ในเชิงวิทยาศาสตร์ เม็ดเลือดแดง คือตัวน�ำออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงร่างกาย
เป็นสิ่งจ�ำเป็น หากขาดซึ่งเม็ดเลือดแดงแล้วไซร้ มนุษย์ย่อมไม่สามารถด�ำรงชีพอยู่ได้ ในการศึกษารัฐศาสตร์ ข้อมูล ข่าวสารและสังคม เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง หากขาดซึ่งสรรพสิ่งเหล่านี้ การศึกษารัฐศาสตร์ย่อมเป็นไปได้ยาก ในที่นี้ ข้อมูลข่าวสารจึงประดุจดั่ง “เม็ดเลือดแดง” ที่หล่อเลี้ยงนักศึกษารัฐศาสตร์ให้รอบรู้มากยิ่งขึ้น
วารสารเม็ดเลือดแดง จึงถือก�ำเนิดขึ้น ด้วยประการฉะนี้ แล ๛
Editor Talk ต้นไม้มสี เี ขียวสวยงามได้ตอ้ งมีใบทีผ่ ลิออกมาจากกิง่ ก้านสีนำ�้ ตาลคล�ำ ้ ...กิ่งก้านน�้ำตาลคล�้ำงอกออกมาจากต้นอ่อนสีซีด ...ต้นอ่อนสีซีดงอกออกมา จากเมล็ดสีขาวขุ่น ...เมล็ดสีขาวขุ่นร่วงหล่นมาจากผลอันสุกงอม ...ผลอัน สุกงอมย้อยออกมาจากพุ่มใบอันเขียวขจี กว่าพืชจะสวยต้องออกดอกผลเวียน วนผ่านกาลเวลามาหลายต่อหลายรอบ สังคมก็เช่นกัน จะเขียวสวย (หรือ สีอะไรก็ได้สวย) อย่างต้นไม้ ก็ต้องผ่านวังวนวัฏจักรการเวลาและเหตุการณ์ ต่างๆ หลายต่อหลายครั้งดุจเดียวกัน
ภาพต้นไม้ใหญ่ จากนวนิยายเรื่องบางกระโพ้ง By วินทร์ เลียววาริณ
กองบรรณาธิการ
สารบัญ
ฉบับ ๑๙: ผลิใบ (พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓)
วิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมือง: การศึกษา: เกษตรกรรมที่ทำ�กับคน.......................................................3 Young Blood: เมื่อวิถีสุขภาวะก็เปลี่ยนโลก..........6 Young Blood: คำ�ถามที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบ. ..........................................................................................................9 Young Blood: ความคิดสร้างสรรค์...สรรสร้าง ความคิด: ประดิษฐกรรมของสังคมการเมือง.............. ......................................................................................................12 เติมหัวใจไปรอบโลก: ประชาธิปไตยผลิใบที่พม่า?.. .........................................................................................15 ประกันคุณภาพทางการศึกษา: ปฏิรูปการศึกษา: มุมมองกระบวนทัศน์และบริบทในสังคมไทย (1)...... ......................................................................................................18 กวีกระวาท: วันที่ไม่มีที่ทางผลิใบ..............................23 จิบชา: โลกของเรา.....................................................24 เจาะเลือด: พาดหัวข่าวอีก 10 ปีข้างหน้าในความ เห็นของสิงห์แดง..................................................................25 ก่อนจบ: What is Résumé.........................................29 ไส้ติ่ง: ก่อนงิ้วผลิใบ...........................................................33 Special Column: ทายนิสัยจากต้นไม้สุดโปรด....... ......................................................................................................36 Political Virus On Film: Tokyo Tower: รักยิ่งใหญ่หัวใจให้เธอ........................................................39 ตามสบาย: (ทาน)ตะวันบานที่ลพบุรี........................41 สิงห์ลงพุง: ก๋วยเตีย๋ วเรือยกซด สูตรอยุธยา.............46 สิงห์หนังสือ: อาหารหลังผลิใบ: แถลงการณ์นัก กินของ “Michael Pollan“...........................................48
อ�ำนวยการผลิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดท�ำโดย กลุ่มข้อมูลข่าวสารและวารสาร คณะรัฐศาสตร์ บรรณาธิการบริหาร ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม) บรรณาธิการวารสาร เทียนธวัช ศรีใจงาม (เทียน) กองบรรณาธิการ เวทิตา นิลหลวง (เวย์) ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม) ณัฐพล สอนจรูญ (บูมสกี้) เอกวีร์ มีสุข (เอก) มารุต ศูนย์ตรง (บาส) อนีสสา นาคเสวี (ซะห์) ปัณฑ์ชนิต สุฤทธิ์ (เดือน) ธนิก วิไลลักษณ์ (นิก) สิริพงศ์ นฤดีสมบัติ (ป๊อก) อนุพงษ์ ปลิวทอง (แมกซ์) วริษา อินทรัตน์ (พัศร) เกรียงไกร ไชยหาญ (หลุยส์) ขวัญชัย เสียงรุ่งเรือง (เจ้นท์) มนัศชัย อุ่นศิริ (ศร) ประสานงานการผลิต มารุต ศูนย์ตรง (บาส)
พิสูจน์อักษร ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม)
ศิลปกรรม ปก ณัฐพล สอนจรูญ (บูมสกี้) สิริพงศ์ นฤดีสมบัติ (ป๊อก) ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม) ติดต่อ โทรศัพท์ O89-5897638 (ต้อม) อีเมล์ jc_singhadang@hotmail.com Facebook กลุ่มข้อมูลข่าวสารและวารสารคณะรัฐศาสตร์ มธ. พิมพ์ท ี่ จ�ำนวน
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 500 เล่ม
“..ครู คิ ด ว่ า การสอนคนมั น ยาก กว่าการแค่ให้ความรู้คน มันเหมือนกับ การปลู ก ต้ น ไม้ ที่ ก ารดู แ ลจะยากกว่ า การ ปลูกเสมอ การสอนคนก็เหมือนกันคือจะ สอนอย่างไรให้เด็กเก่ง ดี มีความเป็นคน มันยากมาก แต่ถ้าแค่สอนให้มันอ่านออก เขียนได้ เรียนเกรดสูงๆ มันไม่ยากเท่าไหร่ หรอก..” จากทรรศนะของท่ า นท� ำ ให้ ผ ม เกิดคามคิดขึ้นมาว่าการจัดการศึกษานั้นมี
By Sayoung ณ กรูยอ
ความคล้ายคลึงกับการท� ำการเกษตรเป็น อย่างยิ่ง เพียงแต่สิ่งที่ปลูกนั้นไม่ใช่ต้นไม้ พืชพันธุ์ธัญญาหาร หากแต่เป็นคุณภาพ ของเด็กและเยาวชนในอนาคต ขอให้ สั ง เกตดู ใ ห้ ดี ว ่ า ทรรศนะของผมนั้ น ไม่ ไ ด้ มองว่าการศึกษาสร้างตัวเยาวชนหรือตัว ตนของเขา แต่ผมมองลงไปที่คุณภาพของ เขา คุณภาพในการใช้ชีวิต คุณภาพใน การอยู่ในสังคม คุณภาพในการเป็นก�ำลัง พัฒนาสังคม หากเราจัดการปลูกได้อย่าง ตั้งใจ ถูกต้องสมบูรณ์ รอบคอบ ผลิตผล จากการเพาะปลูกก็จะออกมาดี เปรียบได้ กับการจัดการศึกษาที่เหมาะสม รอบคอบ และใส่ ใ จย่ อ มได้ ผ ลผลิ ต ที่ เ ป็ น คุ ณ ภาพ ประชากรอั น ทรงคุ ณ ค่ า มากกว่ า การ จัดการศึกษาแบบขอไปที เมื่ อ เราเห็ น ความส� ำคั ญ ของการ ศึ ก ษาในฐานะกระบวนการปลู ก สร้ า ง คุณภาพประชากรแล้ว การจัดการศึกษา แบบใดเล่าที่เหมาะสม รอบคอบและใส่ใจ หรือที่เรียกว่าการจัดการศึกษาที่ดี ผม ใคร่ขอเสนอแนวคิดเกี่ยวกับประเด็นนี้ดังนี้ ประการแรกการศึ ก ษาเป็ น กระบวนการ ที่ต้องท�ำอย่างต่อเนื่องไม่ใช่เริ่มแล้วหยุด เปรียบได้กับการเกษตรที่ไม่ได้จบเพียงไถ หว่าน หากแต่ต้องคอยดูแลรักษาพืชพันธุ์ที่ กสิกรปลูกจนกว่าจะได้เป็นผลผลิต หากเรา ท�ำแค่ไถหว่านแล้วปล่อยไปไม่ดูแล ผลผลิต ที่ได้อาจออกมาทุเรศกันดาร หรือไม่ออก
วารสารเม็ดเลือดแดง
ส
วั ส ดี ค รั บ ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า นพบกั น อี ก ครั้ ง กั บ คอลั ม น์ วิ เ คราะห์ สถานการณ์ บ ้ า นเมื อ งประจ� ำ เม็ดเลือดแดงฉบับเดือนธันวาคม นี้ ใกล้จะสอบแล้วหวังว่าเพื่อนๆ ทุกคน จะเตรียมตัวพร้อมรับศึกส่งท้ายปีกันพร้อม นะครับ เมื่ อ ไม่ น านมานี้ ผ มได้ มี โ อกาส พูดคุยกับท่านผู้รู้ในวงการการศึกษาของ ไทย ท่านเป็นผู้มีประสบการณ์มากมาย ทั้งในบทบาทของครูผู้สอน และบทบาท นักบริหารสถานศึกษา ในครั้งนั้นผมได้ สอบถามท่านเกี่ยวกับทรรศนะที่มีต่อระบบ การศึ ก ษาภาคบั ง คั บ ของเยาวชนไทยใน ปัจจุบัน และแนวทางที่การศึกษาไทยควร จะมุ่งไป ท่านได้เสนอแนวทรรศนะเอาไว้ อย่างน่าสนใจดังนี้
การศึกษา: เกษตรกรรมที่ทำ�กับคน
3
ภาพชาวนา จากนวนิยายเรื่องบางกระโพ้ง By วินทร์ เลียววาริณ
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 4
มาเลยก็ได้ การศึกษาก็เช่นเดียวกัน หาก เราท� ำ เพี ย งโปรยโรงเรี ย นไปตามที่ ต ่ า งๆ ออก พรบ. เกณฑ์เด็กเข้าโรงเรียน ถึงม.ต้น โยนครู ไ ปประจ� ำ โรงเรี ย นนั้ น โรงเรี ย นนี้ โดยไม่มีการก�ำกับติดตามกิจการ ก�ำกับ ประสิทธิภาพประสิทธิผล ช่วยเหลือดูแล จัดการปัญหา และหมั่นปรับปรุงหลักสูตร หรื อ สภาพสถานศึ ก ษาให้ เ หมาะสมกั บ บริบทสังคมและโลก ก็ไม่ต่างอะไรกับการ ไถหว่านแล้วปล่อยพืชพันธุ์ (หรือเด็ก) ไป ตามยถากรรม ผลผลิต (คุณภาพ) ที่ออกมา ก็ไม่แคล้วทุเรศกันดาร (แว๊น สก๊อย ฯลฯ) การก�ำกับดูแล ช่วยเหลือและปรับปรุงจึง จ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการศึกษา แต่ทั้งนี้ ก็ มี สิ่ ง ที่ ต ้ อ งจดจ� ำ ไว้ ใ ห้ ดี นั่ น คื อ การปรั บ ปรุงใดๆนั้นก็ใช่ว่าสักแต่ปรับปรุงไปตามใจ จ� ำ เป็ น ต้ อ งดู ขี ด ความสามารถของเรา และความเหมาะสมไม่ใช่ วันดีคืนดีอยาก ทดลองให้เรียนท�ำนากลางหอวังหรือเรียน คอมพิวเตอร์กลางโรงเรียนม้ง บางครั้ง มั น ก็ เ ป็ น ไปได้ ย ากหรื อ ถ้ า เป็ น ไปได้ ก็ ไ ด้ ไม่คุ้มเสีย บางครั้งผลลัพท์ที่ออกมาอาจ ถอยหลังไปจากก่อนปรับปรุง เหมือนกับ วันนึงเราอยากเอาน�้ำมันพืชไปรดผักแทน น�้ำ ซึ่งผลที่ออกมาก็ไม่พ้นผลผักหงายตาย อนาถ เรื่องที่ควรค�ำนึงอีกประการหนึ่ง คือการปรับปรุง คือไม่ควรปรับปรุงถี่เกิน ไปเพราะถ้าเป็นเช่นนั้นอาจส่งผลกระทบ ต่อทั้งบุคลากรทางการศึกษาและเด็ก ซึ่งไม่สามารถปรับตัวทันกระแส การเปลี่ยนแปลงที่เร็วเกินไป เหมื อ นต้ น ไม้ ที่ ร ดน�้ ำ ใส่ ปุ ๋ ย มากเกินจนเฉาตาย ตัวอย่าง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด เจนของเรื่ อ งนี้ เช่ น กระแสการปฏิ รู ป การ
เพียงให้ความรู้แต่ต้องสอนสิ่งอื่นเช่น ความ เป็นคน หลักพลเมืองการเป็นปัจเจกที่ดี และหลักอื่นๆ โดยต้องอาศัยการปูพื้นตั้งแต่ ยังละอ่อนแล้วค่อยๆ เข้มข้นขึ้นตามวุฒิ ภาวะที่เปลี่ยนไป เหมือนการดูและต้นไม้ใช่ ว่าเราใส่ปุ๋ยอย่างเดียว หรือรดน�้ำอย่าง เดียวแล้วมันจะโต เราจ�ำเป็นต้องพรวน ดิน ก�ำจัดศัตรูพืช ถึงจะงาม หรือถ้าอยาก ให้ต้นไม้โตเป็นรูปเป็นร่างได้สัดส่วนเราก็ ต้องคอยตัดตอนบิดกินมัน สุดท้ายนี้แม้ว่าการศึกษาจะส�ำคัญ เช่นไรเราต้องไม่ลืมว่า การศึกษาไม่ใช่สิ่ง สร้ า งคนแต่ เ ป็ น สิ่ ง สร้ า งคุ ณ ภาพของคน เราจึงไม่อาจสร้างคนๆ หนึ่งให้มีตัวตนใน แบบที่เราต้องการได้ทั้งหมด ศิษย์ล้างครู จึงยังมีต่อไป แต่การศึกษานี่แหละคือสิ่งที่ เป็นตัวก�ำหนดว่าศิษย์จะอยากล้างครูผู้ปลูก ต้นไม้แห่งความเป็นคนในตัวเขาหรือไม่
ไม่มีหลักนามธรรมอันใดสูงส่งจนกระทั่งคู่ควร กับการเอาชีวิตผู้อื่นไปสังเวย แต่เห็นด้วยว่ามีหลัก นามธรรมบางอย่างที่คุณอาจยินดีสละชีวิตอยู่ เช่นเพื่อ พ่อแม่ มนุษย์เรามีสิ่งเหล่านี้ เกษียร เตชะพีระ
วารสารเม็ดเลือดแดง
ศึกษาขั้นพื้นฐานในช่วงตั้งแต่ปี 2002 ถึง ปัจจุบัน ประเด็นต่อมาการศึกษาในแต่ละ ขั้นนั้นต้องให้ความส�ำคัญที่เท่ากัน โดย ไม่ใช่มุ่งเน้นไปว่าในแต่ละขั้นจะให้สิ่งใดสิ่ง หนึ่ ง เพี ย งอย่ า งเดี ย วซึ่ ง แนวคิ ด นี้ แ ฝงอยู ่ ในการศึกษาไทยมานานเช่น อยู่ประถมก็ หัดอ่านหัดเขียน อยู่มัธยมหัดคูณหัดหาร อยู่มหาลัยหัดงานอาชีพ หากแต่ควร แทรกส่วนเด่นต่างๆ ของแต่ละชั้นเข้าไป ในชั้นอื่นเท่าที่ท�ำได้ ถ้าเทียบกับการท�ำ เกษตรกรรมก็เหมือนกับเราไม่สามารถใส่ ปุ ๋ ย แค่ ต อนปลู ก ใหม่ แ ล้ ว จากนั้ น ไม่ ใ ส่ เ ลย แล้วหวังให้ต้นไม้จะงอกงาม เราต้องใส่ไป ตลอดในความถี่ที่เหมาะสม แต่ทั้งนี้ใช่ว่า เราจะยัดเยียดทุกอย่างเข้าไปได้หมดในทุก ชั้น ความพร้อมของผู้เรียนในแง่กายภาพ และวุฒิภาวะก็เป็นสิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงอย่าง เช่นเราไม่สามารถยัดให้เด็กอนุบาลเรียน ฟิสิกส์ หรือเด็กมหาลัยมีคาบนอนกลางวัน เป็นต้น ประเด็นสุดท้าย ผมมองว่าการ จัดการศึกษาต้องจัดท�ำอย่างรอบด้านไม่ใช่
5
6
By นภนต์ สรพัตร์ “You say you want a revolution Well you know We’d all want to change the world...”.
อ
ยู่ๆ ก็นึกถึงเพลง Revolution ของสี่เต่าทองขึ้นมา เมื่อใน ช่วงวัยและวันเวลาที่มีผู้คนไม่ น้อยนึกถึงการเปลี่ยนโลกให้พรั่ง พร้อมดังหวัง ด้วยวิถีทางใดตามสุดแต่ภูมิ หลังจะบันดาลให้เชื่อมั่นศรัทธา อย่างไรก็ตาม เมื่ออ�ำนาจอย่าง หนึ่งในสังคมคือการเข้าถึงปัจจัยพื้นฐานใน การด�ำรงชีพ แม้แต่การเลือกอาหารและ การกิ น ก็ มี นั ย ยะส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง ผลกระทบถึ ง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง กล่าวได้ว่าวิถีการผลิตอาหารได้ พลิกโฉมครั้งใหญ่ในปรากฏการณ์ที่เรียก ว่าปฏิวัติเขียว (Green Revolution) ซึ่ง เป็นการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนา เมล็ดพันธุ์ เพื่อเร่งรัดการเติบโตและเพิ่ม ผลผลิ ต ในยุ ค หลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง ส่วนของเอเชียอาคเนย์เอง สหรัฐอเมริกา ได้ ก ่ อ ตั้ ง ส ถา บั น วิ จั ย ข ้ าวน าน าช าติ International Rice Research Institute ขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ โดยให้ประเทศ สมาชิ ก ส่ ง เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วพื้ น เมื อ งมาเก็ บ รักษาไว้ที่สถาบันเพื่อท�ำการวิจัยก่อนจะน�ำ
ไปสนับสนุนให้เกษตรกรเพาะปลูก ท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงเชื้อพันธุ์ข้าวจากเดิม ที่มีการปลูกข้าวหลากหลายพันธุ์ในแต่ละ ท้องถิ่นเพื่อการเลี้ยงตัวเองและชุมชนเป็น เบื้องต้น ไปสู่การเน้นสายพันธุ์ที่รับรอง แล้วว่าผลผลิตสูง ต้องรสนิยมชนหมู่มาก เอื้อต่อกระบวนการจัดส่ง และส่งเสริม ผลประโยชน์ ด ้ า นการค้ า ซึ่ ง ยิ่ ง เป็ น ปั จ จั ย ก�ำหนดนโยบายส�ำคัญเมื่อการค้าเสรีการ เป็นระบอบกฏเกณฑ์ที่มากด้วยอิทธิพล และ ไม่เพียงสายพันธุ์ข้าว... การผลิตอาหารใน ยุคที่การค้าระหว่างประเทศและการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจขยายตัวไปกับระบบทุนนิยม โลกต่างมีแนวโน้มไปในทางดังกล่าว จาก ปรากฏการณ์ดังกล่าว ก็ปฏิเสธไม่ได้ในแง่ ของอุปทานของชนิดอาหารที่ถูกคัดเลือก ให้ผลิตออกสู่ตลาดนั้นอาจไม่ขาดแคลนนัก แต่ที่น่าสนใจคือความสัมพันธ์ของการผลิต เชิ ง เดี่ ย วที่ ส ่ ง ผลกระทบกั บ ทั้ ง สวั ส ดิ ก าร ของผู้ผลิตเองและผู้บริโภค ประการแรก การผลิตเชิงเดี่ยว เช่นการปลูกพืชท�ำให้ต้องพึ่งพิงเทคโนโลยี
ภาพ Rice By http://learners.in.th
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
เมื่อวิถีสุขภาวะก็เปลี่ยนโลก
และพบว่าน�ำไปสู่การเกิดหนี้สินได้ทางหนึ่ง เป็นวงจรที่ยากจะตีจาก ในด้ า นหนึ่ ง การผลิ ต โดยแบบ มหภาคดังกล่าวจึงดูจะเป็นการไม่กระจาย อ�ำนาจทางเศรษฐกิจนัก ในเมื่อแม้จะได้ ผลผลิตให้ซื้อหาได้ในราคาถูกกว่าตามหลัก ของการลดต้นทุนตามขนาดการผลิต แต่ ก็มาจากการผูกขาดต้นทุนในรูปแบบหนึ่ง ที่ผู้ผลิตต้องพึ่งพาอยู่กับปัจจัยการผลิตของ กลุ่มธุรกิจและกลไกตลาดอันผันแปร ประการที่สอง สืบเนื่องจากที่ กล่าวมา เมื่อวิถีการผลิตให้ความส�ำคัญ กับจุดมุ่งหมายทางการค้า เราย่อมมอง แรงงานไปในด้านของความคุ้มได้คุ้มเสีย ในระบบจ้างงานและต้นทุนก�ำไรมากกว่า การมีชีวิตอยู่ของชุมชนร่วมกับธรรมชาติ ที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมเฉพาะในแต่ละ ถิ่นที่ที่จะดูแลรักษาซึ่งกันและกัน ในโลกที่ ประชากรถึง 70% มาจากภาคการเกษตร การแข่งขันในการผลิตแบบมหภาคมีส่วน ผลักดันให้เกษตรกรรายย่อย ตลาดในท้อง ถิ่น และความหลากหลายในอดีตถูกเบียด บังออกไป โดยพวกเขาเหล่านั้นอาจกลาย มาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม หรือ ตลาดแรงงานส่วนอื่นๆ จากผู้ผลิตที่พึ่ง ตนเองได้ ก ลายเป็ น ผู ้ บ ริ โ ภคผลิ ต ผลของ บริษัทที่อยู่รอดด้วยสมรรถภาพสะสมทุนที่ เหนือกว่า ประการที่สาม นอกจากการ ผลิ ต เชิ ง เดี่ ย วจะส่ ง ผลกระทบถึ ง ความ สัมพันธ์ในการผลิต ยังส่งผลถึงความเสื่อม ของสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์ อันจะส่งผล ถึงสุขภาวะของมนุษย์ เริ่มจากการเพาะ ปลูกแบบมหภาคต้องการพื้นที่มากและน�ำ ไปสู่การถางพื้นที่ป่าอันมีค่า การปลูกพืช
วารสารเม็ดเลือดแดง
สูงกว่าการผลิตตามธรรมชาติ เพราะความ ต้องการปัจจัยหล่อเลี้ยงแบบตายตัวและไม่ จ�ำเป็นต้องสัมพันธ์กับระบบนิเวศน์ ด้าน หนึ่งลดความหลากหลายทางชีวภาพที่เป็น ดั่งสวัสดิการอันรวมถึงแหล่งอาหารในท้อง ถิ่นของผู้ผลิต เช่น การที่เจ้าของไร่สักไร่ที่ เข้าโครงการปลูกผลไม้เมืองหนาวสักชนิด ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ต ามธรรมชาติในที่ดิน จะลดลงจากการที่ระบบนิเวศน์ถูกตัดตอน ให้เหลือเพียงการเติบโตของพืชที่ต้องการ ประกอบกับการใช้สารเคมี ท�ำให้สิ่งมี ชีวิตที่เคยเป็นความมั่นคงทางอาหารของ ชุมชนหาได้ยากขึ้น ยกตัวอย่างไม่ว่าผัก พื้นเมืองที่ขึ้นและเติบโตในที่ดิน การสร้าง รังของมดแดงซึ่งมีไข่มดแดง ฯลฯ และ ขณะเดียวกันเกษตรกรต้องพึ่งพิงปัจจัยการ ผลิตจากบริษัทเจ้าของโครงการตั้งแต่พันธุ์ พืช สารเคมีก�ำจัดศัตรูพืช สารอาหาร บ�ำรุง และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ปัจจัย เหล่านี้อ้างอิงอยู่กับความสัมพันธ์แนวดิ่ง ที่กลุ่มธุรกิจเพียงบางกลุ่มสามารถเข้าถึง และควบคุม “ต้นทุน” เหล่านี้ได้ โดยมี การส�ำรวจว่าบริษัทข้ามชาติเพียง 10 แห่ง ครอบครองส่วนแบ่ง ตลาดธุรกิจเมล็ดพันธุ์ พืชถึง 32% มูลค่า 23 พันล้านเหรียญ สหรัฐฯ และยังเป็นครองส่วนแบ่งทางการ ตลาดเคมีการเกษตรทั่วโลก ทั้งนี้ การผลิตเพื่อการค้าแบบ Contract Farming ก็มักดึงดูดให้เกษตรกร หั น ไปผลิ ต พื ช พั น ธุ ์ ที่ ร าคาดี ใ นท้ อ งตลาด หากไม่มีการวางแผนที่ดี การตามกระแส ตลาดและผลิ ต ออกมาในจ�ำนวนที่ล้น เกิน จะกลับท�ำให้ราคาพืชผลนั้นๆ ตกต�่ำลงและ ต้องเปลี่ยนชนิดของการปลูกพืชอยู่เรื่อยๆ โดยที่ก็ยังพึ่งพิงปัจจัยการผลิตที่ก�ำหนดมา
7
8
เชิงเดี่ยวที่ไม่ค�ำนึกถึงความสมดุลของระบบ นิเวศน์ที่ท�ำให้เกิดดินเสื่อม สารเคมีตกค้าง ในกรณีที่ใช้ปราบศัตรูพืชหรืออื่นๆ ที่เป็น อันตรายต่อชีวิตและสุขภาพ ทั้งนี้ยังไม่ ต้องพูดถึงเรื่องของ Climate Change ที่ เป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวทางการพัฒนา โดยรวม แล้วเราจะท�ำอย่างไร เมื่อปัจจุบัน เราเข้าถึงอาหารจากกระบวนการดังกล่าว อย่างน้อย ถ้ามองถึงเรื่องของ สุขภาพ การเลือกอาหารจากพืชพันธุ์ ธั ญ ญาจากแหล่ ง ที่ ป ลอดสารพิ ษ หรื อ ที่ ระมั ด ระวั ง เรื่ อ งของธรรมชาติ แ วดล้ อ ม อาจลดความเสี่ยงในชีวิตได้ในบางประการ การสนับสนุนผู้ผลิตรายย่อยและเครือข่าย อาจน�ำไปสู่การกลับคืนวิถีการผลิตที่สร้าง ความมั่นใจแก่ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคได้มาก ขึ้น นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเมนูอาหาร ประจ�ำถิ่น ที่ประกอบขึ้นจากความหลาก หลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่ ล้วนเป็น ทั้ ง คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการและการสร้ า ง ภูมิคุ้มกันจากโรคภัย แทนที่จะเลือกกิน ตามกระแสนิ ย มแล้ ว หรื อ ละเลยการดู แ ล สุขภาวะในส่วนนี้แล้วทุ่มเทงบประมาณแก่ การรักษาตามแบบการแพทย์แผนใหม่ซึ่ง ต้องอาศัยต้นทุนสูงไปอีกแบบและผ่านการ ผู ก ขาดวิ ธี ก ารรั ก ษาและเข้ า ถึ ง ตั ว ยาเคมี
ยังเป็นไปได้ใหม ที่เราจะเปิด ทางให้กับทาง ที่อาจไม่ใช่ “ทางเลือก” แต่เป็น “การเลือกที่จะด�ำเนินชีวิตโดยก�ำ หนดชตากรรมตนเองได้ ” …..ในรู ป แบบ หนึ่ง
ท่านสามารถได้มาซึ่งการเรียบเรียง ข้อมูลโดยละเอียดยิ่งขึ้น... - วันทนา ศิวะ. ปล้นผลิตผล!: ปฏิบัติการจี้ยึดเสบียงอาหารโลก. ไพโรจน์ ภูมิประดิษฐ์ แปล. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา, 2544. - วันทนา ศิวะ เขียน. ประชาธิปไตย ผืนดิน : ความยุติธรรม ความยั่งยืน และ สันติภาพ. วิไล ตระกูลสิน แปล. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา, 2553. - หรือ ... ประสบการณ์โดยตรงจาก การใช้ชีวิตเมื่อเข้าไปท�ำความรู้จักภาคการ ผลิตในสังคมของคุณเอง
ภาพ Agriculture By http://www.developing8.org
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
โดยบริษัทข้ามชาติไม่ต่างจากกระบวนการ ผลิตอาหาร
คำ�ถามที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบ “มิลินทปัญหา” เป็นเรื่องราว การถาม-ตอบในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา โดยมีพระยามิลินท์เป็นผู้ ถาม และมีพระนาคเสน ภิกษุในพระพุทธ ศาสนาเป็นผู้ตอบ เรื่องราวนี้เป็นที่รู้จักและ ได้รับความสนใจทั้งจากชาวพุทธและที่ไม่ใช่ มากมาย อย่างไรก็ตามมีอยู่ประเด็นหนึ่ง ในมิลินทปัญหาที่หลายคนอาจมองข้าม แต่ ก็มีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อย ประเด็นนั้นก็ คือ การถามตอบในหัวข้อเรื่อง “ฐปนียพ ยากรณปัญหา” ซึ่งชักน�ำไปสู่การท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีคิดแบบพุทธในอีกแง่หนึ่ง ในหัวข้อนี้ พระยามิลินท์ได้ตรัส ถามพระนาคเสนว่า เหตุใดพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้แจ้งในสรรพสิ่งทั้วปวง และ คอยชี้ แ นะแนวทางรวมถึ ง หลั ก ธรรมให้ กับบุคคลต่างๆ อย่างไม่หวงแหน ถึงไม่ ยอมตอบค�ำถามของพระเถรเจ้าผู้เป็นบุตร แห่งนางมาลังฆาพราหมณี นั่นเพราะ พระพุทธเจ้าทรงตั้งใจปิดปัง หรือมีอคติกับ ผู้ถาม หรือว่าไม่รู้ค�ำตอบใช่หรือไม่ พระนาคเสนก็ ต อบกลั บ ไปว่ า พระพุทธศาสนานั้นแบ่งค�ำถามต่างๆ ออก เป็น 4 ประเภทคือ 1. เอกํสพฺยากรณียปัญหา คื อ ปั ญ หาที่ ถ ามถึ ง ที่ ค วรจะแก้ ไ ด้ โดยสะดวกและโดยตรง ไม่ยากเย็น อะไร เช่น ถามว่านามและรูปเที่ยง
หรือไม่ สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไม่ เป็นต้น 1. วิภชฺชพฺยากรณียปัญหา คือปัญหาที่ถามกลับลักษณะถ้อยค�ำ การตอบต้ อ งหยิ บ แยกอธิ บ ายเป็ น ส่วนๆ เช่น ถามว่าสิ่งที่ไม่เที่ยง ได้แก่รูปเหรอ ได้แก่เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณหรือ เป็นต้น 2. ปฏิ ปุ จฉ า พฺ ย า กรณี ย ปัญหา คือปัญหาที่ควรซักไซ้ไล่เลียง เสียก่อน แล้วจึงจะกล่าวแก้ เช่น ถามว่าบุคคลย่อมรู้แจ้งซึ่งอารมณ์ ทั้งปวงด้วยจักขุ (ตา) หรือ เป็นต้น กล่ า วคื อ เป็ น ค� ำ ถามที่ มี ค วามไม่ ชัดเจน ผู้ตอบจึงต้องย้อนถามผู้ถาม อีกครั้งเพื่อความชัดเจน ก่อนจะ ตอบ 3. ฐปนียปัญหา คือปัญหา ที่ถามถึงเหตุภายนอกพระศานาอัน หาประโยชน์มิได้ ไม่ควรจะกล่าวแก้ เช่น ถามว่าโลกเที่ยงหรือไม่ พระ ตถาคตมีอยู่หรือไม่ เป็นต้น การที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงไม่ ต อบ ค� ำ ถามของพระเถระเจ้ า นั่ น ก็ เ พราะเป็ น “ฐปนียปัญหา” เป็นค�ำถามที่ “ไม่ควรตอบ” ตอบไปก็ “ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์” ความข้อ นี้ชวนให้นึกถึงหลักธรรมอีกข้อในพระพุทธ ศาสนาก็คือ “อจินไตย” ซึ่งมีลักษณะใกล้
วารสารเม็ดเลือดแดง
By สุภกิจฺโจ
9
1. พุทธวิสัย คือวิสัยของ พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธเจ้ามี จริงหรือไม่ พระพุทธเจ้าเกิดมาแล้ว เดิน 7 ก้าวจริงหรือไม่ เป็นต้น 2. ฌานวิสัย คือวิสัยของ บุคคลผู้ทรงฌาน เช่น ฌานเป็น อย่างไร ท�ำไมผู้ที่ได้ฌานถึงแสด อิทธิฤทธิ์ได้ เป็นต้น 3. กรรมวิสัย คือวิสัยของ กฎแห่งกรรม เช่น กฎแห่งกรรมเกิด อย่างไร ท�ำไมต้องมีกฎแห่งกรรม เป็นต้น 4. โลกวิสัย คือวิสัยของ การมีอยู่ของโลก เช่น ใครเป็นผู้ สร้างโลก ชีวิตเกิดได้อย่างไร เวลา คืออะไร ความว่างเปล่าคืออะไร เป็นต้น เรื่องเหล่านี้คิดไปก็ปวดหัว ไม่
คิดก็ไม่เสียประโยชน์อะไร ซึ่งดูจะเป็นหลัก การที่ตรงกันข้ามกับวิทยาศาสตร์รวมไปถึง อภิปรัชญา (ปรัชญาแขนงที่สนใจหาความ จริงสูงสุดเกี่ยวกับโลกและจักรวาล) ที่ พยายามแสวงหาความรู้ในเรื่องต่างๆ ไม่ เว้นแม้แต่ในสิ่งที่เป็นอจินไตยก็ตาม ทั้งนี้ เพราะทั้ง 2 สาขาวิชาเชื่อว่ามีความจริงแท้ หนึ่งเดียวอยู่อยู่เหนือสิ่งต่างๆ โดยเฉพาะ ในส่วนที่เกี่ยวกับโลกวิสัย ซึ่งดูจะเป็นเรื่อง ที่อภิป รัชญาให้ค วามสนใจเป็น อย่ างมาก เห็ น ได้ จ ากที่ มี นั ก อภิ ป รั ช ญาสมั ย โบราณ หลายคนพยายามค้ น หาความจริ ง สู ง สุ ด เกี่ยวกับสรรพสิ่ง เนื่องจากเห็นว่าหาก สามารถรู้ถึงความจริงพื้นฐานสูงสุด ก็จะ ช่วยให้เข้าเรื่องต่างๆ ให้แจ่มแจ้งขึ้น อันจะ น�ำไปสู่การด�ำเนินชีวิตที่เป็นสุข ด้ ว ยเหตุ นี้ ใ นแวดวงอภิ ป รั ช ญา จึงมักได้ยินค�ำถามอจินไตยที่ว่า จักรวาล เกิดขึ้นได้อย่างไร พระเจ้ามีจริงหรือไม่ ถ้าพระเจ้ามีจริงอะไรเป็นผู้สร้างพระเจ้า ความคิดอะไร ท�ำไมเราต้องคิด ฯลฯ รวม ถึ ง สายปรั ช ญาการเมื อ งเองที่ บ างเรื่ อ ง
ภาพพระพุทธเจ้าเทศนา By http://www.thaigoodview.com
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 10
เคียงกับฐปนียปัญหาอยู่ไม่น้อย เมื่อเทียบกับหลักธรรมอื่นๆ ใน พระพุ ท ธศาสนาไม่ ว ่ า จะเป็ น เบญจศี ล เบญจธรรม อริยสัจ 4 อิทธิบาท 4 ฯลฯ อจินไตยดูจะเป็นหลักธรรมที่ไม่แพร่หลาย มากนัก แต่ก็ถือว่ามีอิทธิพลต่อวิธีคิดของ ชาวพุทธอยู่ไม่น้อย ทั้งนี้อจินไตยนั้นหมาย ถึง “สิ่งที่ไม่ควรคิด” ที่ไม่ควรคิดก็เพราะ เป็นเรื่องที่ไม่ช่วยให้พ้นทุกข์ คิดไปก็รังแต่ จะท�ำให้ฟุ้นซ่านและเป็นเหตุแห่งความบ้า อันน่าสนใจไม่น้อย เพราะดูจะขัดกับภาพ ของพระพุทธศาสนาที่ถูกอ้างว่าเป็นศาสนา ที่ใกล้เคียงกับวิทยาศาสตร์มากที่สุด ส� ำ หรั บ สิ่ ง ที่ ถื อ เป็ น อจิ น ไตยนั้ น พระพุทธศาสนาบัญญัติว่ามีอยู่ด้วยกัน 4 ประเภทคือ
เกิดภาวะคับแคบทางความคิด อาจท�ำให้ สูญเสียโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของ ตนก็เป็นได้ แต่ ข ณะเดี ย วกั น เราก็ ป ฏิ เ สธไม่ ได้ ว ่ า การคิ ด การถามเรื่ อ งฐปนี ย ปั ญ หา และอจินไตยในหลายๆ ครั้งไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์แต่อย่างไรจริงๆ ซ�้ำร้ายยังอาจ น� ำ ไปสู ่ ก ารทะเลาะเบาะแว้ ง เนื่ อ งจากค� ำ ตอบที่เห็นไม่ลงรอยนั้น เกิดเป็นทุกข์มาก ยิ่งขึ้นดั่งที่พระพุทธเจ้าว่าไว้ ความจ�ำเป็นของ “ฐปนียปัญหา” และ “อจินไตย” จึงยังเป็นเรื่องที่ยังเป็นที่ ถกเถียงกันต่อไป แม้แต่นักคิดในพระพุทธ ศาสนาก็ยังเห็นไม่ลงรอยกัน โดยฝั่ง มหายานนั้นเห็นต่างจากเถรวาทตรงที่เชื่อ ว่า การที่เราไม่ควรคิดไม่ควรถามเรื่องบาง เรื่องนั่น ไม่ใช่เพราะเรื่องนั้นไม่มีประโยชน์ แต่ เ ป็ น เพราะค� ำ ตอบหรื อ ความจริ ง ของ ค� ำ ถามนั้ น ลึ ก ซึ้ ง เกิ น กว่ า ความเข้ า ใจของ มนุษย์ ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเซน ที่ว่า ความรู้จริงอยู่เหนือการสื่อสารด้วย ถ้อยค�ำ ด้วยเหตุนี้การที่เราจะยังเชื่อใน หลักธรรมข้อนี้หรือเปล่า เป็นเรื่องที่เรา ต้องต้องตัดสินใจด้วยตัวเอง ต้องไม่ลืมว่า ในพระพุ ท ธศาสนายั ง มี ห ลั ก ธรรมอี ก ข้ อ หนึ่งที่เรียกว่า “กาลามสูตร” ซึ่งสอนว่า อย่าเชื่ออะไร จนกว่าจะได้คิดไตร่ตรองด้วย ตัวเองอย่างดีแล้ว การจะเชื่อใน “ฐปนีย ปัญหา” และ “อจินไตย” หรือไม่จึงไม่ใช่สิ่ง ที่ผิด ส�ำคัญที่ว่าเราได้เริ่มไตร่ตรองเรื่องนี้ หรือยัง
วารสารเม็ดเลือดแดง
ก็ อ าจพิ จ ารณาได้ ว ่ า เป็ น อจิ น ไตยได้ ด ้ ว ย เช่น โลกของแบบและรัฐอุดมคติของเพล โต แนวคิดเกี่ยวกับความสุข-ความยุติธรรม ของแอริสโตเติ้ล ลักษณะมนุษย์ในสภาพ ธรรมชาติของสายสัญญาประชาคม ฯลฯ ทั้งนี้เพราะเป็นการคิดในเรื่องธรรมชาติพื้น ฐานของสรรพสิ่ง ซึ่งเป็นเรื่องที่คิดเท่าไหร่ ก็ไม่ออก สามารถถกเถียงกันได้อย่างไม่รู้ จักจบสิ้น พระพุทธศาสนาจึงไม่ให้คิดเกี่ยว กับเรื่องเหล่านี้ อาจกล่ า วได้ ว ่ า ส� ำ หรั บ พระพุ ท ธ ศาสนาแล้ว การรู้ว่าความจริงคืออะไรอาจ ไม่ ส� ำ คั ญ เท่ า ประโยชน์ ข องความจริ ง นั้ น ความจริงบางเรื่องถ้าคิด ถ้าค้นแล้วไม่ก่อ ให้เกิดประโยชน์ใด โดยเฉพาะประโยชน์ใน ทางดับทุกข์ ก็ไม่ต้องไปเสียเวลาคิด หรือ ความจริงบางเรื่องหากรู้หากพูดแล้วมีแต่ จะเป็นทุกข์ ก็ไม่ต้องพูด แม้ว่าวิธีคิดของ พระพุ ท ธศาสนาจะเน้ น ความส� ำ คั ญ ของ เหตุ-ผล แต่ก็เป็นเพียงท�ำให้เห็นทุกอย่าง ย่อมมีเหตุของการเกิด แต่ไม่ได้สนใจถึง ขนาดค้นหาว่าอะไรคือสาเหตุเริ่มแรกสุด เพราะเห็นว่าไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ อีกทั้ง เกินวิสัยที่จะรู้ได้ หากคิดไปก็รังแต่จะเป็น ทุกข์เสียเปล่าๆ ค�ำถามก็คือการคงอยู่ของ “ฐปนียปัญหา” และ “อจินไตย” นั้นมีความ เหมาะสมเพียงใด เรื่องบางเรื่องนั้นไม่ควร ถาม ไม่ควรคิดจริงหรือ ส�ำหรับคนที่ไม่ เชื่อในเรื่องนี้แล้ว ค�ำถามบางค�ำถามแม้คิด แล้วไม่ช่วยให้อิ่มท้อง ไม่ช่วยให้พ้นทุกข์ แต่ อย่างน้อยการรู้เพิ่มขึ้นก็ดีกว่าการไม่รู้ไม่ใช่ หรือ การไปก�ำหนดกะเกณฑ์ว่าเรื่องใดคิด ได้ เรื่องใดคิดไม่ ก็เท่ากับเป็นการจ�ำกัด สิทธิเสรีภาพ และสุดท้ายแล้วก็จะส่งผลให้
11
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
ความคิดสร้างสรรค์...สรรสร้างความคิด:
12
ส
ประดิษฐกรรมของสังคมการเมือง
ำหรับฉบับนี้อยากจะน�ำเสนออะไรที่ คิดว่าใหม่และไม่เคยเขียนบทความ ในแนวนี้มาก่อนเลย ฉบับนี้อยากจะ บอกเล่าอะไรใหม่ๆ ที่อยากให้ทุก คนรู้กันให้ถ้วนทั่วและอยากให้ทุกคนได้สัมผัส กับเรื่องราวที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเมืองมากนัก ด้วยความคิดส่วนตัวว่าการเมืองคงไม่ใช่แค่เรื่อง ราวที่อยู่ในหน้าหนังสือพิมพ์ข่าวการเมือง หน้า เว็บประชาไท หรือการที่ต้องไปปฏิบัติการไฮด์ ปาร์คเท่านั้น อยากให้มองว่าเรื่องราวหลายๆ เรื่องอาจจะดูไม่ได้เกี่ยวอะไรกับการเมืองเลย... แต่ก็เกี่ยวเหมือนกัน ก็เลยอยากจะลองน�ำเสนอ ดู ความคิดสร้างสรรค์ หรือ Creativity ความคิดสร้างสรรค์ส�ำหรับเมื่อก่อนอาจจะไม่ใช่ เรื่องของการเมืองมาก หรือมันอาจจะไม่ใช่ เพียงเพราะเราไม่คิดว่ามันจะเป็นการเมือง แต่ ในปัจจุบันนี้ความสร้างสรรค์ก�ำลังเติบโตและ ขยายเข้าไปสู่ในวิธีคิดของสังคม แต่ความคิด สร้ า งสรรค์ นั้ น ไม่ ไ ด้ ถู ก สร้ า งมาให้ กั บ คนทุ ก คน แต่คนบางคนเท่านั้นที่จะได้รับมัน และ ออกแบบมันให้เข้ากับชีวิตของเรา ถ้าเรากลับมา มองชีวิตรอบๆ ตัวเราแล้วจะเห็นว่าทุกสิ่งอย่าง เกิดจากการสร้างสรรค์และสรรสร้างขึ้นทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นรถไฟฟ้า ป้ายโฆษณา หรือแม้แต่ ระบบการเมืองเองก็ตาม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ นี้ ก� ำ ลั ง พู ด ถึ ง แบบอักษรหรือฟอนต์ (Font) ที่ก�ำลังพิมพ์อยู่นี้ ฟอนต์นี้เป็นแบบอักษร “TH SarabunPSK” ที่
By SHINTARO YAMAKURA กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ก�ำลังรณรงค์๑ ให้ใช้ และมีมติคณะรัฐมนตรีให้ หน่วยงานราชการใช้กันอย่างทั่วหน้า ฟอนต์ นี้ อ อกแบบโดยสถาบั น พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (SIPA) โดย มีการออกหนังสือเวียนสั่งให้ส่วนราชการติดตั้ง ฟอนต์นี้เข้าไปแทนที่ฟอนต์เดิม อันที่จริงแล้วมี ฟอนต์ตามมตินี้ ๑๓ ฟอนต์ ซึ่งอาจจะกล่าวได้ ว่าเป็นการเด็ดฟอนต์เก่าๆ อย่าง Cordia และ Angsana กันไปเลยทีเดียว โดยมตินี้มีเหตุผลที่ ส�ำคัญคือเพื่อป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทาง ปัญญาและเพื่อเป็นความภูมิใจของชาติ ถ้ามองจากกรณีนี้ความคิดสร้างสรรค์ ก� ำ ลั ง จะกลายเป็ น เครื่ อ งมื อ ทางการเมื อ ง เพื่อวัตถุประสงค์บางประการ โดยที่ความคิด สร้างสรรค์จะเป็นกลไกที่ส�ำคัญในการจัดการ กับแบบแผนบางอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเป็น แน่แท้ ก่อนอื่นต้องท�ำความเข้าใจว่าการจัด ระบบงานสารบรรณของระบบราชการนั้นเป็น ระบบรวมศูนย์ ต้องมีการสั่งการและบังคับใช้ รูปแบบที่เหมือนกัน การที่หน่วยงานราชการ ต่างๆ ได้ใช้ระบบปฏิบัติการที่ต่างกันตามก�ำลัง งบประมาณ และในแต่ละหน่วยงานก็ไม่ได้มีรูป แบบที่เหมือนกันไปทั้งหมด แม้ว่าจะมีระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณก็ตาม ที ซึ่งสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นจากการที่ระบบราชการ ฐานกรมอาจจะท�ำให้การจัดการเอกสารเป็นไป ตามความต้องการของกรม โดยอ้างอิงระเบียบ
ภาพ Front By http://www.joeuser.com
วารสารเม็ดเลือดแดง
เพียงส่วนหนึ่ง อาจจะเป็นไปได้ว่ามีระบบงาน เอกสารถึง ๑๖๐ แบบ ความคิดสร้างสรรค์จึง บังเกิดเพื่อแก้ปัญหานี้ และให้ระบบงานเอกสาร นั้นรวมศูนย์มากขึ้นก็เป็นได้ ประเด็ น ที่ ค ณะรั ฐ มนตรี ใ ห้ เ หตุ ผ ล กั บ การโละฟอนต์ ที่ ม าจากระบบปฏิ บั ติ ก าร แล้วให้ใช้ฟอนต์นี้แทนนั้น ด้วยเหตุผลของการ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญานั้น ท�ำให้เรามอง เห็นประเด็นของคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ ทรัพย์สินทางปัญญาหรือ Intellectual Property เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นอีกเช่น กัน และปัจจุบันก็เป็นเครื่องมือในการเดิน เกมทางการค้าและการเมืองระหว่างประเทศ ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นประเทศที่เสียดุลด้าน นี้มากที่สุด เพราะไม่ค่อยจะคิดอะไรขึ้นเอง ถึง จะคิดเองก็ต้องอาศัยเครื่องมือและวิธีคิดที่คน อื่นคิดมาก่อน อาศัยความคิดสร้างสรรค์ของคน อื่นมาท�ำงานให้เรา อย่างเช่นกรณีที่เราไม่มีสูตร ยาเป็นของเราเอง ก็เพราะว่าเราไม่เคยคิดจะ ท�ำมันขึ้นมา พอมีคนคิดก็ไปขอสูตรมาท�ำเป็น ยาสามัญบ้าง ซื้อลิขสิทธิ์มาบ้าง พอท�ำ CL ยา โรคเอดส์เพื่อคนไทยก็ถูกตัดสิทธิ์ทางการค้า ถูก ประณามในเวทีโลก การที่รัฐได้หันมามองเรื่อง เล็กๆ อย่างฟอนต์ก่อนก็น่าจะเป็นการเริ่มต้นที่ ดีไม่น้อย อี ก เหตุ ผ ลหนึ่ ง ก็ คื อ การสร้ า งความ
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ต้องยอมรับว่า แนวคิดของรัฐไทยยุคใหม่มักจะเน้นนโยบายไป ในทางการสร้างความเป็นชาตินิยมในหลายๆ ครั้ ง รั ฐ ไทยก็ จ ะพยายามให้ ก ระแสวั ฒ นธรรม ไทยแบบกรมส่งเสริมวัฒนธรรม๒ เป็นกระ แสหลัก และจะไม่ยอมรับวัฒนธรรมอื่นที่ผิด แปลกจากเดิม ซึ่งเป็นปัญหาของการตีความ เชิงชาตินิยมที่ยังคงมีผลมาถึงปัจจุบัน ซึ่งผล นี้อาจจะเรียกได้ว่าเป็น Soft Nationalism เพราะก็ไม่ได้ส่งผลอย่างเคร่งครัดไปทั้งสังคม แต่เมื่อเราพู ด ถึ ง การใช้ วั ฒ นธรรมของรั ฐก็ จ ะ เห็ น พฤติ ก รรมของรั ฐ ที่ ใช้ วั ฒ นธรรมแสวงหา ประโยชน์ แ ละควบคุ ม คนในสั ง คมในเวลา เดียวกัน สิ่งที่เห็นได้ชัดคือการที่รัฐบาลมี นโยบายในการสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ซึ่งเป็นการพัฒนา เศรษฐกิจด้วยศิลปะและนวัตกรรมที่สร้างสรรค์ ซึ่งมีหลายหน่วยงานดูแลเรื่องนี้ เช่น ส�ำนักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู๓้ หรือแม้แต่ กระทรวงวัฒนธรรมเอง แต่นโยบายหลายๆ อัน ไม่ได้เปิดโอกาสให้ได้คิดเลย อย่างการให้งบ ประมาณสนับสนุนการสร้างภาพยนตร์ ที่สุด ท้ายก็ให้งบประมาณกับภาพยนตร์ที่เป็นกรอบ วิธีคิดของรัฐ ปัญหาส�ำคัญของความคิดสร้างสรรค์ ของคนไทยโดยรวมเกิดจากแนวคิดของคนเก่า คนแก่และสั่งสอนกันมา ซึ่งสิ่งส�ำคัญที่ได้ส่ง มอบความคิดเหล่านี้คือระบบอาวุโส การเคารพ นบนอบผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่ต้องท�ำ แต่ระบบอาวุโส ก็ ไ ม่ ส ่ ง ผลกระทบเท่ า กั บ ระบบการเมื อ งของ ไทยตั้งแต่โบราณกาล ระบบศักดินาเอย ระบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีความเข้มแข็ง ซึ่งถ้า เทียบประวัติศาสตร์คู่ขนานจะพบว่าฝั่งยุโรปเริ่ม คิดสร้างสรรค์หรือ Enlightenment ตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา และเราก็อยู่ในต�ำแหน่งผู้รับมา
13
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 14
โดยตลอด และปัจจุบันก็ยังเป็นผู้รับอยู่เพราะ การรับง่ายกว่าการสร้าง แม้ว่าในปัจจุบันจะ มีคนจ�ำนวนไม่น้อยที่พยายามคิดให้หลุดจาก กรอบเดิม แต่มักจะอยู่ในวงจ�ำกัด เช่น วงการ สถาปนิก ออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ท�ำกันเป็นอาชีพ เท่านั้น แล้วเมื่อไหร่ “คนไทย” จะให้ก�ำเนิด สิ่งใหม่ๆ ได้สักที...??? (Endnotes) ๑ http://www.posttoday.com/ข่าว/ การเมือง/48549/สั่งราชการโละฟอนต์ ต่างชาติบังคับใช้ฟอนต์ไทยแลนด์ ๒ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (Department of Culture Promotion) ยกฐานะมา จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ ปรับโครงสร้างเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ โดยมีศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ โปษยานนท์เป็นอธิบดีคน แรก ๓ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความ รู้ (สบร.) เป็นองค์การมหาชนในก�ำกับ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ ท�ำหน้าที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาส ในการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน มีหน่วย งานที่สังกัด ๕ หน่วยงาน เช่น อุทยาน การเรียนรู้หรือ TK Park และศูนย์ สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)
ฟอนต์มาตรฐานราชการไทย ฟอนต์มาตรฐานราชการไทยที่ SIPA ก�ำหนด มีทั้งสิ้น ๑๓ ฟอนต์ ดังนี้ ๑. TH Charmonman ออกแบบ โดย คุณเอกลักษณ์ เพียรพนาเวช ๒. TH Krub ออกแบบโดย คุณเอกลักษณ์ เพียรพนาเวช ๓. TH Srisakdi ออกแบบโดย ทีมอักษราเมธี ๔. TH Niramit AS ออกแบบโดย ทีมอักษราเมธี ๕. TH Charm of AU ออกแบบโดย คุณกัลยาณมิตร นรรัตน์พุทธิ ๖. TH Sarabun PSK ออกแบบโดย คุณศุภกิจ เฉลิมลาภ ๗. TH K2D July8 ออกแบบโดย คุณกานต์ รอดสวัสดิ์ ๘. TH Mali Grade 6 ออกแบบโดย คุณสุดารัตน์ เลิศศรีทอง ๙. TH Chakra Petch ออกแบบโดย คุณธีรวัฒน์ พจน์วิบูลศิริ ๑๐. TH Bai Jamjuree CP ออกแบบโดย ทีม PITA ๑๑. TH Fah Kwang ออกแบบ โดยทีมสิบเอ็ด ๑๒. TH KoHo ออกแบบโดย กลุ่ม ก-ฮ ๑๓. TH Kodchasan ออกแบบ โดย คุณกัลย์สุดา เปี่ยมประจักษ์พงษ์ ทุกฟอนต์โหลดฟรีได้ที่ www.f0nt.com
ประชาธิปไตยผลิใบในพม่า? ลงประชามติให้กับหลายฝ่าย) และเป็นไป ตามกฎหมายการเลือกตั้งที่ลิดรอนสิทธิผู้ สมัครและพรรคการเมืองทั่วไปโดยเฉพาะ กับพรรคการเมืองที่ไม่ใช่นอมินีของรัฐบาล อาทิเช่น ค่าสมัครที่แพงเกินเหตุ การให้ พรรคการเมืองหาเสียงได้เพียงสองอาทิตย์ ก่อนการเลือกตั้ง มาตรการการกีดกัน พรรคฝ่ายค้านหรือพรรค NLD ของนาง อองซาน ซูจี ซึ่งเป็นผลให้พรรค NLD คว�่ำ บาตรการเลือกตั้งและถูกยุบพรรคไป อีก ทั้งในกฎหมายการเลือกตั้งและรัฐธรรมนูญ ยังมีการให้สิทธิทหารไว้อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องที่นั่งในรัฐสภาที่กันไว้ให้ทหารถึง ร้อยละ 25 การให้อ�ำนาจประธานาธิบดี มากกว่าสภา ต�ำแหน่งส�ำคัญในกระทรวง กลาโหม การต่างประเทศ การคลังและ มหาดไทยเป็นของทหารเท่านั้น นอกจากนี้ ก ารเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไป ยังเป็นแผนขั้นที่ 5 ในแผนการสู่ ประชาธิปไตยในพม่า หรือที่มีชื่ออย่างเป็น ทางการว่า “แผนการเพื่อการขัดเกลา ประชาธิปไตยอันเฟื่องฟู” ซึ่งมีทั้งหมด 7 ขั้นตอน โดยขั้นต่อไปเป็นการจัดสมัย ประชุ ม สภาซึ่ ง คาดว่ า จะมี ขึ้ น ประมาณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ทั้งนี้หากลอง วิเคราะห์การเมืองพม่าจะพบว่า การเลือก ตั้งเพื่อการน�ำพาประเทศไปสู่ประชาธิปไตย ในครั้งนี้เป็นเพียงกลลวงทางกลางเมืองที่ รัฐบาลทหารพยายามสร้างภาพลักษณ์และ
วารสารเม็ดเลือดแดง
ผ
ลิออกมาแล้วกับผลการเลือกตั้ง ครั้ ง ส� ำ คั ญ ในรอบสองทศวรรษ ของพม่า ประเทศที่ประชาชนอยู่ ภายใต้การควบคุมโดยทหารมา อย่างยาวนาน และรัฐบาลต้องการเปลี่ยน ถ่ายจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเพื่อลดแรงเสียด ทานจากสังคมโลก ซึ่งผลการเลือกตั้งทั่วไป ในครั้งนี้ก็เป็นไปอย่างที่ประชาคมโลกคาด การณ์ไว้ การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกในรอบ 20 ปีหลังจากที่มีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด ไปเมื่อปี พ.ศ.2533 นี้ ถูกจัดให้มีขึ้นเมื่อ วันที่ 7 พฤศจิกายน ที่ผ่านมาโดยรัฐบาล ทหารที่ปกครองพม่ามาตั้งแต่ปี พ.ศ.2505 ซึ่งสร้างความกังขาในเรื่องความไม่โปร่งใส ให้กับสายตาโลกที่จับจ้องเป็นอย่างยิ่ง มี การปิดกั้นสื่อต่างประเทศและสื่อภายในที่ ไม่ใช่สื่อของรัฐบาล มีการคุมเข้มเรื่องคน เข้าออกประเทศโดยเฉพาะบริเวณชายแดน รวมถึงมีการสั่งให้ประชาชนปิดปากหรืองด การพูดถึงเรื่องการเลือกตั้งกับบุคคลต่าง ถิ่น/ต่างประเทศอีกด้วย ทั้งนี้ การเลือกตั้งทั่วไปถูกจัดให้มี ขึ้นตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ของพม่า (ซึ่งใช้เวลาร่างอย่างยาวนานและ ประชาชนไม่มีการรับรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ แม้จะมีการลงประชามติเมื่อปี พ.ศ. 2551 แต่ ก็ส ร้ า งความเคลื อ บแคลงใจในผลการ
By Khwanchai
15
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 16
ความชอบธรรมในการปกครองประเทศ ให้กับตนเอง ตามกระแสโลกาภิวัตน์และ โลกทุ น นิ ย มที่ นั บ วั น ก็ ยิ่งเข้ามาแทรกแซง และมีบทบาทต่อการเมืองพม่าเพิ่มมากขึ้น จนท�ำให้ได้รับการกดดันจากต่างประเทศ อย่างหนักทั้งด้านการทูต การค้าและการ ช่วยเหลือ ฉะนั้นการต้องการก้าวขึ้นมาปก ครองประเทศในรูปแบบประชาธิปไตยของ ทหารครั้งนี้จึงเปรียบเสมือนดั่งละครอมตะ ที่ผู้แสดงเป็นคนเดิมแต่มาเล่นในฉากใหม่ เสื้อผ้าชุดใหม่ ปรับบทนิดหน่อยให้ทัน กระแสโลกเพื่อให้คนดูคล้อยตาม อย่างไรก็ตาม ผลการเลือกตั้ง ทั่วไปอย่างเป็นทางการก็ออกมาแบบชนิด ที่เรียกว่า “ซื้อหวยถูกคู่” เหมือนที่กล่าวไว้ ตอนต้น เพราะพรรคการเมืองที่มีรัฐบาล ทหารและนายทหารยศนายพลให้ ก าร สนับสนุนก็กวาดที่นั่งในสภาทั้งสภาสูงและ สภาล่างไปอย่างชนิดที่ว่า “แทบจะไม่เหลือ
ที่นั่ง” ให้กับพรรคการเมืองอื่นเลย โดย สื่ อ ที่ เ ป็ น กระบอกเสี ย งของรั ฐ บาลทหาร ได้ ป ระกาศผลเลื อ กตั้ ง อย่ า งเป็ น ทางเมื่ อ วันที่ 11 พ.ย. 2553 ซึ่งพรรคสหภาพ เอกภาพและการพัฒนา (USDP) ที่ก่อตั้ง โดยพลเอก เตง เส่ง และเป็นพรรคที่มี ความสัมพันธ์กับพลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย สามารถครองที่นั่งในสภาทั้งหมดคิดเป็น ร้อยละ 76 (อ้างอิงตัวเลขจากเว็บไซต์ สาละวินโพส) ซึ่งก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์ วิ จ ารณ์ อ ย่ า งหนั ก กั บ ผลการเลื อ กตั้ ง ว่ า ไม่ชอบธรรม ไม่โปร่งใส ทางการมีการ ซื้อเสียง ใช้ผลประโยชน์หลอกล่อ บังคับ ประชาชนลงคะแนนเสียงให้กับพรรคของ รัฐบาล รวมถึงมีการบังคับให้ประชาชน เลือกตั้งล่วงหน้าเพื่อเก็บคะแนนเสียงไว้ให้ พรรคของตนอีกด้วย แต่เหนือสิ่งอื่นใดก็ตาม สิ่งที่ น่ายินดีกว่าผลการเลือกตั้ง ก็คือ การได้ อิสรภาพคืนมาของนาง อองซาน ซูจี ซึ่งได้ รับการปล่อยตัวอย่างไม่มีเงื่อนไขในสภาพ บริบททางการเมืองที่เปลี่ยนฉากไปเมื่อวัน ที่ 13 พ.ย. ที่ผ่านมา และมีการปราศรัย กับประชาชนที่ให้การสนับสนุนที่หน้าบ้าน และที่ท�ำการพรรคของเธอ โดยมีใจความ ขอให้ชาวพม่ารวมใจกันเป็นหนึ่ง และเธอ
ภาพออง ซาน ซูจี By http://www.oknation.net ภาพธงชาติใหม่พม่า By http://www.matichon.co.th
ธงชาติแบบใหม่ของประเทศพม่า
กพ.ปรับขึ้นเงินเดือน ขรก. บรรจุใหม่ สำ�นั ก งานข้ า ราชการพลเรื อ น (กพ.๗ ได้จัดทำ�บัญชีเงินเดือนแรกบรรจุ ของข้าราชการพลเรือนสามัญใหม่ ดังนี้ จบปริญญาตรีได้รับ 8,700 บาท ต่อเดือน จากเดิม 7,940 บาทต่อเดือน จบปริญญาโทได้รับ 11,000 12,000 บาทต่อเดือน จากเดิม 9,000 บาทต่อเดือน จบปริญญาเอกได้รับ 16,000 บาทต่อเดือน จากเดิม 13,000 บาทต่อ เดือน นอกจากนี้ข้าราชการบรรจุใหม่มี สิทธิได้รับอัตราเงินเดือนที่สูงขึ้น หากมีคุณ สมบัติพิเศษ เช่น - มีคะแนนสอบเข้ารับราชการ เป็นลำ�ดับต้นๆ - มีความสามารถด้านภาษา อังกฤษ (อาจพิจารณาจากคะแนนสอบ TOFEL) - สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญา ตรีมากกว่า 1 ใบ - มีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ต่อหน่วยงานราชการนั้นๆ - ฯลฯ ทั้ ง นี้ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ที่ แ ต่ ล ะ หน่วยงานกำ�หนด อัตราเงินเดือนนี้จะเริ่มใช้ในเดือน ตุลาคม 2553 ส่วนคุณสมบัติพิเศษเริ่ม ใช้เดือนเมษายน 2554 ทั้งนี้อัตรานี้ยังไม่ รวมค่าครองชีพและเงินประจำ�ตำ�แหน่ง
วารสารเม็ดเลือดแดง
ยิ น ดี รั บ และจะช่ ว ยผลั ก ดั น กระบวนการ ปรองดองแห่งชาติ อีกทั้งยังเผยออกมาว่า ต้องการพูดคุยกับพลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย เพื่อช่วยให้ประเทศสหภาพพม่าพัฒนาต่อ ไป นอกจากนี้ นางอองซาน ซูจี ยังมี ได้โอกาสได้พบกับนายคิม อริส บุตรชายคน เล็กที่ได้รับอนุญาตจากทางการให้ถือวีซ่า เข้าประเทศได้เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน หลั ง จากที่ ไ ม่ ไ ด้ พ บกั น เป็ น เวลานานกว่ า 10 ปี อีทั้งยังมีโอกาสได้พูดคุยกับนายบัน คีมุน เลขาธิการสหประชาชาติ รวมทั้งมิ เชล โหย่ว ดาราฮอลีวูด ที่เดินทางมาพบ เพื่อศึกษาบุคลิกในการรับบทเป็นอองซาน ซูจี ในภาพยนต์เรื่องใหม่ การปล่อยตัวนางอองซาน ซูจี ใน ครั้งนี้ ดูผิวเผินเหมือนกับทางรัฐบาลทหาร มีการผ่อนข้อให้กับฝ่ายประชาธิปไตยและ เธอก็ออกมาสู่ประชาธิปไตยนอกรัฐสภาใน บทบาทที่ปรับกลยุทธ์ให้เหมาะสมเฉกเช่น กัน จังหวะการก้าวเดินไปสู่ประชาธิปไตย ตามแบบฉบับของนางอองซาน ซูจี และ ของรั ฐ บาลชุ ด ใหม่ แ ต่ ห น้ า เก่ า ในรอบนี้ เป็นสิ่งที่สายตาโลกต่างเฝ้ามอง อย่างไรก็ตาม แม้การเลือก ตั้ ง ทั่ ว ไปครั้ ง นี้ จ ะไม่ เ ป็ น การก้ า วไปสู ่ ประชาธิปไตยแบบที่สายตาโลกหวังไว้ แต่ ก็ เ ป็ น ก้ า วส� ำ คั ญ ที่ อ าจเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ให้ ชาวพม่ า รู ้ จั ก ประชาธิ ป ไตยบ้ า งก็ เ ป็ น ได้ การเมืองพม่าเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและยากจะ เข้าใจในท่าทีของผู้น�ำทหาร แต่ก็หวังที่จะ เห็นประชาธิปไตยที่ผลิออกอย่างเต็มใบใน เร็ววัน
17
ปฏิรูปการศึกษา:
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
มุมมองกระบวนทัศน์และบริบทในสังคมไทย (๑)
18
By รศ.ดร.อรศรี งามวิทยาพงค์ สำ�นักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แหล่งที่มา: อรศรี งามวิทยาพงศ์. ปฏิรูปการศึกษา: มุมมองกระบวนทัศน์และ บริบทในสังคมไทย. [ออนไลน์]. http://www.midnightuniv.org/midculture44/ newpage4.html. วันที่สืบค้น ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
ก
ระบวนทั ศ น์ แ ละวิ ธี คิ ด แบบแยก ส่วน ลดส่วน ได้ท�ำให้ “การ ศึกษาเรียนรู้” ใน หลายทศวรรษ ที่ผ่านมา กลายเป็นเรื่องของนัก วิชาการด้านศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ หรือ เป็นเรื่องของโรงเรียน ครูอาจารย์ กระทรวง ศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัยฯ มาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน (เหมือนกับที่เรื่องสุขภาพ เป็นเรื่องของแพทย์และโรงพยาบาล) การ จัดการศึกษาภายใต้กระบวนทัศน์และวิธีคิด แบบดังกล่าวของรัฐ ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ และตกเป็นจ�ำเลยจากวิกฤตการณ์ทางสังคม มากมาย อันสะท้อนถึงความล้มเหลวของ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์ (ปัญหา ศีลธรรมเสื่อมถอย ยาเสพติด การขาด จิตส�ำนึกทางสังคม ฯลฯ) ซึ่งสังคมร่วมกัน สรุปว่า เกิดจากความล้มเหลวของระบบการ ศึกษาในกระบวนทัศน์แบบแยกส่วน น�ำมา สู่การปฏิรูปการศึกษาที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ ในปัจจุบัน ด้วยเป้าหมายเพื่อสร้างการเรียน รู้แบบองค์รวม ที่จะท�ำให้”ผู้เรียนเก่ง-ดี-มี ความสุข”
ค�ำถามที่ผู้เขียนสนใจในการปฏิรูป การศึกษาที่ด�ำเนินการในปัจจุบัน คือ ๑. การปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบัน ด� ำ เนิ น การภายใต้ ก ระบวนทั ศ น์ แ บบ บูรณาการ (องค์รวม) ตามที่ตั้งจุดประสงค์ ไว้จริงหรือไม่ อย่างไร ๒. ในบริบทของสังคมไทยปัจจุบัน หากจะปฏิรูปการศึกษาเพื่อไปสู่การเรียนรู้ อย่างบูรณาการจริงจะต้องปรับเปลี่ยนปัจจัย หรือเงื่อนไขอะไรอีกหรือไม่ อย่างไร ๑.กระบวนทัศน์การศึกษาไทย หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้น สุดลง ประเทศสหรัฐอเมริกาได้เป็นผู้น�ำ ทางแนวคิ ด ที่ ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นามนุ ษ ย์ และสังคมทุกด้าน เป็นต้นแบบของการ พัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา ฯลฯ วัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแบบอเมริกัน ได้ เ ป็ น ต้ น แบบของสั ง คมที่ พึ ง ปรารถนา ส�ำหรับประเทศอดีตอาณานิคมและประเทศ เกิดใหม่หลังสงครามโลก แนวคิดการ พั ฒ นาของโลกตะวั น ตกที่ มี ส หรั ฐ เป็ น ผู ้ น� ำ
Student By http://learners.in.th
อาชีพ หรืออื่น ๆ ที่ สอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐ อาทิ นโยบายขยายการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงแห่ง รัฐ การเข้าสู่ โลกาภิวัตน์ ฯลฯ ผู้เรียนขาดโอกาสเรียนรู้ใน ส่วนที่ถูกก�ำหนดว่า”มิใช่ความรู้” หรือมิ ใช่ สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตในสังคมทันสมัย เช่น การเรียนรู้ทางจิตวิญญาณ อุดมคติ ฯลฯ กระบวนทัศน์ดังกล่าวได้ถูกวิพากษ์ วิจารณ์อย่างหนัก ด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ ซึ่งเสนอว่า การศึกษาเรียนรู้เป็นเรื่องทาง วัฒนธรรม คือเป็นเรื่องของวิถีชีวิต มิใช่เป็น เพียงเรื่องเฉพาะกิจ เฉพาะกาล เฉพาะใคร (ตนเอง ตลาดงาน รัฐ ฯลฯ) การศึกษาเป็น เครื่องมือส�ำคัญที่จะสร้างการเรียนรู้โดยมี เป้าหมายเพื่อบูรณาการมนุษย์เข้าถึงสภาวะ ธรรมหรือสภาพอันเป็นธรรมดาของโลก คือ ช่วยให้มนุษย์ตระหนักรู้ถึงความสัมพันธ์ของ สรรพสิ่งในโลก เห็นถึง ความสั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ ม โยงภายในระบบ ชี วิ ต ต น เ อ ง (กาย จิต ปัญญา) และ ความสั ม พั น ธ์ ของระบบชี วิ ต ต น เ อ ง กั บ ระบบภายนอก (สังคม นิเวศ/ ธ ร ร ม ช า ติ ) ก ร ะ ทั่ ง ม อ ง เ ห็ น ค ว า ม เ ป ็ น อั น ห นึ่ ง อั น
วารสารเม็ดเลือดแดง
นั้น อยู่ภายใต้กระบวนทัศน์หรือฐานคิดของ วิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ/วัตถุ ที่มองโลก แบบแยกส่วน ลดส่วน (reductionist) และ แบบกลไก (mechanistic) ที่ให้ความส�ำคัญ และยอมรับ”ความรู้”เฉพาะกับสิ่งที่ชั่ง ตวง วัด ค�ำนวณได้ และทดลองได้ด้วยหลักการ และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เท่านั้น ความรู้อื่นๆ ที่ชั่ง ตวง วัด ค�ำนวณไม่ได้อย่างชัดเจนแม่นย�ำ หรือพิสูจน์ ให้ประจักษ์ (Empirical) หรือเห็นแบบชัดเจน (Positivism) ไม่ได้ เช่น ความเชื่อทางด้าน ศาสนา จิตวิญญาณ ความรู้สึกด้านจิตใจ อารมณ์ เป็นสิ่งที่ไม่น่าเชื่อถือ หากจะนับให้ เป็นความรู้ จะต้องแสวงหาวิธีการชั่ง ตวง วัด ค�ำนวณค่าออกมาจึงจะเชื่อถือได้ ดัง นั้น ความรู้ดั้งเดิม ที่เป็นภูมิปัญญาของท้อง ถิ่นซึ่งอธิบายด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ใน แบบที่ก�ำหนดไม่ได้ แม้จะใช้ประโยชน์ได้จริง ในชีวิตประจ�ำวันของชาวบ้านก็ไม่ได้รับการ ยอมรับว่าเป็น “ความรู้” ในขณะที่ ค วามรู ้ ใ นกระบวนทั ศ น์ นี้ จะถูกแบ่งส่วนชัดเจน ให้ความส�ำคัญกับ การ พัฒนาความช�ำนาญหรือผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะเรื่อง (Expert, Specialist) เช่น เศรษฐศาสตร์ (จุลภาค มหภาค การเกษตร การคลัง ฯลฯ) วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา ฟิสิกส์ เคมี ฯลฯ) กฎหมาย (มหาชน ระหว่างประเทศ ฯลฯ) แพทย์ศาสตร์ ( หัวใจ ทางเดินอาหาร กระดูก ผิวหนัง ฯลฯ) ท�ำ ให้การจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ไปสู่ความรู้ใน แนวคิดดังกล่าวมีลักษณะแยกส่วน ลงลึกแต่ ขาด ความเชื่อมโยงกับสภาวะจริงของโลก ที่เป็นองค์รวม เช่น มุ่งการเรียนรู้ไปที่การ
19
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 20
เดียวกัน(องค์รวมหรือบูรณาการ) แล้ว ด�ำเนินชีวิตในด้านต่างๆ ไปอย่างสอดคล้อง เหมาะสม เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ผู้อื่น โลก ทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต โดยนัยนี้ การศึกษาเรียนรู้ ในกระบวนทัศน์ใหม่ จึงเป็นเรื่องของ กระบวนการที่ เกี่ยวข้องกับเหตุปัจจัย มากมายในวิถีชีวิตของบุคคล สังคม และ ระบบนิเวศ การปฏิรูปการศึกษาในกระบวน ทัศน์แบบองค์รวมอย่างแท้จริง จะต้องมิใช่ เรื่องของความเก่ง -ดี -มีสุข ที่จ�ำกัดอยู่ที่ ระดับของปัจเจกบุคคล แม้ว่าความเก่งดีมีสุข จะหมายถึงการพัฒนาบุคคลอย่างบริบูรณ์ ทุกด้านเป็นองค์รวม มิได้ละเลยการพัฒนา ส่วนใดส่วนหนึ่งของมนุษย์ไปดังเช่นที่ผ่านมา (เก่ง ไม่ดี มีทุกข์) แต่องค์รวมในระบบชีวิต ของปัจเจกบุคคล ก็เป็นเพียงระบบย่อยที่ สัมพันธ์เชื่อมโยงอยู่กับระบบใหญ่อีกมากมาย หลายระบบ (ครอบครัว ชุมชน สังคม ระบบ การเมือง เศรษฐกิจ ระบบนิเวศ ฯลฯ) เป็น ทั้งผู้สร้าง พัฒนา ระบบอื่นให้เปลี่ยนแปลง ในทางกลับกันก็ถูกระบบอื่นส่งผลกระทบให้ เปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกลับไปกลับมา ความเก่ง -ดี -มีสุข ของบุคคล จึงมิได้เกิดจากเหตุปัจจัยเฉพาะบุคคลล้วนๆ หากเกิ ด ขึ้ น จากความสั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ มโยงกั บ การเปลี่ ย นแปลงของระบบที่ ใ หญ่ ก ว่ า ด้ ว ย ดังนั้น บริบททางสังคมและธรรมชาติจึง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การเรี ย นรู ้ ข องบุ ค คลโดยตรง ความเก่ง-ดี-มีสุข จึงไม่อาจเกิดขึ้นโดดๆจาก การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ (ที่แม้จะ ยึดผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ให้พ่อแม่และชุมชนมี ส่วนร่วม ฯลฯ) หรือบริหารการศึกษาแบบ
ใหม่ (แบ่งส่วนงานใหม่ เขตการศึกษาใหม่ ตั้งกระทรวงใหม่ กระจายอ�ำนาจ ฯลฯ) หาก จะต้ อ งเชื่ อ มโยงไปสู ่ บ ริ บ ทหรื อ ระบบของ ปัจจัยอื่นให้สอดคล้องกลมกลืน มีสมดุล ไป ด้วยกันทุกระบบ ทุกระดับ โดยเฉพาะการ เชื่อมโยงการเรียนรู้เพื่อให้มนุษย์เข้าถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง”โลกมนุษย์”และ”โลกธรรม ชาติ”ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาจึง เป็นการเปลี่ยนโลกทัศน์ วิธีคิด ในการมอง ชีวิต-สังคม (โลกมนุษย์) และโลกธรรมชาติ (ธรรม) ด้วยความสัมพันธ์ชุดใหม่ ที่น�ำไปสู่ กระบวนการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต-วัฒนธรรม ที่แตกต่างไปจากวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่เป็น วิกฤตการณ์ในปัจจุบันด้วยเป็นส�ำคัญ ด้วย กรอบความคิดดังกล่าว ผู้เขียนจึงไม่แน่ใจ เท่าใดนัก ว่าการปฏิรูปการศึกษาที่รัฐจัดการ อยู่ในปัจจุบัน จะเป็นการเปลี่ยนย้ายกระบวน ทัศน์จากแยกส่วนมาสู่องค์รวม ในความ หมายขององค์รวมที่เชื่อมโยงองค์ประกอบ ทุกระบบ ทุกระดับเป็นหนึ่งเดียวกัน ๒.ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ในบริบทของ สังคมไทยปัจจุบัน การเรียนรู้เกิดขึ้นในวิถีชีวิตตลอด เวลา ตราบเท่าที่เรายังปฏิสัมพันธ์กับสิ่ง อื่นรอบ ตัว ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้ อ มหรื อ บริ บ ทในทางการเมื อ ง การปกครอง การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ในด้านต่างๆ จึงมีผลกระทบต่อคุณภาพ การเรียนรู้ของคนในสังคมด้วยโดยตรง (แต่ มิได้เห็นผลกันแบบชัดเจน) การปฏิรูปการ ศึกษาในกระบวนทัศน์แบบองค์รวม จึงต้อง
บทบาทแบบหลวมๆ และมุ่งที่การ ปกครอง เนื่องจากยังไม่มีการรวม ศู น ย์ น โยบายการจั ด การด้ า นอื่ น อย่างชัดเจน ดังนั้น สาธารณกิจใน ระดับชุมชนยังด�ำเนินการโดยความ ร่วมมือของชุมชนเอง ในลักษณะพึ่ง ตนเองในระดับหนึ่ง มากน้อยขึ้น กั บ พื้ น ที่ ใ กล้ ห รื อ ไกลศู น ย์ ก ลางการ ปกครอง อายุของชุมชนฯลฯ การพึ่ง กันเองในสาธารณกิจดังกล่าว เป็น โอกาสอั น ส� ำ คั ญ ซึ่ ง ท� ำ ให้ บุ ค คลและ สั ง คมระดั บ ชุ ม ชนได้ ร ่ ว มกั น เรี ย น รู ้ ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของความเชื่ อ ม โยงระดับบุคคลและชุมชน ไม่เกิด สภาวะ ”ธุระไม่ใช่” หรือต่างคนต่าง อยู่ บทบาทหน้าที่ของข้าราชการ ที่ ข ยายขอบเขตไปอย่ า งกว้ า งขวาง และลงลึก ในฐานะของผู้เชี่ยวชาญ ในการพั ฒ นาแบบใหม่ ต ามแผน พัฒนาฯ และเข้าไปบริหารสาธารณ กิจทั้งหลายเกือบทุกด้าน ตั้งแต่การ ปกครอง การศึกษา สุขภาพอนามัย ศาสนา สาธารณูปโภค ฯลฯ ได้ ท�ำให้ประชาชนในสังคมอยู่ในฐานะ ของ ”ผู้รับ” หรืออยู่นอกโครงสร้าง การจัดการ ระบบดังกล่าว มีผลให้ ประชาชนถูกตัดขาดหรือถูกกันออก จากการเรียนรู้ใ นการจัดการชุมชน หรือสาธารณกิจด้วยตนเอง ไม่เห็น ความส�ำคัญของการรวมกลุ่มอย่างมี เป้าหมายเพื่อส่วนรวม การพั ฒ นาที่ เ กิ ด ขึ้ น มิ ไ ด้ เชื่ อ มต่ อ การเรี ย นรู ้ ข องบุ ค คลต่ อ
วารสารเม็ดเลือดแดง
ให้ความส�ำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัย ในระบบใหญ่เหล่านี้ด้วย ตัวอย่างที่ชัดเจน และใกล้ตัวมากที่สุด คือ การพัฒนาประเทศ ด้วยกระบวนทัศน์แบบแยกส่วน ที่เกิดขึ้นใหม่ ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติในรอบสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งก่อผลกระ ทบต่อการเรียนรู้ของคนไทยอย่างส�ำคัญยิ่ง จากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ การเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง การปกครอง แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ (แผนพัฒนา ฯ) ได้ รวมศูนย์ก�ำหนดการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมจากส่วนกลาง ทั้งด้าน นโยบาย การวางแผน และการ ด�ำเนินงาน โดยกลไกด�ำเนินการที่ ส�ำคัญที่สุดคือ ระบบราชการ ดัง นั้น บทบาทหน้าที่และจ�ำนวนของ ข้ า ราชการจึ ง แผ่ ข ยายออกไปอย่ า ง กว้างขวางมากที่สุดในยุคนี้ ที่ส�ำคัญ ยิ่งคือ บทบาทของข้าราชการมิได้ จ�ำกัดอยู่เพียงด้านการปกครองอีกต่อ ไป หากขยายไปสู่งานพัฒนาทุกด้าน ในทุกระดับท้องถิ่น ในฐานะกลไก ขับเคลื่อนการพัฒนา เช่น เกษตร สาธารณสุข ศึกษาธิการ ทั้งระดับ ต�ำบล -อ�ำเภอ-จังหวัด ฯลฯ โดย รั บ นโยบายและแผนปฏิ บั ติ ก ารจาก ส่วนกลาง คือ กระทรวง กรม กอง จังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน ลง มาเป็นล�ำดับ ก่ อ นเกิ ด แผนพั ฒ นาฯนั้ น ระบบราชการในระดับท้องถิ่น จะมี
21
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 22
ชุ ม ชนไปสู ่ สั ง คมในระดั บ ที่ ก ว้ า งขึ้ น (ประเทศ) มิหน�ำซ�้ำยังท�ำลายการ เรี ย นรู ้ ข องบุ ค คลและสั ง คมระดั บ ชุมชนด้วย ดังที่ปรากฏอยู่เสมอ ว่า เมื่อการพัฒนาของรัฐเข้าไปถึง ชุมชน ความร่วมมือกันในสาธารณ กิจ อันเป็นกิจกรรมส�ำคัญของ กระบวนการเรียนรู้ของบุคคลในเรื่อง สังคมได้ถูกท�ำลายไป เนื่องจากรัฐมิ ให้ความส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และไม่เข้าใจประเด็นการ เรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นในบริบทนี้ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ก่อตัวกลาย เป็ น อุ ป สรรคส� ำ คั ญ ของการปฏิ รู ป การปกครอง การเมือง การศึกษา ที่มุ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนและ การกระจายอ�ำนาจ แม้จะมีการปรับ แผนในเวลาต่อมา ให้มุ่งพัฒนาอย่าง มีส่วนร่วมมากขึ้น แต่โครงสร้าง อ�ำนาจ วิธีคิดของระบบราชการและ ข้าราชการยังไม่ก่อให้เกิดการมีส่วน ร่วมในระดับเกิดการเรียนรู้ เพราะ ขาดลักษณะหลากหลาย ไม่เชื่อมโยง และไม่มีพลวัต ผลกระทบอีกด้านหนึ่งที่เกิด ขึ้นคือ โครงสร้างการบริหาร บทบาท และอ� ำ นาจที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ของระบบ ราชการ ท�ำให้หน่วยงานราชการ และบุ ค ลากรไม่ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ แ บบ บูรณาการ ระบบราชการจึงเป็น องค์การที่ไม่เรียนรู้ (Non - Learning Organization) เนื่องจากระบบการ บริหารมีลักษณะขึ้นต่อเบื้องบนหรือ
ส่วนกลางมากกว่าประชาชน แรง จูงใจที่จะเรียนรู้ ปรับปรุงการท�ำงาน ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ พื้ น ที่ ซึ่ ง มี ความหลากหลาย จึงไม่เกิดขึ้น ระบบ ”พิมพ์เขียว” ของการพัฒนา ที่ ก�ำหนดจากส่วนกลาง มีผลให้ภารกิจ มีลักษณะไม่หลากหลายไม่เชื่อมโยง ต่างคนต่างท�ำ (หน่วยงานใคร หน่วย งานมัน) กิจกรรมเปลี่ยนแปลงตาม ค�ำสั่ง มิใช่เปลี่ยนแปลงปรับปรุง ตามการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น โครงสร้าง การเมืองการปกครองดังกล่าว จึง ท�ำลายการเรียนรู้ทางสังคมทั้งของ ประชาชน และของฝ่ายผู้ปฏิบัติงาน คือข้าราชการเองด้วย โดยเฉพาะ ในยุคที่ปราศจากการตรวจสอบจาก ประชาชน คือในยุคเผด็จการ ดัง นั้น หากการปฏิรูประบบราชการไม่ เปลี่ ย นแปลงวิ ธี คิ ด ของบุ ค ลากรใน ระบบแล้ว การเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ ของข้ า ราชการจากผู ้ ป ฏิ บั ติ ก ารมา เป็นผู้ประสานงานการพัฒนา ก็ไม่แน่ ว่า ระบบราชการจะเอื้อไปสู่การเรียน รู้อย่างมีบูรณาการของผู้เกี่ยวข้องได้ ...ติดตามต่อฉบับหน้า
วันที่ไม่มีทางผลิใบ ระบัดใบไม้พลิ้วลิ่วระลึก เมื่อแรกเริ่มเดิมมีประชาธิปไตย คือเปลี่ยนแปลงจากปลายยอดสู่รากหญ้า คือมงกุฎสู่คันไถดังใฝ่ปอง แต่วันนี้ชาติเราเขาเปลี่ยนสิ้น ระงมเสียงระทมทุกระคนไป ละเลงเลือดชโลมดินทุกถิ่นทั่ว กระสุนสาดกระซ่านเซ็นระเบิดอึง แล้วปกปิดมิดเม้มเซ็นเซอร์ แก่ศัตรูผู้อาภัพดับชีพวาย เขาบอกว่ากลุ่มนั้น ผิด ผิด ผิด หากว่ากันตามกระบวนควรครรลอง ไม่มีแล้วยุคใดเท่ายุคนี้ เขียวเป็นใหญ่แดงเป็นรองเหลืองสบาย หากประเทศเปรียบได้ดังไพรพฤกษ์ คงไม่รอดบนเส้นทางประชาธิปไตย
ให้หวนนึกถึงความหลังครั้งกาลสมัย ก่อก�ำเนิดเกิดในแผ่นดินทอง คือเปลี่ยนฟ้าสู่ผืนดินถิ่นเราผอง คือเฉลิมเป็นฉลองของชาวไทย ทมึนทมิฬตะวันดับลับฟ้าใส หะโหยให้หทัยหวั่นสะพรั่นพรึง ให้หวาดกลัวทุกยามเมื่อนึกถึง เขารุมทึ้งทุบถีบร่างจนปางตาย ท�ำภาพเบลอเสนอข่าวด้านเสียหาย ว่าเขาคือผู้ร้ายหมายยึดครอง ฤาเขาคิดว่าคนไทยไร้สมอง คงไม่ต้องเถียงกันให้วุ่นวาย ที่สิทธิเสรีถูกริบหาย กากีหายน�้ำเงินเรืองเฟื่องอ�ำไพ ฉันรู้สึกว่าป่านี้คงไม่ไหว ไม่มีวันจะผลิใบเป็นป่างาม
ป.ล. ฉบับนี้แทบจะไม่มีเวลาเขียนจริงๆ ต้องมานั่งปั่นแทบจะบ้าตาย ผลงานเลยออก มาไม่ค่อยเป็นที่พอใจผู้เขียนนัก ขออภัยผู้อ่านมา ณ ที่นี้ด้วย และขอทิ้งท้ายไว้ตรงนี้ก็เจอกันฉบับ หน้าว่า “ความจริงเป็นสิ่งไม่ตาย แต่คนมักจะตายเพราะรู้ความจริง” “รสค�ำอาจไม่งามตามที่คิด แต่จับจิตด้วยรสค�ำน�ำเสนอ ความไพเราะเสนอพริ้งอาจไม่เจอ แต่พวกเธอจะเจอกับ “ความเป็นจริง”
วารสารเม็ดเลือดแดง
พระยาลับแล ประพันธ์
23
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
สวัสดีครับ จิบชาฉบับนี้ขอประมวลสาระน่ารู้ทั่วโลกในช่วง 10 ปีที่กำ�ลัง จะผ่านพ้นไปพร้อมกับวันสิ้นปี 2010 ที่จะถึงนี้ มีอะไรน่าสนใจบ้างมาดูกันครับ
24
โลกของเรา
พื้นที่แผ่นน�้ำแข็ง ขั้วโลกเหนือ
2001
2000:
7 ล้านตร.กม. 2010: 4.9 ล้านตร.กม.
สถิติโลก ประชากร
2000: 6.1 พันล้านคน 2010: 6.9 พันล้านคน
มหาเศรษฐี
2000: 301 คน 2010: 1,011 คน
2010
เหตุการณ์สำ�คัญ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในจีน 2000: 22 ล้านคน 2010: 420 ล้านคน
การยอมให้เพศเดียวกัน แต่งงานได้ตามกฎหมาย
2000: 0 ประเทศ 2010: 10 ประเทศ ผู้อดอยาก (เนเธอแลนด์ เบลเยียม 2000: 857 ล้านคน สเปน แคนาดา แอฟริกาใต้ 2010: 925 ล้านคน ผลผลิตธัญพืช (Grains) นอร์เวย์ สวีเดน โปรตุเกส ไอซ์แลนด์ อาเจนตินา) 2000: 1,872.4 ล้านตัน อาคารสูงที่สุดในโลก 2008: 2,119.1 ล้านตัน 2000: ปิโตรนาส การบริโภคน�้ำมัน ทาวเวอร์ 2000: 3,562.1 ล้านตัน /กัวลาลัมเปอร์ 2009: 3,882.1 ล้านตัน (452 เมตร) การก่อการร้าย 2010: เบิร์จ คาลิฟา 2000: 423 ครั้ง /ดูไบ 2010: 10,999 ครั้ง (828 เมตร) (4,584 ครั้งเกิด ในอิรักและ อัฟกานิสถาน)
ผู้ใช้ Facebook ทั่วโลก
ปัญหาเลือกตั้งผู้นำ�สหรัฐฯ บุช-อัลกอร์ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2000
ปิดฉากสถานีอวกาศเมียร์ 23 มีนาคม 2001
เหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยาฯ 11 กันยายน 2001
โรคไข้หวัดมรณะ (SARS) ระบาด ปี 2003
ปัญหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในดาฟูร์ ประเทศซูดาน ปี 2003 - 2009
แผนดินไหวในมหาสมุทรอินเดียและสึนามิ 26 ธันวาคม 2004
การเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่ ปี 2005
พายุเฮอริเคนคาทรินาถล่มสหรัฐฯ 30 สิงหาคม 2005
สหภาพยุโรปขยายสมาชิกเป็น 27 ประเทศ ปี 2007
โรคไข้หวัดนก H5N1 ระบาด ปี 2004 - 2007
วิกฤติซับไพรม์ - วิกฤติการเงินโลก ปี 2007 - 2010
แผ่นดินไหวที่เฮติ 7.0 ริกเตอร์ 12 มกราคม 2010
วิกฤติน้ำ�มันดิบรั่วไหลอ่าวเม็กซิโก เมษายน - กรกฎาคม 2010
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 H1N1 ระบาด ปี 2009 - 2010
วิกฤติการเงินในประเทศเขต EURO ZONE ปี 2010
2004: 1 ล้านคน 2010: 500 ล้านคน
อองซาน ซูจี ได้รับการปล่อยตัว 452 828
13 พฤศจิกายน 2010
By Kwanchai, นภนต์ สรพัศ, ศร, เดือน และ Dk_toM หมายเหตุ: คำ�ถาม-คำ�ตอบในคอลัมน์นี้เป็นเรื่องสมมติที่ทำ�ขึ้นเพื่อความขำ�ขันเท่านั้น
วารสารเม็ดเลือดแดง
พาดหัวข่าวอีก 10 ปีข้างหน้า ในความเห็นของสิงห์แดง
25
26
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
วารสารเม็ดเลือดแดง 27
28
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
What is Résumé
ภาพ Resume By http://freelanceswitch.com
วิตปริญญาตรีปี 4 เป็นอีก ปีที่วุ่นวายอย่างมาก เพราะ นอกจากการเรียนแล้ว หลายคน ยังต้องพะวงกับการหาที่เรียนต่อ หรือท�ำงาน โดยเฉพาะการหางาน (ดีๆ) ที่ ยากเสียยิ่งกว่าเรียน PO210 และนั่นคือ ที่ท�ำให้ชีวิตปี 4 ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับ ค�ำว่า ‘Résumé’ อุปกรณ์ส�ำคัญส�ำหรับหา งาน ‘Résumé’ คืออะไร Résumé (เร-เซอ-เม) ภาษาไทย หมายถึง ประวัติการเรียนการท�ำงานโดย สรุป ค�ำนี้เป็นค�ำที่ใช้ในแถบสหรัฐอเมริกา แต่ในยุโรปจะใช้ค�ำว่า CV ซึ่งย่อมาจาก Curriculum Vitae แทน ทั้งนี้ ค�ำว่า Résumé ของแท้ นั้นต้องมีขีดข้างบนตัว e หากไม่มีจะเป็น Resume (รี-:ซูม) ซึ่งแปลว่าได้กลับคืนมา ดังเดิมแทน Résumé นั้นเป็นเอกสารการ สมัครงานชิ้นหนึ่ง โดยเป็นเอกสารที่สรุป ข้อมูลส�ำคัญของผู้สมัครไว้ มีความยาว 1-2 หน้า เป็นเสมือนใบแนะน�ำตัวที่จะ ท�ำให้ HR รู้จักตัวเราได้ภายในเวลาไม่ถึง 1 นาที ปัจจุบัน Résumé ทวีความส�ำคัญ มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากจ�ำนวนผู้สมัครที่ เพิ่มขึ้น และ HR ไม่มีเวลาที่จะสัมภาษณ์
วารสารเม็ดเลือดแดง
ชี
By Dk_toM
29
ได้ทุกคน ดังนั้น HR จึงเลือกท�ำความรู้จัก ผ่าน Résumé ก่อน หากเห็นว่าน่าสนใจ จึงค่อยติดต่อนัดสัมภาษณ์หรือทดสอบต่อ ไป Résumé ที่ดีจึงท�ำให้มีชัยในการได้งาน ไปกว่าครึ่ง Résumé ประกอบด้วยอะไรบ้าง Résumé นั้นไม่มีรูปแบบการเขียน ที่ตายตัว แต่มีหลักส�ำคัญคือต้องกระชับ และได้ใจความที่สุด ขณะเดียวกันก็ต้องให้ ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเรา และดึงดูดให้ HR รับ เราเข้าท�ำงานให้มากที่สุด โดย Résumé ที่ ดีไม่ควรยาวเกิน 2 หน้า มิฉะนั้นจะถูกมอง ว่าเยิ่นเย้อและเสี่ยงต่อการถูกคัดทิ้ง ที่ส�ำคัญในปัจจุบัน บริษัทส่วน ใหญ่ให้ความส�ำคัญกับภาษาอังกฤษ หลาย บริษัทเป็นบริษัทข้ามชาติ ดังนั้น Résumé ที่บริษัทส่วนใหญ่ต้องการจึงต้องเป็นภาษา
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 30
อังกฤษ มีไม่มีกี่ที่เท่านั้นที่รับ Résumé ภาษาไทย ส�ำหรับการเลือกข้อมูลที่จะใส่ใน Résumé นั้นมีอยู่กันหลายแบบ ขึ้นอยู่ กับตัวผู้สมัครรวมถึงงานที่ต้องการสมัคร ทั้งนี้ ส�ำหรับนักศึกษาจบใหม่ที่ยังไม่มี ประสบการณ์การท�ำงาน ข้อมูลส�ำคัญที่ ต้องใส่มีดังนี้ 1. ชื่อ-ที่อยู่ เป็นส่วนที่ใช้บอกใช้ บอกชื่อ-นามสกุล (ชื่อเล่นไม่ต้อง) ที่อยู่ ปัจจุบัน เบอร์โทรศัพท์บ้าน-มือถือ และ อีเมล์ส�ำหรับติดต่อ ส่วนนี้ต้องตรวจดูให้ ดี เพราะบางทีบริษัทรับแต่ติดต่อผู้สมัคร ไม่ได้ก็มี 2. Objective เป็นส่วนที่บอกว่า เหตุใดเราจึงจะสมัครงานนี้ หรือว่าเรา อยากท�ำงานส่วนไหนในบริษัท ความ ยาวประมาณ 1-2 ประโยค 3. Personal Data เป็นส่วนที่ บอกข้อมูลส่วนตัว ประกอบด้วยวันเกิด อายุ เพศ กรุ๊ปเลือด ส่วนสูง น�้ำหนัก สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา และสถานภาพ การสมรส หากมีโรคประจ�ำตัวให้ใส่ ไปด้วย ส่วนผู้ชายให้ใส่สภานภาพทาง ทหารด้วย (หากได้รับการยกเว้นเพราะ เรียน รด. ให้ระบุว่า ROTC) 4. Educations เป็นส่วนที่ บอกประวัติการศึกษา ควรใส่เฉพาะ มัธยมศึกษาตอนปลายกับปริญญาตรีก็ พอ โดยระบุชื่อสถานศึกษา คณะ วิชา เอก วิชาโท (ถ้ามี) และ GPA (ล่าสุด) ถ้าเคยไป AFS มาก็ใส่ไปด้วย 5. Activities เป็นส่วนที่บอก กิจกรรมที่เราเคยท�ำ ส่วนนี้ส�ำคัญ
ส�ำหรับเด็กจบใหม่ เพราะกิจกรรมจะเข้า มาทดแทนประสบการณ์ทางการท�ำงาน โดยกิจกรรมที่จะใส่ไว้ใน Résumé ควร เป็นกิจกรรมที่เด่นๆ ไม่จ�ำเป็นต้องใส่ทุก กิจกรรม ถ้าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ต�ำแหน่งงานจะดีมาก ที่ส�ำคัญต้องเป็น กิจกรรมที่ได้มีส่วนร่วมจริงๆ เนื่องจาก ตอนสัมภาษณ์ HR อาจจะถามเกี่ยวกับ รายละเอียดของกิจกรรมเหล่านั้นด้วย 6. Internship เป็นส่วนที่บอกว่า เราเคยฝึกงานหรือผ่านอบรมอะไรบ้าง ถือว่ามีความส�ำคัญไม่น้อย เพราะจะ แสดงให้เห็นได้ว่าเราพอมีประสบการณ์ ในการท�ำงานมาบ้าง สิ่งที่ต้องระบุ คือต�ำแหน่งงานที่ได้รับ แผนกที่สังกัด หน่วยงานที่ฝึก สถานที่ตั้งของหน่วย งาน และระยะเวลาที่ฝึก 7. Skills เป็นส่วนที่บอกความ สามารถของเรา มีความส�ำคัญเช่นกัน HR หลายคนเลือกคนโดยดูจากส่วนนี้ โดยแบ่งเป็น - ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งซอฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ และการ พิมพ์สัมผัส พวก Internet Facebook E-Mail ฯลฯ ไม่ต้องบอก บอกเฉพาะที่เด่นๆ เช่น MS Office, Photoshop, SPSS ฯลฯ แต่ ถ้ า ซ่ อ มคอมหรื อ ประกอบคอมเอง เป็นก็ให้ใส่ไปด้วย ส่วนเรื่องพิมพ์ สัมผัสให้บอกทั้งไทยและอังกฤษ วัด หน่วยเป็นค�ำต่อนาที (WPM) โดย สามารถโหลดโปรแกรม BCC Tutor Type มาฝึกและวัดความเร็วได้ - ความสามารถด้านภาษา ภาษา
8. Reference เป็นบุคคลที่ใช้ อ้างอิงตัวเรา ควรเป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือ อาจเป็นอาจารย์ เจ้านายที่ฝึกงาน หรือ จะเป็นพ่อแม่ก็ได้ ไม่แนะน�ำให้ใช้เพื่อน (ยกเว้นเพื่อนมีต�ำแหน่งการงานที่น่าเชื่อ ถือ) 9. รูปถ่าย ปกติ Résumé จะไม่ ใส่รูปถ่าย (จะแยกต่างหาก) แต่เดี๋ยวนี้มี หลายบริษัทให้ใส่ด้วย ดังนั้นจะใส่ไปด้วย ก็ไม่เป็นไร แต่ไม่ควรเกิดขนาด 2 นิ้ว และถ่ายไม่เกิน 6 เดือน ถ้าเป็นไปได้ติด รูปชุดครุยหรือชุดนักศึกษาจะดีที่สุด 10. รูปแบบ Résumé นั้นไม่มี รูปแบบที่ตายตัว จึงสามารถออกแบบยัง ไงก็ได้ แต่ทั้งนี้ไม่ควรฉูดฉาดเกินไป เน้น ความสุภาพเป็นหลัก ใช้สีขาวด�ำ และไม่ เติมลวดลายมากเพราะจะดูรกได้ ฟอนต์ ที่ใช้ควรเป็นฟอนต์ที่อ่านง่าย ที่นิยมคือ ภาษาไทยเช่น Angsana หรือ Cordia ภาษาอังกฤษเช่น Tahoma, Time New
Roman หรือ Verdana เป็นต้น ขั้นตอนการเขียน Résumé 1. ออกแบบ Résumé ที่ ต้องการเขียน ว่าจะให้มีลักษณะอย่างไร ประกอบด้วยส่วนไหนบ้าง โดยอาจดู จากคุ ณ สมบั ติ ข องต� ำ แหน่ ง งานหรื อ บริษัทก็ได้ 2. ใส่ข้อมูลแต่ละส่วน โดยเน้น ความกระชับและเป็นความจริง 3. เมื่อเสร็จแล้วตรวจสอบความ ถูกต้องอีกครั้ง โดยอาจให้เพื่อนหรือ คนที่เก่งภาษาอังกฤษช่วยตรวจดูภาษา อังกฤษด้วยก็ได้ ส่วนนี้ส�ำคัญเพราะค�ำ ผิ ด อาจมี ผ ลต่ อ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ในการ สมัครงานได้ 4. ยื่น Résumé ให้บริษัทที่รับ สมัครงาน
ชั่ ว ชี วิ ต มนุ ษ ย์ . ..สิ่ ง ที่บันดาลให้หดหู่ รันทด มิ ใ ช่ ก ารจำ � พราก...หาก เป็นการอยู่ร่วม เพราะ หากไม่เคยอยู่ร่วม ไหน เลยมีการจำ�พรากได้ โกวเล้ง
วารสารเม็ดเลือดแดง
ไทยไม่ต้องระบุก็ได้ยกเว้นว่าเป็นขั้น สูงจริงๆ หรือท�ำงานเกี่ยวกับภาษา ไทย ที่ต้องส�ำคัญต้องระบุคือภาษา อังกฤษ โดยแบ่งเป็นฟัง พูด อ่าน เขียน ไม่ต้องโม้มาก เพราะเวลา สัมภาษณ์เขาจะจับได้ หากมีภาษา อื่นก็ระบุไปด้วย - ความสามาถอื่นๆ เช่น การใช้ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ขับรถได้ ความ สามารถด้านการพูด ความสามารถ ด้านการเขียน (ข่าว สารคดี บทความ) รวมถึงอาจระบุเพิ่ม เติ ม ไปด้ ว ยว่ า สามารถท� ำ งานต่ า ง จังหวัดหรือต่างประเทศได้ (ถ้าได้)
31
ตัวอย่าง Résumé ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
Mr.Ngarn Jongma
32
________________________________________ 60 Interpark Apt. Room.39, Chaingrak Road, Klongnung Supdistrict, Klongluang District, Phathumthani Province, 12120 Mobile Phone: 089-999999 E-mail: Ngarn_Jongma@hotmail.com OBJECTIVE
Looking for a beginner’s position in human resource field that able to apply my knowledge and skills with credible and progressive organization.
PERSONAL DATA
Date of Birth: September 10th, 1988 Age: Gender: Male Blood Group: Weight: 57 kgs. Height: Nationality: Thai Religion: Marital Status: Single Military Status: EDUCATIONS
22 years old B 171 cms. Buddhism No military service (ROTC)
2007-2011: Thammasat University, Pathumthani Bachelor, major in Politics and Government, minor in Journalism and Mass Communication, Political Science Faculty, GPA 4.44 2004-2007: Benjamarachutit School, Nakhon Sri Thammarat High school, major in Arts-math, GPA 4.44 ACTIVITIES
-
President of Political Science Information and Journalism Club in 2010-2011 Member of Political Science Information and Journalism Club in 2007-2010 Education adviser of Eduzones Expo 2008, 2009 and 2010 Academic affair staff of Junior Political Scientist 2nd Camp in 2009 Member of Thammasat University Student Council in 2008-2009 Staff of Develop Social Camp at Doi Tao District, Chaing Mai Province in 2008
INTERNSHIP 2010: Assistant media officer, march 22nd – may 27th, National Health Foundation, Bangkok SKILLS Computer skills: Officer equipment skills: - Ms Office (Word, Excel, Power Point) - Photocopier - SPSS - Projector - Photoshop - Fax - Indesign - Thai typing 55 wpm Other skills: English typing 50 wpm - Can work at another province - Can drive car Language skills: - Creative writing skills - Fair command in speaking, listening, (News, Article and Feature) writing and reading English REFERENCE
Dr. Rakna Jubjub Lecture of Love Faculty, Thammasat University
Tel: 089-888888
ก่อนงิ้วผลิใบ
วารสารเม็ดเลือดแดง
ห
ลังการสอบ Final อันแสน เหนื่อยหน่าย ผมก็มีโอกาส กลับบ้านนอกไปพักร้อนเพื่อขุน ความขี้ เ กี ย จให้ พ อกพู น ขึ้ น อี ก ประมาณเดือนกว่าๆ เมื่อเท้าก้าวพ้นขอบประตูรถทัวร์ ลงแตะพื้น พร้อมกับสูดอากาศเข้าเต็ม ปอด ความรู้สึก “นี่แหละบ้าน” ก็ผุด ขึ้นมาในความคิด อากาศที่บ้านช่างสดชื่น และบริสุทธิ์เสียนี่กระไร สูดเข้าปอดแล้ว รู้สึกดีกว่าการสูดอากาศผสมควันรถ ควัน บุหรี่และฝุ่นละอองในกรุงเทพอย่างบอกไม่ ถูก ท้องฟ้าก็สดใส มีทุ่งนา มีต้นไม้ ผู้คนก็มีน�้ำใจ อัธยาศัยดี หลังจากไป เรียนอยู่ในกรุงเทพได้เกือบสองปี ผมก็ รู้สึกว่าบ้านนอกมีอะไรดีๆ มากกว่าเมือง ใหญ่จนเทียบกันไม่ติด หลั ง จากทานข้ า วเช้ า ฝี มื อ แม่ อั น แสนอร่อยแล้ว ผมก็ปั่นจักรยานออกไปที่ ทุ่งนา ตรงนั้นมีเพิงมุงหลังคาหรือที่ชาว บ้านเขาเรียกกันว่า “ห้างนา” ซึ่งผมชอบ ไปนั่งเล่นเป็นประจ�ำเวลากลับมาเยี่ยมบ้าน ผมขึ้นไปนั่งบนนั้น เห็นชาวบ้านก�ำลัง ขะมักเขม้นเก็บผลผลิตการเกษตรกัน มีทั้ง ถั่วลิสง ข้าวโพด และผักอื่นๆ อีกหลาย อย่าง ท้องทุ่งตอนนี้กลายเป็นสีน�้ำตาลไป แล้ว ไม่ได้มีสีเขียวสบายตาเหมือนตอน หน้าฝน ลมพัดอ่อนๆ ผ่านมาเป็นระยะ ผมเหลือบไปเห็นไม้กวาดข้างๆ ก็เลยหยิบ
By Hao
มาปัดพื้นกระดานพอเป็นพิธี แล้วก็เอนตัว ลงนอน คิดอะไรต่อมิอะไรไปเรื่อยๆ อย่าง มีความสุข แล้วก็เผลอหลับไปตอนไหนก็ ไม่รู้ สะดุ้งตื่นขึ้นมาอีกทีก็เกือบบ่ายโมง แล้ว ผมจึงกระโดลงจากห้างนา แล้วรีบ ปั่นจักรยานกลับบ้านในทันที “ไปไหนมา” เสียงย่าถามหลัง 33 จากจอดจักรยานยังไม่ทันเสร็จ “ไปหลับที่ห้างนามาครับ” ผม ตอบ “พรุ่งนี้สายๆ มีธุระอะไรหรือเปล่า ไปช่วยย่าเก็บฝักงิ้วหน่อย ย่าจ้างลุงลัยให้ มาปีนให้แล้ว งิ้วมันแก่แล้ว เดี๋ยวมันผลิ ใบ ฝักมันจะแตกไปหมด” “ครับ” ผมตอบตกลงทันทีทันใด พลางโล่งอกที่ไม่โดนด่าว่าไปเถลไถลจนเลย เวลากินข้าวที่ยง วันรุ่งขึ้น เก้าโมงกว่าๆ ผมกับย่า ก็เดินไปที่ต้นงิ้วซึ่งอยู่ท้ายนาของเรา ผม จ�ำได้ว่าตอนผมอยู่ประถม แถวๆ นี้มีต้น งิ้วใหญ่เกือบสิบกว่าต้น แต่ละต้นก็สูง มาก ผมว่าไม่ต�่ำกว่าสิบหรือยี่สิบเมตร แต่ตอนนี้เหลืออยู่แค่ต้นงิ้วของเราต้นเดียว ต้นงิ้วของป้ามัน ที่อยู่ขอบนาทางทิศ เหนือ ก็พึ่งถูกโค่นไปเมื่อวานซืน ย่าบอก ว่า พ่อค้าไม้เขามาหาซื้อเอาไปท�ำไม้แบบ หล่อเสา หล่อคานบ้านอะไรประมาณนั้น พอเราไปถึง เห็นลุงลัยแกนั่งสูบ
ก็จัดแจงเอากระสอบงิ้วใส่รถ แล้วก็กลับ บ้าน พอกลับถึงบ้าน ผมเห็นรถกระบะ จอดอยู่หน้าบ้าน มีชายอายุสักสี่สิบกว่าๆ หัวล้านหน่อยๆ นั่งคุยกับป้าอยู่ที่ใต้ถุนบ้าน พอเข้าไปถึง “นี่ เจ้าของต้นงิ้วเขามาแล้ว” ป้าบอกชายคนนั้น ย่าก็ลงจากรถแล้วไปนั่งคุยกับชาย คนนั้น ผมก็ เ อางิ้ ว ในกระสอบไปตาก เพื่อให้มันแห้ง แล้วมันจะได้ฟูขึ้น แล้วก็ จะได้เอาไปท�ำหมอนและที่นอนต่อไป ตกเย็น ครอบครัวของเราก็นั่ง ล้อมวงกินข้าวกันตามปกติ “ย่า ลุงคนนั้นเขามาท�ำอะไร” ผมถาม “พ่อค้าเขามาถามซื้อต้นงิ้ว เอา ไปท�ำไม้แบบ” ย่าตอบ “เขาให้ต้นละเท่าไหร่” พ่อถาม
ภาพ Silk Cotton Tree By http://www.krika.com
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 34
บุหรี่ใบตองม้วนอยู่ใต้ต้นงิ้ว ข้างตัวแกมี ถุงย่าม ค้อนตีตะปี และก็มีด สักพัก ลุงลัยแกก็จัดแจงสะพาย ย่าม มัดค้อน มัดมีดติดเอวแกแล้วก็เริ่ม ปีนต้นงิ้ว อุปกรณ์ปีนต้นงิ้วของแกก็จะมี ไม้ไผ่เหลาปลายแหลมๆ เอาไว้ตอกขึ้นต้น งิ้ว ชาวบ้านเรียกว่า “ตอย” ตามต้นงิ้ว ก็จะมีตอยเก่าๆ อยู่ อันไหนที่ใช้ไม่ได้ ไม่ แข็งแรง ลุงแกก็จะตอกใหม่ พอไปถึงกิ่ง ข้างบน ลุงแกก็ส่งสัญญาณให้ผมส่งไม้ไผ่ ล�ำยาวปลายติดตะขอขึ้นไปให้แก จากนั้น แกก็จะใช้ตะขอนั้นเกี่ยวกิ่งงิ้ว และก็เขย่าๆ ฝักงิ้วที่แก่ๆ ก็จะหล่นลงมา ผมกับย่าที่อยู่ ข้างล่างก็เก็บฝักงิ้วใส่กระสอบปุ๋ย พลาง ระวังฝักงิ้วหล่นใส่หัวไปด้วย ผ่านไปชั่วโมงกว่าๆ เมื่อเห็นว่าฝัก งิ้วหล่นหมดแล้ว ลุงลัยแกก็ลงมา พัก ดื่มน�้ำสักพัก การเจรจาต่อรองค่าบริการ ก็เกิดขึ้นหลังจากนั้น “จะเอาค่าขึ้น (ต้นงิ้ว) เท่าไหร่” ย่าถาม “สองร้อย” ลุงลัยตอบ “ร้ อ ยเดี ย วไม่ ไ ด้ เ หรอลุ ง ” ผมแทรกขึ้น “โอ๊ย ไม่ได้หรอก ต้น งิ้วสูงจะตาย ไม่มีใครอยาก ขึ้นแล้ว เหลือลุงคน เดียวเนี่ย ปีหน้าใครมา จ้างไปขึ้นต้นอะไรอีกก็ไม่ ไปแล้ว ขึ้นไม่ไหวแล้ว แก่แล้ว กลัวตก” ย่ า ก็ จ่ า ย ใ ห ้ แ ก ตามนั้ น โดยไม่ ไ ด้ ต ่ อ รอง อีก เพราะหาคนขึ้นให้ ไม่ได้แล้วจริงๆ แล้วเรา
บ้าง
ภาพต้น Methuselah By http://files.sharenator.com
ทุกวันนี้ ต้นงิ้วต้นนั้นก็ยังอยู่ ยังผลิดอก ออกใบอยู่เรื่อยๆ แม้จะไม่มี คนรับจ้างขึ้นเขย่าเอาฝักให้เก็บแล้วก็ตาม แต่มองไปที่ทุ่งทีไร ก็ยังเห็นความหวังดี ของบรรพบุรุษที่พยายามรักษาสมบัติไว้ให้ ลูกให้หลาน และทุ่งก็ยังเป็นทุ่งบ้านเรา เหมือนเดิม ความรู้สึกดีๆ ก็ยังเหมือนเดิม
คนบาปสองคนที่ มีความรัก ทำ�ให้เกิด ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ขึ้ น มา ได้ อี บี บราวนิ่ง
ต้ น ไม้ ที่ อ ายุ ยื น ที่ สุ ด ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น เท่ า ที่ ค้นพบคือต้น Methuselah ซึ่งเป็นต้น สนสายพันธุ์ Great Basin Bristlecone Pine ในเทือกเขาขาว รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ปัจจุบัน (2553) มีอายุ 4,841 ปี หรือประมาณยุคหินกลางของ ประวัติศาสตร์มนุษย์ ผู้ที่ค้นพบอายุของต้นไม้ต้นนี้คือ Edmund Schulman และ Tom Harlan ซึ่งได้วัดอายุต้น Methuselah เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.2500 อย่างไรก็ตาม ต้นไม้ที่อายุยืนที่สุด จริงๆ คือต้น Prometheus เป็นต้นสนสาย พันธ์ุเดียวกับต้น Methuselah ที่ Wheeler Peak รัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา โดยอายุ 4,844 ปี แต่ Prometheus ได้ถูกโค่นลงใน ปี พ.ศ.2507 โดยนักศึกษาที่ชื่อว่า Donald R. Currey จากมหาวิทยาลัย North Carolina ที่ก�ำลังศึกษาสภาพอากาศในยุค น�้ำแข็งจากวงรอบของต้นไม้ เพื่อเป็นข้อมูล ส�ำหรับวิทยานิพนธ์ โดยที่ไม่มีใครรู้มาก่อน รวมถึงเจ้าหน้าที่ป่าไม้ซึ่งอนุญาตให้โค่น ว่า พวกเขาได้โค่นต้นไม้ที่อายุยืนที่สุดในโลกไป แล้ว
วารสารเม็ดเลือดแดง
“เก้าพัน” ย่าตอบ “แล้วขายไหม” ผมถามอีก “ไม่ขายหรอก” ย่าตอบ “ท�ำไมไม่ขายเขาเงินมาไว้ใช้จ่าย หละ” ผมถามอีก “ไม่ขายหรอก เงินใช้ก็มีอยู่ ไม่ ได้เดือดร้อนอะไร มีคนถามซื้อตั้งแต่สมัย ปู่แกยังไม่ตาย แกก็ไม่ยอมขาย บอกว่า เก็บไว้ให้ลูกหลาน ย่าก็ไม่ขายหรอก ย่าก็ จะเก็บไว้ให้ลูกหลาน” ค�ำตอบของย่าท�ำเอาผมน�้ำตาซึม
ต้นไม้ที่อายุยืนที่สุดในโลก
35
36
By กองบรรณาธิการ แหล่งที่มา: ทายนิสัยจากต้นไม้สุดโปรด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http:// writer.dek-d.com/ubyi/story/viewlongc.php?id=168584&chapter=43. วันที่ สืบค้น 9 ธันวาคม 2553.
โ
ลกนี้ มี ต ้ น ไม้ นั บ ล้ า นชนิ ด แต่ ก็ ต ้ อ งมี สั ก ชนิ ด ละน่ า ที่ ถู ก จั ด อั น ดั บ เป็ น ต้ น ไม้ต้นโปรดประจ�ำใจ มาดูกันเถอะว่า คนที่ชอบปลูกต้นไม้ หรือโปรดต้นไม้ แบบไหนเป็นพิเศษ เค้าจะมีลักษณะ อุ ป นิ สั ย ใจคอโน้ ม เอี ย งไปทางไหนบ้ า ง ชอบต้นโป๊ยเซียน ใ ค ร ก็ ต า ม ที่ ชอบต้นไม้ชนิดนี้ ซึ่งมี ประวัติมานานว่าเป็นต้น ไม้แห่งโชคลาภ ทั้งยังมี เรื่ อ งถ่ า ยทอดสื บ ต่ อ กั น มาด้วยว่าบ้านไหนปลูก โป๊ยเซียนออกดอกได้สวย ครบ 16 ดอก บ้านนั้นจะโชคดีมีลาภและทรัพย์สินเพิ่มพูน ส่วนลักษณะนิสัย ของคนที่รักการปลูกหรือ ชื่นชมกับโป๊ยเซียนมากเป็นพิเศษกว่าต้นไม้ อื่นๆ นั้น มักเป็นคนที่ไม่มีความมั่นใจใน ตัวเองนัก แม้ว่าลักษณะภายนอกจะดูเข้ม แข็งแค่ไหนก็ตาม ลึกๆแล้วภายในยังร�่ำร้อง ถึงสิ่งที่ตัวเองปรารถนา (ซึ่งอาจมีหลาย
อย่างเหลือเกิน) และยังเป็นคนที่ให้ความ ส�ำคัญกับเรื่อง เงินทอง ทรัพย์สิน คุณค่า ฐานะเป็นพิเศษ เป็นผู้มีความทะเยอทะยาน อยากมีชีวิตที่ดีกว่าปัจจุบัน แต่ไม่ได้แปลว่า เป็นคนโลภหรอกนะ อีกข้อก็ คือ เป็นคนที่ มีระเบียบในความไม่มีระเบียบ เป็นยังไงน่ะ เหรอ เป็นต้นว่าในขณะที่เป็นคนเข้มงวดใน บางเรื่องท�ำอะไรก็ต้องเนี้ยบสมบูรณ์ แต่ใน อีกด้านก็เป็นคนที่สบายๆ ดูเผินๆ ไม่ค่อยรู้ ทุกข์รู้ร้อนสักเท่าไหร่ ชอบต้นกุหลาบ ใ ค ร ที่ ชื่ น ช อ บ ต้ น ไม้ แ ห่ ง ความรั ก ชนิ ด นี้ บอกได้เลยว่าเป็นคนที่ จิตใจอ่อนไหว มีความรัก ในหัวใจเสมอๆ เป็นผู้รัก สวยรักงาม และถ้าเป็น ผู้หญิง ก็มักจะเป็นคนที่ชอบแต่งตัว ชอบ ปรับปรุงตัวเองให้ดูดี มีเสน่ห์ แถมยังเจ้าชู้ หัวใจไม่เคยขาดรักเลยล่ะ และคนที่ชอบ กุหลาบนั้น อย่าคิดว่าเขาหรือเธอจะเป็น
ภาพโป๊ยเซียน By http://2.bp.blogspot.com ภาพกุหลาบ By http://www.panmai.com
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
ทายนิสัยจากต้นไม้สุดโปรด
ภาพเฟิร์น By http://www.metaefficient.com ภาพคุณนายตื่นสาย By http://static1.pg.in.th
ภาพมะลิ By http://learners.in.th ภาพกระบองเพชร By http://t2.gstatic.com
ชอบต้นเฟิร์น คนที่ ช อบปลู ก เฟิร์น ไม่ว่าจะเป็นสกุล ไหนก็ตาม แปลว่าเป็น คนที่ มี ค วามใจเย็ น เป็ น ปกติและยังรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมอีกด้วย ค่อนข้างให้ความสนใจ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ เ ป็ น พิเศษ นอกจาก นี้ยังบ่งบอกถึงการเป็นคน ใจดี มีนิสัยเมตตา แต่ในขณะเดียวกัน ก็ เป็นคนอ่อนไหว มีโลกส่วนตัวสูง บางทีก็ ขี้แยอีกด้วย ออกจะกระทบกระเทือนใจง่าย แต่ก็ปรับตัวเก่งเมื่อจ�ำเป็น ชอบต้นมะลิ คนที่ ช อบมะลิ ไม่ว่าจะชอบปลูก หรือ ชอบซื้อมาลัยมาหอมให้ ชื่นใจ ส่วนใหญ่แล้วจะ เป็นคนที่มีความโรแมน ติก และยังนุ่มนวลอ่อน โยนมาก และมักจะใจดี แต่ว่าบางทีก็ติด จะเป็นคนคอนเซอร์นิดๆ หรือหัวโบราณน่ะ เอง ดอกมะลินั้นเป็นดอกไม้ไทยๆ เป็นต้น ไม้ที่คนนิยมปลูกประดับบ้าน แต่บางคน ที่ปลูกไว้ในกระถาง ถ้าเห็นใครปลูกต้นไม้ ชนิดนี้ด้วยความชอบสุดใจ อ่านค�ำทายใจ
ข้างต้นซ�้ำอีกรอบเลยนะ เพราะว่า...ใช่เลย ชอบต้นคุณนายตื่นสาย ค น ที่ ช อ บ ป ลู ก ต ้ น ไ ม ้ ช นิ ด นี้ มักเป็นคนช่าง ฝันโรแมนติก แต่ ออกจะคิ ด ฝั น อะไร สวยงามเกินจริงไปบ้าง ทั้งยังอ่อนไหว ดูผิวเผินคล้ายๆ คนอ่อนแอ แต่ความ จริ ง แล้ ว กลั บ แข็ ง แกร่ ง อย่ า งไม่ น ่ า เชื่ อ และ ยังเป็นคนที่รักความสะดวกสบาย ชอบสิ่งสวยงามแต่ก็ต้องเรียบง่าย ไม่ชอบ จุกจิกกวนใจ หรือวุ่นวาย ในบางเวลาก็อาจ เป็นคนขี้เกียจด้วยล่ะ ชอบต้นกระบองเพชร คนที่ ช อบปลู ก ต้ น กระบองเพชรนั้ น แสดงถึงการเป็นคนที่มี อารมณ์อ่อนไหว กุ๊กกิ๊ก ซ่อนอยู่ในใจ เป็นคนที่ เอื้ออารีต่อคนอื่น แต่ก็ อาจเป็นคนที่เรียบๆ เฉยๆ ไม่แสดงออกถึง อารมณ์มากนัก อาจจะท�ำให้คนอื่นๆเข้าใจ ผิดว่าเป็นคนถือตัวหรือหยิ่งไปโน่น ทั้งที่ จริงๆแล้ว เป็นคนหัวอ่อนทีเดียว อีกอย่าง ก็คือ เป็นคนที่มีอารมณ์สนุกสนาน ชอบ ความบันเทิง สนกเฮฮา หัวเราะง่ายๆ แต่ บางทีกลับเก็บกดอยู่ลึกๆ
วารสารเม็ดเลือดแดง
คนซื่อๆ พูดอย่างไรก็คิดอย่างนั้น ไม่หรอก นะ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นคนเจ้าเล่ห์ โกหกเก่ง แต่หมายถึงเป็นคนเก็บซ่อนความ ในใจได้เก่งต่างหากเล่า
37
ชอบไม้ผล ค น ที่ ช อ บ ปลูกต้นไม้ผลไม้แทน การปลูกไม้ดอกไม้ใบ นั้น มักจะเป็นตรง เอาจริงเอาจัง มีนิสัย หนักแน่น มั่นคง ลองมีความคิดเห็นไปทาง ไหน ใครก็ตามอย่าไปคิดจะเปลี่ยนแปลง ทัศนคติเลย เพราะว่ายากมากเพราะเป็น คนเชื่อมั่นในตัวเองสูง เข้มแข็ง แต่บางที ก็ติดไปทางเครียด แต่ก็เป็นคนที่มีจิตใจ ดี รักความยุติธรรม ไม่ชอบการเอารัดเอา เปรียบ บางครั้งอาจจะอาจเป็นคนพูดจา ไม่ยั้งคิดท�ำร้ายจิตใจคนใกล้ตัว แต่ก็เป็น เพราะไม่รู้มากกว่าจะตั้งใจ
ท�ำไมชื่อสถานีฟรีทีวีจึงเป็นตัวเลข สถานี ฟ รี ที วี ใ นประเทศไทยแพร่ ภาพทางคลื่ น ภาคพื้ น ดิ น แบบอนาล็ อ ก โดยเริ่มแรกนั้นออกอากาศในระบบ VHF (Very High Frequency) ซึ่งอยู่ในย่าน ความถี่ 30-300 MHz แบ่งช่วงคลื่นเป็น ช่อง 1-13 อันเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส�ำหรับการตั้งชื่อสถานีฟรีทีวีนั้น จะอิงตามช่องสัญญาณที่ใช้ เช่น ช่อง 3 ออกอากาศที่ช่วงคลื่นช่อง 3 ความถี่ 5461 MHz เป็นต้น แต่เนื่องจากการออกอากาศภาพ สีใช้ก�ำลังส่งแรง อาจรบกวนช่องสัญญาณ ข้างๆ ได้ จึงก�ำหนดให้ออกอากาศห่างกัน 2 ช่อง และเนื่องจากช่อง 7 เป็นช่องแรกที่ ออกอากาศภาพสี ช่องอื่นๆ จึงต้องเป็นเลข คี่ตามมา ป ั จ จุ บั น ไ ท ย ยั ง เ พิ่ ม ก า ร อ อ ก อากาศในระบบ UHF (Ultra High Frequency) อยู่ในย่านความถี่ 300-3,000 MHz แบ่งช่วงคลืนเป็นช่อง 14-83 ช่อง สถานีแรกที่ออกอากาศในระบบนี้คือ ITV ต่อมาสถานีที่ออกอากาศในระบบ VHF เดิม ก็ได้ย้ายมาออกอากาศใน UHF ด้วย แต่ยังคงชื่อช่องที่เป็นตัวเลขไว้ เพิ่มเติมคือ การออกอากาศใน ระบบ UHF รวมถึงแนวโน้มที่จะเปลี่ยน การส่งเป็นแบบดิจิตอล ท�ำให้มีช่อง สัญญาณเพิ่มขึ้น แต่ที่ปัจจุบันยังมีฟรีทีวีอยู่ 6 ช่องนั้น เป็นผลจากปัญหากฎหมาย และ กสทช. ซึ่งดูแลความถี่เป็นส�ำคัญ
ภาพผัก By http://www.udclick.com ภาพไม้ผล By http://healthyurbankitchen.com
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 38
ชอบพืชผักสวนครัว ค น ที่ ช อ บ ป ลู ก พื ช ผั ก ส ว น ค รั ว แ ท น ที่ ไ ม ้ ด อ ก ไ ม ้ ใ บ อื่นๆ นั้นๆ เป็นคนที่มี อารมณ์ปรวนแปร เอา แน่นอน ไม่ค่อยได้ ใครอย่าไปคิด ว่ า จะเป็ น คนแบบนั้ น แบบนี้ เ พราะผิ ด หมด!! ไม่มีใครรู้ดีเท่าเจ้าตัวเลยแน่ๆ แต่โดยพื้นฐานแล้วเป็นคนโอบอ้อม รักใคร รักจริง มีความจริงใจสูง ซื่อสัตย์ ไม่ค่อย ระมัดระวังตัว อาจจะถูกหลอกได้ง่ายๆ ด้วย แต่ก็มักจะเอาตัวรอดได้อย่างฟลุ๊กๆ อ้อ! เป็นคนที่มีนิสัยรักบ้าน ชอบอยู่ติดบ้าน
ภาพโปสเตอร์ Tokyo Tower By http://www.siamzone.com
By Le Chat
วารสารเม็ดเลือดแดง
แ
ม้ จ ะไม่ เ คยมี ป ระสบการณ์ เ กี่ ย ว กับหนังนอกจากการซื้อตั๋วเข้าไป ดูหนังเรื่องโปรดในโรงหรือโหลด บิทมาดูในยามที่ไม่มีเงิน แต่ก็พอ จะบอกได้ว่าจุดประสงค์หนึ่งของคนท�ำหนัง คือ อยากให้คนดูดูหนังของตัวเองแล้วย้อน มาดูตัวเอง แต่จะมีหนังสักกี่เรื่องที่ท�ำให้ เราอยากย้อนมาดูตัวเราเองจริงๆ ค�ำตอบ คือ ไม่รู้เหมือนกันเพราะเรื่องนี้ค่อนข้าง เป็นเรื่องส่วนตัวและขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ของแต่ละคนที่จะท�ำให้อินกับหนังได้มาก แค่ไหน แต่ส�ำหรับผู้เขียนแล้ว Tokyo Tower คือหนังที่ดูแล้วอินและบีบคั้นหัวใจ มากที่สุดเรื่องหนึ่ง Tokyo Tower ไม่ได้มีโครงเรื่องที่ หวือหวา หรือสลับซับซ้อนอะไรเลย ในทาง ตรงกันข้ามเป็นการเล่าเรื่องราวอย่างง่ายๆ และเนิบช้าเป็นเวลากว่าสองชั่วโมง แต่ก็ เป็นสองชั่วโมงที่เข้มข้น ขบขันบ้างในบาง ตอน หงุดหงิดกับการตัดสินใจของตัวละคร แต่ก็จบลงด้วยความซาบซึ้งที่จะอยู่ในความ ทรงจ�ำไปอีกนาน หนั ง บอกเล่ า เรื่ อ งราวธรรมดา ของผู้หญิงคนหนึ่งที่ต้องเลี้ยงลูกตามล�ำพัง และการดิ้นรนทุกวิถีทางเพื่อส่งลูกไปให้ถึง ฝั่ง ทางด้านลูกชายก็คือวัยรุ่นที่พบเห็นได้ ทั่วไปที่เมื่อมีอิสระก็ขาดการควบคุมตัวเอง หลุดลอยไปในด้านสีเทาของสังคม ซึ่งกว่า
Tokyo Tower รักยิ่งใหญ่ หัวใจให้เธอ
39
จะท�ำให้ชีวิตกลับมาสู่จุดที่สมดุลได้ก็เมื่อรับ รู้ว่าชีวิตของแม่ก�ำลังถูกโรคร้ายคุกคาม จุดเด่นที่ท�ำให้ Tokyo Tower อยู่ ในใจของคนดูคงไม่ใช่เพียงแค่รางวัลต่างๆ ที่หนังได้รับ แต่คือเนื้อเรื่องธรรมดาที่อาจ เกิดได้กับทุกคนท�ำให้เป็นเหมือนกระจกที่ สะท้อนให้คนดูหันไปทบทวนตัวเองว่าเรา ได้ ห ลงลื ม คนที่ ทุ ่ ม เททั้ ง ชี วิ ต ให้ กั บ เราไป หรือเปล่า ทุกคนต่างก็มีความฝัน มีความ ต้องการที่จะประสบความส�ำเร็จในชีวิต แต่ ราคาของความส�ำเร็จนั้นก็ต้องแลกกับการ มีเวลาน้อยลงที่จะอยู่กับคนที่เรารักและใน ท้ายที่สุดเขาก็อาจไม่มีโอกาสได้อยู่ดูความ
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 40
เหงานี้แน่ใจหรือว่าเพื่อนหรือใครหรืออะไร ก็ตามจะสามารถเติมเต็มให้ได้ คงไม่มีค�ำตอบที่แน่นอนส�ำหรับ ค�ำถามข้างต้น แต่เศษเสี้ยวของค�ำตอบมี อยู่ใน Tokyo Tower
ชี วิ ต มี ค่ า ก็ ต่ อ เมื่ อ มั น มี บ างอย่ า งที่ มี คุ ณ ค่าเป็นเป้าหมาย เฮเกล
ภาพจากภาพยนตร์ Tokyo Tower By http://www.siamzone.com
ส� ำ เร็ จ ที่ เ ราได้ ทุ ่ ม เทไปอย่ า งยากล� ำ บาก สิ่งที่หนังก�ำลังจะบอกก็คือเราจะต้องรู้จัก สมดุลทั้งสองอย่างไม่มาก ไม่น้อยเกินไป เพื่อให้ค้นพบความสุขที่ยั่งยืนและจะได้ไม่ ต้องเสียใจในภายหลัง เชื่อว่าหากหลายๆ คนได้ดู หนั ง เรื่ อ งนี้ ก็ น ่ า จะอิ น ได้ ไ ม่ ย ากเพราะใน สถานภาพนักศึกษาก็มีเหตุที่ท�ำให้ต้องห่าง ไกลครอบครัวทั้งการเรียน กิจกรรม หรือ การเที่ยวเล่นกับเพื่อน หลายคนอาจมอง ว่าชีวิตในมหาวิทยาลัยที่ห่างไกลจากพ่อแม่ คืออิสระที่จะต้องเสพให้เต็มที่ แต่นั่นคือ ความสุขที่แท้จริงหรือ ที่เรายังสนุกสนาน ได้อยู่ทุกวันนี้เพราะเราไม่ได้ตระหนักว่าใน อนาคตถ้าวันหนึ่งสิ่งที่เคยอยู่กับเราตลอด เวลาหายไปตลอดกาล เราจะท�ำตัวอย่างไร ถ้ า วั น หนึ่ ง กลั บ ไปบ้ า นแล้ ว ไม่ เ จอใครเลย จะเหงาและโดดเดี่ยวแค่ไหน แล้วความ
(ทาน)ตะวันบาน ที่ลพบุรี
ภาพทานตะวันไร่คุณจำ�ปี by Someone In the World
มาปลู ก ในประเทศไทยครั้ ง แรกใน สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ปั จ จุ บั น ปลู ก กั น ในหลายพื้ น ที่ ข อง ประเทศ ที่มากสุดคือบริเวณสระบุรีลพบุรี นอกจากจะให้ประโยชน์ทาง เศรษฐกิจแล้ว ความเหลืองอร่าม ของทานตะวันนนับพันที่ชูช่อดึงดูด สายตา ยังท�ำให้ทุ่งทานตะวันเป็น อี ก หนึ่ ง สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วซึ่ ง ได้ รั บ ความนิยมอย่างมาก โดยเฉพาะใน ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ซึ่ง ทานตะวันจะบานเต็มที่ ส� ำ หรั บ การเดิ น ทาง ไปดู
วารสารเม็ดเลือดแดง
ด
วงตะวันที่เราเห็นกลมโต อยู ่ บ นท้ อ งฟ้ า ทุ ก วั น นั้ น แท้ จ ริ ง อยู ่ ห ่ า งจากโลก ของเรามากนัก จนอาจ ต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะเดินทาง ไปถึง และไม่แน่ว่าไปถึงแล้วอาจโดน เปลงไฟจากตะวั น ดวงนี้ เ ผาท� ำ ลาย เราไปเสียก่อนแล้ว แต่ยังมีตะวันอีก ประเภทหนึ่งที่ไม่เผาท�ำร้ายเรา แถม ยังสวยงามน่าดึงดูด ตะวันดวงนี้อยู่ บนโลกเรานี่เอง ใช่แล้ว...เราก�ำลัง พูดถึงทานตะวัน และวันนี้เราจะพา ไปเที่ยวทุ่งทานตะวันใกล้กรุงเทพฯ ที่ลพบุรีแบบวันเดียวจบกัน ทานตะวั น นั้ น เป็ น ไม้ ด อก ที่ มี ถิ่ น ก� ำ เนิ ด แถบอเมริ ก า กลาง ถูกน�ำเข้า
By Someone In the World
41
ภาพวัดแก่งคอย by Someone In the World
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 42
ทุ่งทานตะวันลพบุรีนั้นมีอยู่หลายวิธี ด้วยกัน ไม่ว่าจะขับรถไปเอง หรือใช้ บริการรถสาธารณะซึ่งมีทั้งรถตู้และ รถทัวร์ แต่หากอยากไปแบบลุยๆ และสบายกระเป๋าหน่อย การเดิน ทางด้วยรถไฟ (ชั้น 3) จึงเป็นทาง เลือกที่น่าสนใจที่สุด ซึ่งเป็นวิธีที่เรา ใช้เดินทางในวันนี้ ส� ำ ห รั บ ค น ที่ อ ย า ก สั ม ผั ส บรรยากาศแบบรถไฟที่ ไ ม่ ล� ำ บาก เกินไปนัก จริงๆ แล้ว การรถไฟฯ มีบริการรถไฟน�ำเที่ยวทุ่งทานตะวัน ด้วย น่าเสียดายที่ปีนี้ไม่เปิด เนื่องจากทุ่งทานตะวันที่การรถไฟฯ จะพาชม เสียหายจากน�้ำท่วม กลั บ มาที่ ก ารเดิ น ทางของ เรา ในวันนี้จะเลือกใช้ทางผ่าน สระบุรีไปลพบุรี เพราะค่อนข้าง สะดวก และจะได้ถือโอกาสเที่ยว สระบุรี จริงๆ แล้วสระบุรีก็เป็นอีก จังหวัดหนึ่งที่ปลูกทานตะวันกันเยอะ เช่นกัน แม้ว่าจะยังไม่เท่ากับลพบุรี ก็ตาม เริ่ ม ต้ น การเดิ น ทางด้ ว ย การนั่ ง รถไฟไปยั ง ชุ ม ทางแก่ ง คอย
จ.สระบุรี ก่อน ซึ่งก็มีหลายขบวนที่ ผ่าน แต่แนะน�ำขบวนกรุงเทพฯ – ชุมทางแก่งคอย รอบ 5.20 น. จะ ดีสุดเพราะนอกจากจะได้มีเวลาเที่ยว เยอะแล้ว ทั้งยังเป็นขบวนชานเมือง ที่โดยสารได้ฟรีอีกด้วย ประมาณแปดโมงกว่าก็มาถึง สถานีปลายทาง สิ่งแรกที่สัมผัสได้ คืออากาศที่ยังคงหนาวอยู่แม้จะเริ่ม เข้าสู่ช่วงสายของวันแล้ว ตัวสถานี นั้นตั้งอยู่ติดกับตัวเมืองแก่งคอยซึ่ง มีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะฉะนั้นถ้า ไม่รีบจนเกินไป การเดินสูดอากาศ ในเมือง ชมบรรยากาศพร้อมทั้งหา อะไรกินที่ตลาดสดแก่งคอย รวมถึง แวะเที่ยวชมวัดแก่งคอยซึ่งตั้งอยู่ริม แม่น�้ำป่าสัก ก็ให้ความรู้สึกดีๆ ที่ แตกต่ า งจากชี วิ ต ที่ เ ร่ ง รี บ ในเมื อ ง กรุงไม่น้อย หลังจากเดินเที่ยวชมจนเข้า สู่ช่วงสายของวัน ก็ได้เวลาเดินทาง ต่อ ต้องไม่ลืมว่าจุดหมายวันนี้คือ ทุ่งทานตะวัน ซึ่งก็ได้ความจากลุง ขายน�้ ำ ชาที่ ต ลาดว่ า สามารถเดิ น ทางไปได้ด้วยกันสองวิธี หนึ่งคือ นั่ ง รถไฟฟรี ข บวนท้ อ งถิ่ น ชุ ม ทาง แก่งคอย-บัวใหญ่ ไปลงที่เขื่อนป่าสัก ชลสิทธิ์ แต่กว่ารถจะเข้ามาที่สถานี ก็เกือบเที่ยง เพราะฉะนั้นจึงตัดสิน ใจเลือกวิธีที่สองที่ลุงบอกคือเดินทาง ด้วยรถเมล์เล็กสายแก่งคอย-ซับน้อย เหนือ (มวกเหล็ก) แทน จุ ด สั ง เกตรถสายนี้ คื อ ตั ว รถ จะมีสีฟ้า เมื่อขึ้นแล้วก็บอกกระเป๋า ว่ า ลงที่ ส ามแยกก่ อ นเข้ า วั ง ม่ ว ง
ภาพไร่ทานตะวันคุณจำ�ปี, ทานตะวัน, ทานตะวันแดง by Someone In the World
วารสารเม็ดเลือดแดง
เนื่องจากเป็นช่วงสายแล้ว ผู้โดย สายจึงไม่เยอะเท่าไหร่ ก็นั่งชมวิว สองข้างทางที่แวดล้อมไปด้วยต้นไม้ เขียวขจี และภูเขาที่มองเห็นอยู่ไกลๆ พร้อมรับลมเย็นที่พัดเข้ามาทางหน้าต่างๆ ไปเรื่อยๆ ระหว่างทางก็ผ่านทุ่งทานตะวัน แถบแก่งคอย-หินซ้อนอยู่หลายทุ่ง แต่ส่วน ใหญ่ก็ยังไม่บานเต็มที่นัก คาดว่าน่าจะ เพราะเหตุน�้ำท่วม ท�ำให้ปีนี้ปลูกช้ากันกว่า ปกติ ด้วยเหตุนี้จุดหมายวันนี้จึงเป็นทุ่ง ทานตะวันที่บริเวณเขื่อนป่าสักฯ แทน ซึ่ง ได้ข่าวว่าบานเยอะกว่าแทน ใช้ เ วลาประมาณหนึ่ ง ชั่ ว โมงก็ มาถึงวังม่วง จากจุดนี้ก็ต้องต่อรถเมล์สี เขียวสายวังม่วง-ลพบุรีอีกทอด ซึ่งจะผ่าน ทุ่งทานตะวันหลายทุ่ง โดยเฉพาะบริเวณ หน้าเขื่อน ที่เราจะไปวันนี้คือทุ่งทานตะวัน ไร่คุณจ�ำปี (แต่ต้องคนขับบอกว่าไร่ ซ. 15 ไม่งั้นคนขับจะไม่รู้จัก) ที่เลือกแห่งนี้ เพราะเป็นอยู่ติดถนนใหญ่เดินทางสะดวก สุด อีกทั้งยังเป็นช่วงเวลาที่เริ่มบานอีกด้วย ทานตะวั น แถบนี้ ยั ง อยู ่ บ ริ เ วณเหนื อ เขื่ อ น ป่าสักฯ ท�ำให้ไม่ได้รับความเสียหายจาก น�้ำท่วมอีกนัก อีกทั้งยังอาจถือโอกาสเที่ยว เขื่อนควบไปด้วยได้ (นอกจากนี้ยังมีทุ่งที่ อยู่ใกล้ๆ กันคือไร่คุณณรงค์ที่ ซ.24 แต่วัน ที่ไปยังไม่บานที ไร่ชอนน้อยที่ ซ.20 ซึ่งมี ขนาดใหญ่กว่า 100 ไร่ แต่ต้องเข้าไปใน ซอยอีกเกือบ 10 กม. และไม่มีรถโดยสาร ผ่าน) แต่กว่าจะมาถึงไร่คุณจ�ำปีก็เกือบ บ่ายโมง เนื่องจากเกิดลงรถผิดป้าย ท�ำให้ ต้องเดินกลางแดดร้อนๆ ป้ายข้างทางก็ หลอกบอกว่าอีก 1 กิโลถึงเอาเข้าจริงก็ปา ไปเกือบ 3 กิโล หรือจะเป็นอย่างที่พวก
43
เหมือนกัน สงสัยคงปลูกยากน่าดู และหากเดินอย่างเดียวอาจร้อน เกินไป บริเวณกลางทุ่งก็มีต้นไม้ใหญ่ซึ่งมี ร่มเงาไว้ให้พักหลบแดดคลายร้อน นั่งมอง ทานตะวันรอบๆ ตัว และฝูงนกที่บินไป มาบนท้องฟ้าเพลินๆ เผลอแป๊ปเดียวมอง นาฬิ ก าที่ ข ้ อ มื อ ตั ว เองก็ บ ่ า ยสามกว่ า แล้ ว ถึงเวลาเดินทางกลับรังสิตแล้วสิ ตอนแรกกะว่ า จะไปที่ ตั ว เมื อ ง ลพบุรีก่อน แต่ดูแล้วคงไม่ทันจึงตัดสินใจ นั่งรถสายวังม่วง-ลพบุรีย้อนกลับไปเขื่อน ป่าสักฯ ซึ่งอยู่ใกล้กว่าแทน เพราะที่เขื่อน มีสถานีรถไฟซึ่งสามารถต่อรถเข้ากรุงเทพฯ ได้ ระหว่ า งที่ ร อรถไฟจะมาถึ ง ก็ ถื ง โอกาสเที่ยวตัวเขื่อนไปด้วย แม้จะสร้าง มาหลายปีแล้วแต่นี่ก็เป็นครั้งแรกที่ได้มา เขื่อนนี้ อย่างไรก็ตามด้วยเหตุที่กว่าจะมา ถึงก็เกือบเย็นแล้ว ก็ท�ำได้เพียงเพียงนั่งรถ
น�ำเที่ยวของเขื่อนซึ่งพาวิ่งรอบๆ สันเขื่อน ขนาดของเขื่อนนับว่ากว้างมากแทบจะสุด ลูกลูกตา สมกับที่เป็นเขื่อนที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศจริงๆ ประมาณห้ า โมงเย็ น รถไฟก็ ม า
ภาพเขื่อป่าสักชลสิทธิ์ by Someone In the World
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 44
Post Modern ชอบว่ากันว่า 1 ซม.ยาว ไม่เท่ากันทั่วโลก กว่าจะถึงไร่ก็เหงื่อก็ไหล โซมเต็มตัวอย่างกับไปอาบน�้ำมา ต่างกัน ก็แค่น�้ำนี้ไม่สดชื่นก็เท่านั้น ผิดแผนจากที่ วางไว้ตอนแรกพอสมควร เพราะฉะนั้นหาก ใครจะไปต้องสังเกตป้ายให้ดีๆ ไม่แน่ใจถาม กระเป๋ารถเมล์หรือคนขับดีที่สุด แม้จะผิดแผนแถมยังเหนื่อย แต่ ก็ช่วยเพิ่มการเดินทางครั้งนี้น่าจดจ�ำมาก ขึ้น อย่างว่าการท่องเที่ยวบางทีสิ่งส�ำคัญ ที่สุดอาจไม่ได้อยู่ที่จุดหมายปลายทางแต่ อยู่ที่ระหว่างทางต่างหาก แม้ทานตะวัน ส่วนใหญ่ยังเริ่มคอตกหงอยๆ ราวกับตัดพ้อ น้อยใจที่เรามาถึงช้า เนื่องจากเป็นช่วงบ่าย แล้ว แต่ก็สวยงามและมีคุณค่าในความรู้สึก แค่นี้ก็นับว่าไม่เสียเที่ยวแล้วละ ส�ำหรับไร่ทานตะวันคุณจ�ำปี (ซึ่ง ไม่เกี่ยวข้องอันใดกับโต๊ะจ�ำปี) นั้นแบ่งพื้นที่ ปลูกทานตะวันเป็นแปลงๆ สลับไปเรื่อยๆ วันที่ไปนั้นมีบานอยู่ 2 แปลงรวมแล้ว ประมาณ 50 ไร่ แม้ไม่ถือว่าใหญ่นัก แต่ ก็กว้างพอให้เดินถ่ายรูปเล่นได้ คนที่ดูแลไร่ บอกว่าถ้ามาช่วงกลางธันวาคม ทานตะวัน จะดอกใหญ่กว่านี้ ตอนนี้เพิ่งเริ่มบาน ดอก จึงอาจยังไม่ใหญ่นัก แต่ที่มีอยู่ในขณะนี้ก็ นับว่าสวยงามมากแล้ว ทานตะวันที่นี่ยังมีความพิเศษอีก อย่างซึ่งทางไร่ยกเป็นจุดเด่นของที่นี่ก็คือ “ทานตะวันแดง” ซึ่งจะต่างจากทานตะวัน ทั่วไปตรงที่กลีบดอกจะเป็นสีแดงแทนที่จะ เป็นสีเหลือง น่าเสียดายที่วันที่ไปเห็นเพียง ไม่กี่ดอกเท่านั้น และส่วนใหญ่ยังเป็นดอก เล็กๆ บางดอกก็ยังแดงไม่เต็มที่ ยังเป็น แดงอมเหลืองอยู่ แต่ก็สวยไปอีกแบบ จะว่า ไปก็ยังไม่เคยเห็นที่ทั้งทุ่งเป็นทานตะวันแดง
ประโยชน์ดีๆ จากเมล็ดทานตะวัน น อ ก จ า ก ดอ ก ท า น ตะวั น จ ะมี สีสันและรูปลักษณ์ที่สวยงามแล้ว เมล็ด ทานตะวันยังถือเป็นอีกส่วนที่มีประโยชน์ มากเช่นกัน โดยเฉพาะในแง่ของการเป็น อาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้ ภายในเมล็ดทานตะวัน ประกอบด้ ว ยสารอาหารจ� ำ พวกวิ ต ามิ น อี ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยป้องกันโรคหัวใจวาย โรคมะเร็ง และโรคต้อกระจก นอกจากนี้ยังมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ช่วยลดระดับทั้งคอเรสตอรอลรวม และคอ เรสตอรอลร้าย (LDL) อันเป็นสาเหตุของ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ทั้งยังช่วยป้องกัน การแข็งตัวของเกล็ดเลือดด้วย ปริมาณที่เหมาะสมคือรับประทาน วันละ 40-60 กรัมหรือประมาณ 2-3 ช้อนโต๊ะ โดยนอกจากจะรับประทานเป็น ของขบเคี้ยวเล่นได้แล้ว ยังสามารถน�ำไป ประกอบอาหารอื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นขนม หวาน สลัด ข้าวอบ หรือคลุกกับเนื้อสัตว์ แทนเกล็ดขนมปังก็ได้ ส� ำ ห รั บ ก า ร เ ลื อ ก ซึ้ อ เ ม ล็ ด ทานตะวันที่นั้น ให้สังเกตจากเปลือกต้อง เป็นสีเทา ไม่มีสีเหลืองหรือน�้ำตาล และ ต้องไม่มีกลิ่นเหม็นหืนด้วย อ้างอิงข้อมูล: ประโยชน์ของ เมล็ดดอกทานตะวัน. [ออนไลน์]. http:// www.kroobannok.com/blog/2982. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2553.
วารสารเม็ดเลือดแดง
ถึง เป็นขบวนท้องถิ่นชุมทางบัวใหญ่-ชุม ทางแก่งคอย โดยสารฟรี แต่รถค่อนข้าง เก่านิดนึง (น่าจะสัก 30-40 ปีขึ้น) เสร็จ แล้วก็ต้องมาต่อรถไฟฟรีชั้น 3 สายอุบลฯกรุงเทพฯ อีก ซึ่งก็ต้องลุ้นนิดหน่อยหน่อย เพราะเวลาที่ ร ถบั ว ใหญ่ ม าถึ ง ที่ แ ก่ ง คอย กับเวลาที่รถอุบลออกจากแก่งคอยห่างกัน เพียงแค่ 1 นาที ดังนั้นถ้ารถบัวใหญ่มา ถึงช้า ก็จะพลาดรถไฟเที่ยวสุดท้ายที่จะเข้า กรุงเทพฯ ซึ่งก็อย่างที่ทราบกันว่ารถไฟไทย นั้นไว้ใจไม่ค่อยเสียด้วย แต่อย่างน้อยวันนี้ก็นับว่าโชคดีที่ รถสายอุบลก็มาถึงสายด้วย จึงท�ำให้ขึ้น รถได้ทัน เป็นอันว่าสามารถเดินทางกลับ รังสิตได้อย่างสวัสดิภาพ จบทริปเล็กๆ ใน เวลาหนึ่งวัน แม้จะมีเหนื่อยและอุปสรรค บ้าง แต่ก็สนุกและท้าทายไม่น้อย ส�ำหรับ ใครที่ต้องการจะไปชมทุ่งทานตะวันบ้าง ก็ ขอให้รีบหน่อย เพราะทานตะวันจะบานรับ นักท่องเที่ยวไปจนถึงประมาณปลายเดือน มกราคมแล้วเท่านั้น
45
46
ก่
อนอื่ น ต้ อ งขอโทษท่ า นผู ้ อ ่ า นมาน่ะที่นี้ เพราะว่าตอนแรก ผมตั้ ง ใจว่ า จะแนะน� ำ อาหาร อร่อยๆ แถวๆ ท่าพระจันทร์ แต่ ก็ ต ้ อ งเปลี่ ย นแผนเพราะอุ ป สรรคบาง ประการ ฉบับนี้จึงขอแนะน�ำของอร่อย แถวๆ ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ร้านที่จะแนะน�ำคือ ก๋วยเตี๋ยวเรือ ยกซด สูตรอยุธยา ร้านนี้ตั้งอยู่บริเวณ หน้าหอแจน ร้านนี้แต่เดิมผมก็ไม่รู้จักมา ก่อน แต่ต่อมามีเพื่อนๆ กล่าวถึงและได้ ซื้อมาฝากพอได้ชิมครั้งแรกผมก็ติดใจทันที เพราะว่าน�้ำซุปมีรสชาติ ที่เอกลักษณ์เพราะ
By เจ้าพระยาสมบูรณ์วิเศษณ์โภชนา (อ้วน ท้วน สมบูรณ์) ว่ามีรสชาติที่เข้มข้นแม้จะยังไม่ปรุง ร้าน นี้มีทั้งก๋วยเตี๋ยวหมูและเนื้อ สามารถเลือก กันได้อย่างใจชอบ แต่ขอบอกว่าร้านนี้ ลูกค้าเยอะมากเวลาไปทานที่ร้านพอได้โต๊ะ นั่ง ท่านทั้งหลายก็ต้องเขียนรายการลงใน กระดาษที่วางไว้ที่โต๊ะ เพราะทางร้านจะ ได้บริการได้ถูกต้องน่ะครับ เมนูที่อยากจะ แนะน�ำคือ เส้นหมี่สดเปื่อย กับ เส้นหมี่ หมูน�้ำตก รับลองว่าอร่อยชัวร์ เวลาท�ำการ 9.00 น. ถึง 16.00 น. ที นี้ ล องมาฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ เพื่อนๆในคณะที่เคยลิ้มรสก๋วยเตี๋ยวร้านนี้ กัน
ภาพก๋วยเตี๋ยว By Sayong ณ กรูยอ และเจ้าพระยาวิเศษณ์โภชนา (อ้วน ท้วน สมบูรณ์)
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
ก๋วยเตี๋ยวเรือยกซด สูตรอยุธยา
“อร่อยมาก รสชาติเข้มข้มกว่าก๋วยเตี๋ยวน�้ำตกทั่วๆไปเยอะ ราคาก็ไม่แพงมากนะ แต่ต้อง ท�ำใจกับบริการหน่อย” ไนซ์ ปี3 ค่ายนักรัฐฯ “รสชาติอร่อยดีนะ แต่ต้องอดทนรอนิดนึง” ระทวย ปี3 กลุ่มบอล “ก็อร่อยดีครับ ถูกปากมากเลย มีเอกลักษณ์” โดนัท ปี3 ประธานค่ายนักรัฐฯ “ก๋วยเตี๋ยวเรือร้านนี้มีทีเด็ดตรงที่เนื้อหมูนุ่มละมุนลิ้น ลูกชิ้นรสชาติดี เพิ่ม ดีกรีความกลมกล่อมด้วยน�้ำตกข้นๆที่ ไม่คาว หากไม่ทานเผ็ดก็รีเควสได้ตามใจ ถ้าอยาก เปลี่ยนบรรยากาศทานแบบแห้ง รสชาติก็ไม่แพ้กัน ทานพร้อมด้วยน�้ำซุปรสเยี่ยมที่เต็มไป ด้วยความหอมหวาน แล้วจะเสียดายถ้าไม่ได้กิน” ไกด์ ปี3 สุดท้ายนี้ผมอยากขอขอบคุณพี่อัจ ได้งานตามที่หวังไว้ หรือให้ได้เรียนต่อใน และพี่กวางที่ได้ให้โอกาสผมมารับผิดชอบ มหาวิทยาลัยและสาขาวิชาที่ต้องการ นะ คอลัมพ์ “สิงห์ลงพุง” และโอกาศนี้ยังขอ ครับ อวยพรไปถึงรุ่นพี่ที่ส�ำเร็จการศึกษา ใน ภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ให้
วารสารเม็ดเลือดแดง
“อร่อย แล้วก็เข้มข้นดีด้วย แต่บริการค่อนข้างแย่เลยทีเดียว!” เพื่อน ปี3 รองประธาน กน. (รังสิต)
47
อาหารหลังผลิใบ:
48
ข
อสวัสดีท่านผู้อ่านเม็ดเลือดแดง อีกครั้ง แม้ว่าผู้เขียนจะไม่รู้ว่า ต้นฉบับของผู้เขียนนี้จะออกทัน ในช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายนหรื อ ไม่ เพราะเนื่องจากความล่าช้าจากตัวผู้ เขียนเองซึ่งอาจไม่ต่างจากรัฐบาลทุกยุคทุก สมัยที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมหรือ ปัญหาของเกษตรกรได้ ซึ่งกว่าจะเห็นผล ก็คงรออย่างยาวนานเฉกเช่นการรอต้นไม้ ให้ผลิใบดอกไม้บาน พืชพันธุ์ธัญญาหารให้ ผลิดอกออกผล หรือการออกจากถ�้ำของ หมีหลังการจ�ำศีลที่ยาวนาน หนังสือก็เช่น เดียวกัน ที่ในช่วงเดือนตุลาคมกับเดือน เมษายนคงเป็นช่วงที่หนังสือ “ผลิใบ” ที่ รอคอยงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติซึ่งเล่า คนท�ำหนังสือจะออกหนังสือใหม่ ลดราคา หาลูกค้า และระบายหนังสือเก่าๆ ในสต๊อ คออก แต่การอ่านหรือเลือกหนังสือก็อาจ เหมือนการผลิใบแตกหน่อความคิดความ รู ้ ห รื อ ในทางตรงกั น ข้ า มอาจน� ำ ความ งอกเงยของความอับเฉาในจิตใจและปัญญา ได้ เพราะเราก็ไม่รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นจะมี คุณหรือโทษกับเราอย่างไร? การ “ผลิใบ” ของหนังสือก็คง เป็ น เช่ น เดี ย วกั บ การงอกเงยของพืชพัน ธุ์ ธั ญ ญาหารหลั ง การผลิ ใ บที่ เ ราก็ ไ ม่ รู ้ ว ่ า อาหารนั้นจะเป็นคุณหรือโทษต่อผู้บริโภค
By Eak
โดยเฉพาะอาหารหรื อ บางที่ อ าจเรี ย กให้ รัดกุมว่าเป็น “สิ่งที่คล้ายกับอาหาร” ดัง ที่ Michael Pollan ได้เขียนในหนังสือ ที่มีชื่อของเขาว่า “แถลงการณ์นักกิน” (In Defense of Food: An Eater’s Manifesto) ที่ออกมาในโลกภาษาอังกฤษ เมื่อค.ศ.2008 ชื่อของ Michael Pollan ซึ่งเป็นนักเขียนและผู้สื่อข่าวชาวอเมริกัน พร้อมกับควบต�ำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ ด้านสื่อสารมวลชนประจ�ำ Berkeley Graduate School of Journalism แห่ง University of California at Berkeley ที่ มี บ ทบาทอย่ า งสู ง ในการตี แ ผ่ ถึ ง ปั ญ หา
ภาพหน้าปกแถลงการณ์นักกิน by http://www.matichon.co.th
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ”
“แถลงการนักกิน” ของ Michael Pollan
อิ ส ระและผู ้ ผ ลิ ต ที่ เ ป็ น ผู ้ รั บ เหมาช่ ว งการ ผลิตต่อ (Subcontract) จากบรรษัทขนาด ใหญ่ ที่ตอบสนองการบริโภคอันเร่งรีบของ อเมริกันชน ซึ่งได้กระทบต่อระบบห่วงโซ่ อาหารอั น เป็ น ผลจากการเร่ ง ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรโดยอาศัยเทคโนโลยีด้านอาหารและ พันธุกรรม ในหนังสือ “แถลงการณ์นักกิน” ของ Pollan ก็ให้ข้อสรุปถึงสิ่งที่เขายืนยัน มาตลอดนับตั้งแต่เขาเข้ามาเป็นนักวิชาการ ด้านอาหาร ถึงปัญหาวิถีการกินและระบบ อุตสาหกรรมอาหารของชาวอเมริกันสมัย ใหม่ ที่เป็นรูปแบบและลักษณะที่แพร่หลาย ไปทั่วโลกนั้นได้สร้างปัญหาอย่างมากต่อ สุขภาพที่เกิดจาก “โรคตะวันตก” ที่เป็นภัย ต่อชีวิตที่แพร่กระจายไปในประเทศที่มีแนว โน้มเป็นสังคมอุตสาหกรรม เช่น อัตราคน เป็นโรคอ้วนในยุโรปที่เริ่มใกล้เคียงกับคน ที่เป็นโรคอ้วนในอเมริกาที่มาพร้อมกับการ เพิ่มขึ้นของคนที่เป็นโรคเบาหวานกับโรค หัวใจและหลอดเลือด รวมไปถึงสาเหตุของ โรคมะเร็ ง บางชนิ ด ที่ มี ต ้ น ตอจากอาหาร ยุคใหม่อันหมายถึง “อาหารแปรรูป” ที่ เกิดจากการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แปรรูปอาหารสมัยใหม่ ปัญหาดังกล่าวที่ เกิดขึ้นท�ำให้สหประชาชาติถึงกับประกาศ ว่า จ�ำนวนผู้ประสบภาวะ “โภชนาการเกิน” ได้แซงหน้าจ�ำนวนมากกว่าผู้ประสบภาวะ “โภชนาการขาด” ไปแล้ว ซึ่งดูจะเป็นเรื่อง ที่สวนทางกับบางภูมิภาคในโลกที่ยังประสบ ภาวะสุ ข ภาพและทุ พ โภชนาการจากการ ขาดแคลนอาหารอย่างหนักที่เป็นผลจาก
วารสารเม็ดเลือดแดง
และสายใยของปั ญ หาในการบริ โ ภค อาหารซึ่งเป็นปัจจัยสี่ของมนุษย์ที่ส่งผลตอ วัฒนธรรม ชีววิทยาและสภาพแวดล้อม อัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ ผลิ ต และองค์ ค วามรู ้ ท างอาหารและ โภชนาการที่เกิดขึ้นโดย “นักโภชนาการ” และ “นักอุตสาหกรรมเกษตร” เป็นต้น โดย Pollen นั้นได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ การผลิตและการบริโภค ห่วงโซ่อาหาร และนิ เ วศวิ ท ยาธรรมมาชาติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับการกินของมนุษย์มาแล้วหลายเล่มเล่ม เช่น Second Nature: A Gardener’s Education (1992) The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals (2006), Food Rules: An Eater’s Manual (2009) ซึ่งหลายคน อาจจะคุ้ยเคยผลงานของ Pollan ในฐานะ ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ของภาพยนตร์ ส ารคดี เรื่อง Food Inc. ของ Robert Kenner ที่ ไ ด้ ตี แ ผ่ ก ระบวนการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมอาหารหารของสหรัฐอเมริกา ที่ ท รงอิ ท ธิ พ ลในการก� ำ หนดการบริ โ ภค และนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับอาหารและ สุขภาพของชาวอเมริกัน ตั้งแต่ปัญหาการ ผลิตแบบสมัยใหม่และเป็นอุตสาหกรรมที่มี ลักษณะการผลิตแบบสายพาน (Conveyor manufacturing) ที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ของสิ่งมีชีวิต การจัดจ�ำหน่ายสินค้า เครือ ข่ า ยบรรษั ท ขนาดใหญ่ ด ้า นอุ ตสาหกรรม อาหารและการเกษตรที่ผูกขาดอยู่เพียงไม่กี่ ราย รวมไปถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับเกษตรกร และผู้ผลิตอาหารรายย่อยทั้งที่เป็นผู้ผลิต
49
ซับซ้อนอยู่มากจนยาก ที่จะชี้ชัดได้ รวมไปถึง การผลิตสิ่งที่ Pollan เรียกว่า “สิ่งที่คล้าย อาหาร” อันเป็นผลจาก การเปลี่ ย นแปลงของ ผลิตภัณฑ์อาหารที่วาง จ�ำหน่ายในซูเปอร์มาร์ เกตของเหล่ า บรรษั ท อุ ต สาหกรรมอาหาร ที่ ท� ำ ใ ห ้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ อาหารเหล่านี้ห่างไกล จากความเป็ น อาหาร ดั้งเดิมของมันจากส่วน ผสมและกระบวนการ ผลิต เช่น การเพิ่มสารเคมีและผลิตภัณฑ์ สังเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม ของพืชและสัตว์ เป็นต้น รวมไปถึงปัญหา การสร้างภาพลักษณ์ที่ผิด ๆ ของอาหาร “เพื่อสุขภาพ” จากการโฆษณาและองค์ ความรู ้ ด ้ า นอาหารที่ ถู ก บิ ด เบื อ นและตั ด ทอนซึ่งเกิดจากอิทธิพลของบรรษัทอาหาร ที่มีต่อการก�ำหนดนโยบายของรัฐบาลและ พรรคการเมืองของประเทศ ที่ผลสุดท้าย ท�ำให้เกิดความเชื่อเรื่องการกินเพื่อ “สาร อาหาร” มากกว่าการกินเพื่ออยู่ตาม ธรรมชาติอย่างแท้จริง โดยในหนังสือเล่มนี้ได้ให้ข้อเสนอ ที่เรียกว่า “แถลงการณ์นักกิน” ถึงการกิน ที่ถูกต้อง เพื่อสุขภาพ และเป็นธรรมชาติ เพื่ อ เป็ น หนทางในการทั ด ทานการกิ น แบบโภชนาการนิ ย มตามที่ เ หล่ า บรรษั ท
ภาพโปสเตอร์ภาพยนตร์เรื่อง Food Inc. by http://www.matichon.co.th
ฉบับที่ ๑๙ “ผลิใบ” 50
ภ ัยธรรมชาติ การ เปลี่ ย นแปลงของ ระบบนิ เ วศวิ ท ยา และสงคราม แต่ ในอี ก ภู มิ ภ าคหนึ่ ง กลั บ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปัญหา “โภชนาการ เกิน” ที่เป็นผลของ การเปลี่ ย นแปลง วิ ถี ก ารผลิ ต อาหาร ตามแบบอเมริ กั น และเป็นการท�ำลาย ขนบธรรมเนียมของ การกิ น แบบดั้ ง เดิ ม ในนามของการกิ น เพื่อ “โภชนาการนิยม” (Nutrientism) ดังที่ Pollan สรุปอย่างเย้ยหยันว่าการกินเพื่อ “สารอาหาร” มากกว่าการกิน “อาหาร” “แถลงการณ์นักกิน” ได้ชี้ให้ เห็ น ถึ ง ปั ญ หาความเชื่ อ เรื่ อ งสารอาหาร และโภชนาการซึ่ ง เขามองว่ า เป็ น ผลผลิ ต ของนั ก โภชนาการและนั ก อุ ต สาหกรรม ที่ เ ริ่ ม มี บ ทบาทต่ อ การก� ำ หนดวิ ถี ก ารกิ น ของชาวอเมริกัน เขามองว่าสารอาหาร ที่คนทั่วไปมักเชื่อกันว่าเป็นประโยชน์หรือ โทษตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 เช่น ไขมัน สั ต ว์ มี อั น ตราถึ ง ตายหรื อ การกิ น ปลามี ผลดีต่อหัวใจ นั้นยังเป็นสิ่งที่มิได้รับการ พิ สู จ น์ อ ย่ า งแน่ ชั ด เพราะองค์ ค วามรู ้ ท าง ด้านอาหารของมนุษย์นั้นมีจ�ำกัดและสาย สัมพันธ์ของอาหาร ระบบร่างการของ มนุษย์ และระบบนิเวศวิทยานั้นความสลับ
การแผ่ ข ยายของบรรษั ท อาหารจนมี ผ ล ต่ อ การกิ น และการผลิ ต อาหารของเรา อย่างที่เราทราบกันดีจากการโฆษณาของ ผลิตภัณฑ์อาหาร หรือการเปลี่ยนแปลง วิ ถี ก ารผลิ ต อาหารตามการเปลี่ ย นแปลง ของสังคมที่เป็นอุตสาหกรรมของเรา จน ท�ำให้อาหารหลังการผลิใบนั้นเปลี่ยนแปลง ไปจากเดิมจนบางครั้ ง การมาของอาหาร ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งรอสั ญ ญาณจากการผลิ ใ บ ตามธรรมชาติ เ พราะมั น ถู ก ควบคุ ม โดย ระบบการผลิตที่ไม่เป็นธรรมชาติของระบบ อุตสาหกรรมอาหารสมัยใหม่ 4 พฤศจิกายน 2553 ในฤดูน�้ำหลาก
ชื่อหนังสือ: แถลงการณ์นักกิน (In Defense of Food: An Eater’s Manifesto) เขียนโดย: ไมเคิล พอลแลน (Michael Pollan) พิมพ์ครั้งที่: 1 (กรกฎาคม 2553) โดยสำ�นักพิมพ์มติชน ISBN: 978-974-02-0617-0 รายละเอียดรูปเล่ม: ปกอ่อน ราคา : 195.00 บาท
วารสารเม็ดเลือดแดง
อุตสาหกรรมอาหารต้องการ โดยสรุปไว้ สั้น ๆ ว่าให้ “กินอาหาร อย่ามากไป พืช เป็นหลัก” (Eat food. Not too much. Mostly plants) โดยให้เรากินอาหารที่แท้ จริงในปริมาณที่พอเหมาะต่อการด�ำรงอยู่ โดยเน้นการกินพืชอย่างสมดุล โดยให้นัก กินนั้นตระหนักถึงชีววัฒนธรรมของอาหาร ที่เป็นส่วนผสมของคุณค่าอาหารตามหลัก ชี ว วิ ท ยาและภู มิ ป ั ญ ญาทางวั ฒ นธรรมที่ มีพัฒนาการและผสมกลมกลืนกัน ซึ่งใน “แถลงการณ์นักกิน” ได้ระบุถึงหลักปฏิบัติ ไว้หลายข้อเป็นแนวทางอีกด้วย เราอาจกล่ า วได้ ว ่ า ในช่ ว งผลิ ใ บ ซึ่งมาพร้อมกับการงอกเงยและความอุดม สมบูรณ์อาจเสี่ยงที่ต้องเผชิญกับอาหารที่ ด้อยคุณภาพ ซึ่งปัญหาที่ Pollan เสนอ นั้ น ก็ มี แ นวโน้ ม ที่ เ กิ ด ในประเทศไทยซึ่ ง
51
Special Thanks ขอขอบคุณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันที่รักยิ่งของ
เรา ซึ่งช่วยให้ต้นไม้แห่งความรู้ของเราได้ผลิใบ
ขอขอบคุณ พี่พร พี่เหมียว และพี่ๆ เจ้าหน้าที่คณะรัฐศาสตร์ทุกคน ทีี่
อ�ำนวยความสะดวกและช่วยเหลือวารสารเม็ดเลือดแดงในด้าน
ต่างๆ
ขอขอบคุณ ทีมงานเม็ดเลือดแดงทุกคนที่ช่วยสร้างสรรค์ผลงานออกมา
ดั่งต้นไม้ที่ผลิใบ
ขอขอบคุณ ต้นไม้ที่ช่วยผลิใบให้ความเขียว ขอขอบคุณ น�้ำ, ปุ๋ย, กาบมะพร้าว, ขี้ไต้ ฯลฯ ที่ช่วยต้นไม้ให้ผลิใบ ขอขอบคุณ เวลาที่มอบช่วงเวลาการผลิใบให้แก่ต้นไม้
และสุดท้าย ขอขอบคุณ ผู้อ่านทุกๆ ท่านที่ติดตามการผลิใบของเราตลอดมา
สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง