2 THESTANDARD.CO
FROM THE EDITOR
VOL. 1 ISSUE 16 30 OCTOBER 2017
STILL ON MY MIND ว่ากันว่าเราจะเห็นคุณค่าของสิง่ ใดได้มากทีส่ ดุ ก็ตอ่ เมือ่ สิง่ นัน้ จากเราไปแล้ว เป็นบทเรียนสอนใจว่าอย่าได้คิดว่าจะมีอะไร เป็นของตายให้เราหันกลับมาหาได้อีก ยามเมื่อคิดถึง คิดได้ หรือหลังจากคิดทบทวน แล้วได้คา� ตอบกับตัวเองในที่สุด …เพราะไม่มีอะไรในโลกนี้ที่ยืนหยัดอยู่ได้ถาวร ในความสัมพันธ์ทุกรูปแบบมักจะต้องผ่านบททดสอบ ครั้งแล้วครั้งเล่า ที่เห็นได้ชัดที่สุดคือ ความสัมพันธ์ระหว่าง บุ ต รและบุ พ การี วั ด จากตั ว เราเป็ น ที่ ตั้ ง กี่ ค รั้ ง กี่ ห นที่ เ รา ออกลายปฏิบัติการท้าทายอ�านาจของผู้บังคับบัญชาในบ้าน ด้วยการเกเร ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ทั้งดื้อดึงแบบเงียบๆ และออกอาการให้เห็น ...เพราะอย่างไรเสีย เรารูอ้ ยูเ่ ต็มอกว่าท่านพร้อมจะให้อภัย ในสิ่งที่เราท�า จนถึงวันหนึ่ง วันที่เราไม่มีท่านอยู่ วันที่เราจะดื้ออย่างไร ก็ได้ เรากลับมานั่งทบทวนพฤติกรรมตัวเองว่าเราเดินออก นอกลู่นอกทางโดยไม่ใส่ใจต่อสิ่งดีๆ ที่ท่านสอนได้อย่างไร นั่นเป็นบทสรุปคร่าวๆ ของการสนทนาช่วงหนึ่งระหว่าง ทีมงานกับบุคคลท่านหนึ่ง ถึงการพยายามมองไปข้างหน้า หลังจากหนึ่งปีที่เศร้าที่สุดพ้นผ่านไป
การเปรียบเปรยข้างต้นคงใช้ได้กับทุกคน เพราะเราต่างก็ เคยเป็น ‘ลูก’ ที่ดื้อกับ ‘พ่อ’ ด้วยกันทั้งนั้น เราสงสัยในสิ่งที่ ท่านสอน เราตั้งค�าถามกับสิ่งที่ท่านพร�่าบอก เราอาจจะกังขา ในสิ่งที่ท่านยึดมั่น จนถึงวันหนึ่ง ทุกสิ่งที่ท่านท�า อธิบายเรื่องที่เราอยากหา ค�าตอบได้แบบไม่มีอะไรติดค้างในใจอีก วันนั้นท่านไม่อยู่กับ เราแล้ว ในความสูญเสีย มีความส�านึกรู้ ในความตระหนักรู้ มีพลัง ให้ยืนหยัดอยู่ต่อไป หลังจากเสร็จสิ้นพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอย่างเป็น ทางการ วันนี้ 30 ตุลาคม ถือเป็นวันออกทุกข์อย่างเป็นทางการ เราอาจถือโอกาสนี้มองไปข้างหน้าอย่างมีความมุ่งมั่น ...เพราะในวันที่ไม่มี ‘พ่อของแผ่นดิน’ เรารู้อยู่เต็มหัวใจ ว่าเราจะระลึกถึงท่านได้อย่างไร ยศยอด คลังสมบัติ บรรณาธิการ
YOTEYORD.K@THESTANDARD.CO
CHIEF EXECUTIVE OFFICER วงศ์ทนง ชัยณรงค์สง ิ ห์ MANAGING DIRECTOR นิตพ ิ ัฒน์ สุขสวย EDITOR-IN-CHIEF วิไลรัตน์ เอมเอีย ่ ม EDITOR-IN-CHIEF (CULTURE SECTION) เจิมสิริ ิ าฏ ปุโรทกานนท์ DESIGN DIRECTOR วีระยุทธ คงเทศน์ ART DIRECTOR อนงค์นาฎ วิวฒ ั นานนท์ SENIOR GRAPHIC DESIGNER เหลืองศุภภรณ์ EDITOR ยศยอด คลังสมบัติ WRITER นิธน พรวลี จ้วงพุ ฒซา GRAPHIC DESIGNER อรณัญช์ สุขเกษม PROOFREADERS สราญรัตน์ ไว้เกียรติ, ภาวิกา ขันติศรีสกุล MARKETING MANAGER วิไลลักษณ์ โพธิต ์ ระกูล ASSISTANT MARKETING MANAGER พิมพ์นารา มีฤทธิ์ CREATIVE MARKETING ชลธร จารุสว ุ รรณวงค์ MAGAZINE MANAGER สุรเกตุ เรืองแสงระวี PRODUCTION ทศพล บุญคง PHOTO EDITOR ฐานิส สุดโต PHOTOGRAPHERS นวลตา วงศ์เจริญ, วงศกร ยีด ่ วง ADVERTISING DIRECTOR ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ SENIOR ADVERTISING MANAGER ธัญญ์นรี นิธพ ิ ช ั รโรจน์ ASSISTANT ADVERTISING MANAGERS มาสสุภา เอีย ่ มมงคลศิลป์, ภัทรลดา พุ ่มเจริญ, สุกญ ั ญา แก้วชิงดวง, สุรต ั นา ทรรปณ์ทพ ิ ากร MARKETING COORDINATOR ศศิมา เหลืองศิรฉ ิ าย DIGITAL MEDIA MANAGER วิมลพร รัชตกนก THE STANDARD เป็นนิตยสารแจกฟรีรายสัปดาห์ ห้ามจ�าหน่าย สงวนลิขสิทธิ์ การน�าส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของนิตยสารไปใช้โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
ถือว่ามีความผิดทางกฎหมาย เจ้าของ บริษัท เดอะสแตนดาร์ด จ�ากัด เลขที่ 23/100-102 ซอยศูนย์วิจัย ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 02 203 1142 แฟกซ์ 02 203 1143 เว็บไซต์ WWW.THESTANDARD.CO ISSN 2586-8586 แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด โทรศัพท์ 0 2291 7575 พิ มพ์ บริษัท โรงพิ มพ์ ตะวันออก จ�ากัด (มหาชน) โทรศัพท์ 0 2551 0533, 44 ภาพถ่าย AFP, SHUTTERSTOCK ฟอนต์ KANIT โดย คัดสรร ดีมาก, 9 OUR KING โดย ไพโรจน์ ธีระประภา
ติดต่อกองบรรณาธิการ MAGAZINE@THESTANDARD.CO ติดต่อฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09 2964 1635, ธัญญ์นรี นิธพ ิ ัชรโรจน์ 09 9975 5878, ภัทรวี ตัง ู ย์กล ุ 08 9675 3309, ้ วิบล มาสสุภา เอีย ่ มมงคลศิลป์ 08 5056 0083, ภัทรลดา พุ ่มเจริญ 09 2365 6415, สุกญ ั ญา แก้วชิงดวง 09 6156 3692, สุรต ั นา ทรรปณ์ทพ ิ ากร 09 5516 2441, ศศิมา เหลืองศิรฉ ิ าย 08 3999 5484 1
FEATURE
4 THESTANDARD.CO
ในหนึ่งชีวิต คนคนหนึ่งจะรับผิดชอบท�ำงำนได้มากที่สุดขนำดไหน และศำสตร์กี่แขนงที่เราจะสำมำรถเรียนรู้จนเชี่ยวชำญ ตลอดรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช พระองค์มีพระราชด�ำริอันเป็นที่มาของ โครงกำรพัฒนำมำกกว่ำ 4,000 โครงกำร ขณะที่ทรงสนพระราชหฤทัยในศำสตร์หลากหลาย และทรงศึกษำจนเชี่ยวชำญ ทัง้ ในด้ำนวิทยำกำรและควำมรู้ ตลอดจนศิลปะแขนงต่ำงๆ จนพระองค์ทรงได้รบ ั กำรขนำมพระนำมว่ำเป็นเอกอัครศิลปิน และทรงใช้ ควำมรอบรู้ทั้งหมดพัฒนำออกมาให้เกิดผลงำนเป็นรูปธรรมหลากหลายรูปแบบอย่ำงที่เราได้ประจักษ์ นับจำกวันที่เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 19 พรรษำ จนถึงวันที่เสด็จสวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม 2559 นี่คือช่วงเวลา 70 ทศวรรษที่พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นดั่งร่มโพธิ์ร่มไทรให้ควำมร่มเย็น แก่พสกนิกรทัว่ หล้ำ THE STANDARD ขอน้อมร�ำลึกถึงพระมหำกษัตริยผ ์ ท ู้ รงงำนหนักทีส ่ ด ุ ในโลก ด้วยกำรย้อนกลับไปยัง 89 ปีทผ ่ี ำ่ นมา เพื่อจดจ�ำช่วงเวลาส�ำคัญแต่ละปีในชีวิตของพระองค์ ด้วยส�ำนึกในพระมหำกรุณำธิคุณเป็นล้นพ้นอันหำที่สุดมิได้ 5
1
“ ลู ก ช า ย � กิ ด
เชาวัน�ี้ สบายดี ทั้งสอง ขอพระ ร�ชทาน�า� ทางโทรเลขดวย”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระราชทาน นามพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าพระองค์ใหม่ว่า ‘ภูมพิ ลอดุลเดช’ (เดิมสะกดว่าอดุลเดช ต่อมา สะกดว่าอดุลยเดช ซึง่ กลายเป็นแบบทีเ่ ขียนมา จนปัจจุบนั ) เมือ่ ครัง้ ยังเป็นเจ้านายเล็กๆ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพบเจอกับการ เปลี่ยนแปลงยิ่งใหญ่หลายครั้ง ทั้งทรงสูญเสีย สมเด็จพระราชบิดา ต้องทรงโยกย้ายจากบ้านเกิด เมืองนอนไปทรงศึกษาต่อและทรงเจริญวัยที่ สวิตเซอร์แลนด์ แต่พระองค์ทรงได้รบั การอภิบาล อย่างดียิ่งจากสมเด็จพระบรมราชชนนี ทัง้ การ สนับสนุนให้พระโอรสและพระธิดาอยูก่ บั ธรรมชาติ จนเป็ น ที่ ม าของความสนพระราชหฤทั ย ใน ด้านการกั้นน�้าสร้างเขื่อนและการชลประทาน ตลอดจนเรื่องความมีวินัย ประหยัดอดออม และทีส่ า� คัญคือ มีความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง ท�าให้เมืองไทยมีพระมหากษัตริยผ์ ทู้ รงงานหนัก และห่วงใยทุกข์สขุ ของพสกนิกรมาตลอด 70 ปี แห่งการครองราชย์ 6 THESTANDARD.CO
พ.ศ. 2471
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชฯ กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระ อิสริยยศในขณะนัน้ ) หม่อมสังวาลย์ พร้อมด้วย พระโอรสและพระธิดา เสด็จนิวตั ประเทศสยาม ในเดือนธันวาคม
พ.ศ. 2472
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชฯ กรมหลวงสงขลานคริ น ทร์ สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 24 กันยายน
ภาพ สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
พระราชโอรสพระองค์ท่ี 2 ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชฯ กรมขุนสงขลานครินทร์ (พระอิสริยยศในขณะนัน ้ ) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา ประสูตเิ มือ ่ วันจันทร์ท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานต์ ออเบิรน ์ เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังมีพระประสูตก ิ าล ได้ไม่ถง ึ 3 ชัว ่ โมงดี ทูลกระหม่อมพ่อก็ทรง รีบส่งโทรเลขแจ้งข่าวถวาย สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า (พระอิสริยยศ ในขณะนัน ้ ) พระราชมารดา และขอพระราชทานนามแก่พระโอรส
ภาพ ส�านักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
7
10
ในทศวรรษที่ 2 ของพระชนมชีพ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ก็ยังทรง ประสบความผันแปรอย่างใหญ่หลวง เมือ ่ ต้องเสด็จฯ เถลิงถวัลยราชสมบัตท ิ ง ่ ระชนมายุยง ั ไม่เต็ม ้ั ทีพ 19 พรรษาดี หลังจากทรงจัดการพระราชพิธต ี า่ งๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ทีเ่ สด็จสวรรคตโดยกะทันหันเรียบร้อยแล้ว พระองค์กเ็ สด็จฯ กลับไปศึกษาต่อยังประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม ก่อนจะนิราศร้างแผ่นดินไทยไปอีกวาระหนึง ่ พระองค์ทรงได้ยน ิ ใคร คนหนึง ่ ในหมูฝ ่ ง ู ชนทีม ่ าเฝ้าส่งเสด็จ ตะโกนขึน ้ มาด้วยความโทมนัสว่า “อย่าทิง ้ ประชาชน” มีพระราชด�ารัส ตอบในพระราชหฤทัยทันทีวา่ “ถ้าประชาชนไม่ทง ิ้ ข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิง ้ ประชาชนอย่างไรได้”
5 7 8
พ.ศ. 2475
ทรงเข้าเรียนที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เลขประจ�าตัว 449 และมี พ ระนามในทะเบี ย นนั ก เรี ย นว่ า H.H Bhummibol Mahidol
พ.ศ. 2477
วันที่ 2 มีนาคม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จ ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี
พ.ศ. 2478 • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงได้ รั บ การเฉลิมพระเกียรติยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช • สมเด็ จ พระบรมราชชนนี พ ระราชทาน กล้องถ่ายรูปยี่ห้อ Coronet Midget ให้ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช ก็ทรงเริ่มถ่ายภาพนับแต่นั้นมา 8 THESTANDARD.CO
“อ�คิดถึงพีไ่ มได แมแตขณะเดียว ฉันเคยคิดวา ฉัน จะไมหางจากพี่ ตลอดชีวต ิ แตมน ั เปนเคร�ะหก�รม ไมไดคิดเ�ยวา จะเป น กษั ต ริ ย คิดแตจะเปน�อง ของพีเ่ ทานัน ้ ” พระราชปรารภของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ 9 ในบทความเรือ ่ ง เมือ ่ ข้าพเจ้าบินไปสืบ กรณีสวรรคต ทีส ่ วิตเซอร์แลนด์ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ เกียรติศักดิ์ ฉบับวันที่ 24 มิถน ุ ายน พ.ศ. 2491 (ข้าพเจ้าในทีน ่ ห ้ี มายถึงพระพินจ ิ ชนคดี)
10
พ.ศ. 2480 ครูทโี่ รงเรียนเอกอล นูเวล เดอ ลา สวิส โรมองด์ เมืองแชลลี ซูร โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผูส้ งั เกต ว่าสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช จะต้องทรงลุกมาทอดพระเนตร ที่กระดานด�าอยู่เสมอ ยามเมื่อทรงต้องจด บทเรียนทีค่ รูเขียนไว้ เป็นจุดเริม่ ต้นของการ ทรงฉลองพระเนตรจากนั้นเป็นต้นมา
11
พ.ศ. 2481 โดยเสด็ จ พร้ อ มรั ช กาลที่ 8 พระเจ้าพีน่ างเธอฯ และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระอิสริยยศใน ขณะนั้น) เสด็จนิวัตสยามเป็นการชั่วคราว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - มกราคม พ.ศ. 2482 เป็นการเสด็จฯ ประทับประเทศไทย ครัง้ สุดท้ายก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จะเกิด ขึ้นใน พ.ศ. 2482 และกินเวลายาวนาน มาจนถึง พ.ศ. 2488 ซึ่งในระหว่างช่วงเวลา สงคราม ทั้งครอบครัวยุวกษัตริย์ไม่ได้เสด็จ นิวัตประเทศไทยเลย
18
พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุตลิ ง รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวตั ประเทศไทย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช และพระราชชนนีศรีสังวาลย์โดยเสด็จด้วย เสด็จฯ ถึงสนามบินดอนเมืองในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488
19
20
พ.ศ. 2489 • ทรงนิพนธ์บทเพลง แสงเทียน ส่วนท�านองในเดือนเมษายน และ มีรบั สัง่ ให้ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ นิพนธ์คา� ร้อง กลายเป็นบทเพลงพระราชนิพนธ์ ล�าดับแรกของรัชกาลที่ 9 ในเวลาต่อมา • รัชกาลที่ 8 เสด็จสวรรคตในวันที่ 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2489 รัฐบาลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดชขึน้ ครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จกั รี ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช
แม้จะเริม ่ งจากทรงประสบอุบต ั เิ หตุ ่ เนือ ่ ต้นทศวรรษที่ 3 ของพระชนมชีพด้วยข่าวอันน่าหวาดหวัน ทางรถยนต์อย่างรุนแรงทีป ่ ระเทศสวิตเซอร์แลนด์ หากแต่ในเวลาต่อมา ก็ทรงมอบความปีตห ิ ลัง ่ รินสูใ่ จ คนไทยด้วยข่าวการหมัน ิ ต ิ ์ิ กิตย ิ ากร ตามมาด้วยพระราชพิธรี าชาภิเษกสมรส ้ หมายกับ หม่อมราชวงศ์สริ ก และพระราชพิ ธีบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณี ทรงพระราชทานปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สข ุ แห่งมหาชนชาวสยาม” คนไทยได้อน ุ่ ใจ แผ่นดินไทยได้รบ ั การพัฒนาใต้พระบรมโพธิสมภารนับแต่นน ั้ มา
“เร�จะครองแผน�ิ�โดยธรรม เพื่อ ป�ะโ�ชนสุขแหงม�าชนชาวสยา�”
21
พ.ศ. 2491 • ทรงพบหม่อมราชวงศ์ สิรกิ ติ ิ์ กิตยิ ากร พระธิดาของหม่อมเจ้า นักขัตรมงคล กิติยากร เอกอัครราชทูตไทย ประจ�ากรุงปารีส เป็นครัง้ แรก • ต่อมาในปีเดียวกัน ทรงประสบอุบัติเหตุ ทางรถยนต์ครัง้ ใหญ่ทเี่ มืองโลซานน์ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ จนเสียพระเนตรขวา และทันที ที่ฟื้นพระสติก็ทรงนึกถึงบุคคลเพียงสองคน เท่านั้นคือ พระราชชนนี และหม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์
22
พ.ศ. 2492 ทรงหมัน้ หม่อมราชวงศ์สริ กิ ติ ิ์ ณ พระต�าหนักที่ประทับเมือง โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระราชทาน พระธ�ามรงค์เพชรหนามเตยรูปหัวใจ ซึง่ เคย เป็นพระธ�ามรงค์ที่สมเด็จพระบรมราชชนก ใช้หมั้นสมเด็จพระบรมราชชนนี 9
10 THESTANDARD.CO
11
ภาพ หอจดหมายเหตแห่งชาติุเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
12 THESTANDARD.CO
24 25
พ.ศ. 2495 • โปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ สถานีวิทยุ กระจายเสียง และพระราชทาน นามว่า สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต ย่อมาจากพระที่น่ังอัมพรสถาน สถานที่ส่ง กระจายเสียงออกอากาศครัง้ แรก ให้ทงั้ สาระ และความบันเทิงแก่ประชาชน • ทรงเริ่มโครงการสร้างถนนพระราชทาน สายแรกที่ ห มู ่ บ ้ า นห้ ว ยมงคล จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ • ทรงจัดตั้งทุนภูมิพล พระราชทานแก่นิสิต นักศึกษาที่เรียนดีแต่ขาดแคลน
26
พ.ศ. 2496 • เริ่มต้นเสด็จฯ เยี่ยมราษฎร ในถิ่นทุรกันดาร เสด็จฯ ไป บ้านปากทวาร ต�าบลหินเหล็ กไฟ อ�าเภอ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรี ขันธ์ เป็นที่แรก ทรงพบว่าพสกนิกรของพระองค์จา� นวนมาก ป่วยด้วยโรคที่รักษาไม่ได้ จึงมีพระราชด�าริ จัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ขึ้น • ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ผู ้ น� า เช่น ก�านัน ผู้ใหญ่บ้านทั่วประเทศ เข้ารับ พระราชทานพันธุป์ ลาหมอเทศ ซึง่ เพาะเลีย้ ง ในสวนจิตรลดา
ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พ.ศ. 2494 เสด็จนิวตั ประเทศไทยเป็นการ ถาวร
28
พ.ศ. 2498 • เสด็จฯ เยีย่ มเยียนราษฎรใน ภาคกลาง อย่างเป็นทางการ ในปีเดียวกันนั้นเอง ก็เสด็จฯ ไปเยี่ยมเยียน ราษฎรยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือครบทุก จังหวัด และทรงพบว่าราษฎรของพระองค์ ทุกข์ยากด้วยภัยแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ปัญหาต่างๆ ล้วนเกี่ยวกับน�้าทั้งสิ้น • กล้องและแผนที่ที่ทรงมีไว้คู่ พระวรกาย เสมอ เริม่ ต้นท�าหน้าทีบ่ นั ทึกปัญหาและข้อมูล ต่างๆ เพื่อทรงน�ามาวางแผนแก้ปัญหาการ จัดการน�้า และริเริ่มทดลองการท�าฝนเทียม และฝายชะลอน�้าในเวลาต่อมา • พระราชทานเรือยนต์หลวง เวชพาหน์ แก่ สภากาชาดไทยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เพือ่ ใช้ดา� เนินงานหน่วยแพทย์เคลือ่ นทีท่ างน�า้ • ทรงจัดตั้งทุนอานันทมหิดล มอบโอกาส ให้บคุ ลากรด้านการแพทย์ไปเรียนต่อในต่าง ประเทศ
29
พ.ศ. 2499 • ทรงริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนใน ถิน่ ทุรกันดาร ทีแ่ รกคือโรงเรียน ตชด. บ�ารุงที่ 1 ต�าบลเชียงของ อ�าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย • ทรงผนวชเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ทรงได้รบั ฉายาว่า ‘ภูมพิ โลภิกขุ’ และ ประทับจ�าพรรษา ณ พระต�าหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
13
30
“เร�มีโช�ดีทม ี่ ภ ี าษาของ ตนเองแต โ บร�ณกาล จึ ง �ม�วรอย า งยิ่ ง ที่ จ ะ รักษาไว ปญหาเฉพาะใ� ดานรักษาภาษานีก ้ ม ็ ห ี ล�ย ประการ อยางหนึง่ ตองรักษา ใหบริสท ุ ธิ์ ใ�ทางอ�กเสียง คือ �หอ�กเสียงใหถก ู ตอง ชัดเจน อีกอยางหนึง่ ตอง รักษาใหบริสุทธิ์ใ�วิธีใช ห�ายควา�วาวิธใี ชคาํ �า ป�ะกอบเป น ป�ะโ�ค นั บ เป น ป ญ หาที่ สํ า คั ญ ป ญ หาที่ ส า�คื อ ควา� รํา่ �วยใ�คําของภาษาไทย ซึง่ พวกเรานึกวาไมราํ่ รวยพอ จึงตองมีกา�บัญญัตศ ิ พ ั ท ให�ม�ใช” พระราชด�ารัสในการประชุม ทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 14 THESTANDARD.CO
ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
สถานการณ์ของประเทศไทยช่วงต้นรัชกาล ราษฎรยังคงทุกข์ยากและมีชวี ต ิ ทีแ่ ร้นแค้นโดยเฉพาะในถิน ่ ทุรกันดาร ปัจจัยสีด ่ า้ นการด�ารงชีวต ิ ขาดแคลนไปเสียสิน ้ ขาดโอกาส เจ็บป่วย ยากจน พระราชกรณียกิจ ้ ทัง ในช่วงนีจ ้ ง ึ มุง ่ เน้นแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าส�าคัญ จะเห็นได้จากทีท ่ รงริเริม ่ า� เป็นต่อปากท้อง ่ โครงการต่างๆ ทีจ และสุขภาพของประชาชน ทัง ์ ลาเพื่อให้เป็นอาหารโปรตีนทีร่ าคาถูกแก่คนไทย ้ การพระราชทานพันธุป ทัง ้ การก่อตัง ้ โรงพยาบาล รวมถึงทรงจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ เวชภัณฑ์ตา่ งๆ ตลอดจนจัดตัง ้ หน่วยแพทย์เคลือ ่ นที่ พระราชทานแก่ราษฎรในพื้นทีห ่ า่ งไกล ถือเป็นการสร้างคุณภาพชีวต ิ พื้นฐาน ให้แข็งแรงในเบือ ้ งต้นก่อน เพื่อเตรียมคนให้พร้อมในการรับการพัฒนาด้านอืน ่ ต่อไป
ในทศวรรษนี้ เสด็ จ ฯ เยี่ ย มเยี ย นราษฎร ทั่วทุกภูมิภาค เมื่อปัญหาเฉพาะหน้าต่างๆ ของพสกนิ ก รเริ่ ม คลี่ ค ลาย ก็ ท รงหั น มา ด�าเนินงานพัฒนาด้านอืน ่ ๆ เช่น โครงการ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการน�า้ ที่มม ี ากมาย ตั้งแต่บนยอดดอยจรดชายฝั่ง ในขณะเดียวกัน ก็ทรงต้องเสด็จฯ เยือน ต่างประเทศทั้งยุโรปและอเมริกานานกว่า ครึง ่ ปี ทัง ้ เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และทรง จับตาดูสถานการณ์โลก รวมถึงท่าทีตา่ งๆ ทีม ่ หาอ�านาจมีตอ ่ กันในยุคสงครามเย็น ผลจาก การเสด็จประพาสต่างแดนครัง ้ นัน ้ ก็ทา� ให้ไทย เป็นทีย ่ อมรับในประชาคมโลกอย่างภาคภูมิ
พ.ศ. 2502 • เสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร ภาคใต้ครบทุกจังหวัด • ปลายปีเสด็จฯ เวียดนามใต้ เป็นการ เสด็จฯ เยือนต่างประเทศครั้งแรกนับตั้งแต่ ทรงขึ้นครองราชย์ พ.ศ. 2503 • ทรงเปิดสถาบันราชประชาสมาสัย นับเป็นก้าวแรกของ การแก้ปัญหาโรคเรื้อนในประเทศไทย • โปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ หลังจากยกเลิก ไปหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 • ทรงเริ่มต้นการเสด็จฯ เยือนอเมริกาและ ยุโรปรวม 14 ประเทศ ตัง้ แต่กลางเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2503 จนถึงกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2504 รวมทัง้ สิน้ 7 เดือน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 โดยเสด็จด้วย พ.ศ. 2504 • ทรงริเริ่มโครงการนาสาธิต ในสวนจิตรลดา ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้กรมการข้าวน�าข้าวพันธุต์ า่ งๆ มาทดลองปลูก • ทรงปลูกต้นยางนาในสวนจิตรลดา ถือเป็น จุดเริ่มต้นโครงการป่าสาธิต • เสด็จฯ ทรงเปิดพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งจัดสร้างขึ้นด้วยเงินทุนจากการให้เช่า พระพิมพ์ทคี่ น้ พบในกรุวดั ราชบูรณะ และถือ เป็นพิพิธภัณฑ์ในต่างจังหวัดแห่งแรกของ ประเทศไทย
ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พ.ศ. 2501 เสด็จฯ เยีย่ มเยียนราษฎรครบ ทุกจังหวัดในภาคเหนือ
พ.ศ. 2505 • โปรดเกล้าฯ พระราชทาน ทรัพย์สว่ นพระองค์สร้างโรงงาน โคนมสวนจิตรลดา โดยมีโคแรกเริ่มจ�านวน เพียง 6 ตัว • เสด็จฯ เข้าร่วมการประชุมทางวิชาการ ของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 29 กรกฎาคม ทรงห่วงใยการใช้ภาษาไทยของคนรุ่นใหม่ เป็นอย่างมาก และวันภาษาไทยแห่งชาติ ได้ถือก�าเนิดขึ้นนับแต่นั้น • ปลายเดือนตุลาคมปีเดียวกัน เกิดวาตภัย ครั้งใหญ่ที่แหลมตะลุมพุก ทรงใช้วิทยุ อ.ส. เป็นช่องทางในการระดมความช่วยเหลือ ประชาชนผูป้ ระสบภัย ถือเป็นจุดเริม่ ต้นการ จั ด ตั้ ง มู ล นิ ธิ ร าชประชานุ เ คราะห์ ใน พระบรมราชูปถัมภ์ 15
16 THESTANDARD.CO
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลป ิ ดยุกแห่งเอดินบะระ ถวายการต้อนรับ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถ ในรัชกาลที่ 9 ในโอกาสเสด็จฯ เยือนสหราชอาณาจักร เมือ ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2503 17
36
พ.ศ. 2506 • เสด็ จ ฯ เลี ย บพระนคร โดยกระบวนพยุหยาตราทาง สถลมารคตามโบราณราชประเพณี เนือ่ งใน โอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 3 รอบ • พระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ โปรดเกล้าฯ ให้กรมชลประทานด�าเนินการก่อสร้างอ่าง เก็บน�้าเขาเต่า เพื่อจัดหาแหล่งน�้าส�าหรับ อุปโภค-บริโภค แก่ประชาชนในหมู่บ้าน ชายทะเลเขาเต่า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 18 THESTANDARD.CO
ถือเป็นโครงการพัฒนาแหล่งน�้าแห่งแรก และเป็นโครงการตามพระราชด�าริแห่งแรก ของกรมชลประทานด้วย
37
พ.ศ. 2507 • ทรงเปิดเขือ่ นภูมพิ ล จังหวัด ตาก ซึง่ เป็นเขือ่ นอเนกประสงค์ ที่ใหญ่ที่สุดในสมัยนั้นของเอเชียตะวันออก • เสด็จฯ เจริญสัมพันธไมตรีกับสาธารณรัฐ ออสเตรี ย ในการนี้ วงดุ ริ ย างค์ ซิ ม โฟนี
ออร์เคสตราแห่ ง กรุ ง เวี ย นนา ได้ อั ญ เชิ ญ บทเพลงพระราชนิพนธ์ เช่น สายฝน ยามเย็น มาร์ชราชนาวิกโยธิน ไปบรรเลงในคอนเสิรต์ ฮอลล์ และกระจายเสี ย งทางสถานี วิ ท ยุ ของรัฐบาล สถาบันดนตรีและศิลปะแห่ง เวียนนายังได้ทลู เกล้าฯ ถวายปริญญาบัตร และต�าแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ล�าดับที่ 23 นับเป็นชาวเอเชียพระองค์แรกที่ได้รับการ ถวายพระเกียรตินี้ • ทรงริเริ่มโครงการตามพระราชประสงค์ แห่ ง แรกที่ ต� า บลหุ บ กะพง อ� า เภอชะอ� า จังหวัดเพชรบุรี เป็นโครงการพัฒนาที่ดิน เพือ่ ป้องกันการบุกรุกป่า และบริหารจัดการ พื้นที่ให้เกษตรกรมีที่ท�ากิน • ทรงต่อเรือใบด้วยพระองค์เองเป็นล�าแรก ในห้องทรงงานทีพ่ ระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวั ง ดุ สิ ต และพระราชทานชื่ อ ว่ า ราชปะแตน มีความหมายว่า Royal Pattern แบบอย่างของพระราชา
38
พ.ศ. 2508 สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ แห่งประเทศญีป่ นุ่ ทรงส่งปลา Nile Tilapia มาถวายทั้งหมด 50 ตัว แต่ เนื่องจากเกิดเหตุผิดพลาดด้านการขนส่ง ท�าให้เหลือรอดมาเพียง 10 ตัว พระองค์ จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้เพาะเลี้ยงไว้ในสวน จิตรลดา จนขยายพันธุ์มากมาย กลายเป็น ปลาเศรษฐกิ จ ที่ ส� า คั ญ ของไทย และได้ พระราชทานชื่อว่า ‘ปลานิล’
39
พ.ศ. 2509 • พระราชทานลู ก ปลานิ ล หนึง่ หมืน่ ตัว ให้กรมประมงน�า ไปขยายพันธุ์และแจกจ่ายแก่ประชาชน • โปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสังคีตมงคลขึ้น ในโอกาสที่ทรงพระราชนิพนธ์เพลงมาครบ 2 ทศวรรษ • เสด็จฯ เยือนสหราชอาณาจักร สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี และสาธารณรัฐออสเตรีย โดยระหว่างเสด็จฯ เยือนอังกฤษ ทรงเป็น ประธานเปิดวัดพุทธปทีป วัดไทยแห่งแรก ในทวีปยุโรป ณ กรุงลอนดอน
40
หลังจากเสด็จประพาสต่างประเทศในช่วงทศวรรษทีผ ่ า่ นมา เพื่อเจริญพระราชไมตรีกบ ั บรรดามิตร ประเทศเหล่านั้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงใช้เวลาในช่วงทศวรรษนี้ ทุม ่ เทพระวรกายเพื่อทรงงานในประเทศ โดยมิได้เสด็จประพาสต่างบ้านต่างเมืองอีกเลย นอกจาก เสด็จฯ เยือนประเทศแคนาดาอีกครัง ่ พ.ศ. 2510 ้ เดียวเมือ มีโครงการในพระราชด�าริเกิดขึน ้ มากมายในช่วงนี้ ในปี พ.ศ. 2517 พระองค์มพ ี ระราชด�ารัส เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงครัง ั การน้อมน�าไปปฏิบต ั อ ิ ย่างกว้างขวางหลัง พ.ศ. 2540 ้ แรก ก่อนจะได้รบ
“ ก า � กี ฬ า นั้ น มี หลักสําคัญอยูที่ วาจะต อ งฝ ก ฝน ตนเองใหแข็งแรง ใหมค ี วา�สา�า�ถ ใ � กี ฬ า ข อ ง ต น เพือ ่ จะพรอมทีจ ่ ะ ไปปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ � ก า � แ ข ง ขั น และไดชัยชนะม� ถึงเวลาเขาแขงขัน ก็ จ ะต อ งตั้ ง �ติ ใหดี เพือ ่ ใหปฏิบต ั ิ ไดเต็มทีต ่ า�ทีไ่ ด ฝกฝนม�”
40
พ.ศ. 2510 • ทรงชนะเลิ ศ เหรี ย ญทอง การแข่ ง ขั น เรื อ ใบ กี ฬ า แหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ และ ทรงได้รบั การทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเหรียญ ทองจากสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม ราชินีนาถ รัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม • มีการก่อตั้งโครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่ พระราชทาน อันเป็นโครงการพระราชด�าริ ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ให้การตรวจรักษาราษฎร โดยไม่ คิดมูลค่าใดๆ โดยมีที่มาเมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และ
ตอนหนึง ่ ในพระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นก ั กีฬาทีจ ่ ะเข้าร่วม การแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครัง ้ ที่ 5 ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512 19
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในรั ช กาลที่ 9 เสด็ จ ฯ แปรพระราชฐาน ประทับแรม ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั เจ้าหน้าที่ แพทย์ พยาบาล เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ ตลอดจน ยารักษาโรค ไปยังท้องถิน่ ทุรกันดารในจังหวัด เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีหน่วยแพทย์ของทาง ราชการเข้าไปถึง
41
พ.ศ. 2511 มีพระราชด�าริให้ตั้งศูนย์ฝึก อาชีพพระราชทานทหารผ่านศึก พิการ ต่อมาทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ ส่ ว นพระองค์ ใ ห้ จั ด สร้ า งโรงงานท� า แขน ขาเทียมและฝึกอาชีพ หรือแผนกผลิตเฝือก พยุ ง และแขนขาเที ย มของโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าในปัจจุบนั ส�าหรับช่วยเหลือ ประชาชนในพืน้ ทีห่ า่ งไกล และทหารผ่านศึก ที่พิการจากการสู้รบ 20 THESTANDARD.CO
42
พ.ศ. 2512 • โครงการพระราชด�าริทาง ด้านการแพทย์โครงการแรก ถือก�าเนิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม เนื่องจาก พระองค์ เ สด็ จ ฯ เยี่ ย มเยี ย นที่ โ ครงการ ชาวเขา และทรงพบว่ า ราษฎรที่ ม ารอ รับเสด็จฯ เจ็บป่วยกันมาก อีกทัง้ ยังมีความ ยากล�าบากในการเดินทางไปรักษา จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์ที่ ตามเสด็จฯ ตรวจรักษาประชาชนทีม่ อี าการ เจ็บป่วย โดยไม่ต้องเสียค่ารักษาใดๆ และ ยังมีการจัดอบรมแพทย์หมู่บ้านนั้นๆ เพื่อ ช่วยให้ราษฎรมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน โรคภั ย ต่างๆ และรู้จักวิธีรักษาพยาบาล แผนปัจจุบนั อย่างถูกต้อง • โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา (สถานีเกษตร หลวงอ่างขาง) เกิดขึ้นจากการที่พระองค์ เสด็จฯ เยีย่ มราษฎรทีห่ มูบ่ า้ นผักไผ่ อ�าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมือ่ เสด็จฯ ผ่านดอยอ่างขาง พระองค์ ท อดพระเนตรเห็ น สภาพความ เป็นอยู่ของชาวบ้านที่ปลูกฝิ่น และยากจน
จึ ง ทรงสละพระราชทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ ซื้อที่ดินส่วนหนึ่งเพื่อก่อตั้งโครงการหลวง ให้ เ ป็ น สถานี วิ จั ย และทดลองปลู ก พื ช เมืองหนาว เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกร ชาวเขาในการน�าพืชเหล่านี้มาเพาะปลูก เป็นอาชีพ • โครงการฝนหลวงด� า เนิ น การทดลอง ปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรกวันที่ 1-2 กันยายน หลังจากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบินปราบศัตรูพืช กรมการข้าว และพร้อมให้การสนับสนุนใน การสนองพระราชประสงค์ หลังจากพระองค์ มีพระราชด�าริให้จัดตั้งโครงการและศึกษา ความเป็นไปได้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2489
• โรงนมผงสวนจิตรลดา เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ตั้งขึ้น เนื่องจากเกิดภาวะนมสดล้นตลาด สมาชิก ผู้เลี้ยงโคนมจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาให้ พระองค์ทรงช่วยเหลือ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงนมผงขนาดย่อมขึน้ เพื่ อ ผลิ ต นมผงเป็ น การแก้ ป ั ญ หานมสด ล้นตลาด
43
พ.ศ. 2513 พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิ ส ริ ย ยศและ เฉลิมพระนามพระอัฐิสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานคริ น ทร์ เป็ น สมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุ ล ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และ เฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ เป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
44
พ.ศ. 2514 • ความฝั น อั น สู ง สุ ด เป็ น เพลงพระราชนิ พ นธ์ ล� า ดั บ ที่ 43 โดยพระองค์ทรงใส่ท�านองเพลงลงใน ค� า กลอน ความฝันอันสูงสุด ที่ประพันธ์ โดยท่านผูห้ ญิงมณีรัตน์ บุนนาค เมื่อ พ.ศ. 2512 หลังจากได้รับพระราชเสาวนีย์จาก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ให้เขียนบทกลอนแสดงความ นิยมส่งเสริมคนดีให้มีก�าลังใจท�างานเพื่อ อุดมคติ เพื่อประเทศชาติ • ในวาระที่ทรงครองราชย์ครบ 25 ปี มี พระราชด�าริให้สร้างถนนรัชดาภิเษกเพื่อ แก้ไขปั ญ หาการจราจรในเขตนครหลวง กรุงเทพฯ-ธนบุรี
• สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยทูลเกล้าฯ ถวายเข็มทองค�าศิลปะภาพถ่ายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 • ราชสมาคมถ่ายภาพแห่งสหราชอาณาจักร (The Royal Photographic Society of Great Britain) กราบบังคมทูลเชิญให้ทรงด�ารง ต�าแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิข์ องราชสมาคม • สมาคมสหพันธ์ศลิ ปะการถ่ายภาพนานาชาติ หรือ FIAP ทูลเกล้าฯ ถวายเกียรติบตั รสูงสุด เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณว่าทรงเป็นสมาชิก กิตติมศักดิ์ที่มีพระปรีชาสามารถเป็นเลิศ ในศิลปะการถ่ายภาพ (Honorary Excellent FIAP)
21
ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
24 THESTANDARD.CO
45
พ.ศ. 2515 • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ เป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม • พระราชด�าริในการพัฒนาอุปกรณ์สอื่ สาร เพื่อติดต่อกับพื้นที่ห่างไกล เป็นที่มาของ สายอากาศสุธี 1 ซึ่งพระองค์ทรงใช้ในงาน สื่ อ สารเพื่ อ บรรเทาสาธารณภั ย ในยุ ค ที่ ประเทศไทยยังขาดแคลนเทคโนโลยี
46 47 48
พ.ศ. 2516 มีพระราชด�ารัสทางโทรทัศน์ เตื อ นสติ ใ ห้ ทุ ก ฝ่ า ยยึ ด หลั ก สันติในเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ พ.ศ. 2517 มี พ ระราชด� า รั ส เกี่ ย วกั บ เศรษฐกิจพอเพี ย งครั้ ง แรก เพือ่ เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยและความเปลีย่ นแปลงต่างๆ พ.ศ. 2518 มู ล นิ ธิ ส ายใจไทยก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 2 เมษายน ตาม พระราชปณิธานของพระองค์ที่ทรงห่วงใย ในความทุ ก ข์ ข องราษฎรผู ้ เ สี ย สละชี พ เพื่อป้องกันประเทศชาติ ผู้ต้องบาดเจ็บ ทุพพลภาพ จนไม่สามารถประกอบอาชีพ ได้ดังเดิม
49
พ.ศ. 2519 • โครงการพระดาบสก่อตัง้ ขึน้ เพือ่ ช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสทาง การศึกษา ขาดแคลนทุนทรัพย์ ไม่มคี วามรู้ พื้นฐานที่จะเข้าศึกษาต่อในสถาบันอาชีพ • ประธานรัฐสภายุโรปและสมาชิกร่วมกัน ทูลเกล้าฯ ถวาย ‘เหรียญรัฐสภายุโรป’
50
นอกจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จะทรงสถาปนาสมเด็จพระเทพฯ เป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี นั บ เป็ น สมเด็ จ เจ้ า ฟ้า หญิ ง พระองค์ แ รกที่ ท รงด� า รงพระอิ ส ริ ย ยศ ‘สยามบรมราชกุ ม ารี ’ แห่ ง ราชวงศ์ จั ก รี ในช่ ว งทศวรรษนี้ โ ครงการส� า คั ญ จากแนวพระราชด� า ริ มี อ อกมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้งโครงการจากทฤษฎีแกล้งดิน
“ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจาก ดิ�มีสา�ป�ะกอบ ไพไรท ทําใหมก ี �ด กํามะถัน เมือ ่ ดินแหง ทํ า ให ดิ � เป�ี้ ย ว ควรป�ั บ ป�ุ ง ดิ � ใหดข ี น ึ้ ดังนัน ้ เห็น สม�วรที่จะมีกา� ป �ั บ ป �ุ ง พั ฒ น า โดยใหมห ี นวยงาน ตางๆ ทีเ่ กีย ่ วของม� ดํ า เนิ � กา�ศึ ก ษา และพัฒนาพืน ้ �ีพ ่ รุ รวมกัน”
พระราชด�ารัส วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2524 อันเป็นทีม ่ าของโครงการแกล้งดิน ตามแนวพระราชด�าริ
50
พ.ศ. 2520 วันที่ 5 ธันวาคม ในวโรกาส วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการสถาปนา พระอิสริยศักดิส์ มเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ เฉลิมพระนามตามทีจ่ ารึกในพระสุพรรณบัฏ ว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจั ก รี สิ ริ น ธร รั ฐ สี ม าคุ ณ ากรปิ ย ชาติ สยามบรมราชกุมารี นับเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าหญิง พระองค์แรก ที่ทรงด�ารงพระอิสริยยศเป็น ‘สยามบรมราชกุมารี’ แห่งราชวงศ์จักรี 25
51 52
พ.ศ. 2521 11 พฤษภาคม ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ รั บ งานการ ผลิตก๊าซชีวภาพไว้ในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
พ.ศ. 2522 ธนาคารโค-กระบือเพือ่ เกษตรกร ตามพระราชด�าริ ได้รับการ จัดตั้งที่จังหวัดปราจีนบุรี เนื่องจากในการ เสด็ จ ฯ ออกตรวจเยี่ ย มราษฎรในเดื อ น มีนาคม พระองค์ทรงทราบว่ามีราษฎรที่ ยากจนในพื้ น ที่ โ ครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร าบ เชิงเขา จังหวัดปราจีนบุรี ตามพระราชด�าริ จ�านวนมาก ต้องเช่าโค-กระบือไว้ใช้แรงงาน ในราคาแพงมาก บางครัง้ จ�าหน่ายผลผลิต ทางการเกษตรแล้วก็แทบไม่เหลืออะไรเลย จึงมีพระราชด�าริให้กรมปศุสตั ว์จดั ตัง้ ธนาคาร โค-กระบือขึน้ เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรผูย้ ากจน ได้มโี อกาสมีโค-กระบือไว้ใช้แรงงานเป็นของ ตนเอง 26 THESTANDARD.CO
53
พ.ศ. 2523 วั น ที่ 19 ตุ ล าคม หลั ง จาก เสด็ จ ฯ ตรวจพื้ น ที่ น�้ า ท่ ว ม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้มีหน้าที่ เกีย่ วข้องกับการแก้ไขปัญหาน�า้ ท่วมเข้ารับ แนวพระราชด�าริ เนื่องจากปัญหาน�้าท่วม พืน้ ทีฝ่ ง่ั ตะวันออกของกรุงเทพฯ รุนแรงอย่าง ไม่เคยปรากฏมาก่อน มีพระราชด�ารัสให้เร่ง ระบายน�า้ ออกสูท่ ะเล โดยผ่านแนวคลองฝัง่ ตะวันออก
54
พ.ศ. 2524 เสด็ จ เยี่ ย มราษฎรที่ จั ง หวั ด นราธิวาส (อันเป็นที่มาของ ภาพทรงนั่งพิงรถยนต์พระที่นั่งที่จอดบน สะพาน) และมีพระราชด�าริให้จัดตั้งศูนย์ ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก พระราชด�าริขึ้น
55
พ.ศ. 2525 พ ร ะ ร า ช พิ ธี ส ม โ ภ ช ก รุ ง รัตนโกสินทร์ 200 ปี
56 57
พ.ศ. 2526 เ ส ด็ จ ฯ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร บริ เ วณน�้ า ท่ ว มครั้ ง ใหญ่ ใ น กรุ ง เทพมหานคร ทั้ ง ทางเรื อ รถยนต์ พระที่นั่ง และเฮลิคอปเตอร์ พ.ศ. 2527 โครงการแกล้งดิน เกิดขึน้ เมือ่ วันที่ 16 กันยายน ณ ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก พระราชด�าริ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลง ความเป็นกรดของดินก�ามะถัน เนื่องจาก พระองค์เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรในเขตจังหวัด นราธิวาส และทรงพบปัญหาที่ดินท�ากิน
58
พ.ศ. 2528 เดือนเมษายน พระราชทาน แนวพระราชด� า ริ เ รื่ อ งน�้ า ดี ไล่น�้ า เสี ย เรื่ อ งขุ ด คลองและสร้ า งประตู ควบคุมน�้า แก้ปัญหาน�้าท่วม ขณะเสด็จฯ ทอดพระเนตรบริ เ วณประตู ร ะบายน�้ า ปากคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณเทเวศร์ คลองแสนแสบ และคลองลาดพร้าว
59
พ.ศ. 2529 ทรงเปิดโรงกลั่นแอลกอฮอล์ ในสวนจิตรลดา ค้นคว้าการ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพือ่ น�ามาท�า น�า้ มันเชือ้ เพลิงตามแนวพระราชด�าริ รวมทัง้ ทดลองผสมแอลกอฮอล์ 95% กับน�้ามัน เบนซิน จนได้แก๊สโซฮอล์ 27
28 THESTANDARD.CO
ภาพ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
29
60
ในช่วงวัยที่คนปกติจะเกษี ยณจากการท�างาน พ่ อของแผ่นดินยังทรงงานหนักไม่เปลี่ยนแปลง หลังจากพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมิ ไ ด้ เ สด็ จ เยื อ นประเทศไหนอี ก เลย ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ทรงเสด็จฯ เยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พร้อมด้วย สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ในรั ช กาลที่ 9 และสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ระหว่ า งวั น ที่ 8-9 มี น าคม พ.ศ. 2537 ซึ่ ง นั บ เป็ น การเสด็ จ ฯ เยื อ น ต่างประเทศอีกครัง ้ หลังจากว่างเว้นมาเป็นเวลานานกว่า 20 ปี และนับเป็นการเสด็จฯ เยือนต่าง ประเทศเป็นครั้งสุดท้ายของพระองค์ ในช่วงปลายทศวรรษนี้มีการจัดพระราชพิ ธีกาญจนาภิเษก เฉลิมฉลองเนือ ่ งในวาระทีท ่ รงครองสิรริ าชสมบัตค ิ รบ 50 ปี นับเป็นพระมหากษัตริยท ์ ท ่ี รงครองราชย์ ยาวนานทีส ่ ด ุ ในประวัตศ ิ าสตร์ไทย
“แลวก็ใครจะ ชนะ ไมมท ี างชนะ อันตร�ยทัง้ นัน ้ มี แ ต แ พ คื อ ตางคนตางแพ ผูที่เผชิญหนา ก็แพ แลวก็ที่ แพที่สุ�ก็คือ ป�ะเทศชาติ” พระบรมราชาธิบาย วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 แก่ตวั แทน ทัง ้ สองฝ่ายในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 30 THESTANDARD.CO
60
พ.ศ. 2530 • 1 มกราคม พระราชทาน ส.ค.ส. โดยการปรุแถบโทรพิมพ์ ลงรหัสส่วนพระองค์ว่า กส.9 ปรุ 311430 ธค 2529. ทรงทดลองใช้โปรแกรมฟอนทาสติก (Fontasitc) ในคอมพิวเตอร์ สร้างตัวอักษร ไทยและโรมัน รูปแบบและขนาดต่างๆ • 9 ตุลาคม เสด็จฯ ทรงเปิดศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย • 23 พฤศจิ ก ายน ทรงใช้ โ ปรแกรม คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์อักษรเทวนาครี จาก พจนานุกรมและต�าราสันสกฤตได้ส�าเร็จ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถ ในรัชกาล ที่ 9 ทรงให้การต้อนรับสมเด็จพระจักรพรรดิ อะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ณ พระบรมมหาราชวังในปี พ.ศ. 2534
• 1 ธันวาคม เสด็จฯ ทรงเปิดสวนหลวง ร.9 • 5 ธันวาคม พระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 5 รอบ • เปิดใช้สะพานพระราม 9 เป็นครั้งแรก
61
พ.ศ. 2531 • มีพระราชด�าริให้กอ่ ตัง้ มูลนิธิ ชัยพัฒนา เพื่อสนับสนุนการ ด�าเนินงานตามโครงการพระราชด�าริ และ โครงการพัฒนาอื่นๆ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน • 2 กรกฎาคม พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก
62 63
พ.ศ. 2532 ทรงทดลองแนวพระราชด�าริ ทฤษฎีใหม่ ที่โครงการพัฒนา พื้นที่วัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี พ.ศ. 2533 ก�าเนิดโครงการศึกษาวิจยั และ พัฒนาสิง่ แวดล้อมแหลมผักเบีย้ อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เพื่อแก้ปัญหาส�าคัญเรื่อง สิ่งแวดล้อม ขยะ และน�้าเสีย
64
พ.ศ. 2534 •พระราชทานแนวพระราชด� า ริ ใ ห้ แ ก่ เ ลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ให้ ศึ ก ษาทดสอบการปลู ก หญ้าแฝก เพือ่ ให้เกษตรกรน�าไปใช้ประโยชน์ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน • 6 ธันวาคม พระราชทานนามดาวเทียม ดวงแรกของไทยว่า ไทยคม (THAICOM)
65
พ.ศ. 2535 ทรงยุตเิ หตุการณ์พฤษภาทมิฬ พระราชทานพระบรมราชวโรกาส ให้ประธานองคมนตรีน�า พลเอก สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี และพลตรี จ�าลอง ศรีเมือง รับพระราชทานกระแสพระราชด�ารัส เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม
สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ทรงน�าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ทอดพระเนตรศูนย์ศก ึ ษาพัฒนาเพาะพันธุ์ หญ้าแฝก ณ โครงการพั ฒนาดอยตุง จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2536 31
66
พ.ศ. 2536 • 2 กุมภาพันธ์ กรมทรัพย์สิน ทางปัญญาทูลเกล้าฯ ถวาย สิทธิบตั รการประดิษฐ์ เครือ่ งกลเติมอากาศ ที่ผิวน�้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย หรือ ‘กังหันน�้า ชัยพัฒนา’ • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์ พระราชนิพนธ์ นายอินทร์ผปู้ ดิ ทองหลังพระ
67
พ.ศ. 2537 •เสด็จพระราชด�าเนินพร้อม สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเยือนสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายหลังทรงเปิด สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 1 • ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์ พระราชนิพนธ์ ติโต
68
พ.ศ. 2538 • 6 พฤษภาคม ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ สถาปนาพระ อิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ • 18 กรกฎาคม สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จสวรรคต • พระราชทานแนวพระราชด�าริการบรรเทา ปัญหาจราจรบริเวณเชิงสะพานพระปิน่ เกล้า และพื้นที่โดยรอบโรงพยาบาลศิริราช • 4 ธันวาคม พระราชทานแนวพระราชด�าริ โครงการแก้มลิง เพือ่ บรรเทาปัญหาน�า้ ท่วม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล • 5 ธันวาคม รายการโทรทัศน์เพือ่ การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมแพร่ภาพครั้งแรก จากโรงเรี ย นวั ง ไกลกั ง วล อ� า เภอหั ว หิ น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 32 THESTANDARD.CO
69
พ.ศ. 2539 • พระราชพิธีกาญจนาภิเษก เฉลิมฉลองเนือ่ งในวาระทีท่ รง ครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี • 28 มีนาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สื่อมวลชนทุกแขนงเข้ารับฟังพระราชด�ารัส เกี่ยวกับพระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก • ก� า เนิ ด มู ล นิ ธิ ก ารศึ ก ษาทางไกลผ่ า น ดาวเทียม
70
ขณะทีป ่ ระเทศไทยเผชิญกับวิกฤตการเงิน ‘ต้มย�ากุง ้ ’ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช พระราชทานแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพี ยง ซึ่งพระองค์ทรงเคยมีพระราชด�ารัสมาก่อนหน้านี้ หลายทศวรรษ ต่อมาแนวคิดดังกล่าวได้รบ ั การยอมรับว่าเป็นแนวทางพัฒนาสูค ่ วามยัง ่ ยืน ในปลายทศวรรษ รัฐบาลจัดพระราชพิธฉ ี ลองสิรริ าชสมบัตค ิ รบ 60 ปี อย่างยิง ่ ใหญ่ โดยมี พระราชอาคันตุกะคือ สมเด็จพระราชาธิบดี สมเด็จพระราชินี มกุฎราชกุมาร และผูแ ้ ทนพระประมุข จาก 25 ราชวงศ์ทวั่ โลก
“กา�จะเปนเสือ นั้นมันไมสําคัญ สํ า คั ญ อยู ที่ เ ร� พ อ อ ยู พ อ กิ น และมีเศรษฐกิจ กา�เปนอยูแ บบ พ อ อ ยู พ อ กิ � แบ�พอมีพอกิ� ห�ายควา�ว า อุม ชูต�ั เองไวให มีควา�พอเพียง กับตั�เอง”
70 71
พ.ศ. 2540 4 ธั น วาคม พระราชทาน พระราชด�ารัสเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจของชาติ พ.ศ. 2541 21 เมษายน เสด็จฯ ทรงเปิ ด โครงการทางคู่ขนานลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ บรรเทาปัญหาจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร อันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ
72
พ.ศ. 2542 •พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม • มี ก ารจั ด พิ ม พ์ พระราชนิ พ นธ์ เรื่ อ ง พระมหาชนก (ฉบับการ์ตูน) เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ • 9 สิงหาคม พระราชทานนามรถไฟฟ้า ใต้ดินสายแรกว่า รถไฟฟ้ามหานครเฉลิม รัชมงคล หมายถึงงานเฉลิมฉลองความเป็น มงคลแห่งพระราชา • 25 พฤศจิกายน เสด็จฯ ทรงเปิดเขื่อน ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี
ตอนหนึ่งในพระราชด�ารัสแก่คณะบุคคล ต่างๆ ทีเ่ ข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสด ิ าลัย วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 33
73
พ.ศ. 2543 • 4 กั น ยายน ทรงก่ อ ตั้ ง โรงพยาบาลสัตว์สุวรรณชาด • 29 กันยายน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่ อ สนามบิ น แห่ ง ใหม่ ว ่ า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 27 ธันวาคม จดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า Golden Place - โกลเด้น เพลซ จัดจ�าหน่าย สินค้า ผัก ผลไม้ และสินค้าเกษตรกรรม ในนามบริ ษั ท สุ ว รรณชาด จ� า กั ด และ เครื่องหมายการค้าสุวรรณชาด ทองแดง (โรงพยาบาลสัตว์)
74
พ.ศ. 2544 • 1 กุมภาพันธ์ ทรงก่อตั้งร้าน โกลเด้น เพลซ แห่งแรก • 2 มิถนุ ายน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก • คณะกรรมการจัดงานบรัสเซลส์ ยูเรก้า ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ส�าหรับ ผลงานเรื่องทฤษฎีใหม่ น�้ามันไบโอดีเซล สูตรสกัดจากน�า้ มันปาล์มและเรือ่ งฝนหลวง
75
พ.ศ. 2545 • 19 มกราคม เสด็จฯ ทรง วางศิลาฤกษ์อาคารผูโ้ ดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • 20 กันยายน สะพานพระราม 8 เปิดใช้
เป็นวันแรก เพื่อแก้ปัญหาจราจรติดขัดใน ฝั่งพระนครและธนบุรี • 16 พฤศจิกายน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเขือ่ น แควน้อยบ�ารุงแดน • 26 พฤศจิกายน พระราชนิพนธ์ เรื่อง ทองแดง วางจ�าหน่ายเป็นวันแรก
76
พ.ศ. 2546 • ก�าเนิดโรงนมยูเอชที สวน จิตรลดา เพือ่ ช่วยรับซือ้ น�า้ นม ดิบจากเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม เนื่องจาก ปัญหานมสดล้นตลาดทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2545 • 10 มิถุนายน กรมทรัพย์สินทางปัญญา ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบตั รการประดิษฐ์เลขที่ 14859 ส�าหรับภาชนะรองรับของเสียที่ขับ ออกจากร่างกาย
77
พ.ศ. 2547 ก่อตั้งอาคารผลิตไบโอดีเซล อันเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ทดลองผลิตภัณฑ์เชือ้ เพลิง หนึง่ ในโครงการ ส่วนพระองค์ที่สวนจิตรลดา 34 THESTANDARD.CO
78
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลีย ้ งอาหารค�า่ แก่เหล่าผูน ้ า� ชาติตา่ งๆ ทีม ่ าร่วมการประชุมเอเปค ซึง ่ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดขึน ้ ในปี พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2548 • พระราชทานความช่วยเหลือ แก่ผปู้ ระสบภัยคลืน่ ยักษ์สนึ ามิ ผ่านมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ โดยสร้าง โรงเรี ย นและพระราชทานทุ น การศึ ก ษา ทรงรั บ สั่ ง ให้ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นาจั ด พิ ม พ์ หนังสือ คลื่นยักษ์สึนามิ คลื่นอภิมหาภัย เพื่อเผยแพร่เป็นสาธารณประโยชน์ • ส�านักสิทธิบัตรยุโรป (EPO) ได้ทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรฝนหลวงแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
79
พ.ศ. 2549 • 26 พฤษภาคม องค์ ก าร สหประชาชาติทลู เกล้าฯ ถวาย รางวัลความส�าเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ • 9 มิถนุ ายน พระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัติ ครบ 60 ปี พระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละผู ้ แ ทน พระองค์ทั่วโลกเสด็จฯ มาร่วมแสดงความ ยินดี
35 
ภาพ เกรียงไกร ไวยกิจ 36 THESTANDARD.CO
37 
38 THESTANDARD.CO
80
ในช่วง 10 ปีสด ุ ท้ายในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช มีเหตุการณ์สา� คัญ ทีป ่ วงชนชาวไทยต้องน้อมร�าลึกถึงไปตราบชัว่ ชีวต ิ เช่น พ.ศ. 2550 เป็นปีทท ่ี รงครองสิรริ าชสมบัติ ครบ 60 ปี และเป็นปีทม ่ี ก ี ารเฉลิมพระเกียรติตลอดทัง ี ว่ งเวลาทีพ ่ ระองค์เสด็จฯ ้ ปี หลังจากนัน ้ ก็มช ประทับรักษาพระอาการประชวรทีโ่ รงพยาบาลศิรริ าชบ่อยครัง ็ ง ั พระราชทาน ้ แต่กระนัน ้ พระองค์กย แนวคิดแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ และยังมีโครงการในพระราชด�าริท่ีส�าคัญอีกจ�านวนหนึ่งเกิดขึ้น ในช่วงเวลานี้ ก่อนที่ปวงชนชาวไทยจะต้องเผชิญกับช่วงเวลาที่เป็นความวิ ป โยคทั่ ว ทั้ ง แผ่ น ดิ น ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559
“ควา�มั� ่ คงของป�ะเทศ ชาติ �ั้ น �ะเกิ ด มี ขึ้ น ได ก็ ด ว ยป�ะชาชนใ�ชาติ อยูด ม ี ส ี ขุ �มมท ี ก ุ ขยากเข็ญ ดั ง นั้ น กา�สิ่ ง ใดที่ เ ป น ควา�ทุกขเดือ�รอนของ ป�ะชาชน ทุกคน ทุกฝาย จึงตองถือเปนหนาที่ จะตอง รวมมือกัน ปฏิบัติแกไข ใหเต็มกําลัง” พระราชด�ารัสในการเสด็จออกมหาสมาคม งานพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา พ.ศ. 2554 ณ พระทีน ่ ง ั่ อมรินทรวินจ ิ ฉัยมไหยสูรยพิมาน วันจันทร์ท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554
80
พ.ศ. 2550 • ปีมหามงคล ทรงครองสิริราชสมบัตคิ รบ 60 ปี มีกจิ กรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติตลอดทั้งปี • 20 มีนาคม คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ ให้ถวายพระราชสมัญญา ‘พระบิดาแห่ง การอนุรกั ษ์มรดกไทย’ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสมหามงคลทรง ครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี • 12 กันยายน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพระราชพิธีฉลอง เสาชิงช้า ซึ่งกรุงเทพมหานครสร้างขึ้นใหม่ แทนของเดิม • 13 ตุลาคม เสด็จฯ ประทับ ณ โรงพยาบาล ศิ ริ ร าช เพื่ อ ทรงรั บ การรั ก ษาพระอาการ พระวรกายด้านขวาอ่อนแรง เนือ่ งจากภาวะ ขาดพระโลหิตไปเลี้ยงพระสมองด้านซ้าย ชัว่ คราว รวมทัง้ อาการพระอันตะ (ล�าไส้ใหญ่) อักเสบ หลังจากพระอาการดีขนึ้ ก็เสด็จฯ กลับ ไปประทับ ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน ในวันที่ 7 พฤศจิกายน หรือในเดือนถัดมา • 5 ธั น วาคม เสด็ จ ฯ ออกมหาสมาคม ทรงรับการถวายพระพรชัยมงคล ณ มุขเด็จ พระที่ นั่ ง จั ก รี ม หาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง เนือ่ งในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา ซึ่งเป็นการเสด็จออก ณ มุขเด็จ เป็นครั้งแรกในรัชกาลที่ 9
39
81
พ.ศ. 2551 พระราชทานแนวพระราชด�าริ โครงการบรรเทาอุทกภัยเมือง จันทบุรี และทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลอง ภักดีร�าไพ เพื่อแก้ปัญหาน�้าท่วมในชุมชน ริมแม่น�้าจันทบุรี ชื่อคลองภักดีร�าไพได้รับ พระราชทานจากพระองค์โดยมีความหมายว่า คลองทีแ่ สดงความจงรักในสมเด็จพระนางเจ้าร�าไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ด้วยเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงที่เคยมา ประทับในจังหวัดนี้ หลังจากเสร็จสิ้นการ ก่อสร้างคลองดังกล่าว ตัวเมืองจันทบุรีก็ไม่ ประสบกับอุทกภัยอีก ทั้งยังมีน�้าอุปโภคบริโภคในหน้าแล้งเพียงพอ และถือเป็น โครงการในพระราชด� า ริ ล� า ดั บ สุ ด ท้ า ยที่ พระราชทานแด่จังหวัดจันทบุรี
82
พ.ศ. 2552 1 สิ ง หาคม ทรงขั บ รถยนต์ พระทีน่ งั่ จากศาลาเก้าเหลีย่ ม ริมอ่างเก็บน�้าหนองเสือ จังหวัดเพชรบุรี เสด็จฯ มาเปิดป้ายโครงการชั่งหัวมันด้วย พระองค์เอง โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และคุณทองแดง ร่วมตามเสด็จฯ มาในรถพระทีน่ งั่ เมือ่ เสด็จฯ มาถึง ทรงเปิด ป้ายโคร งการชั่งหัวมัน โดยวางถุงใส่หัว มั น เทศล งบนตาชั่ง เปิดแพรคลุมป้ายชื่อ โครงการ โดยมีข้าราชการ ข้าราชบริพาร พสกนิกรทีป่ ฏิบตั งิ านในโครงการ และชาวบ้าน ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง มาร่วมกันเป็นสักขีพยาน
40 THESTANDARD.CO
83
พ.ศ. 2553 • 9 พฤศจิกายน กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญาทูลเกล้าฯ ถวายการ จดสิทธิบัตรระบบปรับปรุงคุณภาพน�้าด้วย รางพืช ร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ เลขที่ 29091 • 19 พฤศจิกายน กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทูลเกล้าฯ ถวายการจดสิทธิบตั รการประดิษฐ์ เครื่ อ งก� า เนิ ด ไฟฟ้ า พลั ง งานจลน์ เลขที่ 29162 และโครงสร้างเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า พลังงานจลน์ เลขที่ 29163 • 24 พฤศจิกายน เวลา 16.30 น. เสด็จฯ ทางชลมารค โดยประทับเรือพระทีน่ งั่ อังสนา ไปทรงเปิ ด ประตู ร ะบายน�้ า คลองลั ด โพธิ์ และทรงเปิดสะพานภูมิพล 1 ภูมิพล 2 ที่ อ�าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
41 
42 THESTANDARD.CO
43 
44 THESTANDARD.CO
84
พ.ศ. 2554 • 19 มกราคม พระราชทานนาม สิทธิบั ตรสิ่งประดิษฐ์เครื่อง ก�าเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ และโครงสร้าง เครื่องก�าเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ที่ประตู ระบายน�้าคลองลัดโพธิ์ว่า ‘อุทกพลวัต’ มี ความหมายว่า กังหันผลิตไฟฟ้าด้วยพลัง น�า้ ไหล • 5 ธันวาคม งานพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จออก มหาสมาคมรับการถวายพระพรชัยมงคล ณ มุขเด็จ พระทีน่ งั่ จักรีมหาปราสาท เป็นการ เสด็จออก ณ มุขเด็จ เป็นครั้งสุดท้าย โดยมี การติดตั้งพระวิสูตรบนมุขเด็จ และเลื่อน พระราชอาสน์ออกสู่มุขเด็จเป็นครั้งแรกใน พระราชพิธีครั้งนั้น มีพระราชด�ารัสความ ตอนหนึ่งว่า “ข้อส�าคัญจะต้องไม่ขัดแย้ง แตกแยกกัน อาจจะต้องให้ก�าลังใจซึ่งกัน และกัน เพือ่ ให้งานทีท่ า� บรรลุผลทีม่ ปี ระโยชน์ เพื่อความผาสุกของประชาชนและความ มั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติ”
85
พ.ศ. 2555 พระราชทานแนวคิด ‘โรงเรียน คุณธรรม’ และได้พระราชทาน พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์เพือ่ จัดตัง้ กองทุน การศึ กษา โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า ง คนดีใ ห้แก่บ้านเมือง จากนั้นมีการสืบสาน
พระราชปณิธานและก่อตั้งมูลนิธิสืบสาน ยุวสถิรคุณ ที่เข้ามาดูแลหน่วยงานทั้งหมด 3 หน่วยงาน คือ ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง, ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา และศูนย์โรงเรียน คุณธรรม
86
พ.ศ. 2556 • วันที่ 1 สิงหาคม พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จออก จากชัน้ 16 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาล ศิ ริ ร าช กลั บ ไปประทั บ ณ พระต� า หนั ก เปีย่ มสุข วังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ • 5 ธั น วาคม เสด็ จ ออกมหา สมาคม ณ ท้องพระโรง ศาลาราชประ ชาสมาคม วังไกลกังวล ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในรัชสมัยที่ เสด็จออกมหาสมาคมนอกพระนคร และยัง เป็นการออกมหาสมาคมเป็นครัง้ สุดท้ายใน รั ช สมั ย และในพระชนมชี พ โ ดยครั้ ง นั้ น มีพระราชด�ารัสความตอนหนึง่ ว่า “บ้านเมือง ของเราเป็นสุขสืบมาช้านาน เพราะเรามี ความเป็นปึกแผ่นในชาติ และต่างบ�าเพ็ญ กรณียกิจตามหน้าที่ให้สอดคล้องเกื้อกูลกัน เพือ่ ประโยชน์ของชาติ คนไทยทุกคนจึงควร จะตระหนักในข้อนีใ้ ห้มาก และตัง้ ใจประพฤติ ตัวปฏิบตั งิ านให้สมฐานะและหน้าที่ เพื่อให้ ส�าเร็จประโยชน์ส่วนรวม คื อความมั่นคง ปลอดภัยของชาติบา้ นเมืองไทย”
45
87
พ.ศ. 2557 3 ตุ ล าคม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ประทับรักษาพระอาการ ประชวร ณ โรงพยาบาลศิริราช
88
พ.ศ. 2558 • 10 พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ประทับ ณ วังไกลกังวล • 31 พฤษภาคม เสด็จฯ กลับมาประทับที่ โรงพยาบาลศิรริ าช ตามค�ากราบบังคมทูลของ คณะแพทย์
89
พ.ศ. 2559 • 9 มิ ถุ น ายน รั ฐ บาลและ ปวงชนชาวไทยพร้อมใจจัดงาน
46 THESTANDARD.CO
เฉลิ ม ฉลองแสดงความจงรั ก ภั ก ดี ถ วาย เป็นราชสักการะ โดยในการนี้โปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ การจัดงานเฉลิมพระเกียรติฯ ว่ า ‘ การจั ด งานฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 70 ปี’ ก�าหนดการจัดงานฉลองระหว่างวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2560 แต่งานนี้ก็มิอาจมีไปจนครบก�าหนด ดังกล่าว • 13 ตุ ล าคม พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เสด็ จ สวรรค ต ณ โรงพยาบาลศิ ริ ร าช เวลา 15.52 น. สิริพระชนมพรรษาปีที่ 89 ทรง ครองสิริราชสมบัติได้ 70 ปี