ปรมินทมหาภูมิพละอตุลยะเตชะมหาราชัสสะ ปตติทานคาถา ยถาป ปะระมินโท โส สวีริโย สะมุสสาโห อะธิราชา มะหารัญญา ทัยยานัง เทวะภูโต โข สักกะโต ชะนะตาเยวะ ทัยยะวาสีนะมัตถายะ สัตตะติวัสสะกาเล วะ เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ขัตติเย พราหมะเณ เวสเส น กิญจิ ปริวัชเชติ ตัสะมา หิ ปณฑิโต โปโส สัมปเทยเยวะ ภิยโยโส อัปปะมัตโต อุโภ อัตเถ ทิฏเฐ ธัมเม จะ โย อัตโถ สะวากขาตัสสะ ปาฐัสสะ ปฏิปชเชถะ เมธาวี ยันทานิ เม กตัง ปุญญัง ยา กาจิ กุสลา มะยาสา ปะระมินทะมหาราชา เขมัปปะทัญจะ ปปโปตุ
ภูมิพะโล มหิสสะโร ทีฆะทัสสี วิจักขะโณ โลกะภาเค มะหิตตะเล ธะระมาโน ปสังสิโต สัมมานิโตภิปูชิโต หิตายะ จะ สุขายะ จะ รัชชัง ธัมเมนะ การะยิ อะธิวัตตันติ ภูปติง สุทเท จัณฑาละปุกกุเส สัพพะเมวาภิมัททะติ สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน อัปปะมาเทนะ ชีวิตัง อะธิคัณหาติ เจตะโส โย จัตโถ สัมปรายิโก อัตถัง อัญญายะ สาธุกัง อะโมฆัง ชีวิตัง ยะถา เตนาเนนุททิเสนะ จะ สุเขนะ สิชฌะตัง สะทา ภาคี โหตุ วะ ปตติยา ตัสสาสา สิชฌะตัง สุภาติ ฯ
คาถาถวายพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ผู ท รง เป น พระเจ า แผ น ดิ น มีพระวิรยิ อุตสาหะ มีพระวิสยั ทัศนยาวไกล มีปญ ญาฉลาดหลักแหลมในการปกครองประเทศ ทรงเปนพระมหาราช ผูยิ่งใหญกวาพระมหาราชใด ๆ ในโลก ทรงไดรับการสรรเสริญ สักการะ นับถือ บูชา ยกยองวาเปนเทวดา ที่ยังมีชีวิตอยูของปวงพสกนิกรชาวไทย ทรงครองสิริราชสมบัติเพื่อประโยชนสุข แหงมหาชนชาวสยาม สิน้ กาลเวลา ๗๐ ป แมฉนั ใด แตความชราและความตายยอมพรากองคพระภูมนิ ทร ฉันนัน้ ความตายหาไดละเวน ใคร ๆ ไม ไมวาคนนั้นจะเปนกษัตริย พราหมณ แพทย ศูทร คนจัณฑาล ความตายยอมทําลายทุกสิ่งถวนทั่ว เพราะฉะนัน้ แลผูเ ปนบัณฑิตเมือ่ พิจารณาเห็นประโยชน สวนตนก็พงึ ดําเนินชีวติ ของตนใหยงิ่ ดวยความไมประมาท บุคคลผูไมประมาทยอมจะไดรับประโยชนทั้ง ๒ สวนคือ ประโยชนปจจุบันและประโยชนในภายภาคหนา ผูมีปญญารูอรรถสาระแหงพระบาลีตามที่ สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสไวดีแลวนอมปฏิบัติ โดยประการที่ชีวิต จะเปนชีวิตที่มีสาระไมเปนชีวิต เปลาประโยชน (ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท) บุญอันใดที่ขาพเจาไดทําแลว ณ กาลบัดนี้ ดวยเหตุแหงบุญ ที่ขาพเจาไดทําแลวและดวยการถวายพระราชกุศลอันนี้ดวยความปรารถนา อันใดอันหนึ่งที่เปนกุศลของขาพเจาขอบุญและความหวังนั้นจงสําเร็จโดยงายทุกเมื่อ ขอพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จงทรงเปนผูมีสวนแหงปตติทานของขาพเจาทั้งหลาย ขอพระองคจงถึงซึ่งบทอันเกษมคือ พระนิพพาน ขอความปรารถนาอันดีงามของพระองคทั้งปวงนั้นจงสําเร็จ โดยพลัน เทอญ ฯ สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร แตงและแปล ภาพโดย FB : Thongrob Promchin (Nott) (๓ ตุลาคม ๒๕๖๐)
ภาพโดย FB : วสันต วณิชชากร (๔ ตุลาคม ๒๕๖๐)
ปที่ ๔๔ ฉบับที่ ๔๗๒ ประจําเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ เอกสารเผยแพรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461 เครือ่ งหมายราชการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปนรูปวงกลม มีเสนรอบวง ๓ เสน ภายในวงกลมตรงกลาง มีรูปพระวชิระ ซึ่งเปนตราประจําพระองค พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ขางวงกลมดานใน มีลายกระหนก ๓ ชั้น เริ่มจากฐานดานพระวชิระโคงขึ้นไป เกือบจรดปลายแหลมของพระวชิระ ภายใตรูปพระวชิระ และลายกระหนกมีชื่อสวนราชการ คือ สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา
÷
เจาของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ๓๒๘ ถ.ศรีอยุธยา ราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท : ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร : ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๖ ที่ปรึกษา : ดร.สุภัทร จําปาทอง นายขจร จิตสุขุมมงคล ดร.อรสา ภาววิมล นายวันนี นนทศิริ บรรณาธิการ : นางสาวปยาณี วิริยานนท กองบรรณาธิการ : นายเจษฎา วณิชชากร นางสาววีนัส แกวประเสริฐ นายวัชรพล วงษไทย นางปราณี ชื่นอารมณ นายจรัส เล็กเกาะทวด นางสาวอินทิรา บัวลอย ออกแบบและจัดพิมพ : บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนดพับลิสชิ่ง จํากัด โทรศัพท : ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗-๙
อนุสารอุดมศึกษาออนไลน www.mua.go.th
ñò ñö ñø òð
òò
เรื่องเลาอุดมศึกษา - วั น ที่ ร ะลึ ก วั น พระราชทานธงชาติ ไ ทยและครบรอบ ธงชาติ ไ ทย ๑๐๐ ป การประกาศใช ธ งไตรรงค เ ป น ธงชาติไทย เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทีท่ รงพระราชทาน ธงไตรรงคเปนธงชาติไทย - สกอ. ดําเนินโครงการ Talent Mobility ป ๒๕๖๑ - สกอ. จัดประชุมเครือขายความรวมมือดานนโยบาย แผนงาน และงบประมาณเพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป - สกอ. ขับเคลือ่ นศูนยความเปนเลิศ ยุค Thailand 4.0 - สกอ. เรงสรางความเขาใจเพื่อใหคุณภาพของบัณฑิต มีมาตรฐานทีเ่ ทียบเคียงกันจากมาตรฐานผลการเรียนรู (Learning Outcomes)
มติ กกอ. - สรุปการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ครัง้ ที่ ๘/๒๕๖๐ วันพุธที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐
เหตุการณเลาเรื่อง - การประชุมสมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมภิ าคยุโรปประจํา ป พ.ศ. ๒๕๖๐
รูจัก สกอ. - สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ภาระกิจ สกอ.
สาระนารู - อยากรูค วามเปนอยูข องทาน - ทําไมถนนวุน วายจัง
เรื่องเลาอุดมศึกษา วั น ที่ ร ะลึ ก วั น พระราชทานธงชาติ ไทย และครบรอบ ธงชาติ ไทย ๑๐๐ ป การประกาศใชธงไตรรงคเปนธงชาติ ไทย เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่ทรงพระราชทานธงไตรรงคเปนธงชาติ ไทย
๒๘ กันยายน ๒๕๖๐ ๐๘.๐๐ น. ดร.สุภัทร จําปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และนายขจร จิตสุขมุ มงคล รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา นําคณะผูบ ริหารและขาราชการสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา เขารวมกิจกรรมเนื่อง ในวั น พระราชทานธงชาติ ไ ทย ครบรอบ ๑๐๐ ป ธงชาติไทย ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๘ กันยายน ของทุกป เพื่ อ เป น การน อ มรํ า ลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ที่ทรงพระราชทานธงไตรรงคเปนธงประจําชาติไทย ซึ่ ง เป น ความภาคภู มิ ใ จ และเป น สั ญ ลั ก ษณ ค วาม สมัครสมานสามัคคีของคนในชาติโดยรัฐบาลไดริเริ่ม จั ด กิ จ กรรมขึ้ น เป น ป แ รกพร อ มกั น ทั่ ว ประเทศโดย ไมถอื เปนวันหยุดราชการ โดยมีรฐั มนตรีวา การกระทรวง ศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) เปนประธานกิจกรรมเชิญธงชาติไทยและรองเพลงชาติ ณ สนามหญาหนาอาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ อนึ่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ไดทรงออกแบบธงชาติไทย หรือ ธงไตรรงค (ธง ๓ สี คือ สีแดง นํ้าเงินขาบ (นํ้าเงินเขมเจือมวง) และขาว) และพระราชทานใหปวงชนชาวไทยใชเปน ธงชาติไทย โดยไดตราเปนพระราชบัญญัติ ประกาศ ใช ตั้ ง แต วั น ที่ ๒๘ กั น ยายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๐ เป น ต น มา ซึ่ ง ประเทศไทยได ใ ช ธ งไตรรงค นี้ เ ป น ธงชาติไทยเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ธงชาติไทยจึงเปน ที่ เ คารพ และมี ค วามสํ า คั ญ สู ง สุ ด เป น สั ญ ลั ก ษณ แหงความภาคภูมิใจ ความสามัคคีเปนหนึ่งเดียวกันของ คนไทยทัง้ ชาติไมแบงชนชัน้ และศาสนา เปนเครือ่ งยึดเหนีย่ ว รวมกันเปนพลังที่ยิ่งใหญในการพัฒนาประเทศชาติ ใหเจริญกาวหนาอยางมัน่ คง ยัง่ ยืน สถาพร ทัง้ นี้ รัฐบาล ได ข อเชิ ญ ชวนหน ว ยงานภาครั ฐ ภาคเอกชน และ ประชาชนทัว่ ไป รวมจัดกิจกรรม รวมทัง้ ประดับธงชาติไทย ณ อาคาร บานเรือน และสถานที่ของทานตามความ เหมาะสมโดยพรอมเพรียงกัน อนุสารอุดมศึกษา
๗
สกอ. ดําเนินโครงการ Talent Mobility ป ๒๕๖๑ ดร.สุภัทร จําปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เปนประธานเปดการประชุมเชิงปฏิบัติ การเพื่ อ ชี้ แ จงแนวทางการดํ า เนิ น การและลงนาม ความรวมมือสนัยสนุนกิจกรรมการดําเนินการโครงการ Talent Mobility ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ประจํ า ป งบประมาณ ๒๕๖๑ ณ โรงแรมแกรนด เมอรเคียว ฟอรจูน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ที่ผานมา เลขาธิการ กกอ. กลาววา นโยบาย Talent Mobility นั บ เป น นโยบายสํ า คั ญ ต อ การขั บ เคลื่ อ น ระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศ โดยเป น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการผลิ ต ให กั บ ภาคอุ ต สาหกรรม อั น เป น การพั ฒ นาและแก ไ ขป ญ ญาของประเทศ ในภาพรวม ซึ่ ง ในเรื่ อ งนี้ สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาในฐานะหนวยงานที่กํากับดูแลสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา และ สํ า นั ก งานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติในฐานะ หนวยงานที่กํากับดูแลนโยบายดังกลาว มีความยินดี ทีจ่ ะรวมกันสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมตามนโยบาย ดังกลาว โดยอาศัยสถาบันอุดมศึกษาเปนกําลังสําคัญ ในการขับเคลือ่ นนโยบายเนือ่ งจากในปจจุบนั มีบคุ ลากร วิ จั ย ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ค วามรู ค วามสามารถ ในสังกัดเปนจํานวนมาก และการสงเสริมใหบุคลากร วิจยั ในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบตั งิ าน เพือ่ แกไขปญหา แ ล ะ เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผ ลิ ต ใ ห กั บ ภาคอุ ต สาหกรรม จะเป ด โอกาสและสนั บ สนุ น ให คณาจารยไดทํางานรวมกับภาคเอกชน ซึ่งจะเปนการ นํ า ความรู ค วามสามารถไปใช ไ ด จ ริ ง ขณะเดี ย วกั น คณาจารย ก็ จ ะได เ ข า ใจโจทย จ ริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในภาค อุ ต สาหกรรม ในทางกลั บ กั น ก็ จ ะเป ด โอกาสให ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพตาง ๆ ที่อยูในภาคเอกชน ได เ ข า มาถ า ยทอดความรู ใ ห กั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา โดยเฉพาะการถายทอดประสบการณจากการปฏิบตั งิ าน เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกันอยางแทจริง
๘
อนุสารอุดมศึกษา
เลขาธิการ กกอ. กลาวตอไปวา ในปงบประมาณ ๒๕๖๑ เปนปที่ ๓ สกอ. และ สวทน. ไดรวมมือกัน สนับสนุนการดําเนินโครงการ Talent Mobility ใน ๒ กิจกรรมหลัก ไดแก ๑) การจัดสรรทุนสนับสนุน การวิจัย โดย สกอ. สนับสนุนงบประมาณในสวนของ คาตอบแทนสําหรับอาจารย/นักวิจัย และสนับสนุน คาใชจายที่เกี่ยวของกับการวิจัย และ สวทน. สนับสนุน คาตอบแทนสําหรับผูช ว ยวิจยั (นักศึกษา) และสนับสนุน งบประมาณชดเชยการเคลือ่ นยายบุคลากรใหกบั สถาบัน อุดมศึกษาตนสังกัด และ ๒) การสนับสนุนกิจกรรมการ ดําเนินโครงการ Talent Mobility ในสถาบันอุดมศึกษา โดย สกอ. และ สวทน. รวมกันสนับสนุนศูนยอํานวย ความสะดวก (TM Clearing House) และหน ว ย สนับสนุนโครงการ Talent Mobility (TM Clearing House) ซึง่ ไดมกี ารลงนามความรวมมือระหวางกันไปแลว การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารในครั้ ง นี้ จ ะเป น แรงผลักดันที่สําคัญในการสงเสริมความรวมมือในการ สนับสนุนการดําเนินงานโครงการ Talent Mobility ใน สถาบันอุดมศึกษา อันจะเปนประโยชนตอ การขับเคลือ่ น นโยบายดังกลาวในระยะยาวตอไป เลขาธิการ กกอ. กลาวในตอนสุดทาย สถาบันอุดมศึกษาที่เขารวมดําเนินโครงการ Talent Mobility จํานวน ๑๙ สถาบัน ไดแก จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแก น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนื อ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ มหาวิทยาลัย ศิลปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
สกอ. จัดประชุมเครือขายความรวมมือ
ดานนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป
๒๒ กันยายน ๒๕๖๐ : นายขจร จิตสุขุมมงคล รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เป น ประธานเป ด การประชุ ม สั ม มนาเครื อ ข า ยความ ร ว มมื อ ด า นนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ครั้งที่ ๑ เรื่อง บทบาทของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และสถาบันอุดมศึกษาในการ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพมหานคร รองเลขาธิการ กกอ. กลาวตอนหนึง่ วา ในปจจุบนั รั ฐ บาลมุ ง เน น การพั ฒ นาประเทศสู ยุ ค ประเทศไทย ๔.๐ เพื่ อ ให ห ลุ ด พ น จากกั บ ดั ก ประเทศรายได ปานกลาง โดยไดมีการกําหนดให “ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป” เปนยุทธศาสตรในการพัฒนาประเทศระยะ ยาว ซึ่งจะชวยยกระดับคุณภาพของประเทศไทยใน ทุกภาคสวนและนําพาประเทศไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สามารถเปลี่ยนผานประเทศไปพรอม ๆ กั บ การเปลี่ ย นแปลงภู มิ ทั ศ น ใ หม ข องโลก ในส ว น ของการอุ ด มศึ ก ษานั้ น สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา อยูระหวางการจัดทําแผนอุดมศึกษา ระยะยาว ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ที่มีความ เชื่ อ มโยงกั บ ยุ ท ธศาสตร ช าติ ร ะยะ ๒๐ ป แผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ และ แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ เพื่อนํามา ใชเปนแนวทาง การพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ให ส ามารถรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงบริ บ ทโลกและ ของประเทศ รวมทั้ ง วางทิ ศ ทางและกํ า หนดกลไก ให อุ ด มศึ ก ษาเป น หั ว รถจั ก รในการพั ฒ นาประเทศ บน ๔ พันธกิจหลัก คือ การจัดการศึกษา การวิจัย และพัฒนา การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ รองเลขาธิ ก าร กกอ. กล า วในตอนสุ ด ท า ย ว า สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษามี ค วาม ตั้ ง ใจอย า งยิ่ ง ที่ จ ะร ว มสนั บ สนุ น การขั บ เคลื่ อ น ยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป ใหบรรลุตามวัตถุประสงค และพร อ มที่ จ ะส ง เสริ ม การทํ า งานร ว มกั น ระหว า ง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐในการจัดทํา/ดําเนินงาน/ขับเคลื่อน ยุ ท ธศาสตร ต า ง ๆ เพื่ อ ให เ กิ ด ความเข า ใจอั น ดี ระหว า งกั น และสามารถทํ า งานร ว มกั น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนมีชองทางในการแลกเปลี่ยน ขอมูลทีค่ ลองตัว อันจะนําไปสูก ารขับเคลือ่ นยุทธศาสตร ชาติระยะ ๒๐ ป ใหบรรลุซึ่งสิ่งที่คนไทยทุกคนตองการ คื อ ประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นาสู ค วามมั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่งยืน
อนุออนุ สนารอุ ุสาารอุ รดอมศึ ุดมมศึ กศษา ึกษษาา
๙๙
สกอ. ขับเคลือ่ นศูนยความเปนเลิศ ยุค Thailand 4.0 นายขจร จิ ต สุ ขุ ม มงคล รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา เปนประธานการประชุม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง ศู น ย ค วามเป น เลิ ศ กั บ ทิ ศ ทาง การวิ จั ย ยุ ค Thailand 4.0 ณ โรงแรมดาริ น แมนเนจ บาย เซ็ น เตอร พ อ ยท กรุ ง เทพมหานคร เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ที่ผานมา รองเลขาธิการ กกอ. กลาวตอนหนึ่งวา การ ประชุมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ จึงนับไดวาเปนกิจกรรม ที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง ที่จะชวยกันสงเสริม ใหศูนยความเปนเลิศทั้งหมด ไดประเมินและทบทวน ภารกิจที่ผานมา และแสวงหาแนวทางในการปรับปรุง รูปแบบการดําเนินงาน ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นรวมทั้ง เปนโอกาสดี ที่ผูเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการใน ครั้ ง นี้ จ ะได รั บ ฟ ง การบรรยายจากผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใน ประเด็นเกี่ยวกับภูมิทัศนของการปฏิรูประบบการวิจัย ของประเทศ และรู ป แบบที่ เ หมาะสมในการพั ฒ นา ศูนยความเปนเลิศอยางยั่งยืน นอกจากนี้ ยังจะเปนเวที ใหไดรวมแชรประสบการณ เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู ซึ่งกันและกัน ระหวางศูนยความเปนเลิศ ตลอดจนการ ระดมสมองในการกําหนดกลยุทธทเี่ หมาะสม เพือ่ ใหเกิด ผลสัมฤทธิ์และประโยชนสูงสุดตอการทํางานตอไป ในป พ.ศ. ๒๕๔๒ ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย หรื อ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ในปจจุบัน ไดจัดตั้งศูนยความเปนเลิศขึ้นเปนครั้งแรก ในลักษณะเปนภาคีเครือขายความรวมมือทางวิชาการ ระหวางมหาวิทยาลัย (Inter-university Research Consortium) ซึง่ ถือไดวา เปนนวัตกรรมของการบริหาร งานวิจัยของประเทศในขณะนั้น เกิดเปนวัฒนธรรมใหม ของวงการวิชาการ (New Academic Culture) เปน ชุมชนนักวิชาการหรือนักวิจัยขนาดใหญ สําหรับผูที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด า นในหลากหลายสาขา มาร ว มกั น พั ฒ นาและสร า งสรรค ผ ลงานวิ จั ย เพื่ อ ตอบโจทยความตองการของยุทธศาสตรของประเทศ ในรูปของ New Academic Order ควบคูก บั การพัฒนา ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ และการให บ ริ ก าร
๑๐ อนุสารอุดมศึกษา
ทางวิชาการตอทั้งภาคการผลิตและบริการอยางทั่วถึง ในปจจุบนั มีศนู ยความเปนเลิศทีด่ าํ เนินการอยูท งั้ สิน้ ๑๑ ศูนย ซึ่งเปนการรวมกันของสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย ในลักษณะเปนภาคีเครือขายความรวมมือทางวิชาการ จํานวน ๒๑ สถาบัน โดยมี ๕ มหาวิทยาลัยหลักทําหนาที่ เปนมหาวิทยาลัยแกนนําของศูนย มีคณาจารยและ นักวิจัยรวมทํางานในศูนยตาง ๆ รวมกวา ๑,๓๐๐ คน มีหองปฏิบัติการวิจัยในสังกัด (Research Lab) จํานวน ๑๑๔ แหง กระจายอยูในทุกภูมิภาคของประเทศจึง นับไดวาเปนแหลงชุมนุมของนักวิจัยและนักวิชาการ ขนาดใหญ ที่ สุ ด แห ง หนึ่ ง ของประเทศ และสามารถ ผลิตผลงานทั้งในเชิงผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ ได อ ย า งมี คุ ณ ภาพ และในปริ ม าณที่ เ ป น มวลวิ ก ฤต เปนที่ประจักษชัด ปจจุบัน ศูนยความเปนเลิศอยูในชวงของการ ดําเนินงานในระยะที่ ๓ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ โดยมีพันธกิจหลัก คือ การผลิต พัฒนา และบูรณาการองคความรูแ ละปญญาทีเ่ ปนสากล กั บ ภู มิ ป ญ ญาและสภาพแวดล อ มของท อ งถิ่ น ให สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต พรอมทัง้ ปรับเปลีย่ นกระบวนทัศนในการบริหารจัดการ องค ค วามรู ให ส ามารถนํ า ไปสร า งวั ฒ นธรรมและ เทคโนโลยีใหกับภาคการผลิตและบริการ ตลอดจน สาธารณชนทั่วไป รวมทั้งผลักดันใหประเทศเปนฐาน รองรับการพัฒนาองคความรูแ ละกําลังระดับสูง ในระดับ อนุ ภู มิ ภ าคและภู มิ ภ าค ซึ่ ง เป น หน า ที่ ที่ ศู น ย ค วาม เปนเลิศตองใหความสําคัญทีจ่ ะดําเนินงานใหเปนไปตาม เงื่อนไขและบรรลุเปาหมายที่กําหนด ควบคูกับการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบและทิศทางการวิจัยใหตอบสนอง นโยบายรัฐบาล ที่ไดมีการออกแบบและกําหนดเปน ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศระยะ ๒๐ ป และนโยบาย การขั บ เคลื่ อ นระบบเศรษฐกิ จ ด ว ยนวั ต กรรมที่ เ น น ประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการทํางานผานโมเดล Thailand 4.0 พรอมกับกําหนดกลุมอุตสาหกรรม เปาหมายที่มีความจําเปนที่ตองพัฒนาอยางเรงดวน
สกอ. เรงสรางความเขาใจเพื่อใหคุณภาพของบัณฑิต มีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันจากมาตรฐาน ผลการเรียนรู (Learning Outcomes)
๒๗ กั น ยายน ๒๕๖๐ : รองศาสตราจารย ดร.บัณฑิต ทิพากร รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา เป น ประธานเป ด การ ประชุมสัมมนา เรื่อง “การพัฒนา มาตรฐานผลการเรี ย นรู (Learning Outcomes) และนําสูการปฏิบัติที่สอดคลองตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ” และบรรยายพิเศษ เรื่อง มาตรฐานผลการเรียนรู : ความสําคัญ แนวทาง การเขียนที่สะทอนคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค แนวทางการสงเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ของอาจารย ใ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา และการพั ฒ นา ระบบสารสนเทศเพื่อการรับทราบหลักสูตรของสถาบัน อุดมศึกษา ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร รองเลขาธิการ กกอ. กลาวตอนหนึ่งวา นับแต ไดมปี ระกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทาง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ทีม่ งุ เนนมาตรฐานผลการเรียนรู (Learning Outcomes) ของผูเรียน เพื่อใหสถาบัน อุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุง รายละเอียดของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดกิจกรรม สงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาสามารถปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยไดเชิญผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ โดยเฉพาะจากสหภาพยุโรปและประเทศออสเตรเลีย มาร ว มประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู และเที ย บเคี ย งแนวคิ ด และแนวปฏิ บั ติ โดยมุ ง ให สถาบันอุดมศึกษาสามารถผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะ
ตามเจตนารมณ ข องกรอบมาตรฐานคณวฒิ องกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุดมศึกษาแหงชาติ นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษายังไดติดตามพัฒนาการและแนวโนม การดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒอิ ยางสมํา่ เสมอ รองเลขาธิการ กกอ. กลาวตอไปวา แนวโนม การจั ด การศึ ก ษาในป จ จุ บั น มุ ง เน น การเที ย บเคี ย ง ผลการเรียนรูของผูสําเร็จการศึกษาในระดับตาง ๆ การมี Regional Qualification Framework ตลอดจน การสรางระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให ผูเกี่ยวของเกิดความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาที่เนน ผลลัพธการเรียนรูข องผูเ รียนเปนสําคัญ ๑) การสงเสริม ความร ว มมื อ และเที ย บเคี ย งการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในระดับภูมิภาค ๒) การตัง้ เปาหมาย Education 2030 ๓) ความทาทาย ในการเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันและคณาจารย ในการสร า งวั ฒ นธรรมคุ ณ ภาพในการจั ด การศึ ก ษา ๔) การมุงเนน การใชการจัดการเรียนการสอนที่มุงเนน ผลลัพธการเรียนรู (Outcomes Based Education : OBE) ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนมี Learning Outcomes ตาม TQF ๕) การเนนการ ประเมินผลการเรียนรูที่เชื่อถือได และ ๖) การประกัน คุณภาพในระดับหลักสูตร “ในการนี้ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาจึงพยายามสรางความเขาใจ ที่ตรงกันเกี่ยว กั บ จั ด ระบบการอํ า นวยความสะดวกให แ ก ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษา อาทิ การจั ด ทํ า แนวทางการส ง เสริ ม คุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอนของอาจารย ใ น สถาบันอุดมศึกษา ใหแกอาจารย (PSF) เพื่อใหสถาบัน อุ ด มศึ ก ษานํ า ไปเป น แนวทางในการพั ฒ นาอาจารย และการพัฒนาระบบสารสนเทศการรับทราบหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาเสนอหลักสูตรตอสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาดวยระบบออนไลนทดแทน การเสนอดวยเอกสาร” รองเลขาธิการ กกอ. กลาวใน ตอนสุดทาย อนุสารอุดมศึกษา
๑๑
“มติ กกอ.”
สรุปการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ครั้งที่ ๘/๒๕๖๐ วันพุธที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในการประชุม ๓. ในการดําเนินการเพื่อใหมีสภาคณาจารย ครั้ ง ที่ ๘/๒๕๖๐ เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ ๙ สิ ง หาคม ๒๕๖๐ ตามกฎหมายจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ใหคณาจารย และบุคลากรอื่นของสถาบันอุดมศึกษานั้น ซึ่งมิไดเปน มีมติในการพิจารณาเรื่องตาง ๆ ดังนี้ คณาจารยแตเปนขาราชการหรือพนักงานของสถาบัน ๑. เรื่ อ งที่ ป ระธานให ฝ า ยเลขานุ ก ารแจ ง อุ ด มศึ ก ษานั้ น มี สิ ท ธิ เ ลื อ กและดํ า รงตํ า แหน ง ใน เพื่อทราบ : ที่ประชุมรับทราบเรื่องที่ฝายเลขานุการ สภาคณาจารยไดเชนเดียวกัน โดยมิใหมีผลกระทบ แจงที่ประชุมทราบคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบ ต อ ผู ดํ า รงตํ า แหน ง ในสภาคณาจารย ข องสถาบั น แหงชาติ ที่ ๓๗/๒๕๖๐ วันที่ ๘ สิงหาคม พุทธศักราช อุดมศึกษาที่มีอยูในวันกอนวันที่คําสั่งนี้ใชบังคับ หรือ ๒๕๖๐ เรือ่ ง การแกไขปญหาการบริหารงานของสถาบัน อยูร ะหวางการดําเนินการเพือ่ ใหไดมาซึง่ ผูด าํ รงตําแหนง ดังกลาวในวันที่คําสั่งนี้ใชบังคับ อุดมศึกษา โดยมีหลักการสําคัญคือ ๑. โดยที่ในปจจุบันปญหาการบริหารงานของ สถานศึ ก ษาของรั ฐ ที่ จั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ๒. เรือ่ ง การแตงตัง้ คณะอนุกรรมการเกีย่ วกับ มักปรากฏปญหาการไดมาซึ่งผูดํารงตําแหนงผูบริหาร การสงเสริมและพัฒนางานวิจัย : ที่ประชุมเห็นชอบ ทําใหการบริหารงานของสถานศึกษาตองหยุดชะงัก การแต ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการเกี่ ย วกั บ การส ง เสริ ม ส ง ผลให ก ารดํ า เนิ น การเพื่ อ ปฏิ รู ป การศึ ก ษาซึ่ ง เป น และพัฒนางานวิจัย โดยมีองคประกอบชุดเดียวกันกับ เรื่ อ งสํ า คั ญ เรื่ อ งหนึ่ ง ในการปฏิ รู ป ประเทศตามที่ คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนางาน วิจัย ของคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบัน รัฐธรรมนูญบัญญัติไวไมอาจบรรลุผลสําเร็จลงได ๒. เพื่อประโยชนในการบริหารงานของสถาบัน อุดมศึกษา และมีอํานาจหนาที่ในการพิจารณาแนวทาง อุ ด มศึ ก ษาให มี ค วามต อ เนื่ อ งและเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ การสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากร ใหสถาบันอุดมศึกษามีอํานาจแตงตั้งบุคคลใดที่มิได ในสถาบันอุดมศึกษา ดําเนินงานตามแนวทางการสงเสริม เปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือเปน และสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากรในสถาบัน พนั ก งานในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษามาดํ า รงตํ า แหน ง อุดมศึกษา ใหความเห็นหรือเสนอแนะ ก.พ.อ. เกี่ยวกับ อธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดีหรือ การสงเสริมและพัฒนางานวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัย หัวหนาหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา เพื่อสงเสริมและพัฒนาบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา คณะได สํ า หรั บ คุ ณ สมบั ติ แ ละลั ก ษณะต อ งห า มอื่ น และใหความเห็นหรือเสนอแนะ ก.พ.อ. ในการกํากับดูแล ให เ ป น ไปตามกฎหมายว า ด ว ยระเบี ย บข า ราชการ การดําเนินการ การติดตาม และการประเมินผลในการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและกฎหมายจัดตัง้ สถาบัน สงเสริมและพัฒนาดานการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา อุดมศึกษานั้น ๆ โดยใหนํามาใชบังคับกับผูซึ่งดํารง ตําแหนงดังกลาว อยูใ นวันกอนวันทีค่ าํ สัง่ นีใ้ ชบงั คับ และ ๓. เรื่ อ ง วิ ท ยาลั ย ศรี โ สภณขอแจ ง ความ ผูซึ่งอยูในระหวางกระบวนการสรรหาผูดํารงตําแหนง ประสงคการเลิกกิจการ : ที่ประชุมเห็นชอบดังนี้ ๑. ให คํ า แนะนํ า รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง ดังกลาวในวันที่คําสั่งนี้ใชบังคับดวย
๑๒ อนุสารอุดมศึกษา
ศึ ก ษาธิ ก าร มี คํ า สั่ ง เลิ ก กิ จ การวิ ท ยาลั ย ศรี โ สภณ ตั้งแตวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ ตามที่วิทยาลัยศรีโสภณ แจ ง ความประสงค ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให เ ป น ไปตามความ ในมาตรา ๑๐๐ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒. ใหวทิ ยาลัยศรีโสภณ สงมอบเอกสารเกีย่ วกับ ผลการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาทั้ ง หมดให แ ก สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายในระยะเวลา ๙๐ วัน ตามความประสงคของผูรับใบอนุญาต นับตั้งแตวันที่ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการมีคําสั่งเลิกกิจการ ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖
เชิงบูรณาการระบบพิชญพิจารณแบบมีสว นรวม : ระยะ ที่ ๑ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ตามความเห็น ของคณะอนุกรรมการดานการติดตามและประเมินผล มีสถาบันที่ดําเนินการสอดคลองตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรฯ จํานวน ๒ สถาบัน/๒ หลักสูตร ไดแก มหาวิทยาลัยรามคําแหง (๑ หลักสูตร) และ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช (๑ หลักสูตร) โดยใหแจงผลการติดตาม ตรวจเยีย่ มดังกลาวตอสถาบันอุดมศึกษา และสภาสถาบัน อุดมศึกษา พรอมทั้งประกาศใหสาธารณะทราบตอไป
๖. เรื่อง (ราง) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีและระดับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สาขาพยาบาลศาสตร พ.ศ. .... : ที่ประชุมเห็นชอบหลักการ (ราง) ประกาศกระทรวง ๔. เรื่อง มหาวิทยาลัยเอเชียนขอแจงความ ศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ประสงคการเลิกกิจการ : ที่ประชุมเห็นชอบดังนี้ สาขาพยาบาลศาสตร พ.ศ. .... และ (ราง) ประกาศ ๑. ให คํ า แนะนํ า รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ศึกษาธิการ มีคําสั่งเลิกกิจการมหาวิทยาลัยเอเชียน บัณฑิตศึกษา สาขาพยาบาลศาสตร พ.ศ. .... ตั้งแตวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ ตามที่มหาวิทยาลัย ๗. เรือ่ ง การขอกําหนดชือ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร เอเชียนแจงความประสงค ทัง้ นี้ เพือ่ ใหเปนไปตามความ ในมาตรา ๑๐๐ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติสถาบัน สาธารณสุข เพิ่มในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่อง หลักเกณฑการกําหนดชื่อปริญญา : ที่ประชุม ๒. ให ม หาวิ ท ยาลั ย เอเชี ย น ส ง มอบเอกสาร เห็นชอบใหเพิ่มชื่อ “สาขาวิชาวิทยาศาสตรสาธารณสุข เกี่ ย วกั บ ผลการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาทั้ ง หมดให แ ก (Public Health Science)” ขอ ๕ ประเภทของการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายในระยะ กําหนดชื่อปริญญา ขอ ๕.๑ ปริญญาประเภทวิชาการ เวลา ๔๕ วัน ตามความประสงคของผูรับใบอนุญาต ขอ ๕.๑.๒ ปริญญาวิทยาศาสตร (๒) กลุมสาขาวิชา นั บ ตั้ ง แต วั น ที่ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร วิ ท ยาศาสตร ป ระยุ ก ต เป น ข อ ๒.๕) สาขาวิ ช า มีคาํ สัง่ เลิกกิจการ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหเปนไปตามความในมาตรา วิทยาศาสตรสาธารณสุข (Public Health Science) ๙๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา ในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑการ เอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดชื่อปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามความเห็นของ คณะอนุกรรมการดานมาตรฐานการอุดมศึกษา ๕. เรื่อง สรุปผลการติดตามและตรวจเยี่ยม ๘. เรื่ อ ง การกํ า หนดชื่ อ ปริ ญ ญาระดั บ การจั ด การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกเชิ ง บู ร ณาการ ระบบพิชญพิจารณแบบมีสวนรวม ระยะที่ ๑ ประจํา อนุปริญญา ของสถาบันวิทยาลัยชุมชน : ที่ประชุม ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ : ที่ประชุมเห็นชอบผลการ เห็ น ชอบให ส ถาบั น วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนดํ า เนิ น การปรั บ ติดตามตรวจเยี่ยมการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก การกําหนดชือ่ ปริญญาระดับอนุปริญญาวา “อนุปริญญา” อนุสารอุดมศึกษา
๑๓
แลวตามดวยชื่อสาขาวิชา และกําหนดใหใชอักษรยอวา อ. (สาขาวิชา...) เพื่อใหเปนไปตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานระดับอนุปริญญา พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ตามความเห็ น ของคณะอนุ ก รรมการด า น มาตรฐานการอุดมศึกษา และใหแจงสถาบันวิทยาลัย ชุมชนใหถือปฏิบัติตอ ไป ๙. เรือ่ ง ขอหารือการกําหนดจํานวนหนวยกิต วิชาทางปฏิบตั กิ ารตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ : ที่ประชุมเห็นชอบการ กําหนดแนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรทางปฏิบัติ การ ตามความเห็นของคณะอนุกรรมการดานมาตรฐาน การอุดมศึกษา ดังนี้ ๑. การกํ า หนดจํ า นวนหน ว ยกิ ต “รายวิ ช า ปฏิบัติการ” สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีทางปฏิบัติการ ต อ งกํ า หนดหน ว ยกิ ต และจั ด ทํ า รายวิ ช าปฏิ บั ติ ก าร ที่สะทอนใหเห็นวาเปนการฝกปฏิบัติงาน (practicum) อย า งชั ด เจนว า ได ป ฏิ บั ติ ง านจริ ง โดยแยกรายวิ ช า ทางทฤษฎีออกจากรายวิชาทางปฏิบัติการ เพื่อใหเห็น ภาพของหลักสูตรปฏิบัติการที่เดนชัด ๒. ชือ่ ปริญญาเทคโนโลยีบณ ั ฑิต หรือชือ่ ปริญญา อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เปนชื่อปริญญาสําหรับ หลักสูตรปริญญาตรีทางปฏิบัติการเทานั้น ๑๐. เรื่อง การแกไขขอกําหนดของสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ : ที่ประชุมมีมติ ดังนี้ ๑) เห็นชอบใหวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม แกไข ขอกําหนดในสวนที่เกี่ยวของกับรายละเอียดเกี่ยวกับ ที่ดินตามมาตรา ๑๒ ๒) เห็นชอบใหมหาวิทยาลัยหอการคาไทย แกไข ขอกําหนดในสวนที่เกี่ยวของกับตรา เครื่องหมาย หรือ สัญลักษณ เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๑๑(๖)
๑๔ อนุสารอุดมศึกษา
๓) เห็ น ชอบให ส ถาบั น วิ ท ยาการจั ด การ แหงแปซิฟค แกไขขอกําหนดในสวนที่เกี่ยวของกับครุย วิ ท ยฐานะระดั บ มหาบั ณ ฑิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต และเข็ ม วิทยฐานะ เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๑๑(๗) ๔) รับทราบการแกไขขอกําหนดตามมาตรา ๑๑ (๑๑) อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียมตางๆ ของสถาบันกันตนา ๕) รับทราบการแกไขขอกําหนดตามมาตรา ๑๑ (๑๑) อัตราคาเลาเรียน คาบํารุง และคาธรรมเนียมตางๆ ของมหาวิทยาลัยพายัพ ๖) รับทราบการแกไขขอกําหนดตามมาตรา ๑๑ (๑๓) ในส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เครื่ อ งแบบฝ ก ปฏิ บั ติ ของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รเภสั ช ศาสตรบั ณ ฑิ ต ของ มหาวิทยาลัยพายัพ ๑๑. เรื่อง ผลการตรวจประเมินการจัดการ ศึ ก ษานอกสถานที่ ตั้ ง ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ : ที่ประชุมมีมติ ดังนี้ ๑. เห็นชอบผลการตรวจประเมินการจัดการ ศึ ก ษานอกสถานที่ ตั้ ง ที่ ไ ด ดํ า เนิ น การตรวจประเมิ น ในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ จํานวน ๒ สถาบัน ๓ ศูนย ๘ หลักสูตร โดยมีผลการตรวจประเมิน คือ ระดับ “ผาน” จํานวน ๘ หลักสูตร ตามความเห็นของคณะอนุกรรมการ ดานการติดตามและประเมินผล ๒. รับทราบหลักสูตรทีจ่ ดั การศึกษานอกสถานที่ ตั้งที่มีผลการตรวจประเมินระดับ “ผาน” จํานวน ๘ หลักสูตร คือ ๒.๑ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ณ ศูนยการศึกษา นอกสถานที่ตั้งลําปาง จํานวน ๓ หลักสูตร ไดแก ๑. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ ศึกษาปฐมวัย (หลักสูตร ๕ ป) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔) ตั้งแตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๗ เปนตนไป ๒. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔) ตั้งแตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๗ เปนตนไป
๓. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจ การบิน (หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๔) ตัง้ แตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๙ เปนตนไป ๒.๒ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ณ ศูนยการศึกษา นอกสถานที่ตั้ง สุพรรณบุรี จํานวน ๓ หลักสูตร ไดแก ๑. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ ศึกษาปฐมวัย (หลักสูตร ๕ ป) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔) ตั้งแตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๗ เปนตนไป ๒. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔) ตั้งแตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๗ เปนตนไป ๓. หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า คหกรรมศาสตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) ตั้งแต ภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๗ เปนตนไป ๒.๓ มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศูนยบัณฑิตศึกษา อาคารสาทรซิตี้ทาวเวอร จํานวน ๒ หลักสูตร ไดแก ๑. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการบริการนานาชาติ (หลักสูตรนานาชาติ-ภาคพิเศษ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕) ตั้งแตภาคการศึกษา ๓/๒๕๕๘ เปนตนไป ๒. หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต สาขา วิชาการสรางตัวแบบและการพัฒนาธุรกิจ (หลักสูตร นานาชาติ-ภาคพิเศษ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕) ตั้งแตภาคการศึกษา ๓/๒๕๕๘ เปนตนไป
๒. รับทราบหลักสูตรที่มีผลการตรวจประเมิน ในระดับ “ผาน” จํานวน ๑ หลักสูตร คือ หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการเพือ่ การพัฒนา ทองถิน่ ตัง้ แตภาคการศึกษา ๑/๒๕๕๙ เปนตนไป ๓. ให แจ ง สถาบั นยุติ ก ารรั บนั ก ศึ ก ษาใหมใ น ปการศึกษาถัดไป ในหลักสูตรที่มีผลการตรวจประเมิน ในระดับ “ไมผาน” จํานวน ๗ หลักสูตร ๔. ใหมีการทบทวนความเปนมา การจัดตั้ง และ การดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหสามารถ จัดการศึกษาตามปรัชญาการจัดการศึกษาของสถาบัน การเรียนรูเพื่อปวงชนที่เหมาะสมสอดคลองกับบริบท ของตนเองและความตองการในการพัฒนาประเทศ ตลอดจนการเทียบเคียงผลการเรียนรู วาจะเปนรูปแบบ อุดมศึกษาอยางไร โดยมอบฝายเลขานุการดําเนินการ อยางเรงดวน ทั้ ง นี้ หากมี ก รณี ที่ กกอ. ให แจ ง ยุ ติ ก ารรั บ นักศึกษาใหมในปการศึกษาถัดไป ในหลักสูตรที่มีผล การตรวจประเมิ น ในระดั บ “ไม ผ า น” แต ส ถาบั น อุดมศึกษานั้น ๆ ไมปฏิบัติตาม ควรมีแนวทางปฏิบัติ เพิ่มเติมตอไป ดังนี้ ๑. ให มี ห นั ง สื อ แจ ง สภาสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา แหงนั้น ๆ เพื่อใหทําหนาที่ในฐานะเปนผูควบคุมดูแล กิจการทัว่ ไป ของสถาบัน โดยกําชับใหสถาบันดําเนินการ ปรั บ ปรุ ง ให เ ป น ไปตามเกณฑ ม าตรฐานหลั ก สู ต ร อุดมศึกษาอยางเครงครัดและเรงดวนทันที ๒. ให มี ก ารติ ด ตามตรวจสอบเพื่ อ ให เ ป น ไป ๑๒. เรื่อง ผลการตรวจประเมินการจัดการ ตามเกณฑ ม าตรฐานหลั ก สู ต รอุ ด มศึ ก ษาเป น ระยะ ศึกษานอกสถานทีต่ งั้ ของสถาบันการเรียนรูเ พือ่ ปวงชน : เปนรายหลักสูตร ๓. ใหเผยแพรขอมูลตอสาธารณะ ที่ประชุมมีมติ ดังนี้ ๑. เห็นชอบผลการตรวจประเมินนํารองการ ๑๓. เรือ่ งอืน่ ๆ : ทีป่ ระชุมพิจารณาเรือ่ งแนวทาง จั ด การศึ ก ษานอกสถานที่ ตั้ ง ของสถาบั น การเรี ย นรู การพัฒนาความรวมมือในการจัดการศึกษาระหวาง เพื่อปวงชน จํานวน ๕ ศูนย โดยมีผลการตรวจประเมิน อุดมศึกษา กับอาชีวศึกษา และเห็นชอบที่จะใหมีการ ในระดับ “ผาน” จํานวน ๑ หลักสูตร และ “ไมผาน” หารือรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหนําไป จํานวน ๗ หลักสูตร ตามความเห็นของคณะอนุกรรมการ สูก ารปฏิบตั ิ และเพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายการพัฒนา ดานการติดตามและประเมินผล กําลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศ อนุสารอุดมศึกษา
๑๕
เหตุการณเลาเรื่อง
การประชุมสมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมภิ าคยุโรปประจําป พ.ศ. ๒๕๖๐ ดร.อรสา ภาววิมล รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา เดิ น ทางเข า ร ว มการประชุ ม สมาคม นักวิชาชีพไทยในภูมิภาคยุโรปประจําป พ.ศ. ๒๕๖๐ และเปนวิทยากรบรรยายพิเศษเกี่ยวกับทิศทางการ ขับเคลือ่ นประเทศไทย ยุทธศาสตร แผน และนโยบายชาติ การปรับเปลีย่ นบทบาทภาครัฐ ซึง่ สงผลตอการปรับบริบท อุดมศึกษาใหตอบวิสัยทัศนของชาติ รวมทั้งบทบาท ของ ATPER ในการรวมเปนสวนหนึง่ ของกลไกสนับสนุน การขับเคลื่อนประเทศไทยตามยุทธศาสตรชาติและ โมเดลประเทศไทย ๔.๐ ผ า นการพั ฒ นาศั ก ยภาพ นั ก ศึ ก ษา อาจารย และการวิ จั ย ของประเทศไทย โดยเฉพาะในสาขากลุ ม อุ ต สาหกรรมเป า หมาย ณ สถานเอกอัครราชทูตไทย กรุงเวียนนา สาธารณรัฐ
๑๖ อนุสารอุดมศึกษา
ออสเตรี ย ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ในระหว า งวั น ที่ ๓๐ กั น ยายน ถึง วันที่ ๑ ตุลาคม ทีผ่ า นมา การประชุมสมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมภิ าคยุโรป ในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ โดย สมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมภิ าคยุโรป (The Association of Thai Professionals in European Region : ATPER) เพื่อเปนเวทีใหนักวิชาชีพ และนักศึกษาไทยในยุโรป รวมทั้งผูแทนจากหนวยงาน ในประเทศไทย ไดแลกเปลีย่ นความรูแ ละพัฒนาแนวทาง การสรางความรวมมือรวมกัน โดยผูเ ขารวมการประชุม ประกอบดวยผูแ ทนจากหนวยงานในประเทศไทย ไดแก กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี กระทรวง อุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผูแทนจากสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส ราชอาณาจั ก รเบลเยี ย ม และสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย นักวิชาชีพไทย ในภู มิ ภ าคยุ โ รป และวิ ท ยากรจาก University of Natural Resources and Life Sciences, Vienna (BOKU), Austrian Federal Ministry of Science, Research and Economy และ United Nations Industrial Development Organization (UNIDO)
นายทรงศั ก ดิ์ สายเชื้ อ เอกอั ค รราชทู ต ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เปนประธาน เปดการประชุม ดร. กฤษณา รุงเรืองศักดิ์ ทอรริสสัน นายก สมาคม ATPER รายงานผลการดําเนินงานของสมาคมฯ ในรอบป ที่ ผ า นมา โดยกิ จ กรรมเป น การถ า ยทอด วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูประเทศไทยเพื่อรองรับ นโยบาย S-Curve Industry และโครงการ Thailand 4.0 นอกจากนี้ สมาคมฯ ไดดําเนินโครงการ RETURN เพื่อ ถายทอดความรูแ ละประสบการณของนักวิชาชีพไทยใน ภูมภิ าคยุโรปกลับมาประเทศไทยรวมทัง้ สรางแรงบันดาล ใจในสาขาทีน่ ักวิชาชีพไทยมีความเชี่ยวชาญ วิ ท ยากรจาก BOKU, Austrian Federal Ministry of Science, Research and Economy และ UNIDO ไดกลาวถึงแนวโนมดานเทคโนโลยีชวี ภาพ เกษตรกรรม และนวัตกรรมในมุม มองของ BOKU และในยุโรป รวมทั้งโครงการของ UNIDO และรัฐบาล ตอการสงเสริม Industry 4.0 สมาชิก ATPER ไดนาํ เสนอผลงานดานการวิจยั ที่เกี่ยวของกับ S-Curve Industry ไดแก การเกษตร อุ ต สาหกรรมการบิ น และโลจิ ส ติ ก ส อุ ต สาหกรรม การแพทย อุตสาหกรรมยานยนต รวมทั้งสื่อการเรียน
การสอนที่บูรณาการการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร (STEM) นอกจากนี้ ผูเขารวมการประชุมยังไดรวมกันนําเสนอ แนวทางการดําเนินความรวมมือระหวางสมาคม ATPER กับหนวยงานไทย โดยทีป่ ระชุมมีขอ เสนอแนะใหสมาคม ATPER จัดทําขอเสนอโครงการในประเด็นที่ ตอบโจทย ในการพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ข อง ประเทศไทยภายใต ๑๐ อุตสาหกรรมหลัก (S-Curve Industry) และควรกําหนดนักวิชาชีพไทยที่รับผิดชอบ โครงการ ความเชี่ยวชาญ หนวยงานไทยที่เกี่ยวของ รวมทั้ ง ประโยชน ที่ ป ระเทศไทยจะได รั บ จากการ ดําเนินโครงการ ทั้งนี้ สํานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ประจํ า สถานเอกอั ค รราชทู ต ณ กรุงบรัสเซลส ราชอาณาจักรเบลเยียม เปนหนวยงาน ประสานงานระหวางสมาคม ATPER และหนวยงานไทย อนุสารอุดมศึกษา
๑๗
รูจัก สกอ.
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การปรับเปลีย่ นโครงสรางระบบบริหารสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาจากทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ไปสู สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. เริ่มตนจาก การกําหนด การปฏิรูปการศึกษาทุกระดับเปนวาระ แห ง ชาติ และได มี ก ารประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒) และพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕) สงผลถึงการปฏิรปู โครงสราง การบริหารระบบการศึกษา ของประเทศรวมทั้ ง การดํ า เนิ น งานของหน ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สถาบั น การศึ ก ษาต า ง ๆ โดยเฉพาะ การปฏิรูประบบและปรับปรุงโครงสรางระบบราชการ มี ก ารปรั บ โครงสร า งกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ทบวง มหาวิทยาลัย และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา แหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี รวมเขาดวยกันเปน กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดระเบียบบริหารราชการ ในกระทรวงใหมอี งคกรหลักทีเ่ ปนคณะบุคคลในรูปสภา หรือในรูปคณะกรรมการจํานวน ๔ องคกร สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา มี ห น า ที่ พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตราฐานการ อุดมศึกษาทีส่ อดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนั บ สนุ น ทรั พ ยากร การติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา
๑๘ อนุสารอุดมศึกษา
โดยคํานึงถึงความเปน อิสระและความเปน เลิศทางวิชาการ ของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวย การจัดตัง้ สถานศึกษาแตละแหง และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ และใหสาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทําหนาที่ รั บ ผิ ด ชอบงานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา และมี อํ า นาจหน า ที่ ต ามกฏหมาย ในกฎกระทรวงว า ด ว ยการแบ ง ส ว ยราชการ โดยมี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาทํ า หน า ที่ เป น กรรมการและเลขานุ ก ารของคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และในป พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดมีการประกาศใช พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ (วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๖) โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้ไดยกเลิก พระราชบัญญัติ ระเบี ย บการปฏิ บั ติ ร าชการของทบวงมหาวิ ท ยาลั ย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ ทําให ทบวงมหาวิทยาลัย ต อ งแปรสภาพเป น สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ซึง่ เปนสวนราชการทีม่ หี วั หนาสวนราชการ ขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และมี ฐานะเปนนิตบิ คุ คลและเปนกรม ส ว นราชการในส ว นกลางของกระทรวง ศึกษาธิการ ที่มีหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอรัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ และมีฐานะเปนนิติบุคคล และเปนกรม ไดแก สํานักงานปลัดกระทรวง สํานักงาน เลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สําหรับโครงสรางการแบงงานภายในสวนราชการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในปจจุบัน มีสํานัก/กลุม/หนวยงาน ดังนี้ สํานักอํานวยการ (สอ.) สํ า นั ก ประสานและส ง เสริ ม กิ จ การ อุดมศึกษา (สสอ.)
๑. ๒. ๓. ๔.
สํานักยุทธศาสตรอดุ มศึกษาตางประเทศ (สยต.)
๕.
สํ า นั ก ส ง เสริ ม และพั ฒ นาสมรรถนะ บุคลากร (สพบ.)
๗.
๖. ๘.
สํานักนิตกิ าร (สนก.)
สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (สพน.) สํานักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา (สตป.) กลุม พัฒนาระบบบริหาร (กพร.)
๑๑. ๑๒.
กลุม งานคุม ครองจริยธรรม
สํานักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา (สมอ.)
๙. ๑๐.
กลุม ตรวจสอบภายใน (ตสน.)
สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา (สนผ.)
๑๓. ๑๔.
กลุม งานกิจการเลขาธิการ (กลธ.) หนวยงานในกํากับภายใน
๑) สถาบันวิจยั จุฬาภรณ ๒) สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓) สถาบันคลังสมองของชาติ ๔) สํานักงานกองทุนตัง้ ตัวได ๕) สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ พัฒนาการศึกษา ๖) สํานักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย
ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ (วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๖) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรือ่ ง จัดตัง้ หนวยงานภายใน และปรับเปลีย่ นชือ่ หนวยงานใหสอดคลองกับภารกิจทีป่ รับปรุงใหมของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๗) และตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๘ (วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๘ ประกาศในราชกิจกานุเบกษา วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘) อนุสารอุดมศึกษา
๑๙
ภารกิจ สกอ.
๑๘ กั น ยายน ๒๕๖๐ : ดร.สุภัทร จําปาทอง เลขาธิการ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา รวมคณะรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการตรวจเยี่ยมและรับฟง ผลการดําเนินงาน “ศูนยนวัตกรรม และความคิดสรางสรรคเพื่อสังคม และชุ ม ชนของมหาวิ ท ยาลั ย ใน จังหวัดนครปฐม” ณ มหาวิทยาลัย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตพระราชวั ง สนามจันทร ๒๗ กันยายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๐๐ น. ดร.สุภัทร จําปาทอง เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เข า ร ว มประชุ ม หั ว หน า ส ว นราชการระดั บ กระทรวงหรื อ เที ย บเท า ครั้ ง ที่ ๕/๒๕๖๐ โดยมี พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธานการประชุมฯ ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล
๒๙ กั น ยายน ๒๕๖๐ เวลา ๐๘.๓๙ น. : นายขจร จิตสุขุ ม มงคล รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุดมศึกษา นําผูบริหารและขาราชการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สักการะพระภูมิชัยมงคล เนื่องในโอกาส วันสถาปนาทบวงมหาวิทยาลัย ปที่ ๔๕ ณ ศาลพระภู มิ ชั ย มงคล บริ เ วณหน า อาคารอุ ด มศึ ก ษา ๒ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา
๒๐ อนุสารอุดมศึกษา
๒๙ กันยายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๓๐ น. สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดงานครบรอบวันสถาปนา ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ป ที่ ๔๕ ซึ่ ง วั น ครบรอบการ สถาปนาทบวงมหาวิทยาลัยตรงกับวันที่ ๒๙ กันยายน ของทุกป มีพิธีสงฆและถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ โดยมี ดร.สุภัทร จําปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เปนประธานในพิธี ณ โถงอาคารอุดมศึกษา ๒ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
๒๙ กันยายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๕.๓๐ น. สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดงานถายทอดความรู และประสบการณในการทํางานสําหรับบุคลากรสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และพิธีแสดงมุทิตาจิตแก ผูเกษียณอายุราชการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๐ โดยมี อดีตผูบ ริหาร ผูบ ริหารระดับสูง ผูบ ริหารสถาบันอุดมศึกษา และข า ราชการบุ ค ลากรของสํ า นัก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เขารวมงาน ณ โรงแรม เดอะ เบอรเคลีย ประตูนํ้า กรุงเทพมหานคร อนุสารอุดมศึกษา
๒๑
สาระนารู
อยากรู ความเป นอยู ของท าน เรื่องนี้ครับนายเขตไดมีหนังสือถึงสํานักงาน ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปง.) ขอสําเนาขอมูลขาวสารเกี่ยวกับรายชื่อคณะกรรมการ ธุรกรรม ตําแหนงหนาที่ พรอมอัตราเงินสิทธิประโยชน ที่ไดรับจากตําแหนงปกติ และจากการเปนกรรมการ ในการพิ จ ารณาเรื่ อ งการคุ ม ครองพยาน เนื่ อ งจาก นายเขตไดรองเรียนและรองขอเขาโครงการคุมครอง พยานตั้ ง แต ป พ.ศ. ๒๕๔๗ และเห็ น ว า ตํ า แหน ง ตาง ๆ นั้น มาจากเงินภาษีของประชาชน หรือกฎหมาย ไดกําหนดความรับผิดชอบ จึงจําเปนตองตรวจสอบ สํานักงาน ปปง. มีหนังสือแจงปฏิเสธวาเปนขอมูล ข า วสารส ว นบุ ค คลเจ า ของไม อ นุ ญ าต จึ ง เป ด เผย ใหไมไดเพราะจะรุกลํ้าสิทธิ สวนบุคคลโดยไมสมควร นายเขตจึงมีหนังสืออุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัย การเปดเผยขอมูลขาวสาร ในการพิ จ ารณาของคณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปดเผยขอมูลขาวสาร สํานักงาน ปปง. ไดมีหนังสือ สงขอมูลขาวสารใหคณะกรรมการ ฯ พิจารณาและ ชี้แจงวา ขอมูลขาวสารตามที่ไดรับคําขอ คือ รายชื่อ คณะกรรมการธุรกรรม พรอมอัตราเงินสิทธิประโยชนฯ เห็นวาเปนขอมูลขาวสารสวนบุคคล และขอมูลทีข่ อนัน้ ไมเกี่ยวกับประเด็นพิจารณาวานายเขตมีพฤติการณ ความไมปลอดภัยตามคํารองขอใหคุมครอง ถาเห็น วามติของคณะกรรมการธุรกรรมไมถูกตอง ก็อุทธรณ ตอศาลใหพจิ ารณาตอไปได สวนขอมูลขาวสารทีป่ ฏิเสธ และสงใหคณะกรรมการ ฯ พิจารณา ๓ รายการนั้นคือ ๑) คําสั่งคณะกรรมการ ปปง. เรื่อง แตงตั้ง คณะกรรมการธุรกรรม
๒) คําสั่งคณะกรรมการ ปปง. เรื่อง แตงตั้ง กรรมการธุรกรรมแทนตําแหนงที่วางลง ๓) หนั ง สื อ สํ า นั ก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี เรือ่ ง การพิจารณาทบทวนคาตอบแทนกรรมการธุรกรรม และอนุกรรมการในคณะกรรมการ ปปง. คณะกรรมการ วินิจฉัย ฯ เห็นวา ทั้งเรื่องรายชื่อคณะกรรมการ ฯ เรื่องคาตอบแทน เปนขอมูลขาวสารการปฏิบัติราชการ ตามปกติของหนวยงานของรัฐ มิไดเปนขอมูลขาวสาร สวนบุคคล การเปดเผยจะทําใหมีโอกาสตรวจสอบ และแสดงความโปร ง ใสของคุ ณ เอง จึ ง วิ นิ จ ฉั ย ให สํานักงาน ปปง. เปดเผยขอมูลขาวสารรายการที่ ๑ และ ๒ ขางตนคือ คําสัง่ คณะกรรมการ ปปง. ทัง้ สองเรือ่ ง สวนรายการที่ ๓ หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ดวนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๔/๒๙๐๘๘ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ เรือ่ ง การพิจารณาทบทวนคาตอบแทนกรรมการ ธุ ร กรรมและอนุ ก รรมการในคณะกรรมการ ปปง. ใหเปดเผยได เวนแตขอความหรือความเห็นภายใน หนวยงานของรัฐใหปกปดไว การปฏิ บั ติ ง านของส ว นราชการเรื่ อ งการตั้ ง คณะกรรมการ คณะทํางานมีมากครับ เพื่อใหทํางาน รวดเร็วและลงรายละเอียดเฉพาะเรื่องมากขึ้น ถามี การขอในแนวนี้อีก ก็ดูเปนแนวทางพิจารณาไดครับ มีขอสงสัยติดตอหารือไดที่สํานักงานคณะกรรมการ ข อ มู ล ข า วสารของราชการ สํ า นั ก งานปลั ด สํ า นั ก นายกรัฐมนตรี ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๘ www.oic.go.th “เปดเผยเปนหลัก ปกปดเปนขอยกเวน” ( ที่ สค ๘๔/๒๕๖๐) บทความ อ. ๒๗/๒๕๖๐ วีระเชษฐ จรรยากูล นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
๒๒ อนุสารอุดมศึกษา
ทําไมถนนวุ นวายจัง เคยสังเกตไหมครับวาการเดินทางไปทํางาน ของท า นการจราจรติ ด ขั ด มาก และเขาจั ด เส น ทาง การเดินรถอยางไร ทําไมไมจดั อยางนัน้ ? เสนนีน้ า จะเปน อยางนี้ ? อยางที่เราคิด อานเรื่องนี้ครับ นายหนุมบาวสังเกตเห็นวาการจราจรในถนน หนาบานของตนเองวุนวาย รถติดเหลือเกิน จึงไดมี หนังสือถึงนายกเทศมนตรีเมืองบานพรุ ขอสําเนาขอมูล ขาวสารแผนที่ถนนชีวะเสรีชล อําเภอหาดใหญ จังหวัด สงขลา ตลอดทั้งสาย พรอมคํารับรองสําเนาถูกตอง แตนายกเทศมนตรีเมืองบานพรุมีหนังสือแจงปฏิเสธ โดยให เ หตุ ผ ลว า เอกสารที่ ข อเป น เพี ย งภาพถ า ย ระวางที่ดินจากสํานักงานที่ดินจังหวัดสงขลา เพื่อใช ในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน เปนขอมูลภายใน ของเจาหนาที่เพื่อใชในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจไมมีความ ถู ก ต อ งแม น ยํ า ของมาตราส ว น และเทศบาลเมื อ ง บานพรุตองไปจัดทํา วิเคราะห จําแนก รวบรวม หรือ จัดใหมีขึ้นใหม ตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง จึงเปน เอกสารที่ไมพรอมจะใหได นายหนุมบาวจึงมีหนังสือ อุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูล ขาวสาร เทศบาลเมื อ งบ า นพรุ ไ ด มี ห นั ง สื อ ส ง แผนที่ ถนนชีวะเสรีชล (ถนนเชื่อมรัฐ) มาตราสวน ๑ : ๑๐๐๐ เพื่อพิจารณา และชี้แจงตอคณะกรรมการวินิจฉัยฯ วา ขอมูลขาวสารแผนที่ถนนดังกลาวอยูในความดูแล ของสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด สงขลา สาขาหาดใหญ นายหนุมบาวสามารถขอคัดถายจากสํานักงานที่ดิน จั ง หวั ด สงขลาได โ ดยตรง แต ข ณะนี้ เ ทศบาลเมื อ ง
บ า นพรุ ไ ด คั ด ถ า ยระวางแผนที่ ถ นนชี ว ะเสรี ช ล จากสํ า นั ก งานที่ ดิ น จั ง หวั ด สงขลาไปเก็ บ ไว แ ล ว นายหนุมบาวจึงขอสําเนาเอกสารจากเทศบาลเมือง บานพรุได คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูล ขาวสารเห็นวา ขอมูลขาวสารตามอุทธรณคือ แผนที่ ถนนชีวะเสรีชล (ถนนเชือ่ มรัฐ) เปนทีส่ าธารณประโยชน เพื่อประชาชนใชประโยชนรวมกัน เปนขอมูลขาวสาร การปฏิ บั ติ ร าชการตามปกติ ข องหน ว ยงานของรั ฐ และไมมีขอความใดที่ไมตองเปดเผย พิจารณาแลว จึ ง วิ นิ จ ฉั ย ให เ ทศบาลเมื อ งบ า นพรุ เป ด เผยแผนที่ ถนนชีวะเสรีชล (ถนนเชื่อมรัฐ) พรอมรับรองสําเนา ถูกตองใหดวย เรื่ อ งนี้ ป ระชาชนในจั ง หวั ด อื่ น ควรนํ า ไปใช บ า งครั บ เพื่ อ การมี ส ว นร ว มการบริ ห ารและพั ฒ นา ท อ งถิ่ น ของตนเอง ตามที่ รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ใหม ไ ด ให สิ ท ธิ ไ ว มี ข อ สงสั ย ติ ด ต อ หารื อ ได ที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๘ www.oic.go.th “เปดเผยเปนหลัก ปกปดเปนขอยกเวน” ( ที่ สค ๓๘/๒๕๖๐) บทความ อ. ๒๘/๒๕๖๐ วีระเชษฐ จรรยากูล นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
อนุสารอุดมศึกษา
๒๓