นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมการประชุมเจ้าหน้าที่ อาวุโส ครั้งที่ 1 เพื่อเตรียมการประชุมรัฐมนตรี ศึกษาเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ 5 [1st Senior Officials’ Meeting (SOM1) of the 5th ASEM Education Ministers’ Meeting-ASEMME5)] เมื่อวันที่ 10–11 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรม Radisson Blu Daugava กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย โดย Ministry of Education and Science สาธารณรัฐ ลัตเวีย เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้เป็นการพิจารณาเตรียมการด้านสารัตถะสาหรับการประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย -ยุโรป ครั้งที่ 5(ASEMME5) ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 27-28 เมษายน 2558 ณ National Library of Latvia กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย โดยที่ประชุมได้หารือร่วมกันในการกาหนด วาระและหัวข้อหลักของการประชุม รวมทั้งการจัดทาร่างถ้อยแถลงสาหรับ ASEMME5 ภายใต้สาขาความร่วมมือ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การประกันคุณภาพและการรับรองคุณวุฒิการศึกษา (Quality Assurance and Recognition) 2) การมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมในการจัดการศึกษา (Engaging Business and Industry in Education) 3) การเคลื่อนย้ายที่สมดุล (Balanced Mobility) 4) การเรียนรู้ตลอดชีวิต การอาชีวศึกษาและฝึกอบรม (Lifelong Learning including Vocational Education and Training) ในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสครั้งที่ 1 เพื่อเตรียมการประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป (SOM1) ครั้งนี้ ได้มีการนาเสนอสาระสาคัญของการประชุม สุดยอดผู้นาเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ 10 (Asia-Europe Meeting-ASEM10) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16-17 ตุลาคม 2557 ณ กรุงมิลาน ประเทศอิตาลี ซึ่ง ASEM10 ได้ เน้นย้าถึงบทบาทสาคัญของการศึกษาในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน การสร้างนวัตกรรม และการขจัดปัญหาความยากจน และ เสริมสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งภายใต้ 3 เสาหลัก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ASEM10 ยังได้ตระหนักถึง บทบาทสาคัญของ การศึกษาโดยเฉพาะอุดมศึกษา อาชีวศึกษา รวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ASEM Summit ยังเห็นชอบให้มีการสร้างเสริม ทักษะและประสบการณ์ให้เยาวชนผ่านการจัดฝึกอบรมและการฝึกงานเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกของการทางานและช่วยลดปัญหาการว่างงานของ เยาวชน ในการนี้ ที่ประชุม SOM1 เห็นควรพิจารณากาหนดสารัตถะและหัวข้อที่จะใช้อภิปรายในระดับนโยบายสาหรับการประชุม ASEMME5 ให้สอดคล้อง กับประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการศึกษาตามที่เน้นย้าโดยที่ประชุมสุดยอดผู้นาเอเชีย -ยุโรปครั้งที่ 10 และที่ประชุม SOM1 ได้มีการอภิปรายเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่ คาดหวังต่อความร่วมมือภายใต้กรอบเอเชีย-ยุโรป การริเริ่มกิจกรรม/โครงการที่จะดาเนินการร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการความ ร่วมมือด้านการศึกษาเอเชีย-ยุโรปให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศสมาชิกและช่วยสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งภายใต้ 3 เสาหลักของ ASEM ที่ประชุมยังได้ พิจารณาทบทวนการปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมสาขาความร่วมมือที่สาคัญ โดยประเทศสมาชิกส่วนใหญ่เห็นว่าควรคงไว้ซึ่ง 4 สาขาความร่วมมือดังกล่าว และ ควรให้ความสาคัญกับสาขาความร่วมมือด้านการประกันคุณภาพและการรับรองคุณวุฒิการศึกษาเป็นอันดับแรก เนื่องจากประเทศสมาชิกได้ร่วมกันดา เนิน กิจกรรมความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมซึ่งจะเป็นกลไกสาคัญในการนาไปสู่การเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบุคลากรที่สมดุลระหว่างกัน และที่ประชุ ม SOM1 เห็น ควรให้มีการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมความร่วมมือและผลการดาเนินงานให้ประเทศสมาชิกได้ ทราบอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง พร้อมทั้งการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ ได้แก่ สถาบันอุดมศึกษา คณาจารย์ และนักศึกษา ตลอดจนภาคเอกชนได้เข้ามามี ส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม/โครงการความร่วมมือในกรอบ ASEM ให้มากขึ้น
นอกจากนี้ ASEM Education Secretariat ยังได้รวบรวมจัดทา Stocktaking Report และนาเสนอรายงานผลการดาเนินโครงการ/ กิจกรรมความร่วมมือภายใต้กรอบเอเชีย -ยุโรปตามมติที่ประชุมรัฐมนตรี ศึกษาเอเชีย-ยุโรปครั้งที่ผ่านมา โดยที่ประชุม SOM1 จะได้รวบรวมและ สรุ ป ผลการประชุ ม ครั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบการก าหนดหั ว ข้ อ อภิปรายและจัดทาสารัตถะของการประชุม ASEMME5 ต่อไป
สำหรับกำรดำเนินงำนในกรอบควำมร่วมมือเอเชีย ยุโรปของไทย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำได้มี บทบำทในกำรดำเนินกิจกรรมภำยใต้สำขำควำมร่วมมือ 4 ด้ำนมำโดยตลอด ไม่ว่ำจะเป็นกำรเป็นเจ้ำภำพจัดประชุม หรื อ กำรส่ ง ผู้ แ ทนเข้ ำ ร่ ว มในคณะท ำงำนหรื อ กำรประชุ ม ต่ำงๆ รวมถึงมีกำหนดจะเป็นเจ้ำภำพจัดกำรประชุมหำรือ ระหว่ ำ งผู้ แ ทนของประเทศเบลเยี ย ม บรู ไ นดำรุ ส ซำลำม เยอรมนีและไทยเกี่ยวกับแนวทำงกำรดำเนินโครงกำร ASEM Work Placement Pilot Program ในระยะนำร่อง ใน เดื อ นมกรำคม 2558 ทั้ ง นี้ โครงกำรดั ง กล่ ำ วเป็ น ควำม ร่ ว มมื อ ระหว่ ำ งภู มิ ภ ำคที่ ส่ ง เสริ ม กำรฝึ ก ปฏิ บั ติ ใ นสถำน ประกอบกำรจริง และสร้ำงควำมเข้ำใจด้ำนควำมแตกต่ำง ทำงวัฒนธรรมในระดับบัณฑิตศึกษำ นอกจำกนี้ไทยยังเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมำชิก ASEM (สวีเดน เบลเยียม เกำหลี สิงคโปร์และไทย) ที่เป็น contributing partner ในกำร ด ำ เ นิ น โ ค ร ง ก ำ ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น นั ก ศึ ก ษ ำ ‘ASEM-Duo Fellowship ProgrammeDuo-Thailand’ เพื่อส่งเสริม ให้เกิดกำรเคลื่อนย้ำยที่สมดุลระหว่ำงภูมิภำคเอเชีย-ยุโรป
กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป ประกอบด้วยสมาชิก 53 ประเทศจากเอเชีย และยุโรป รวมทั้ง 2 องค์กรหลักที่เกี่ยวข้องได้แก่ European Commission และ ASEAN Secretariat สาหรับการประชุม SOM1 ณ ประเทศลัตเวีย ในครั้งนี้ มีผู้แทน จากประเทศสมาชิ ก เอเชี ย -ยุ โ รป รวม 88 คน จาก 31 ประเทศและ 7 องค์ ก รที่ เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุม ได้แก่ ลัตเวีย ออสเตรีย เบลเยี่ยม บรูไนดารุสซาลาม บัลแกเรีย กัมพูชา จีน เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี อินโดนีเซีย ญี่ ปุ่ น เกาหลี ลาว ลิ ทั ว เนี ย มาเลเซี ย มอลตา นอร์ เ วย์ เนเธอร์ แ ลนด์ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ โปแลนด์ โปตุเกส รัสเซีย โรมาเนีย สวีเดน สิงคโปร์ สวิสเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และไทย รวมทั้ง Asia-Europe Foundation (ASEF), ASEM Education Secretariat (AES), ASEM Lifelong Learning Hub (ASEM LLL Hub) ASEAN University Network (AUN), European Association of Institutions in Higher Education (EURASHE), ASEM-DUO Fellowship Programme Secretariat และ SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development (SEAMEO RIHED) ทั้งนี้ อินโดนีเซียโดย Ministry of Education and Culture เป็น เจ้าภาพของ ASEM Education Secretariat ระหว่างปี 2556-2559 สำหรับกำรประชุม เจ้ำหน้ำที่อำวุโสครั้งที่ 2 เพื่อเตรียมกำรประชุมรัฐมนตรี ศึกษำเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ 5 [2nd Senior Officials’ Meeting (SOM2) of the 5th ASEM Education Ministers’ Meeting-ASEMME5)] มีกำหนดจัดในวันที่ 26 เมษำยน 2558 ก่อนจัดกำรประชุม ASEMME5 ในวันที่ 27-28 เมษำยน 2558 ณ กรุงรีกำ สำธำรณรัฐลัตเวีย ที่มา: สานักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ