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ ทำได้ด้วย ตนเอง จากนั้ น ท าง อบต. จึ ง ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ผ่ า น กระบวนการมีส่วนร่วมในการคิดการวางแผน และการ ประเมินผลจาก ‘เวทีป ระชาคมหมู่บ้าน’ จากนั้นใช้แผนแม่บทตำบลเป็นกลไกเชื่อมร้อย การทำงานร่วมกัน ภาคประชาชนมีอิสระในการคิดและ ออกแบบกิจกรรมพัฒนาตำบล ต้นทุนข องขนุ ท ะเลมพี ร้อมอยูแ่ ล้วด ว้ ยทรัพยากรที่ แวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ข องผืนดินผืนน้ำ “เรามีดอี ยู่แล้ว เราก็ไปทางนั้น”
77
78 ขุนทะเล
แสงจริง
ขุนทะเลเน้นเกษตรเพื่อสุขภาวะ การมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน ยกระดับค ุณภาพชีวิตคนพิการ “อย่างน้อยที่สุดเราอยากให้มีความพอเพียง ลด รายจ่ายในครัวเรือน คือเรามีความอุดมสมบูรณ์นะ ขุ น ท ะเลเ ขาบ อกดิ น ดำน้ ำ ดี เห็ น มั้ ย ดิ น ของเ ราด ำ ปลูกอะไรก็ขึ้นสวย หันไปซ้ายไปขวา มะละกอ พริก ได้กินทั้งนั้น “กว่าจ ะถงึ ว นั น ี้ เราทำมาลม้ ลุกค ลุกค ลานมา ไม่ได้ หมายความว่าเราสร้างขึ้นใหม่นะ ปราชญ์ช ุมชน เกษตร เพื่อสุขภาวะ อะไรเหล่านี้เรามีอยู่แล้วเพียงแต่เรามาจัด ระบบ พอจัดระบบก็มีคนส่งเสริม บุคคลภายนอกก็ได้ เห็น จากลูกเลี้ยงก็เป็นลูกคนโต มันมาเองครับ” ในบริเวณบ้านนายกฯ มีลานหินกรวด คุยเสร็จ ลูกน้องนายกฯก็เริ่มตั้งวง วงเปตอง ฉันอยู่ฝั่งลูกน้องของนายกฯ ส่วนนายกฯ อยู่ทีมเดียวกับช่างภาพ ผลั ด กั นว างผ ลั ด กั น ตี อ ยู่ น าน ผลสุ ด ท้ า ยที ม นายกฯ แพ้ “วันนี้แพ้ไม่ได้หมายความพรุ่งนี้จะแพ้อีกนะโว้ย” เขาแหย่ลูกน้องกับฉ ันที่เป็นฝ่ายตรงข้าม
79
80 ขุนทะเล
08 ธนาคารขุนทะเลชีวาสุขี พนักงานธนาคารหมู่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านนาทอน ตำบลขุนทะเล นั่งเรียงเป็นแถวหน้ากระดานให้บริการ สมาชิกธนาคารหมู่บ้านเอาเงินมาฝาก ไม่ต้องมีบัตรคิว ไม่มีพนักงานคนสวยยืนต้อนรับ หน้าธนาคาร ไม่มแี อร์คอนดิชั่น ทุกอย่างเป็นธรรมชาติ เงินไม่ใช่ทุกอย่างในชีวิตก็จริง แต่ชีวิตที่ดีควรมี สภาพคล่อง แรกเริม่ กลุม่ แ กนนำในชมุ ชนมแี นวคิดในการจดั ต งั้ แหล่งเงินท นุ ท เี่ ป็นข องชมุ ชนเอง จึงจ ดั ต งั้ ก ลุม่ อ อมทรัพย์ ขึน้ ม า โดยมกี ารระดมทนุ ด ว้ ยการฝากหนุ้ แ บบสจั จะออมทรัพย์เพื่อเป็นกองทุนระยะแรก ต่อมามีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาสนับสนุนเงินทุน บางส่วนตลอดจนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็น สถาบันการเงินของชุมชน มีกิจกรรมการออมทรัพย์เพื่อ เป็นสวัสดิการ ตลอดจนจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน ตำบล (สัจจะวันละบาท) กิจกรรมการกู้ยืม และการจัด สวัสดิการให้ก ับสมาชิกและผู้ด้อยโอกาสในชุมชน จวบจนถึงปัจจุบันกลายมาเป็นสถาบันการเงิน ของชุมชน
แสงจริง
81
82 ขุนทะเล
ฉั น ถ ามห าป ระธานส ถาบั น ก ารเ งิ น ชุ ม ชน บ้านนาทอนเพื่อขอสอบถามข้อมูลเบื้องต้น ปรากฏว่า เป็นสอนไชยา ไกด์น ำทางของฉันนั่นเอง ตอนนั้ น ก็ เ หมื อ นเ งาะถ อดรู ป ม านั่ ง ใ ห้ ฉั น สัมภาษณ์ “สถาบันการเงินทำงานเหมือนธนาคารทั่วไป ก็ ปรับใช้ในชุมชน เมื่อในชุมชนมีองค์กรการเงิน คนใน ชุมชนกส็ ามารถพงึ่ พาสถาบันท างการเงินในชมุ ชนได้ เอา เงินม าฝากในชมุ ชน เป็นการออมอย่างหนึง่ ” สอนไชยาใน ฐานะประธานสถาบันการเงินชุมชนบ้านนาทอนบอก แต่ความแตกต่างของธนาคารทั่วไปกับสถาบัน ทางการเงินในชุมชนมีอยู่ตรงที่… “สถาบันทางการเงินทำให้เกิดเงินหมุนเวียนใน ชุมชน สมาชิกทกี่ ู้เงินกับสถาบันฯ เมื่อถ ึงนัดชำระ มีหรือ ไม่มกี ็มาบอกกัน” สอนไชยาบอก สำหรับธนาคารหมู่บ้านหมู่ 10 แห่งนี้ก่อตั้งปี 2542 โดยรวม--มีจ ดุ ม งุ่ ห มายให้เป็นแ หล่งเงินท นุ ในการ ประกอบอาชีพ หรืออ ีกนัยหนึ่ง เป็นแหล่งน้ำใจในชีวิต หากเป็นสมาชิกธนาคารหมู่บ้านจะต้องฝากเงิน ทุกเดือนขั้นต่ำ 20 บาท
แสงจริง
ธนาคารคิดด อกเบี้ยสมาชิกรายทกี่ ู้ร้อยละ 1 บาท 50 สตางค์ วงเงินกู้ไม่เกิน 2 หมื่นบาท วันเสาร์เป็นวันที่ธนาคารเปิดทำการ ฉันนั่งมอง ชาวชุมชนเข้ามาทำธุรกรรมกับทางธนาคารหมู่บ้านไม่ ขาดสาย จึงอยากถามอะไรพวกเขาเสียหน่อย
83
84 ขุนทะเล
ความสุ ข ข องบุ ป ผา เชาวลิ ต พนั ก ง าน อบต.ขุนทะเล “ความสขุ ค อื ...” เธอนงิ่ ค ดิ “การทคี่ นรอบขา้ งเรามคี วามสขุ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ แน่นอน...สภาพคล่องที่ดีถือเป็นความสุขอย่าง หนึง่ ด ว้ ย เพราะถา้ ภ ายในครอบครัวเรามสี ภาพคล่อง มันต อบสนอง ความต้องการสมาชิกในครอบครัวอย่างเพียงพอ ปัจจุบันสภาพ คล่องสำคัญในการดำรงชีวิต”
แสงจริง
ความสุขของมานิตย์ พงศ์วิฑูรย์ ผู้จัดการธนาคาร หมู่บ้านหมู่ที่ 10 “ความสุขที่แท้จริงเกิดจากความสงบ ชีวิตต้องมีความสงบ จึงจะมคี วามสขุ การมสี ภาพคล่องทดี่ ี ไม่ ได้ห มายถงึ ค วามสขุ เพราะ สภาพคล่องมนั ชว่ ยให้เขาสามารถใช้จา่ ยไปได้ ความสขุ ม นั อาจจะอยู่ ที่ความพอใจ พอประมาณ”
85
86 ขุนทะเล
ความสุขของกาญจนา ยอดบำเพิง กรรมการ ธนาคารหมู่บ้านหมู่ที่ 10 “ความสุขคือการเห็นคนรอบข้างมีความสุข ถ้าคนรอบข้างมี ปัญหาเราก็มีปัญหา สภาพคล่องคือความสุขถ้าลูกมีปัญหาติดยาเรา ก็ทุกข์ แต่ถ้าสภาพคล่องทางการเงินมันทำให้ครอบครัวเราไม่ติดขัด เรากม็ คี วามสขุ ความสขุ ม นั อยู่ ในครอบครัว ถ้าครอบครัวเรามคี วามสขุ เราก็มีความสุข” ความสุขของจำรูญ พรหมแก้ว ฝ่ายบัญชีธนาคาร หมู่บ้าน “ความสุขของผมคือการให้ ได้ช่วยเหลือเพื่อนก็มีความสุข แล้ว ถ้ามี ให้ผมก็ให้ยืม ถ้าไม่มีก็อีกเรื่องหนึ่ง” ความสขุ ข องคณ ุ (โปรดใส่ช อื่ แ ละตำแหน่งข องคณ ุ ลงไป พร้อมระบุว ่าค วามสุขของคุณคืออะไร) “............................................................”
แสงจริง
87
88 ขุนทะเล
แสงจริง
เล่าประกอบภาพ
89
90 ขุนทะเล
แสงจริง
อนุสาวรียห์ มื่นไกรพลขันธ์ หมืน่ ไกรพลขนั ธ์ หรือต าขนุ พล แม่ทพั ข องพระเจ้า ศรีธ รรมโศกราช เป็นท เี่ คารพนบั ถือข องประชาชนในพนื้ ที่ และใกล้เคียง นอกจากนี้ใกล้ๆ กับอนุสาวรีย์ตาขุนพล ยังเป็นท ตี่ งั้ ข องพพิ ธิ ภัณฑ์ข องการเรียนรู้ ซึง่ ร วบรวมของ เครื่องใช้โบราณและเรือโบราณ ซึ่งบ ่งชี้ว่าต ำบลขุนทะเล เคยเป็นชุมชนที่รุ่งเรืองในอดีต
91
92 ขุนทะเล
แสงจริง
วัดสรรเสริญ (วัดสอ) เป็ นวั ด เ ก่ า แ ก่ แ ต่ ไ ม่ มี ห ลั ก ฐ านชั ด เจนว่ า ส ร้ า ง ขึ้ น ส มั ย ใ ด แต่ สั น นิ ษ ฐานว่ า ส ร้ า งขึ้ น พ ร้ อ มกั บ เ มื อ ง นครศรีธรรมราชราวพุทธศตวรรษที่ 18 ภายในวัดมี โบราณสถานและโบราณวัตถุเก่าแก่จำนวนมาก เช่น พระประธานปนู ป นั้ ป ระดิษฐานอยูภ่ ายในอโุ บสถอายุก ว่า 100 ปี พระพุทธรูปท องเหลืองปางอุ้มบาตรระฆังส ำริด เจดีย์โบราณทรงระฆังคว่ำ และภาพเขียนนิทานชาดก
93
94 ขุนทะเล
แสงจริง
ถ้ำน้ำวังศรีธรรมโศกราช ถ้ำน้ำแห่งนี้เป็นถ้ำที่มีความสวยงาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลขุนทะเล ภายในถ้ำมีหินงอกหินย้อยและน้ำตก ภายในถ้ำที่หาดูยาก นอกจากนี้ยังค้นพบกระดูกมนุษย์ โบราณอายุกว่าพันปีเมื่อปี 2539 อยู่ภายในถ้ำ โดย กระดูกได้แทรกตัวอยู่ภายในหินที่ทับถมมานาน
95
96 ขุนทะเล
แสงจริง
คลองเสาธง เมื่อก่อนการคมนาคมของ เกษตรกรชาวสวนใช้คลองเสาธง ในการเดินทางนำสินค้าจำพวก ผลไม้ล่องเรือไปขายยังตลาดที่ อำเภอปากพนัง ปัจจุบนั ล ำคลอง เสาธงแห้งล งจากเมื่อก่อน
97
98 ขุนทะเล
ภาคผนวก ข้อมูลทั่วไปตำบลขุนทะเล
ที่ตั้งและอาณาเขต ตำบลขุนทะเลเป็นหนึ่งในจำนวน 5 ตำบลของอำเภอ ลานสกา จังหวัดน ครศรีธรรมราช ตัง้ อ ยูท่ างทศิ ต ะวันอ อก ของที่ว่าการอำเภอลานสกา ซึ่งห่างจากที่ว่าการอำเภอ ลานสกา ประมาณ 9 กิโลเมตร มีพ นื้ ทีท่ งั้ หมด 65 ตาราง กิโลเมตร หรือ 24,580 ไร่ อาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดก ับ ตำบลท่าด ีอำเภอลานสกา ทิศตะวันอ อก ติดก ับ ตำบลนาพรุ อำเภอพระพรหม ทิศตะวันต ก ติดกับ ตำบลเขาแก้ว อำเภอลานสกา ทิศใต้ ติดกับ ตำบลลานสกา อำเภอลานสกา ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของตำบลขุนทะเลส่วนใหญ่เป็น ที่ราบและพื้นที่ลูกคลื่นลาดในทางตอนใต้ของตำบล พืน้ ทีส่ ามารถใช้ได้ด ใี นการทำการเกษตร เช่น ปลูกม งั คุด ทุเรียน เงาะ ลางสาด ยางพารา เป็นต้น
แสงจริง
ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะทั่วไปของภูมิอากาศของตำบลขุนทะเล จัดอยู่ ในประเภทที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือ และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีฤดูกาล เพียง 2 ฤดูเท่านั้น คือ ฤดูร้อนและฤดูฝน โดยราวเดือน กุมภาพันธ์ - มิถุนายน จะเป็นฤดูร้อน ฝนฟ้าจะไม่ตก อากาศค่อนข้างร้อน ระหว่างเดือนกรกฎาคม - มกราคม ฝนจะตกค่อนข้างชุก เพราะอทิ ธิพลของลมมรสุมต ะวันต กเฉียงเหนือแ ละมฝี น ตกหนาแน่นในระยะเดือนพฤศจิกายน – มกราคม ซึ่งใน ระยะนี้จะเป็นสาเหตุให้น้ำหลากเกือบทุกปี การคมนาคม เส้นทางการติดต่อคมนาคมภายในตำบลขุนทะเลและ ตำบลใกล้เคียงใช้เส้นทาง - สายลานสกา – นาพรุ เป็นเส้นทางหลัก - สายเลียบคลองชลประทานเป็นเส้นทางรอง เส้นทางที่ใช้ติดต่อกับอำเภอและอำเภอใกล้เคียง ใช้เส้นทาง - ทางหลวงจังหวัดห มายเลข 4015 - สายลานสกา – นาพรุ ผ่านหมูท่ ี่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 10, 11 - สายขนุ ทะเล – พระเพรง ผ่านหมูท่ ่ี 1, 2, 8, 9
99
100 ขุนทะเล
สถานที่ท่องเที่ยว • ถ้ำน้ำวังศรีธรรมโศกราช
ที่ตั้ง ม.4 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช • ถ้ำพระเจ้าศ รีธรรมโศกราช
ที่ตั้ง ม.4 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช • อนุสาวรียห์ มื่นไกรพลขันธ์ แม่ทัพของพระเจ้าศรีธรรม โศกราช ที่ตั้ง ม.3 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช • วัดสรรเสริญ(สอ)
ที่ตั้ง ม.3 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช • วังโบราณ(ที่พำนักของพระนนทราชา พระอนุชาของ พระเจ้าศรีธ รรมโศกราช) ที่ตั้ง ม.6 ต.ขุนทะเล อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช โฮมสเตย์ องค์การบริหารส่วนตำบลขุนทะเลมีที่พักรับรองสำหรับ ผู้สนใจมาดูงานและท่องเที่ยวในพื้นที่ โดยมีโฮมสเตย์ 85 หลัง ติดต่อโฮมสเตย์ : สำนักงานสร้างสขุ ภ าวะองค์การ บริหารส่วนตำบลขุนทะเล 081-077-8790 (อารักษ์ มังกรฤทธิ์)