42 minute read

COUNTRY-SPECIFIC FOOD-BASED

Next Article
Fi ASIA

Fi ASIA

PUBLISHED: Issue 9 – Leading the way in global food safety

Article info www.brcgs.com

Advertisement

วันที่ 1 สิงหาคมที่ผ่านมาเป็นวันเปิดตัวมาตรฐานด้านความปลอดภัยทางอาหารของโลกฉบับที่ 9 ซึ่งมาตรฐานนี้ได้ ถูกพัฒนาและเผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1998 พัฒนาการจนกลายเป็นการรับรองระบบชั้นนำาด้านความปลอดภัย ทางอาหารของโลก โดยมีสถานประกอบการที่ผ่านการรับรองกว่า 22,000 แห่งในมากกว่า 130 ประเทศ

มาตรฐานมอบกรอบการทำางานสำาหรับ ผู้ผลิตอาหาร โดยช่วยให้การผลิตมีความ ปลอดภัย ไร้การปลอมปน และถูกกฎหมาย และเพื่อบริหารจัดการคุณภาพให้ตรงกับ ความต้องการของลูกค้า การรับรองตาม มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั่วโลกจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายประเภทในอุตสาหกรรมอาหาร รวมถึงผู้ค้าปลีกและผู้ระบุคุณสมบัติ และ ในฐานะองค์กรคุ้มครองผู้บริโภค (CPO) ชั้นนำา BRCGS ทำางานอย่างหนักเพื่อแสดง ให้เห็นถึงคุณค่าของการรับรองนี้ต่อห่วงโซ่ อุปทานทั่วโลก รวมถึงผู้บริโภคด้วย ยิ่งไปกว่านั้น การวิจัยอิสระซึ่งดำาเนินการ โดยมหาวิทยาลัย Birkbeck แสดงให้เห็นว่า องค์กรที่ดำาเนินงานตามมาตรฐาน BRCGS สามารถยกระดับความปลอดภัยของอาหาร ประสิทธิภาพการดำาเนินงาน การเติบโตเชิง พาณิชย์ ความสามารถในการทำากำาไร และ นวัตกรรมในวงกว้าง อีกทั้งการศึกษาอิสระ จากหน่วยงานความปลอดภัยอาหารและผู้ บริโภคของเนเธอร์แลนด์ (NVWA) สรุป ว่าสถานที่ที่มีการรับรองจาก BRCGS มี รายงานการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบน้อย ลงกว่าองค์กรที่มีการรับรองและดำาเนินการ ด้วยโครงการรับรองประเภทอื่น และย้ำาถึง ข้อดีจากหลักสูตรการรับรองที่แข็งแกร่ง อย่าง BRCGS

John Kukoly ผู้อำานวยการของ BRCGS กล่าวว่า “วันนี้เราประสบความสำาเร็จครั้ง ใหญ่ในการเปิดตัวฉบับที่ 9 ฉันอยากใช้ โอกาสนี้ขอบคุณทุกคนที่ BRCGS ซึ่งร่วม แรงกันทำาให้สิ่งนี้เกิดขึ้น และขอขอบคุณผู้ที่ เกี่ยวข้องในการพัฒนามาตรฐานนี้ผ่านคณะ ทำางานทั่วโลกของเราด้วยเช่นกัน หากไม่มี ความช่วยเหลือจากพวกเขา เราคงไม่มาถึง จุดนี้ BRCGS มีประวัติยาวนาน โดยไม่เพียง เป็นมาตรฐานชั้นนำาในอุตสาหกรรมอาหารเท่านั้น แต่ยังให้คำาแนะนำาที่มีประสิทธิภาพ สำาหรับธุรกิจของคุณเพื่อดำาเนินการตามแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศ จากการที่ห่วงโซ่อุปทาน มีวิวัฒนาการในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ แบบพลวัต BRCGS พร้อมสนับสนุนความ ต้องการด้านความปลอดภัยทางอาหารของ คุณผ่านการรับรองของเรา” การพัฒนาฉบับที่ 9 เกี่ยวข้องกับผู้ เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมทั่วโลกซึ่งเป็น ตัวแทนของอุตสาหกรรมในทุกแง่มุมและ คำาปรึกษาที่หลากหลาย สิ่งนี้ทำาให้มั่นใจ ได้ว่ามีการทบทวนปัญหาทั้งหมดที่เกิด ขึ้นในอุตสาหกรรมอาหารในปัจจุบันอย่าง เหมาะสม ข้อกำาหนดในเวอร์ชันสุดท้ายที่ เปิดตัวในวันนี้แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการจาก ฉบับที่ผ่านมา และเหนือสิ่งอื่นใด สร้างขึ้น ตามข้อกำาหนดสำาหรับความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์และความสามารถหลัก ซึ่งเป็น หัวข้อที่เราลงรายละเอียดในบทความของ เราเมื่อไม่นานมานี้ มาตรฐานถูก ปรับปรุงอยู่เป็นระยะ เพื่อสะท้อนแนวคิดล่าสุด เกี่ยวกับความปลอดภัย ทางอาหาร และเพื่อส่ง เสริมให้มีการประยุกต์ ใช้มาตรฐานทั่วโลก กระบวนการทบทวน ช่วยให้มั่นใจว่าผู้ที่ใช้ มาตรฐานยังคงเห็น คุณค่าในทุกวิวัฒนาการ Richa Bedi-Navik ผู้จัดการอาวุโสด้าน มาตรฐานระดับโลกของ BRCGS กล่าว ว่า “มาตรฐานความปลอดภัยอาหารช่วย ให้กระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องง่าย ขึ้น ผ่านการจัดการความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานความเสี่ยงที่ออกแบบ มาเป็นอย่างดี สิ่งสำาคัญคือต้องทบทวน และปรับปรุงมาตรฐานเป็นระยะ เพราะ อุตสาหกรรมมีวิวัฒนาการอยู่ตลอดเวลา ในขณะที่มาตรฐานบางฉบับก่อนหน้านี้นำา ไปสู่การพัฒนาเนื้อหาใหม่ แต่หลายครั้งก็ สามารถทำาแค่แก้ไขเพียงเล็กน้อยเพื่อช่วย ให้สถานที่ที่ผ่านการรับรองสามารถพัฒนา ระบบความปลอดภัยทางอาหารที่แข็งแกร่ง ซึ่งเป็นหลักการสำาคัญของการปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง นี่คือกรณีของฉบับที่ 9 และการ เปิดตัวคือกิจกรรมเพื่อให้เกิดการรับรู้ใน วงกว้าง” 

1st August marks the launch of the Global Standard Food Safety Issue 9. Originally developed and published in 1998, the Standard has since developed and evolved to become the leading global food safety programme with over 22,000 certificated sites across more than 130 countries.

The Standard provides a framework for food manufacturers to assist them in the production of safe, authentic, legal food and to manage quality to meet customer requirements. Certification against the Standard is already recognised globally by many different types of stakeholders in the food industry, including retailers and specifiers, and as the leading Consumer Protection Organisation (CPO), BRCGS works hard to demonstrate the value of this certification to the global supply chain, including the end consumer.

Furthermore, independent research, carried out by the University of Birkbeck, demonstrates that organisations operating to BRCGS standards improve food safety, operational efficiency, commercial growth, improved profitability and broad-based innovation. Also, an independent study from the respected Netherlands Food and Consumer Product Safety Authority (NVWA) concluded that sites with BRCGS certification reported fewer noncompliances with regulation than both non-certified organisations and those operating to other certification programmes and reiterates the advantages from a robust certification scheme such as BRCGS.

John Kukoly, Director of BRCGS, said: “Today we have hit a huge milestone in the launch of Issue 9. I would like to take this opportunity to say thank you to everyone at BRCGS who has worked to make this happen. I would also like to thank those who were involved in the standard development through our global working groups as, without their contribution, we wouldn’t be where we are today. BRCGS has a long history of not only being the leading standard in the food industry, but also providing an effective guide for your business to implement best practice. As supply chains evolve in this dynamic business environment, BRCGS is here to support your food safety needs through certification”.

The development of Issue 9 involved global industry experts representing all aspects of the industry and a wide consultation. This ensured an appropriate review of all emerging issues in the food industry today. The requirements in the final version launched today represents an evolution from previous issues and, amongst other things, builds on the requirements for product safety culture and core competencies – topics we explore in more detail in our recent articles.

The Standard has been updated at regular intervals to reflect the latest thinking in food safety, and to encourage the adoption of the Standard worldwide. The review process ensures that those who use the Standard continue to see value with each evolution. Richa BediNavik, Senior Global Standards Manager at BRCGS said: “The Food Safety Standard facilitates a process of continual improvement through well-designed, risk-based product safety management. It is important for the Standard to be periodically reviewed and updated due the ever-evolving nature of the industry. Whilst some previous issues of the standard have led the way in terms of new content development, more often, it can be making small changes to help certificated sites develop robust food safety systems, which is a key principle of continual improvement. This is the case with Issue 9 and the launch is an event that deserves recognition” 

the use of “Microbial Pesticides” for upgrading the quality of agricultural products

Articles info ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) istr@tistr.or.th 0 2577 9016, 0 2577 9021

วว. ขับเคลื่อน BCG หนุนใช้ “สารชีวภัณฑ์” ช่วยยกระดับผลิตผลทางการเกษตร พร้อมให้บริการระดับอุตสาหกรรม โดย ICPIM 2 ครอบคลุมตอบโจทย์ทั้งสายการผลิตเชื้อรา/แบคทีเรีย

“ชีวภัณฑ์” เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะมาจากพืช สมุนไพร จุลินทรีย์ มีหลายรูปแบบ ที่คุ้นเคยและ เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ EM (effective microorganisms) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์มีหน้าที่ในด้านการย่อยสลายเศษซาก พืช ช่วยเร่งปฏิกิริยาในการผลิตปุ๋ย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ผลิตฮอร์โมน หรือเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมักร่วมกับ สมุนไพรเพื่อนำาไปใช้เป็นปุ๋ยนำา หรือใช้ป้องกันกำาจัดแมลง มีหลายหน่วยงานภาครัฐที่ผลิต EM และนำาไปใช้ในเชิงสังคม อาทิ พด. 1-12 ของกรมพัฒนาที่ดิน ปม.1 และ ปม. 2 ของกรมประมง และ PGPR 1 PGPR 2 และ PGPR 3 ของกรม วิชาการเกษตร เป็นต้น

นอกจากนี้ยังมีจุลินทรีย์เดี่ยวๆ โดย ทั่วไปที่ผลิตขายเชิงพาณิชย์และผ่านการ ขึ้นทะเบียนกับสำานักควบคุมพืชและวัสดุ การเกษตร จะมี 5 สายพันธุ์หลัก คือ ไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย เมธาไรเซียม บีที และบีเอส ซึ่งจุลินทรีย์ทั้ง 5 ชนิดนี้จะนำา ไปใช้ในการควบคุมศัตรูพืช คือ โรคและ แมลงของพืช

ปัจจุบันภาครัฐรณรงค์ให้เกษตรกรทำาการ เกษตรมุ่งเน้นระบบการผลิตพืชแบบเกษตร ปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ โดยใช้ชีวภัณฑ์ ในการควบคุมศัตรูพืชมากขึ้น เพื่อการขับ

เคลื่อนเกษตรกรรมของประเทศให้ยั่งยืน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นองค์กรหลักใน การขับเคลื่อนประเทศเชิงบูรณาการในทุก มิติ มุ่งใช้ความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและ วัฒนธรรมโดยการขับเคลื่อนนโยบาย BCG เป็นฐานในการพัฒนาที่มีเป้าหมายร่วมคือ “ก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลาง สู่ประเทศ ที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืนภายใน 7 ปี” สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) ซึ่งเป็นหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจในสังกัดของกระทรวง อว. ได้ นำานโยบายเศรษฐกิจ BCG เป็นธงดำาเนิน งานองค์กร และมีองค์ความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ สร้างความเข้ม แข็งให้กับทุกภาคส่วนของประเทศ โดย เฉพาะภาคการเกษตรที่มีบทบาทสำาคัญ ในการสร้างงาน สร้างอาชีพอย่างเป็นรูป ธรรม ผ่านการดำาเนินงานโดยศูนย์เชี่ยวชาญ นวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ ในส่วนของ ศูนย์นวัตกรรมผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์เพื่อ อุตสาหกรรมอาหาร หรือ ICPIM 2 ที่มี สายการผลิตชีวภัณฑ์ครอบคลุมตอบโจทย์ ทั้งสายการผลิตเชื้อราและแบคทีเรีย รูปแบบของชีวภัณฑ์ที่ได้จากการผลิต โดยโรงงาน ICPIM 2 มีจำานวน 3 รูปแบบ คือ หัวเชื้อเหลว หัวเชื้อน้ำา และหัวเชื้อ ผง ในส่วนของบรรจุภัณฑ์มี 3 ขนาด คือ เล็ก กลาง และใหญ่ สามารถตอบโจทย์ผู้ ใช้ชีวภัณฑ์ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ มีกำาลัง การผลิตรวมต่อปีมากถึง 115,000 ลิตร

“ICPIM 2” มีศักยภาพตอบโจทย์ให้ กับภาคอุตสาหกรรมของไทย โดย วว. มี หลายส่วนงานที่ร่วมบูรณาการดำาเนินงาน ครอบคลุมและรองรับงานด้านชีวภัณฑ์ ครบวงจร ได้แก่ ศูนย์จุลินทรีย์ มีสายพันธุ์ จุลินทรีย์ในคลังมากกว่า 11,000 สายพันธุ์ เพื่อนำาไปวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ มี โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ พร้อมให้บริการจัด เก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์ให้กับผู้ประกอบ การ มีศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ สมุนไพร ซึ่งมีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐาน ตาม OECD GLP GUIDLINE ในการให้ บริการวิเคราะห์ทดสอบความเป็นพิษของ จุลินทรีย์ และในส่วนของโรงงาน ICPIM 2 ให้บริการครบวงจรทั้งในด้านการวิจัยและ พัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์ใหม่ๆ ในระดับ ห้องปฏิบัติการ และทดสอบกระบวนการ ผลิต ขยายจุลินทรีย์ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาบุคลากรที่ เกี่ยวข้องในงานด้านชีวภัณฑ์ โดยมีความ ร่วมมือกับสถาบันการศึกษา รับน้องๆ ใน ระดับอุดมศึกษามาเรียนรู้ ฝึกงาน รวม ถึงทำาวิจัยในด้านต่างๆ ของการพัฒนางาน ด้านชีวภัณฑ์ ทั้งในระดับห้องปฏิบัติการ โรงงาน และภาคสนาม เพื่อเป็นแรงงาน รองรับการพัฒนาของอุตสาหกรรมเกษตร และชีวภาพต่อไปในอนาคต ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวถึงข้อดีของสารชีวภัณฑ์ ที่ วว. ผลิตว่าผ่านการวิจัยและพัฒนาใน เรื่องของประสิทธิภาพในการควบคุมศัตรูพืช รวมถึงทดสอบความเป็นพิษในห้องปฏิบัติ การที่ได้มาตรฐาน ISO/IEC 17025 ตาม หลัก OECD GLP GUILDLINE และผ่าน การผลิตในโรงงานด้วยเครื่องจักรระดับกึ่ง อุตสาหกรรมที่ได้มาตรฐาน กระบวนการ ผลิตสะอาด ปราศจากเชื้ออื่นปนเปื้อน ทั้งนี้ วว. ได้นำาสารชีวภัณฑ์ที่วิจัย พัฒนาและผลิต ร่วมสนับสนุนการดำาเนิน งานของหน่วยงานพื้นที่ “กลุ่มอารักขาพืช สำานักงานเกษตรจังหวัด” รวมจำานวน 1.3 ล้านลิตร เพื่อป้องกันกำาจัดศัตรูพืชทดแทน สารเคมีทางการเกษตร ลดสารพิษตกค้าง เพิ่มความปลอดภัย ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ แก่เกษตรกรผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม และลดการนำาเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ โดย วว. ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต สารชีวภัณฑ์ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่จังหวัด กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม และอยุธยา ครอบคลุม 4 กลุ่มพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ไม้ผล พืชไร่ (ข้าว อ้อย มันสำาปะหลัง) พืชสมุนไพรและพืชผัก รวมทั้งได้พัฒนา กระบวนการขยายชีวภัณฑ์ทั้งในระดับห้อง ปฏิบัติการเพื่อขยายสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ และระดับชุมชน นอกจากนี้ วว. ยังได้เข้าร่วมดำาเนิน โครงการภายใต้แผนงาน/โครงการที่มี วัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณจากสำานักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “โครงการ ยกระดับเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคกลางตะวันตก ด้วย BCG โมเดล” ในปีงบประมาณ 2564 จากการดำาเนิน งานดังกล่าวได้ส่งผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ และสังคม ดังนี้ 1) มีเกษตรกรกว่า 200 ราย นำา เทคโนโลยีไปใช้ในการลดต้นทุนและเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ด้วยการพัฒนา ปัจจัยการผลิตหมุนเวียนสำาหรับเกษตรกร แปลงใหญ่เพิ่มขึ้นได้ 5 ปัจจัยการผลิต จำานวน 6 เทคโนโลยี ดังนี้ เทคโนโลยีการ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการหน่อไม้ฝรั่งเพื่อ การส่งออก เทคโนโลยีการผลิตข้าวเสริม ซีลีเนียม เทคโนโลยีการพัฒนาวัสดุเพาะเห็ด (ฟางข้าวเสริมซีลีเนียม กากมันสำาปะหลัง) เทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพผลผลิตอ้อยด้วย ปุ๋ยอินทรีย์เคมีเสริมจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต เทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพและเพิ่มผลผลิต พืชด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโต (มัน สำาปะหลัง กล้วย) และเทคโนโลยีขยาย ชีวภัณฑ์ในถังชุมชนโมเดล วว. 2) สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการ เกษตร โดยมีเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และบริษัท รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ผลิต Functional food และบรรจุภัณฑ์ 3) มีผู้ประกอบการร่วมลงทุนด้าน R&D ภายใต้ BCG model 4) เกิดต้นแบบผลิตภัณฑ์ Functional food และเวชสำาอาง จำานวน 10 ผลิตภัณฑ์ และต้นแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อม จำานวน 2 ต้นแบบ ส่งผลให้เกิด ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากการ ดำาเนินงานจำานวน 370 ล้านบาท

“ประโยชน์ของการใช้สารชีวภัณฑ์ เป็นการยกระดับผลิตผลทางการเกษตร รองรับนโยบายของรัฐบาล มุ่งสู่ระบบการ ผลิตพืชปลอดภัยและระบบการผลิตพืช อินทรีย์ เพิ่มมูลค่าของผลิตผลทางการ เกษตร ลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกร ที่สำาคัญยิ่งไปกว่านั้นคือลดการตกค้างของ สารเคมีในพืชผลการเกษตร ปลอดภัยทั้งผู้ ผลิต ผู้บริโภค ต่อสิ่งแวดล้อม ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชากรไทย” ผู้ว่าการ วว. กล่าวสรุปถึงประโยชน์ของสารชีวภัณฑ์ ที่มีต่อภาคเกษตรกรรม 

TISTR has driven the BCG policy to promote the use of “Microbial Pesticides” for upgrading the quality of agricultural products. ICPIM2 is ready to serve the industrial scale covering the whole production line of fungus/bacteria.

“Microbial Pesticides” are products derived from living organisms such as plants, herbs, microorganisms, etc. A familiar and commonly known one is EM (effective microorganisms), a group of microorganisms that can decompose dead plants and helps accelerate in producing fertilizer. Other groups include microorganisms used in producing hormones, or those used in fermentation mixed with herbs to be used as fertilizers or used to prevent and eliminate insects. There are several government agencies that produce EM for social or community use, for example, PD 1-12 of the Land Development Departmen,PM1 and PM2 of the Department of Fisheries, and PGPR 1, PGPR2, and PGPR 3 of the Department of Agriculturee, etc.

Moreover, there are other kinds of microorganism that are commercially produced and already registered through the Office of Agricultural Regulatory (OAR). There are 5 main varieties, i.e.Trichoderma, Beauveria, Metarhizium, BT, and BS, which are used in pest control, i.e. diseases and insects of plants.

Currently, the government has made campaigns among farmers on farming with good agricultural practices and organic farming system, that focusing on more utilisation of microbial pesticides for pest control that can reflect the concrete implementation of sustainable agricultural practices. The Ministry of Higher Education, Science, Research, and Innovation (MHESI) is the key organisation in driving the country with an integrated model of all dimensions together with the competitive advantage of resource and cultural diversity in order to use BCG economic policy as a development base to reach the goal in "stepping out of the middle-income trap to be a sustainably developed country within 7 years". The Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR), a state enterprise under MHESI, has also worked under the direction of the BCG economic policy by using knowledge and expertise in science, technology, and innovation to strengthen all sectors of the country. Particularly, we focus on the agricultural sector that plays an important role in job and career creation. The activities concerning this have been accelerated by the Innovative Centre for Production of Food Industrially used Microorganisms or ICPIM 2, a unit under the Expert Centre of Innovative Agriculture, which has a complete production lines of microbial pesticides of both fungi and bacteria.

The microbial pesticides produced by ICPIM 2 plant cover 3 types, i.e. liquid, water, and powder. The packaging comes in three sizes: small, medium and large, which can meet the needs of both small- and largescale users of microbial pesticides. The total annual production capacity is up to 115,000 litres.

“ICPIM 2” has potential to meet the needs of Thai industrial sector. Working collaboratively with many units under TISTR, the whole process can be completed. For instance, Bangkok MIRCEN can support with more than 11,000 microbial strains in the collection for research and development of the new ones. We have the infrastructure for collecting microorganisms and provided to entrepreneurs. Moreover, the Expert Centre of Innovative Herbal Products can help in microbial toxicity test/ analysis with a standard laboratory certified according to the OECD (GLP) Guideline. ICPIM 2 plant provides a full range of services in research and development of new microbial strains at laboratory scale and testing of production processes, which can be expanded the development of microorganisms at a semi-industrial scale.

In terms of human resource development, TISTR has recruited student trainees in the related fields from universities countrywide to learn, train, and conduct research in various areas of microbial pesticide development. These trainees have a good opportunity to work in various sites such as in a laboratory, plant, and in the fields as lab assistants who can fulfill the job in agricultural and biological industries in the future.

Dr. Chutima Eamchotchawalit, Governor of TISTR stated that the microbial pesticides had been developed and guaranteed by TISTR’s R&D, especially the efficiency in pest control. It had also passed the toxicity test in the laboratory which was certified of ISO/IEC 17025 according to OEC (GLP) Guideline. The production process was performed in a standard semi-industrial plant and machines with cleanliness and non-contaminated environment.

TISTR also performed a trial on using the developed microbial pesticides to support the work of "Plant Protection Group, Provincial Agriculture Office" in total 1.3 million litres in order to prevent pesticides, substitute agricultural chemicals, reduce toxic residues, increase safety, improve quality of life of farmers, consumers and environment, and decrease chemicals import from abroad. Currently, TISTR has transferred production technology of microbial pesticides to farmers in Kanchanaburi, Suphanburi, Nakhon Pathom, and Ayutthaya to be utilised for 4 economic plant groups including fruit trees, crops (rice, sugarcane, cassava), medicinal plants and vegetables. Production process at laboratory scale, then has been upscale to commercial and community levels.

Moreover, TISTR has joined in the Projects under the plan/ project aimed at recovering the economy and society affected by the Coronavirus-2019 outbreak, of which budget was allocated by the Office of the National Economic and Social Development Council to "Economic Enhancement Project in the Central West Economic Corridor with BCG Model" in fiscal year 2021. As a result of this operation, the economic and social impacts can be shown as follows: 1) More than 200 farmers have used this technology and it could reduce costs and increase production efficiency by developing 5 rotational production inputs for large-scale farmers and 6 technologies as follows: 1) asparagus management optimization technology for export, 2) selenium value-added rice production technology, 3) material development technology for mushroom growing (selenium added rice straw, tapioca waste), 4) Technology for increasing the quality of sugarcane yield with chemical organic fertilizer added with phosphate soluble microorganisms, 5) technology to increase quality and increase yield with growth regulators (cassava, bananas), and 6) microbial pesticides production technology in TISTR model community tank. 2) The value added agricultural product can be developed where farmers, community enterprises, and companies have been transferred of functional food and packaging production technology. 3) A number of entrepreneurs have co-invested under the BCG Model. 4) Ten products of functional food prototypes and cosmetology products as well as two environmentally friendly packaging prototypes were developed, resulting in the value of 370 million baht of economic and social impacts from the project.

“The benefits from microbial pesticides are best for upgrading agricultural products. Overall, it is a good way to implement the government's policy in safety farming and organic crop production system. Thus, it helps increase the value of agricultural products, reduce production cost for farmers. The most advantage is to reduce chemical residues in agricultural crops, which will be safe for both farmers and consumers, including the environment. This can improve the quality of life of Thai people", TISTR’s Governor concluded. 

The environmental impacts of 12 country-specific foodbased dietary guidelines

Article info รศ. ดร. กิตติ สรณเจริญพงศ์ Institute of Nutrition, Mahidol University (INMU) kitti.sra@mahidol.ac.th Kitti Sranacharoenpong. (2020). The environmental impacts of 12 country-specific food-based dietary guidelines. Journal of Public Health: From Theory to Practice 28, 719–727. doi.org/10.1007/s10389-019-01083-3

รูปแบบการบริโภคอาหารของประชากรก่อให้เกิดผลลัพธ์ด้านสุขภาพได้อย่างหลากหลาย ความท้าทายของ โภชนศาสตร์คือการทำาความเข้าใจกลยุทธ์การสร้างความสมดุลระหว่างอาหารสุขภาพกับระบบของอาหารที่ยั่งยืน ปัญหาสุขภาพที่มากขึ้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรศาสตร์และด้านอาหารไปจนถึงโลกาภิวัฒน์ของ กระบวนการทางเศรษฐกิจ โรคอ้วนเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อทั้งประชากรในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศ กำาลังพัฒนา นอกจากนั้น ประเทศกำาลังพัฒนายังพบปัญหาภาวะขาดสารอาหาร เช่น ทารกที่มีน้ำาหนักแรกเกิดต่ำา การขาดวิตามินเอ และการขาดธาตุเหล็ก

ในปี 1996 องค์การอาหารและ เกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะนำา ให้ทุกภูมิภาคทั่วโลกนำาเสนอคำาแนะนำา การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพดี (foodbased dietary guidelines, FBDGs) ต่อสาธารณชน FBDGs สร้างขึ้นเพื่อมอบ คำาแนะนำาด้านอาหารที่เหมาะสมและเป็น ประโยชน์สำาหรับบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาพในเชิงโภชนาการ แบบองค์รวมและป้องกันโรคที่เกี่ยวข้องกับ สารอาหาร ปัจจุบันมีการพัฒนาและใช้ FBDGs ในประเทศต่างๆ มากกว่า 150 ประเทศ ความหลากหลายของประชากร ในแต่ละภูมิภาคทั่วโลกและภายในประเทศ ทำาให้มีความต้องการแนวทางปฏิบัติที่เสนอ ความต้องการสารอาหารที่จำาเพาะ ขึ้นกับ เพศ อายุ พันธุกรรม ระดับกิจกรรม และ สุขภาพทั่วไป ความแตกต่างระหว่างบุคคล มักอยู่ในขอบเขตแคบๆ ดังนั้น จึงจำาเป็น ต้องมีข้อมูลจากการวิจัยและความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างคำาแนะนำาทาง วิทยาศาสตร์อย่างเหมาะสมและเพียงพอ FBDGs สามารถใช้ได้อย่างเหมาะสมเพื่อ อธิบายอาหารด้วยแนวคิดอาหารห้ากลุ่ม (หรืออาหารห้าหมู่) (five food group concept) แม้ว่าความหลากหลายของ อาหารและรูปแบบการบริโภคอาจแตก ต่างกันในแต่ละประเทศ แต่การจำาแนก ประเภทอาหารระดับพื้นฐาน (อาหารห้า กลุ่มดังกล่าว) จะคล้ายคลึงกันในทุก ประเทศ FBDG แต่ละฉบับมีตัว เลือกอาหารที่หลากหลายใน แต่ละกลุ่มเพื่อให้แต่ละ บุคคลบริโภคได้ ตามปริมาณ ที่แนะนำา ต่อวันเพื่อสุขภาพที่ดีที่สุด อาหารแต่ละ กลุ่ม ได้แก่ ธัญพืช ผักและผลไม้ เนื้อ สัตว์ นมและผลิตภัณฑ์จากนม และไขมัน

และน้ำาตาล FBDGs ทั่วโลกมีข้อตกลงร่วม ในหัวข้อทั่วไป เช่น การบริโภคอาหารให้ หลากหลายในแต่ละกลุ่ม การปรับสมดุล พลังงานจากอาหารเพื่อควบคุมน้ำาหนักเพื่อ ให้มีสุขภาพดี การบริโภคคาร์โบไฮเดรต เชิงซ้อน ผลไม้ ผัก ปลา และถั่วให้มาก ขึ้น และการจำากัดการบริโภคไขมันอิ่มตัว เกลือ น้ำาตาล และแอลกอฮอล์ FBDGs ได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่างๆ มากมาย ซึ่งรวมถึงความสามารถในการจัดหาอาหาร ความชอบ รูปแบบการบริโภคอาหาร และ สภาวะทางศาสนา สังคม วัฒนธรรม เกษตรกรรม ภูมิอากาศ และภูมิศาสตร์ ความต้องการรูปแบบการผลิตและการ บริโภคอาหารของประชากรเป็นสาเหตุหลัก ที่ทำาให้สิ่งแวดล้อมทั่วโลกเสื่อมโทรมลง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในหลาย ประเทศเป็นความท้าทายด้านการปกป้อง ประชากรและความสามารถในการผลิต ใน ขณะเดียวกัน แต่ละประเทศมีความรับผิด ชอบในการลด/ควบคุมการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (GHG) และมีส่วนก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งอาจ ส่งผลต่อการกระจายและความสามารถใน การผลิตพืชผลทางการเกษตรและปศุสัตว์ ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก โครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program) เตือนว่าการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทำาให้ ผู้คนหลายล้านคนประสบ ปัญหาการขาดแคลน อาหารและน้ำา ระบบอาหาร เกษตรกรรม การแปรรูป บรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การจัดจำาหน่าย และการบริโภค มีส่วนอย่างมากต่อการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ พลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิต (life cycle) ของ การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกี่ยวข้อง กับอาหารที่สร้างขึ้นในระหว่างการเพาะ ปลูก เกษตรกรรมปลดปล่อยก๊าซเรือน กระจกคิดเป็น 17-32% ของการปลดปล่อย ทั้งหมดทั่วโลก เกษตรกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหม่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ยาฆ่าแมลง และปุ๋ย เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชผลและสินค้า โภคภัณฑ์ สหรัฐอเมริกาใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่าน มา พลังงานที่ใช้ในผลิตภัณฑ์จากพืชต่ำา กว่าพลังงานที่ใช้ในผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 2.5–5 เท่า นอกจากนั้น การปลดปล่อย ก๊าซต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์กลุ่ม เนื้อวัว เนื้อแกะ และผลิตภัณฑ์นม จะสูง กว่าเนื้อหมูและเนื้อสัตว์ปีก ความต้องการ ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก 85% ในปี 2030 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ ที่อยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน สิ่งที่เกิดขึ้นนี้ส่งผล กระทบอย่างยิ่งต่อการปลดปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร มูลสัตว์ ยา ฆ่าแมลง และปุ๋ยให้ธาตุอาหารแก่พืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม และเป็นสินทรัพย์สำาคัญต่อการผลิตพืชผล เมื่อเกษตรกรใช้ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยอย่าง หนัก จะเกิดการสะสมในพืชและปลดปล่อย สู่อากาศ นอกจากนั้น การจัดการปุ๋ยและ มูลสัตว์ที่ไม่ดียังเป็นสาเหตุหลักของการ ปนเปื้อนของน้ำาใต้ดินและน้ำาผิวดิน กลาย เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง อาหาร และความเข้มของพลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิต และรูปแบบการบริโภค รวมถึงผลลัพธ์ทาง สุขภาพ อาจได้รับผลกระทบทางอ้อมจาก การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

วิธีการศึกษา บทความนี้จะเน้นไปที่การบริโภคอาหาร และระบบอาหารที่เกี่ยวข้องกับก๊าซเรือน กระจก โดยเปรียบเทียบพลังงานที่ใช้ใน วงจรชีวิต (มิลลิจูล/กก.) ของผลิตภัณฑ์ อาหารต่างๆ เปรียบเทียบกับอาหารจาก FBDGs 12 ฉบับ สำาหรับ FBDGs แต่ละ ฉบับ อาหารที่แนะนำาและหน่วยบริโภค (portion) ที่เหมาะสมจะใช้คำานวณพลังงาน ในวงจรชีวิตตามฐานข้อมูลของคาร์ลสัน-คาน ยามา ฐานข้อมูลประกอบด้วยพลังงานที่ ใช้ในวงจรชีวิตของอาหารจำานวน 150 รายการ หน่วยของวงจรชีวิตคือกิโลกรัม ของอาหารพร้อมรับประทาน อาหารปรุง สุก หรืออาหารยังไม่ปรุง ขอบเขตของ ระบบในฐานข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลจาก เกษตรกรรม/การเลี้ยงสัตว์ การอบแห้งพืช ผล การแปรรูปอาหาร การจัดเก็บ การ ขนส่งไปยังร้านค้าปลีกท้องถิ่น และระยะ ทางของการขนส่งอาหารนำาเข้า

การทบทวนคำาแนะนำาการบริโภคอาหารเพื่อ สุขภาพดี (FBDGs) นานาชาติ

การทบทวนเอกสาร FBDGs ใช้ฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ Ovid MEDLINE ผลลัพธ์ จะจำากัดเฉพาะบทความในวารสารภาษา อังกฤษที่ว่าด้วยการพัฒนา FBDGs โดยคำา ค้นหาต่อไปนี้ร่วมกัน: คู่มืออาหาร แนวทาง การบริโภคอาหาร หน่วยบริโภคอาหาร มา จากอาหาร แบบจำาลองแนวทางการบริโภค อาหาร และปิรามิดอาหาร ส่วน Google scholar และการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต ระดับพื้นฐานใช้ค้นหาว่ามีข้อมูลโภชนาการ ในประเทศที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล MEDLINE หรือไม่ ทั้งนี้ ไม่รวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ แนวทางการบริโภคอาหารที่ไม่ได้ตีพิมพ์ เผยแพร่ การสืบค้นพบว่ามี FBDGs ระดับ นานาชาติ 32 ฉบับ ที่ตรงกับเกณฑ์การ รวบรวม และมี FBDGs 12 ฉบับ ที่มีราย ละเอียดเพิ่มเติม ได้แก่ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ อาหาร และคำาแนะนำาเกี่ยวกับหน่วยบริโภค สำาหรับอาหารแต่ละกลุ่ม โดยได้คัดเลือก FBDGs 12 ฉบับ ซึ่งมาจากประเทศต่างๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย เบลเยียม แคนาดา จีน เยอรมนี ญี่ปุ่น เกาหลี โปรตุเกส สเปน ไทย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา

การระบุรายการอาหารและหน่วยบริโภค ของอาหาร และการคำานวณพลังงานที่ใช้ใน วงจรชีวิตของอาหารใน FBDG แต่ละฉบับ

FBDGs จำานวน 12 ฉบับ ผ่านการ ทบทวนรายละเอียดโดยนักโภชนาการอิสระ 3 คน ทำาการวิเคราะห์รายการอาหารและ หน่วยบริโภคที่แนะนำาต่อวันของอาหาร แต่ละกลุ่ม รายการอาหารแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ ธัญพืช ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นมและไขมัน น้ำามันและน้ำาตาล แล้วเลือก อาหารหนึ่งถึงสองรายการในแต่ละกลุ่มตาม คำาแนะนำาของนักโภชนาการ หน่วยบริโภคต่อวันสำาหรับแต่ละกลุ่มจะ กำาหนดตามรายการอาหารที่เลือก หน่วย บริโภคของแต่ละประเทศ ได้แก่ ถ้วย มาตรฐาน ช้อนโต๊ะ และหน่วยครัวเรือน จะแปลงเป็นหน่วยกรัมเพื่อหาพลังงานที่ ใช้ในวงจรชีวิต ปริมาณอาหารที่แนะนำา ต่อวันคำานวณจาก FBDGs ทั้ง 12 ฉบับ ตามฐานข้อมูลของคลาร์กสัน-คานยามา จากนั้นเลือกวงจรชีวิตของอาหารพร้อมรับ ประทาน 30 ชนิด รวมถึงปัจจัยพลังงานที่ ใช้ในวงจรชีวิตต่อกิโลกรัมของอาหาร (มิลลิ จูล) และต่อหน่วยบริโภคของอาหาร (มิลลิ จูล) อาหาร 6 รายการ ไม่มีข้อมูลเกี่ยว กับพลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิต ดังนั้น จึง ต้องแทนที่ด้วยข้อมูลที่มีอยู่ แม้ว่าจะมีผล ไม้หลายชนิดในรายการที่แนะนำา แต่ข้อมูล พลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิตมีจำากัด ตัวอย่าง ของข้อมูลทดแทนที่ใช้ ได้แก่ ข้อมูลของ ขนมปังโฮลวีตใช้แทนขนมปังสดในร้านเบเก อรีในท้องถิ่น ผักเอเชียบางชนิดไม่มีข้อมูล พลังงานที่ใช้ ได้แก่ คะน้า บ๊อกฉ่อย และ ผักกาดหอม จึงใช้ข้อมูลเฉลี่ยของผักสดใน สวีเดน (3.2±0.71) แทน ข้อมูลของนม สดและนมไขมันต่ำาใช้แทนข้อมูลของไขมัน 4% และไขมัน 1.5% ตามลำาดับ ปริมาณสารอาหารใน FBDGs ทั้ง 12 ฉบับ คำานวณตามธาตุอาหารหลักและ พลังงาน (กิโลแคลอรี, Kcal) โดยใช้ฐาน ข้อมูลอ้างอิงสารอาหารแห่งชาติของกระทรวง เกษตรแห่งสหรัฐอเมริกา (USDA National Nutrient Database for Standard Reference) ในการประเมินพลังงานจาก ไขมันและน้ำาตาล เอกสารของบางประเทศ ไม่ได้ระบุการจำากัดปริมาณไขมันและน้ำาตาล ปริมาณไขมัน (กรัมต่อวัน) จึงคำานวณโดย อ้างอิงจากความต้องการพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี และเปอร์เซ็นต์การกระจายของ ไขมันคือ ≤30% ของพลังงานทั้งหมด หรือ 2,000 กิโลแคลอรี ขีดจำากัดปริมาณน้ำาตาล กำาหนดไว้ที่ 8% ของพลังงานทั้งหมด หรือ 2,000 กิโลแคลอรี เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล พลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิตของ FBDGs ทั้ง 12 ฉบับอย่างเท่าเทียม จึงปรับการบริโภค พลังงานที่แนะนำาเป็น 2,000 กิโลแคลอรี/คน

รายการอาหารและขนาดสัดส่วนอาหารของ แต่ละ FBDG

FBDGs ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้คน เลือกอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี รายการอาหาร ที่แนะนำามีความคล้ายคลึงกันอย่างมาก ในภูมิภาคและวัฒนธรรมเดียวกัน มัน ฝรั่ง ขนมปัง และพาสต้า เป็นอาหารกลุ่ม ธัญพืชที่แนะนำาในเอกสารจากอเมริกาเหนือ (สหรัฐอเมริกาและแคนาดา) ออสเตรเลีย และยุโรป (สเปน เบลเยียม โปรตุเกส เยอรมนี และสหราชอาณาจักร) ข้าวและ บะหมี่เป็นอาหารแนะนำาในเอกสารจากทวีป เอเชีย (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และไทย) อาหาร กลุ่มผักที่แนะนำาจะแตกต่างไปตามฤดูกาล และความสามารถในการจัดหาอาหาร ผล ไม้ที่แนะนำาคือ แอปเปิ้ล กล้วย และส้ม กลุ่มเนื้อสัตว์ที่แนะนำา ได้แก่ ปลา ไก่ หมู ไข่ บางประเทศ เช่น แคนาดา จีน และ ญี่ปุ่น ใช้ถั่วและผลิตภัณฑ์จากถั่วเป็นแหล่ง โปรตีน เอกสารจากทุกประเทศแนะนำานม นมไขมันต่ำา และโยเกิร์ต FBDGs จาก สหรัฐอเมริกา สเปน และโปรตุเกส แนะนำา ให้บริโภคน้ำามันมะกอก ในขณะที่ประเทศ จีนและเกาหลีให้แนะนำาให้บริโภคน้ำามัน งา ประเทศอื่นๆ แนะนำาให้ใช้น้ำามันพืช ประเทศส่วนใหญ่ใช้น้ำาตาล แต่พบว่ามีคำา แนะนำาให้บริโภคน้ำาผึ้งและแยมใน FBDG ของออสเตรเลียเท่านั้น หน่วยบริโภคอาหารที่แนะนำาต่อวัน สำาหรับประชากรทั่วไปจะพิจารณาจากอายุ เพศ การออกกำาลังกาย และระดับพลังงาน เอกสารจาก 6 ประเทศเสนอว่าพลังงาน ที่ต้องการอยู่ระหว่าง 1,100 ถึง 3,300 กิโลแคลอรีต่อวัน หน่วยบริโภคที่แนะนำา ของอาหารแต่ละชนิดในแต่ละกลุ่มมีความ หลากหลาย อย่างไรก็ตาม เมื่อแปลงหน่วย บริโภคของธัญพืชเป็นกรัม ปริมาณอาหาร ที่แนะนำาจะใกล้เคียงกัน สำาหรับประเทศใน เอเชียและยุโรป ปริมาณอาหารกลุ่มธัญพืช ที่แนะนำาไม่แตกต่างกันในภูมิภาคเดียวกัน แคนาดา เกาหลีใต้ และสหราชอาณาจักร ได้รวมข้อแนะนำาของกลุ่มผักและผลไม้ไว้ด้วยกัน ปริมาณผักและผลไม้ขั้นต่ำาที่แนะนำาใน เอกสารจากสหราชอาณาจักร แคนาดา และ เกาหลีใต้มีปริมาณ 300, 500 และ 510 กรัมต่อวัน ตามลำาดับ FBDGs จำานวน 9 ฉบับจาก 12 ฉบับ แนะนำาว่าควรบริโภคผัก 160 -875 กรัมต่อวัน และผลไม้ 100 ถึง 800 กรัมต่อวัน ประเทศในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย เอเชีย และยุโรป แนะนำา ให้บริโภคผักและผลไม้ 445-975 กรัม 388–1,563 กรัม 433–626 กรัม และ 400–706 กรัมต่อวัน ตามลำาดับ ข้อแนะนำาการบริโภคอาหารกลุ่มนม แตกต่างกันตามภูมิภาค ปริมาณที่แนะนำา ต่ำาสุดคือจีน (100 มล. ต่อวัน) และสูงสุด คือสเปน (450–900 มล. ต่อวัน) ปริมาณ เนื้อสัตว์ที่แนะนำาโดยเฉลี่ย 132–210 กรัม ต่อวัน เอกสารจากออสเตรเลียแนะนำา ปริมาณน้อยที่สุด (46-182 กรัมต่อวัน) ใน ขณะที่แคนาดาแนะนำาในปริมาณมากที่สุด (108–325 กรัมต่อวัน) แม้ว่าข้อแนะนำา จะให้จำากัดปริมาณน้ำามันและน้ำาตาล แต่ หลายประเทศไม่ได้แสดงคำาแนะนำาปริมาณ น้ำามันและน้ำาตาลใน FBDGs เอกสารจาก ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น แนะนำา ให้บริโภคไขมัน ≤30% ของพลังงานที่ได้ รับทั้งหมด มีเพียงสามประเทศที่แสดงขีด จำากัดการบริโภคน้ำาตาลต่อวันใน FBDGs ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และไทย ส่วนประเทศอื่นๆ จำากัดปริมาณน้ำาตาล ทั้งหมดให้ >8% ของพลังงานที่ได้รับทั้งหมด

การคำานวณพลังงานที่ใช้ในวงจรชีวิตจาก FBDGs แต่ละฉบับ

ข้อแนะนำาการบริโภคอาหารกำาหนด ตามระดับการบริโภคประจำาวันของแต่ละ บุคคล ค่าต่ำาสุดและสูงสุดของความเข้ม ของการใช้พลังงานในวงจรชีวิตและธาตุ อาหารหลักจาก 12 ประเทศมีความหลาก หลายตั้งแต่ 11.3 มิลลิจูล (ญี่ปุ่น) ถึง 37.6 มิลลิจูล (ออสเตรเลีย) ค่ามัธยฐาน คือ 18.3 มิลลิจูล (n = 24) การเปรียบ เทียบข้อมูลจากสี่ทวีป ได้แก่ เอเชีย (จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไทย) ออสเตรเลีย ยุโรป (สเปน เบลเยียม โปรตุเกส เยอรมนี และสหราชอาณาจักร) และอเมริกาเหนือ

(สหรัฐอเมริกาและแคนาดา) พบว่าการใช้ พลังงานต่ำาสุดและสูงสุดโดยเฉลี่ย ได้แก่ เอเชีย (12.8 มิลลิจูล) และออสเตรเลีย (37.6 มิลลิจูล) ปริมาณพลังงานที่บริโภค แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศตั้งแต่ 1,426 กิโลแคลอรี (ไทย) ถึง 4,097 กิโลแคลอรี (ออสเตรเลีย) เมื่อเปรียบเทียบโหมดของ ความเข้มของการใช้พลังงานของ 6 ประเทศ (ออสเตรเลีย แคนาดา จีน โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา) ที่ ประมาณ 13 มิลลิจูล พลังงานที่บริโภค คือ 1,465–2,157 กิโลแคลอรี และปริมาณ โปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต 45–69 กรัม/วัน 39–98 กรัม/วัน และ 169–274 กรัม/วัน ตามลำาดับ ใน FBDGs ผู้เชี่ยวชาญแนะนำาว่าแต่ละ บุคคลควรบริโภคอาหารทุกกลุ่มในปริมาณที่ เหมาะสมต่อวัน แหล่งอาหารจากพืช ได้แก่ ธัญพืช ผัก ผลไม้ ในขณะที่แหล่งอาหาร จากสัตว์ ได้แก่ เนื้อและนม หน่วยบริโภค ของแหล่งอาหารจากพืชและสัตว์ที่แนะนำา ทำาให้ความเข้มของการใช้พลังงานในวงจร ชีวิตมีความแตกต่างกัน การเปรียบเทียบ ความเข้มของการใช้พลังงานในวงจรชีวิตของ แหล่งอาหารจากสัตว์และพืชมีอัตราส่วนของ สัตว์และพืชตั้งแต่ 0.4 มิลลิจูล (จีน) และ 2.6 มิลลิจูล (สหราชอาณาจักร) การจัด อันดับความเข้มของสัดส่วนการใช้พลังงาน ในวงจรชีวิตของสัตว์และพืชสูงสุดสามอันดับ ได้แก่ สหราชอาณาจักร (2.6 มิลลิจูล) สเปน (1.7 มิลลิจูล) และสหรัฐอเมริกา (1.5 มิลลิจูล) อัตราส่วนที่สูงขึ้นเนื่องจาก ความเข้มของการใช้พลังงานในวงจรชีวิตที่ สูงขึ้นในแหล่งอาหารจากสัตว์ ความแตก ต่างของอัตราส่วนแหล่งอาหารจากสัตว์ต่อ พืชของประเทศเหล่านั้นมาจากส่วนของ นม ประเทศในเอเชียแนะนำาให้บริโภคนม ในปริมาณที่น้อยกว่าประเทศในยุโรปและ อเมริกาเหนือ ออสเตรเลียแนะนำาให้ดื่ม นมในสัดส่วนสูงแต่แนะนำาให้บริโภคเนื้อ ต่อวันปริมาณน้อย อัตราส่วนทั้งหมดจึงต่ำา ความเข้มของการใช้พลังงานในวงจร ชีวิตที่ปรับแล้ว (adjusted LC) (มิลลิจูล) โปรตีน (กรัม) ไขมัน (กรัม) คาร์โบไฮเดรต (กรัม) และการกระจายพลังงานของสาร อาหาร (%) มาจากการปรับการบริโภค พลังงานของแต่ละประเทศเทียบกับค่า มาตรฐานที่ 2,000 กิโลแคลอรี ค่ามัธยฐาน ของความเข้มของการใช้พลังงานในวงจรชีวิต รายวันคือ 15.3 มิลลิจูล ต่ำาสุด = 12.9 มิลลิจูล และสูงสุด = 17.5 มิลลิจูล (n = 12) ความเข้มของการใช้พลังงานในวงจร ชีวิตสูงสุดสัมพันธ์กับ FBDG ของเยอรมนี ในขณะที่ระดับต่ำาสุดสัมพันธ์กับความเข้ม ของการใช้พลังงานของเกาหลีใต้ ปริมาณ ของโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรตอยู่ ในช่วง 54–87 กรัม/วัน 57–114 กรัม/ วัน และ 184–306 กรัม/วัน ตามลำาดับ สัดส่วนของการกระจายพลังงานของโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรตเท่ากับ 11-16%, 25–44% และ 40–61% สัดส่วนของ โปรตีนและคาร์โบไฮเดรตของประเทศ ส่วนใหญ่เป็นที่ยอมรับตามคำาแนะนำา ใน ขณะที่สัดส่วนของไขมันของเบลเยียม ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และสห ราชอาณาจักร (39–51%) สูงกว่าที่แนะนำา (30–35%) เมื่อพิจารณาการกระจายพลังงาน ของโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต การ กระจายพลังงานของออสเตรเลีย แคนาดา จีน เยอรมนี สเปน โปรตุเกส และไทยมี สัดส่วนที่เหมาะสมและยอมรับได้ ความ เข้มของการใช้พลังงานในวงจรชีวิตที่ปรับ

แล้วของทั้ง 7 ประเทศ คือ 13.8 - 17.5 มิลลิจูล อย่างไรก็ตาม มี 6 ประเทศ (ไม่ รวมโปรตุเกส) มีความเข้มของพลังงาน การใช้พลังงานในวงจรชีวิต >15 มิลลิจูล

อภิปรายและข้อสรุป การศึกษานี้พบว่าการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกอย่างมีประสิทธิผลเกี่ยวข้อง โดยตรงกับคำาแนะนำาด้านอาหาร ความ แตกต่างของค่าการใช้พลังงานในวงจร ชีวิตที่ปรับแล้วที่ 2,000 กิโลแคลอรี คือ 50% ของค่าต่ำาสุดถึงสูงสุด เมื่อเปรียบ เทียบเอกสารจาก 12 ประเทศ ปัจจัยที่ ส่งผลให้การใช้พลังงานในวงจรชีวิตแตก ต่างกัน คือ พลังงานและหน่วยบริโภคที่ แนะนำาในข้อกำาหนดด้านอาหารสำาหรับ ผู้คนในประเทศ เมื่อปรับความเข้มของ การใช้พลังงานในวงจรชีวิตมาที่ 2,000 กิโลแคลอรี บางประเทศยังคงมีความเข้ม ของการใช้พลังงานในวงจรชีวิตสูง FBDGs แนะนำาให้ผู้คนบริโภคอาหารให้หลากหลาย ในแต่ละวัน สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์รวม ทั้งนมและผลิตภัณฑ์นมมีส่วนในการปลด ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าผัก ผลไม้ และ ธัญพืชอย่างมีนัยสำาคัญ มีการศึกษาไม่มาก นักที่เสนอการเปลี่ยนแปลงไปสู่การบริโภค อาหารจากพืชเป็นหลักให้มากขึ้น สามารถ ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมี ประสิทธิผลอย่างมาก แมคไมเคิล และคณะ (2007) เสนอให้ลดการบริโภคเนื้อสัตว์เฉลี่ย ทั่วโลกลง 10% โดยให้ลดลงจากค่าเฉลี่ย 100 กรัมต่อคนต่อวัน ในปัจจุบัน เหลือ 90 กรัมต่อวัน โดยให้เป็นเนื้อแดงไม่เกิน 50 กรัม FBDGs ของเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ แนะนำาให้บริโภค โปรตีนต่อวัน 43–94 กรัม 45–124 กรัม 51–114 กรัม และ 57–163 กรัม ตาม ลำาดับ ข้อเสนอของแมคไมเคิลสามารถนำา ไปใช้และจะทำาให้การบริโภคเนื้อสัตว์ลดลง อีก อย่างไรก็ตาม คำาแนะนำาด้านอาหาร บางข้อทำาให้เกิดข้อวิตกเกี่ยวกับปัญหาทาง โภชนาการในช่วงเปลี่ยนผ่านในประเทศ กำาลังพัฒนา ทั้งภาวะขาดโภชนาการและ ภาวะโภชนาการเกิน ความต้องการของผู้บริโภคมากเท่าไรยิ่ง ทำาให้เกิดวิกฤตสิ่งแวดล้อมมากขึ้นเท่านั้น ผลิตภัณฑ์อาหารและสินค้าโภคภัณฑ์ส่วน ใหญ่ต้องใช้พลังงานฟอสซิลในการเตรียม การแปรรูป และการขนส่งระหว่างฟาร์ม และโรงงานอาหาร หรือกระจายไปยังผู้ บริโภคโดยตรง ความต้องการของผู้บริโภค และโรคที่เกี่ยวกับอาหารทำาให้เกิดการวิจัยที่ เข้มแข็งขึ้นด้านความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อมกับพฤติกรรมการบริโภค อาหารและการเลือกอาหารของแต่ละบุคคล อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมระดับมหภาค เช่น นโยบายและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ อาหาร เกษตรกรรม การใช้ที่ดิน และการ ขนส่ง ทั้งระดับสากล ระดับประเทศ และ ระดับท้องถิ่น เป็นตัวกำาหนดประเภทของ ผลิตภัณฑ์อาหารที่จัดหาให้สภาพแวดล้อม ทางกายภาพ หรือกำาหนดว่าสถานที่รับ ประทานหรือได้รับอาหารของแต่ละบุคคล ความต้องการและการซื้อของผู้บริโภคอาจ ส่งผลกระทบสำาคัญต่อระบบอาหารและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บรรจุภัณฑ์ อาหารและวัสดุที่ใช้สำาหรับการป้องกัน การ ถนอมรักษา และเพื่อให้จัดการอาหารได้ง่าย ความต้องการพลังงานสำาหรับการผลิตบรรจุ ภัณฑ์อะลูมิเนียมสูงที่สุด คือ 195 มิลลิจูล/ กก. รองลงมาคือพลาสติก (85 มิลลิจูล/ กก.) กระดาษ (45 มิลลิจูล/กก.) เหล็ก (35 มิลลิจูล/กก. และแก้ว (13 มิลลิจูล/ กก.) การขนส่งอาหารจากแต่ละภูมิภาค หรือจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง มาจากความต้องการของผู้บริโภค ระยะทาง ของอาหาร (food miles) ต้องใช้พลังงาน ในการขนส่ง ความต้องการพลังงานของ เครื่องบิน (10 มิลลิจูล/1,000 กม.) สูง กว่ารถบรรทุก (2–8 10 มิลลิจูล/1,000 กม.) รถไฟ (0.8 10 มิลลิจูล/1,000 กม.) เรือ (0.5 10 มิลลิจูล/1,000 กม.) และเรือ (0.1 10 มิลลิจูล/1,000 กม.) การคำานวณ ตามฐานข้อมูลของคาร์ลสัน-คานยามาอาจ ทำาให้ค่าความเข้มข้นของพลังงานที่ใช้ใน วงจรชีวิตตาม FBDGs สูงเกินไป เนื่องจาก คิดวงจรชีวิตของการแปรรูปอาหาร บรรจุ ภัณฑ์ และการขนส่ง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ ลดผลกระทบต่อเกษตรกรรมและการ ผลิตอาหาร ความสามารถในการจัดหา อาหาร ความสามารถในการซื้อ และความ สามารถในการเข้าถึงอาหารในท้องถิ่นของ ประชากรที่หลากหลาย ควรมีความยั่งยืน ในการป้องกันวิกฤตจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ผู้บริโภคมีบทบาทด้วย การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในวงจรชีวิต เกษตรกรและอุตสาหกรรมอาหารเป็นตัว เร่งที่สามารถมุ่งสู่แนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืน ยิ่งขึ้น เพื่อลดของเสียและปัจจัยอื่นๆ ของ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ระบบอาหาร และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็น ปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำาคัญ เป็นความ ท้าทายเชิงทฤษฎีสำาหรับนักวิทยาศาสตร์ และผู้กำาหนดนโยบาย 

Food consumption patterns of populations result in various health outcomes. The challenge for nutrition science is to understand strategies to enable a balance between healthy diets and sustainable food systems. The increasing number of health problems is a consequence of demographic and dietary transitions as well as the globalization of economic processes. Obesity increases a person’s risk of contracting non-communicable diseases in developed and developing countries. Moreover, in developing countries, malnutrition problems, such as low birth weight, vitamin A deficiency and iron deficiency, persist.

In 1996, the Food and Agriculture Organization (FAO) and WHO recommended that all regions in the world advise the public through foodbased dietary guidelines (FBDGs). FBDGs were also designed to provide individuals, families and communities with sound, practical dietary advice to promote overall nutritional health and prevent nutrition-related diseases. To date, more than 150 countries have developed and are presently using FBDGs. Population diversity in each region around the world and within countries creates a need for guidelines containing specific nutrient requirements depending on gender, age, genetics, activity level and general health. Most individual differences fall within a narrow range and thus require research data and expert opinion to establish appropriate and adequate scientific recommendations. The FBDGs can be appropriately used to describe a diet based on the five food group concept. Although food variety and consumption patterns may differ within countries, the fundamental classification of foods (five food group concept) is similar in all countries. Each FBDG provides a variety of food choices in each food group so that individuals can consume the recommended daily amount for optimum health. The food groups include grains, vegetables and fruits, meat, milk and dairy products, and fats and sugar. FBDGs around the world display widespread agreement on common themes, such as consuming a variety of foods within each food group, balancing energy intake to maintain a healthy weight, increasing consumption of complex carbohydrates, fruits, vegetables, fish and beans and limiting saturated fat, salt, sugar and alcohol. FBDGs are affected by a wide range of factors, including food availability, food preferences, dietary patterns and religious, social, cultural, agricultural, climatic and geographic conditions. The demands of food production and food consumption patterns of populations have been identified as major contributors to environmental deterioration worldwide. Many countries are challenged by the need to protect their populations and productive capacities in the face of climate change. At the same time, each country has been responsible for reducing/controlling greenhouse gas (GHG) emissions and its contribution to climate change, which can affect the distribution and productivity of life-sustaining agricultural crops and livestock in different regions of the world. As a result of climate change, the United Nations Development

Program warned that millions of people may be facing shortages of food and water. The food system, agriculture, processing, packaging, transportation, distribution and consumption contribute significantly to a country's GHG emissions. Energy inputs in the life cycle (LC) of food-related GHG emissions are generated during farming. Agriculture contributes 17–32% of GHG emissions worldwide. Modern agriculture and technologies use fossil fuels, pesticides and fertilizers to increase crop yields and commodity productions. In the US, fossil fuel use has been significantly increasing over the last 2 decades. Energy inputs for plant products are 2.5–5 times lower than energy inputs for animal products. In addition, the emissions per unit of livestock product seem to be higher for beef, sheep and dairy than for pork and poultry. The increasing demand for livestock products is expected to increase by 85% in 2030, especially in countries in transition. This substantially affects food-related GHG emissions. Manure, pesticides and fertilizers are responsible for plant nutrients such as nitrogen, phosphorus and potassium and are thus important assets for crop production. When farmers use pesticides and fertilizers intensively, crop residues collect and are exposed to the air. Moreover, poor management of fertilizers and livestock manures is a leading cause of groundwater and surface water contamination. This has become a serious environmental problem. The food and energy of the life cycle (LC) intensity and consumption patterns, including health outcomes, can be indirectly impacted by GHG emissions. Methods

This review is to focus on food consumption and the food system related to GHG. Energy inputs in the life cycle (mJ/kg) of the various food products were compared with 12 FBDGs. For each FBDG, the recommended food items and appropriate portion sizes were used to calculate LC energy inputs based on the Carlsson-Kanyama database. The database consists of LC inputs for 150 food items. The LC unit was kilogram of ready-to-eat, cooked or uncooked food. The system boundaries in the database included inputs from agriculture/farming, drying of crops, food processing, storage, transportation to local retailers and traveling distance of imported food.

Reviewing international food-based dietary guidelines (FBDGs)

For this review, FBDGs were researched using the Ovid MEDLINE electronic database. Results were limited to English journal articles describing the development of the FBDGs. The following search terms were used in combination: food guide, dietary guidelines, food portions, food based, food guide model and food pyramid. Google Scholar and basic Internet search procedures were used to determine whether any country-specific nutrition information not indexed in MEDLINE existed. Unpublished literature describing relevant food guidelines or recommendations was excluded. The total search yielded 32 international FBDGs meeting the inclusion criteria, and of the 32, 12 published FBDGs with additional details, including diet-related information and recommendations about portion size for each food group. The 12 selected FBDGs were from Australia, Belgium, Canada, China, Germany, Japan, Korea, Portugal, Spain, Thailand, the UK, and the USA.

Identifying food items and food portion size and calculating the energy inputs in the life cycle of each FBDG

Twelve FBDGs were reviewed in detail by three independent nutritionists. Food items and recommended portion sizes were analyzed for each food group per day. Food items were categorized into six groups: grains, vegetables, fruit, meat, milk, and fat, oil and sugar. One to two items in each food group were chosen based on the nutritionists’ recommendation.

Serving sizes per day for each food group are identified based on the food items chosen. The portion size units of each country were standard cup, tablespoon and household units, which were converted to grams. To determine energy inputs in the LC, recommended amounts of food per day were calculated from the 12 FBDGs based on the Carlsson-Kanayama database. LCs of 30 ready-to-eat foods are selected including the LC inputs per kilogram of food (mJ) and per one portion of food (mJ). Six food items had no data on the LC energy, so they were replaced with available data. Although a variety of fruits are recommended, the energy inputs in the life cycle data are limited. An example of the replacement data used is whole wheat bread replacing fresh bread in a local bakery shop. Some Asian vegetables had no LC data; fresh vegetables in Sweden are averaged (3.2 + 0.71) for kale, bok choy and lettuce. Whole milk and low-fat milk were used for the LC data of 4% fat and 1.5% fat, respectively.

The nutrient contents of 12

FBDGs were calculated according to macronutrients and energy (Kcal) using the USDA National Nutrient Database for Standard Reference. To estimate energy from fat and sugar, some countries did not identify limited amounts of fat and sugar per day. The amount of fat (grams per day) is calculated based on 2,000 Kcal, and the percent distribution of fat was ≤ 30% of total energy or 2,000 Kcal. Limit of sugar is set at 8% of total energy or 2,000 Kcal. To fairly compare the LC energy inputs of the 12 FBDGs, an adjusted recommended energy intake of 2,000 Kcal/person was applied.

Food items and food portion size of each FBDG

FBDGs were designed to help people choose healthy food for good health. The resulting food item recommendations are remarkably similar in the same regions and cultures. Potatoes, bread and pasta are typical recommended items for the grain group for North America (USA and Canada), Australia and Europe (Spain, Belgium, Portugal, Germany and the UK). Rice and noodles are recommended for Asia (China, Korea, Japan and Thailand). Recommended items for the vegetable group vary based on season and availability. Common recommended fruits are apples, bananas and oranges. Fish, chicken, pork and eggs are items in the meat group. Some countries, such as Canada, China and Japan, used beans and bean products as a source of protein. All countries recommend milk, low-fat milk and yogurt. Olive oil can be found in the FBDGs of the USA, Spain and Portugal, while sesame oil is recommended for China and Korea. The other countries recommend using vegetable oil. Most countries used sugar. However, honey and jam were only listed in Australia’s FBDGs.

The recommended food portion size per day for the general population is based on age, gender, physical activity and level of energy. Six countries reported a range of energy between 1,100 and 3,300 Kcal per day. Recommended portion sizes of particular foods in each food group were varied. However, when portion sizes of grains were converted to grams, the amounts of food were similar in these countries. For the countries in Asia and Europe, the recommendations for the amounts of food in the grain group were not different in the same regions.

Canada, Korea and the UK combined the recommendations for the vegetable and fruit groups. The minimum recommended amounts for the vegetable and fruit groups were 300, 500 and 510 g per day for the UK, Canada and Korea, respectively. Nine of 12 FBDGs suggested that the amount of vegetables should be between 160 and 875 g per day and the amount of fruits between 100 and 800 g per day. Countries in North America, Australia, Asia and Europe recommended that the amount of vegetables and fruit per day should be between 445 and 975 g, 388–1,563 g, 433–626 g and 400–706 g, respectively.

Recommendations for the milk group differed by region. Milk recommendations were lowest for China (100 ml per day) and highest for Spain (450–900 ml per day). The average range of meat recommendations is 132–210 g per day. Australia suggested the lowest portion of meat (46–182 g per day) while Canada the highest (108–325 g per day). Although the amount of oil and sugar was limited, many countries did not show oil and sugar recommendations in their FBDGs. The amount of fat was calculated to be ≤ 30% of the total energy in Australia, Korea and Japan. Only three counties, the USA, Australia and Thailand, showed the sugar

consumption limit per day in their FBDGs. The other countries calculated a total amount of sugar that was not >8% of the total energy.

Calculating the energy inputs in the life cycle of each FBDG

Recommendations for foods were formulated at the level of daily individual consumption. The minimum and maximum of the LC energy intensity and macronutrients of 12 countries varied from 11.3 mJ (Japan) to 37.6 mJ (Australia). The median was 18.3 mJ (n = 24). A comparison of four continents—Asia (China, Korea, Japan and Thailand), Australia, Europe (Spain, Belgium, Portugal, Germany and the UK) and North America (USA and Canada)— showed that the average lowest and highest LCs were in Asia (12.8 mJ) and Australia (37.6 mJ). The energy intake varied by country from 1,426 Kcal (Thailand) to 4,097 Kcal (Australia). When comparing the mode of LC intensity of six countries (Australia, Canada, China, Portugal, UK and the USA) of around 13 mJ, the energy intake was 1,465–2,157 Kcal and amounts of protein, fats and carbohydrates were 45–69 g/ day, 39–98 g/day and 169–274 g/ day, respectively.

FBDGs, experts recommended that individuals consume all food groups in appropriate portion sizes per day. The plant sources included grain, vegetable, and fruit groups while animal sources were meat and milk groups. The different portion sizes of the recommended plant and animal sources can produce different LC energy intensities. Comparing the LC energy intensity between animal and plant sources gives an animal-to-plant ratio of between 0.4 mJ (China) and 2.6 mJ (UK). The ranking of the top third maximum ratio of animal to plant sources of LC energy intensity by country is a follows: UK (2.6 mJ), Spain (1.7 mJ) and the USA (1.5 mJ). The higher ratio was determined based on higher LC energy intensity due to animal sources. The different animal- toplant source ratios of those countries came from the portions of milk (Table 3). Asian countries recommended consumption of a smaller amount of milk than European and North American countries. Australia suggested a large portion of milk, but a small amount of meat per day, so the total ratio was low.

The adjusted LC energy intensity (mJ), protein (g), fat (g), carbohydrate (g) and energy distribution of those nutrients (%) resulted from adjustment of energy intake of each country to the benchmark of 2,000 Kcal. The median of the daily LC energy intensity was 15.3 mJ, minimum = 12.9 mJ and maximum = 17.5 mJ (n = 12). The highest LC energy intensity was associated with the FBDGs of Germany, whereas the lowest corresponded to that of Korea. The ranges of protein, fat and carbohydrates were 54–87 g/ day, 57–114 g/day and 184–306 g/ day, respectively. The percentages of energy distribution of protein, fat and carbohydrate were 11–16, 25–44, and 40–61, respectively. The percentage of protein and carbohydrate of most countries was acceptable according to the recommendation, whereas the percentages of fat for Belgium, Japan, Korea, the USA and UK (39–51%) were higher than the recommendation (30–35%). Considering the energy distribution of protein, fat and carbohydrates, the energy distributions of Australia, Canada, China, Germany, Spain, Portugal and Thailand were appropriately proportioned and acceptable. The adjusted LC energy intensity of those seven countries was 13.8 mJ to 17.5 mJ. However, of those seven countries, six (excludes Portugal) had an LC energy intensity > 15 mJ.

Discussion and conclusion

This study found that effective mitigation of GHG emissions is directly related to food recommendations. The differences of the adjusted LCs at 2000 Kcal are 50% of the lowest to highest values comparing the 12 countries. The factors that affect different LCs are the recommended energy and portion sizes of food that are recommended based on the dietary requirements for people in those countries. When the LC intensity was adjusted at 2000 Kcal, some countries still had high LC intensity. FBDGs recommend that people should consume a variety of all food groups each day. Animals and animal products, including milk and milk products, contribute to significantly higher GHG emissions than vegetables, fruits and cereals. Few studies have proposed a change toward a more plant-based diet, which could help substantially in the effective mitigation of GHG emissions. McMichael et al. (2007) proposed a 10% decrease in the current global average meat consumption of 100 g per person per day. Ninety grams of meat a day was suggested with not more than 50 g from red meat. The FBDGs show that the ranges of the daily protein recommendations of Asia, Australia, Europe and North America are 43–94 g, 45–124 g, 51–114 g and 57–163 g, respectively. McMichael’s proposal could be implemented and would achieve a further reduction of meat consumption. Some of the dietary

recommendations, however, raise concerns about nutritional problems in transition, both under- and over- nutrition, in developing countries. The greater the consumer demand is, the more the environmental crisis increases. Most food products and commodities require the use of fossil energy for their preparation, processing and transportation between farms and food factories, or are distributed directly to the consumers. Consumer demand and diet-related diseases have led to a stronger research focus on the associations between environmental factors and individuals’ dietary behaviors and food choices. Macro-environmental influences such as policies and practices associated with food, agriculture, land use and transportation—at the global, national and local levels—determine the types of food products that are supplied to various physical environments or settings where individuals eat or acquire food. Consumer demands and purchasing can have a major impact on the food system and climate change. Food packaging and its materials are used for protection, preservation and easy handling of food. The energy requirement for the production of aluminum packaging is the highest, at 195 mJ/kg, followed by plastic (85 mJ/kg), paper (45 mJ/ kg), steel (35 mJ/kg) and glass (13 mJ/kg). The transportation of food from each region or one country to another is possible because of consumer demands. Food miles require energy for transportation. The energy requirement for planes (10 mJ/1000 km) is more than for trucks (2–8 mJ/1000 km), trains (0.8 mJ/1000 km), boats (0.5 mJ/1000 km) and ships (0.1 mJ/1000 km). Calculation based on the CarlssonKanyama database might cause of overestimation of the LC intensity for FBDGs because it includes the life cycles for processing foods, packaging and transportation.

The impact of climate change needs to be considered carefully to reduce GHG emissions and their effect on agriculture and food production. Local food availability, affordability and accessibility for diverse populations should be sustainable. To prevent a climate change crisis, consumers play a role by changing their behavior across the life cycle. Farmers and food industries are also accelerators that can move toward more sustainable practices to reduce waste and other factors related to GHG emissions. The food system and climate change are an important public health issue, posing a theoretical challenge for scientists and policy makers. 

VNU are ready to offer the Science and Technology Industry with complete solutions this September!

Contact แสงทิพ เตชะปฏิภาณดี Saengtip Techapatiphandee Marketing & Communications Manager, VNU Exhibitions Asia Pacific Co., Ltd. saengtip@vnuasiapacific.com +662 1116611 Ext. 330

Thailand LAB INTERNATIONAL และ Bio Asia Pacific พร้อมจัดใหญ่ ตอบโจทย์ทุกความต้องการของอุตสาหกรรม เครื่องมือห้องปฏิบัติการ ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสุดล้ำาจากทั่วโลก พบกันแน่ กันยายนนี้! งาน Thailand LAB INTERNATIONAL และ Bio Asia Pacific สุดยอดงานแสดงเทคโนโลยีเครื่องมือห้องปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยาศาสตร์ และเคมี พร้อมแสดงศักยภาพอีกครั้งด้วยการนำาผู้ประกอบการชั้นนำาในอุตสาหกรรม ทั้งในและต่างประเทศกว่า 200+ ราย มากกว่า 500+ แบรนด์ชั้นนำามาจัดแสดงภายในงาน คาดดึงดูดผู้ซื้อและผู้เข้า ชมงานกว่า 10,000 รายตลอด 3 วันของการจัดงาน พร้อมขนเทคโนโลยี ผลงานวิจัยใหม่ และนวัตกรรมต่างๆ เผย แพร่สู่ตลาด พร้อมจัดแสดงอย่างยิ่งใหญ่บนพื้นที่จัดงานกว่า 12,000 ตารางเมตร ตอบรับความต้องการทั้งผู้ซื้อ และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอย่างครบครันที่สุดในภูมิภาคเอเชีย

วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค ร่วมกับ สมาคม การค้าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) ผู้จัดงาน Thailand LAB INTERNATIONAL งานแสดงเทคโนโลยี และนวัตกรรมเครื่องมือสำาหรับห้องปฏิบัติ การทางวิทยาศาสตร์ และงาน Bio Asia Pacific งานแสดงผลงานวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านชีววิทยาศาสตร์ ตลอด จนการแพทย์สมัยใหม่ ยืนยันความพร้อม กลับมาจัดงานในรูปแบบปกติที่ซึ่งผู้คนใน อุตสาหกรรมสามารถมาพบปะพูดคุยกับผู้ ผลิตและผู้เชี่ยวชาญ ชมการสาธิตเทคโนโลยี ใหม่ล่าสุดจากผู้ประกอบการทั้งในประเทศ และต่างประเทศ งานเดียวที่ครอบคลุมทุก ความต้องการของทุกอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะ เป็นเครื่องมือห้องปฏิบัติการฯ ความปลอดภัย สำาหรับบุคลากรในห้องแล็บ นวัตกรรม ด้านชีววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ นวัตกรรมใหม่ๆ ทางเคมีเพื่ออุตสาหกรรม การวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ยา วัคซีน เครื่องสำาอาง ปิโตรเคมี และทุกภาคส่วนที่มีความจำาเป็นต้องใช้ เครื่องมือห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างครบวงจรตั้งแต่ ต้นน้ำาสู่ปลายน้ำา และทั่วถึงทุกภูมิภาค โดย งาน Thailand LAB INTERNATIONAL และ Bio Asia Pacific พร้อมด้วยงาน น้องใหม่เพื่ออุตสาหกรรมเคมีในอนาคต อย่าง FutureCHEM INTERNATIONAL ซึ่งมีกำาหนดการจัดงานพร้อมกันระหว่าง วันที่ 14-16 กันยายน 2565 ณ ฮอลล์ 102-104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค กรุงเทพฯ

สัดส่วนของผู้จัดแสดงภายในงาน ด้วยความเชี่ยวชาญในการเชื่อมโยงทุก ธุรกิจในอุตสาหกรรมเครื่องมือห้องปฏิบัติ การฯ ทางผู้จัดจัดสรรพื้นที่เพื่อการนำา เสนอผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้เข้า ร่วมงานไว้อย่างชัดเจน ในปีนี้มีสัดส่วนผู้ ประกอบการแบ่งได้เป็น 60% นำาเสนอ เทคโนโลยีและเครื่องมือห้องปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ การบริการด้านการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินคุณภาพและความแม่นยำา

การบริการต่างๆ ที่จำาเป็นต้องใช้ความ เชี่ยวชาญในห้องปฏิบัติการขั้นสูง ความ ปลอดภัยในการใช้งานเครื่องมือ และ ซอฟต์แวร์ต่างๆ 30% นำาเสนอนวัตกรรม สำาหรับอุตสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีชีวภาพ และอีก 10% ท้าย สุดจะมีการนำาเสนอเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคมี หน่วยงานให้คำาปรึกษา สมาคมที่เกี่ยวข้อง และสื่อมวลชนในอุตสาหกรรม จากรายงาน ความพึงพอใจของผู้ประกอบการ พบว่า มากกว่า 96% มีความพึงพอใจต่อการจัด งานและบรรลุวัตถุประสงค์ในเจรจาการค้า และธุรกิจกับผู้ซื้อที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ที่ทางผู้จัดงานได้ให้ความสำาคัญเสมอมา

คัดสรรผู้ซื้อจากทั่วเอเชียสู่ประเทศไทย

“การเชิญกลุ่มผู้ซื้อรายใหญ่และผู้มี อำานาจในการตัดสินใจให้เข้าร่วมงานนั้น นับเป็นอีกหนึ่งเป้าหมายที่ทางคณะผู้จัดให้ ความสนใจและทำาการค้นหากลุ่มผู้ซื้อใหม่ จากนานาประเทศทั่วเอเชียเพื่อเชิญมาเข้า ร่วมงานของเรา โดยในปีนี้ได้รับการติดต่อ มาจากหลากหลายประเทศที่สนใจเข้าเยี่ยม ชมงานแบบหมู่คณะ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่ม จาก ประเทศเวียดนาม กลุ่มจากประเทศกัมพูชา และกลุ่มจากประเทศอินเดีย และฟิลลิปินส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสมาคมนักเทคนิค การแพทย์จากประเทศฟิลิปปินส์ให้ความ สนใจเข้าร่วมงานมาเป็นจำานวนมาก รวม ทั้งหมดแล้วมากกว่า 100 รายที่ยังมีอีก หลายประเทศทั่วเอเชียที่ทางทีมงานของ เราติดต่อไปเพื่อนำาพากลุ่มผู้ซื้อที่มีอำานาจ ในการตัดสินใจสำาหรับธุรกิจด้านเครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านยาและเวชภัณฑ์ เทคโนโลยีชีววิทยา ศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ และเคมี จาก หลากหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เราเชื่อมั่นว่าผู้ซื้อรายสำาคัญ เหล่านี้จะสามารถเพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้ กับบรรดาผู้ประกอบการของเราและถือ เป็นการช่วยส่งเสริมการลงทุน และกระตุ้น เศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมได้เป็น อย่างดีในไตรมาสนี้” คุณอนุชา พันธุ์พิเชฐ ผู้จัดการโครงการอาวุโส บริษัท วีเอ็นยู เอ็กซิบิชั่นส์ เอเชีย แปซิฟิค จำากัด กล่าว

งานประชุมสัมมนาที่น่าสนใจจาก สมาคมในอุตสาหกรรมฯ งาน Thailand LAB INTERNATIONAL และ Bio Asia Pacific เป็นงานที่จัดขึ้น เป็นประจำาทุกปี ซึ่งอีกหนึ่งไฮไลต์ที่สำาคัญ คือ งานประชุมสัมมนาในหัวข้อที่หลาก หลาย ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรม เกาะ ติดประเด็นร้อน โดยมีการอภิปรายที่น่า สนใจ การนำาเสนองานวิจัยใหม่ ตลอดจน การแข่งขันของสตาร์ตอัปใหม่ รวมถึงนิสิต นักศึกษาในอุตสาหกรรมนี้ โดยรวมมากกว่า 50 งานประชุมสัมมนา โดยบางสัมมนายัง ได้นำาเทคโนโลยี Live streaming เข้ามา ใช้ด้วย โดยห้องประชุมทั้งเต็มวันและครึ่ง วันถูกจับจองจากหลายหน่วยงานชั้นนำา ทั้ง สมาคม องค์กรต่างๆ บริษัทเอกชน สถาบัน การศึกษา ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐบาล ที่พร้อมนำาเสนอข่าวสารความรู้ใหม่จากห้อง วิจัยสู่ภาคธุรกิจ เพื่อนำามาสู่การลงทุนต่อ ไป มีหัวข้องานสัมนนาที่น่าสนใจมากมาย จากหน่วยงานต่างๆ ที่กำาลังทยอยปรับและ ส่งหัวข้อการประชุม ที่น่าสนใจมานำาเสนอ ให้ผู้เข้าชมงานทุกท่านได้เลือกรับฟัง และ เข้าร่วมงานอีกมากมาย คุณสุวรรณ พงษ์สังข์ อดีตนายกสมาคม การค้าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สนับสนุน ว่า “งาน Thailand LAB INTERNATIONAL เป็นศูนย์รวมของการนำาเสนอเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและเป็นสื่อกลางสำาหรับผู้ที่สนใจ ในการค้นหาคำาตอบทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม นี่จึงเป็นเหตุผล หลักที่งาน Thailand LAB ยังคงเป็น Major Event, Conference และ Exhibition ของประเทศไทย ที่ผู้ที่ทำางานในอุตสาหกรรม ไม่ควรพลาด”

“จากการพูดคุยกับบรรดาผู้ประกอบการ ของเรา พบว่าในปีนี้หลายบริษัทจะมีการนำา ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆ มาเปิดตัว ภายในงาน ซึ่งมั่นใจได้เลยว่าการจัดงานใน ปีนี้จะทวีความน่าสนใจ และช่วยกระตุ้นการ ซื้อขาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรม เครื่องมือห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยาศาตร์ และอุตสาหกรรมยา ให้ กลับมาคึกคักมากขึ้น ตลอดจนช่วยส่ง เสริมสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในภาพ รวมในช่วงปลายปีนี้ด้วย!” คุณคุณอนุชา พันธุ์พิเชฐกล่าวเสริม สำาหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมงาน Thailand LAB INTERNATIONAL งาน Bio Asia Pacific และงาน FutureCHEM INTERNATIONAL ซึ่งมีกำาหนดการจัดงาน ระหว่างวันที่ 14-16 กันยายน 2565 ณ ฮอลล์ 102-104 ศูนย์นิทรรศการและการ ประชุมไบเทค กรุงเทพฯ สามารถลงทะเบียน เข้าร่วมงานได้ที่ www.thailandlab.com หรือ www.bioasiapacific.com พิเศษสำาหรับผู้ที่ลงทะเบียนล่วงหน้า ลุ้น รับรางวัลพิเศษมากมาย ติดตามข่าวสาร การจัดงานได้ทุกช่องทาง Social media ของ Thailand LAB 

VNU Asia Pacific, together with the Science and Technology Trade Association (STTA) and the Thailand Center of Excellence for Life Sciences (Public Organization) or TCELS, is organizing Thailand LAB INTERNATIONAL 2022 – the 12th International Trade Exhibition and Conference on Analytical Laboratory & Technology, BIoTechnology & Life Sciences, Chemical & Safety, as well as the 3rd Bio Asia Pacific, the New Leading Conference and Exhibition Platform for BIoTechnology, Life Sciences and Smart Health in the Asia Pacific Region, and the 1st FutureCHEM INTERNATIONAL, the New Conference and Exhibition Platform Focusing on Innovative Solutions for the Chemical Industry. These three shows will be held from 14th-16th September 2022, at Hall EH 102-104, BITEC, Bangkok, Thailand. Together, they will create a strong, collaborative business platform and marketplace under one roof for laboratory, life sciences, bIoTechnology, and chemical industries, based on the concept “The Integration of Technology and Innovation Platforms for Laboratory, Life Sciences and the Chemical Industry in the Asia Pacific Region.”

Thailand LAB INTERNATIONAL, Bio Asia Pacific, and FutureCHEM INTERNATIONAL will offer a onestop solution for our trade participants with laboratory, life sciences, and chemical-related needs. This collaborative platform will showcase a wide range of technologies, ranging from Labtech, BIoTech, and Medtech to Digital Health, Precision Medicine, Biopharma, and Smart Health Services to Chemical Solutions.

Over 90% of the exhibition space has been sold. More than 200+ leading companies from the related industries, both local and international, will exhibit on the show floor, presenting more than 500+ product brands. Numerous global brands, manufacturers, key local traders, and industry leaders, including ThermoFisher, Danaher, Agilent Technologies, Eppendorf, Sartorius, Mettler-Toledo, IKA, Merck, Perkin Elmer, Gibthai, Bara Scientific, Bio-Active, Geneplus, DKSH, Becthai, Science Tech, and Sithiporn Associates, will be presenting their new products and services, showing that Thailand’s Laboratory & Life Sciences Market is back on track and ready for business.

The highlight of the exhibition will be the new product launches by our top brands, which will include demonstrations by professionals to bring the products to life and allow traders to make informed purchase decisions. The exhibition will cover all the needs of every industry – whether laboratory equipment, safety for laboratory personnel, innovations in life science and bIoTechnology, innovations in the chemical industry, analysis and quality inspection of pharmaceutical products, vaccines, cosmetics, petrochemicals, or any other sector that requires laboratory equipment for integrated business development from start to finish.

The launch of new products and the validation of new applications and methods will be this year’s key features to attract trade visitors. The shows are expected to attract more than 10,000 potential buyers and trade visitors over the three show days. The exhibition space is significantly larger than in 2020, comprising the full 12,000+ square meters of Hall 102-104 of the Bangkok International Trade and Exhibition and Conference (BITEC). If you work in the Laboratory, Life Science, BIoTechnology, Chemical, or any related industry or business, this is the exhibition not to miss this year!

The Proportion of Exhibitor Profiles With over 12 years of experience in the science and technology business, VNU Asia Pacific has allocated the exhibition space for product presentations according to business categories. 60% of the exhibition space will represent laboratory technology, 30% will represent life sciences and bIoTechnology, and the remaining 10% the chemical industry.

Thailand LAB INTERNATIONAL will showcase all analytical laboratory equipment and instruments covering the areas of analysis & testing, calibration & metrology, clinical & safety, research & diagnostic, and environmental development, while Bio Asia Pacific will focus on bIoTechnology, life sciences, and smart health services, including biopharmaceuticals, precision medicine, preventive health, and digital health. The new event FutureCHEM INTERNATIONAL will focus on innovative solutions for the chemical industry, especially in the areas of petrochemicals, pharmaceuticals, cosmetics, and food & supplements. According to satisfaction survey reports from previous years, more than 90% of exhibitors and trade visitors are satisfied that the exhibition helps them achieve their trade and business objectives.

Drawing Buyers from across Asia Pacific to Thailand with a Userfriendly Online Business Matching Service

Mr. Anucha Parnpichate, Senior Project Manager at VNU Asia Pacific notes, “Inviting potential buyers and decision-makers to the event is one

of our main goals. We are seeking potential buyers from many countries across Asia Pacific to participate in our exhibition. We have been contacted by many countries that are interested in visiting the event as a group, and some selected countries have been qualified and confirmed, including groups from Vietnam, Cambodia, India, and the Philippines. In particular, the Philippines Association of Medical Technologists has shown great interest in participating in the event for the fourth time after the long pause occasioned by COVID-19. Normally, we select more than 100 potential buyers from many countries to visit the show each year. Given the positive feedback from exhibitors, we will continue to conduct the Hosted Buyer Program as we believe that it helps our exhibitors create more business opportunities, business networks, and connections, which can also generate more investment and cash flow to the country in the last quarter of the year. Moreover, we will provide a user-friendly Online Business Matching Service to pre-arrange appointments among exhibitors and trade buyers or trade visitors so they can meet on-site or online. The online business matching service will facilitate the process of making appointments with your target customers and buyers.”

Intensive Conferences Conducted by Industry Experts, Supported Associations, and Academic Institutions

At this event, you will find a variety of conference topics covering many industry sectors, especially topics related to the COVID-19 pandemic, vaccines, and medical cannabis. More than 100 conference and seminar topics will be covered by industry experts, partners, supported associations, and academic institutions during the event. Supplementary activities, like the opening ceremony, thought leadership sessions, networking opportunities, start-up pitches, fireside panel discussions, and highlight conferences, will be conducted as well as broadcast to deliver mindblowing experiences to all our offline and online trade participants at LAB & Bio Square.

“Thailand LAB INTERNATIONAL and Bio Asia Pacific are key modern technology presentations for those who work in the Sciences, Laboratory, and Life Science fields in the Asia region. This is the main reason people in the industry should not miss out on the exhibition,” says Mr. Suwan Pongsunk, Former President of the Science and Technology Trade Association.

On behalf of the organizer, VNU Asia Pacific, it is our great honor to invite you and your team to participate in Thailand LAB INTERNATIONAL 2022, Bio Asia Pacific 2022, and FutureCHEM INTERNATIONAL 2022 from 14th-16th September 2022, during the hours of 10:00-17:00 at Hall EH 102-104, BITEC, Bangkok, Thailand.

For more information and registration, visit us at www.thailandlab. com or www.bioasiapacific.com.  Interesting seminar and conference topics are: • Reshaping Thai BIoTech creates new possibilities on the world stage by BIoTech Industry Club • Quality Assurance of Laboratory for Food Safety to Strengthen Global Market by Metrology Society of Thailand (MST) • ASEAN Food Safety Forum: Safe Food to Green Food by KU-FIRST • INNOLAB forum: Review of ISO/IEC 17025:2017 • The enhancement of laboratory safety according to ESPReL checklist by Peer Evaluation by the Department of Science Service (DSS) • Lesson Learned from COVID-19: Innovations for the Next Pandemic by TCELS & Pfizer • Synthetic Biology: BIoTechnology for Future of Thai Bio Industry by TCELS, ThaiBio, Twist Bioscience • Pharmacogenomics & Precision Medicine: Challenges Outlooks in an Era of Big Data by TCELS & SEAPharm • Navigating the Road from Policy to Commercialization for ATMPs by TCELS & Novartis • Shining the Light: Learning Journey in Metadata toward Personalised Healthcare by TCELS & Roche • The 12th National Conference in Toxicology (NCT12): Theme “Toxicology and Safety of Natural and Innovative Products” by Thai Society of Toxicology (TST)

Better together: registration opens for Vitafoods Asia 2022 co-located with Fi Asia in October

Contact กานต์ชนก ตองอ่อน Kanchanok Tong-on, Senior Media and Influencer Relations Executive, Vero kanchanok@vero-asean.com +6688 916 9363 Nicola Aldren, Senior Account Director, BDB vitafoods@bdb.co.uk +44 (0) 161 9254700

ร่วมกันเพื่อสิ่งที่ดีกว่า: เปิดให้ลงทะเบียนแล้วสำาหรับงานไวตาฟูดส์เอเชีย 2022 ซึ่งจะจัดขึ้นพร้อมกับงานฟู้ดอินกรี เดียนท์เอเชียในเดือนตุลาคม งานไวตาฟูดส์เอเชีย 2022 เวทีชั้นนำาสำาหรับอุตสาหกรรมโภชนเภสัช อาหารและเครื่อง ดื่มฟังก์ชันนอล และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในเอเชีย เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว โดยจะมีการจัดงานแบบออนไลน์ในวันที่ 26 กันยายน - 10 ตุลาคม และแบบเผชิญหน้าที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (QSNCC) กรุงเทพฯ ในวันที่ 5-7 ตุลาคม ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่งานไวตาฟูดส์เอเชียจัดขึ้นร่วมกับงานฟู้ดอินกรีเดียนท์เอเชียที่กรุงเทพฯ โดยตั้ง เป้าต้อนรับผู้เข้าชมงานมากกว่า 21,000 คนและซัพพลายเออร์มากกว่า 600 รายทั่วโลกจากทั้งอุตสาหกรรมโภชน เภสัชและอาหารและเครื่องดื่ม

งานไวตาฟูดส์เอเชียกลับมาในรูปแบบ ออนไลน์และแบบเผชิญหน้าบนสถานที่แห่ง ใหม่ในกรุงเทพฯ

Julien Bonvallet ผู้อำานวยการกลุ่ม แบรนด์ของ Informa Markets กล่าวว่า “หลังจากการประกาศล็อกดาวน์จากการ แพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ต่างๆ รวมถึงการเว้นระยะห่างทางสังคมมานาน สองปี กลุ่มอุตสาหกรรมโภชนเภสัชทั่ว เอเชียต่างก็ตั้งหน้าตั้งตารอโอกาสที่จะได้ กลับมาผนึกกำาลังและคิดค้นนวัตกรรมร่วม กันอีกครั้ง กว่าสองปีแห่งการรอคอยกับไอ เดียต่างๆ ที่ถูกคิดค้นพัฒนา ความตื่นเต้น ความคาดหวัง และความกระตือรือร้นใน การสร้างสรรค์นวัตกรรม ตอนนี้ถึงเวลา แล้วที่เราจะนำาเสนอนวัตกรรมเหล่านั้นให้ แก่ผู้บริโภคในกรุงเทพฯ งาน Vitafoods Asia เป็นมากกว่าแค่งานจัดแสดงสินค้าและ บริการ เพราะงานนี้เป็นอิเวนต์ด้านโภชน เภสัชเพียงงานเดียวที่ให้มุมมองข้อมูลเชิง ลึกเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรม โภชนเภสัชได้อย่างครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำา ถึงปลายน้ำา ตั้งแต่การวิจัย การกำาหนดสูตร ผลิตภัณฑ์ การวางจำาหน่าย บรรจุภัณฑ์ และการพัฒนาแบรนด์” “ปีนี้เราร่วมมือกับ Fi Asia เพื่อเปิด โอกาสให้ผู้บริโภค ผู้จำาหน่ายผลิตภัณฑ์ใน อุตสาหกรรมโภชนเภสัชได้มาพบปะแลก เปลี่ยนข้อมูลกันในแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน เราตระหนักดีว่าบางประเทศในเอเชียยัง คงมีข้อจำากัดด้านการเดินทางอยู่บ้าง เรา จึงตั้งใจที่จะจัดอิเวนต์สำาคัญทั้งสองงาน นี้พร้อมกันเพื่ออำานวยความสะดวกให้แก่ แขกผู้ร่วมงานและผู้จัดจำาหน่ายผลิตภัณฑ์ ให้ได้มากที่สุด ไม่เพียงเท่านั้น เนื่องจาก อุตสาหกรรมโภชนเภสัชและอาหารฟังก์ชัน มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนน้อยลง อีกทั้งผู้บริโภคใน ภูมิภาคหันมาใส่ใจในด้านสุขภาพองค์รวม มากขึ้น การจัดงานทั้งสองงานในสถานที่ เดียวกันจึงมีเป้าหมายที่จะช่วยขับเคลื่อน ทั้งการพัฒนานวัตกรรมและการเติบโตของ ธุรกิจในอุตสาหกรรมดังกล่าวควบคู่ไปพร้อม กัน ไม่ว่าจะเป็นการค้นพบส่วนผสมใหม่ๆ การคิดค้นสูตร การประยุกต์ใช้ หรือการ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับห่วงโซ่อุปทานของ คุณก็ตาม งานนี้จะช่วยเปิดโลกแห่งโอกาส และความเป็นไปได้”

เต็มไปด้วยโอกาส หลังจากประสบความสำาเร็จอย่างล้นหลาม จากกิจกรรมแบบไฮบริดในยุโรป งานไว ตาฟูดส์เอเชีย 2022 จะเป็นกิจกรรมแบบ ดิจิทัลด้วยเช่นเดียวกัน ผู้เข้าชมงานและ ผู้จัดแสดงสินค้าสามารถติดต่อกันได้ก่อน

This article is from: