ในเชิงวิทยาศาสตร์ เม็ดเลือดแดง คือตัวน�ำออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงร่างกาย
เป็นสิ่งจ�ำเป็น หากขาดซึ่งเม็ดเลือดแดงแล้วไซร้ มนุษย์ย่อมไม่สามารถด�ำรงชีพอยู่ได้ ในการศึกษารัฐศาสตร์ ข้อมูล ข่าวสารและสังคม เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง หากขาดซึ่งสรรพสิ่งเหล่านี้ การศึกษารัฐศาสตร์ย่อมเป็นไปได้ยาก ในที่นี้ ข้อมูลข่าวสารจึงประดุจดั่ง “เม็ดเลือดแดง” ที่หล่อเลี้ยงนักศึกษารัฐศาสตร์ให้รอบรู้มากยิ่งขึ้น
วารสารเม็ดเลือดแดง จึงถือก�ำเนิดขึ้น ด้วยประการฉะนี้ แล ๛ Medleuddang July-August 2010.indd 2
28/8/2553 10:06:21
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
Editor Talk
1
ภาพบางภาพ สิ่งบางสิ่งแม้จะอยู่ไกล แสนไกลก็ตามเราก็ยังสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน แต่ บ างสิ่ ง แม้ จ ะอยู ่ ใ กล้ แ ค่ เ อื้ อ มกลั บ มองไม่ เ ห็ น ระยะใกล้ไกลหาใช่ปจั จัยเดียวในการมอง หากแต่ยงั มีเลนส์แห่งตา เลนส์แห่งใจที่คอยขัดขวางบดบัง แม้ ใกล้ตวั แต่ถา้ ไกลใจก็มองไม่เห็น เปรียบเหมือนชีวติ คนเรา บางครัง้ สิง่ ทีใ่ ช่อยูเ่ บือ้ งหน้า หนทางที่เราใฝ่หายังทอดอยู่ให้เห็น แต่เส้นผมบางๆ เพียงเส้นกลับบดบังจนเราหลุด หลงทาง ถ้าเราอยากมองให้เห็นโลกที่แท้ เดินตามทางที่ถูก เราต้องถอดเลนส์ที่บังตา บังใจของเราออกเสีย ทั้งอคติทั้งอัตตา มองโลกด้วยเหตุด้วยผลมองโลกด้วยสายตา ของตน แล้วเราจะได้เห็นทิวทัศน์น่ายลที่สวยงามของโลกนี้ อยากให้เพื่อนทุกคนลอง หลับและเปิดใจ จากนั้นลืมตาขึ้นใหม่เพียงครั้ง คุณจะเห็นโลกที่ดีขึ้นแน่นอน Dragonart.com: How to Draw Teggy the Great Lion
ด้
Medleuddang July-August 2010.indd 1
กองบรรณาธิการ วารสารเม็ดเลือดแดง
28/8/2553 10:06:23
สารบัญ
ฉบับที่ ๑๘ : ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน (กรกฎาคม - สิงหาคม ๒๕๕๓)
Young Blood: ความไม่ค่อยชัดเจนในกระแส นิเวศน์นิยมในเวทีการเมืองโลก......................................3 วิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมือง...................................5 Young Blood: 50UP ภาพที่ยังไม่ชัดเจน............9 นอกห้องเรียน: สถานที.่ ....................................................11
อ�ำนวยการผลิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดท�ำโดย กลุ่มข้อมูลข่าวสารและวารสาร คณะรัฐศาสตร์ บรรณาธิการบริหาร ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม)
เติมหัวใจไปรอบโลก.........................................................12 จิบชา.........................................................................................17 การประกันคุณภาพการศึกษา...................................18 บทความ: มองการเมืองไทยปัจจุบันผ่าน “ความเป็นไทย” ของ “คึกฤทธิ์”..................................22 กวีกระวาท: ประดิษฐกรรม ธรรมะสมมุติ...........29 เจาะเลือด:...............................................................................30 Young Blood: Surviving Disaster เมือ่ มหาอ�ำนาจอ�ำพรางตัว...............................................34 ไส้ติ่ง: กองไฟที่มอดดับยังเหลือซึ่งกองถ่าน สุขใดจะเทียบเท่าสุขสงบรสพระธรรม.........................37 แหวกอกสิงห์ Special Issue..................................41 มองสังคมผ่านแผ่นฟิล์ม: Amelie สาวน้อย สะดุดรัก....................................................................................46 สิงห์ลงพุง: .............................................................................48 สิงห์หนังสือ: หนังสือกับความคลุมเคลือ...............49 จิบชา เฉลย...........................................................................52 Special Thanks
Medleuddang July-August 2010.indd 2
กองบรรณาธิการ มารุต ศูนย์ตรง (บาส)
เทียนธวัส ศรีใจงาม (เทียน)
คอลัมนิสต์ อลิษา จิตรภูษา (กวาง) อัจฉราภรณ์ วงศ์สุบรรณ (อัจ) เอกวีร์ มีสุข (เอก) อเนกพล คงเกลี้ยง (เจมส์) มารุต ศูนย์ตรง (บาส) อนีสสา นาคเสวี (ซะห์) ปัณฑ์ชนิต สุฤทธิ์ (เดือน) ปวีณ์สุดา เข็มส�ำฤทธิ์ (นุก) อนุพงษ์ ปลิวทอง (แม็กซ์)
สิริพงศ์ นฤดีสมบัติ (ป๊อก) เทียนธวัช ศรีใจงาม (เทียน) วริษา อินทรัตน์ (พัศร) มนัศชัย อุ่นศิริ (ศร) วนิดา คุณรอด (บี) เกรียงไกร ไชยหาญ (หลุยส์) ธนิก วิไลลักษณ์ (นิก) ขวัญชัย เสียงรุ่งเรือง (เจ้น) และที่มิได้ออกนามมา ณ ที่นี้
ภาพปก สิริพงศ์ นฤดีสมบัติ (ป๊อก) ณัฐพล สอนจรูญ (บูมสกี้) ศิลปกรรม ณัฐพล สอนจรูญ (บูมสกี้)
พิสูจน์อักษร มารุต ศูนย์ตรง (บาส) ศุภกิจ แดงขาว (ต้อม) ปัณฑ์ชนิต สุฤทธิ์ (เดือน)
ติดต่อ โทรศัพท์ 089-5897638: ต้อม อีเมลล์ jc_singhadang@hotmail.com เว็บไซต์ Facebook/เม็ดเลือดแดง Polsci.TU พิมพ์ที่: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ�ำนวน 500 เล่ม
28/8/2553 10:06:26
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ความไม่ ค ่ อ ยชั ด เจน ในกระแสนิ เ วศน์ นิ ย มในเ ว ที ก า ร เ มื อ ง โ ล ก BY
น ภ น ต์ ส ร พั ศ
huffingtonpost.com: Governors’ Global Climate Summit: Thinking As One Planet
ไม่
กี่ปีมานี้ เคยพบค�ำถามว่าบาง คนที่สนใจเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม ท�ำไมจึงไม่ไปศึกษา ศาสตร์ทางการเกษตรหรือชีววิทยาโน่น ดู เหมือนว่าผู้ที่สามารถตั้งค�ำถามนี้ไม่ได้เชื่อม โยงมิตขิ องสังคมและการเมืองกับความสัมพันธ์ ของมนุษย์ตอ่ ธรรมชาตินกั แต่ในยุคปัจจุบนั แม้แต่ระดับสังคมโลกก็มสี �ำนึกถึงความเสีย่ งไร้ พรมแดนอันเกี่ยวเนื่องจากสภาพธรรมชาติที่ เผชิญร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นความเปลี่ยนแปลง ของสภาพภู มิ ก าศ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ฯลฯ ก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ ท�ำให้เกิด “กติกา และกลไก” ทางการเมือง ที่จะเข้ามาดูแล ประเด็นดังกล่าวไม่ด้อยไปกว่าประเด็นอื่นๆ ซึ่ ง อาจจะเป็ น ในลั ก ษณะของเครื อ ข่ า ยทาง สังคมของภาคพลเมือง NGO หรือองค์กร ระหว่างประเทศซึ่งรัฐต่างๆ เข้าเป็นภาคี ในเดื อ นธั น วาคมปี ที่ แ ล้ ว เราก็ เพิ่งจะได้เห็นการประชุมนานาชาติซึ่งจัดโดย สหประชาชาติ ณ โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก เพื่ อ แสวงหาข้ อ ตกลงชุ ด ใหม่ ม าเป็ น กติ ก า รั บ ช่ ว งการท� ำ งานต่ อ จากพิ ธี ส ารเกี ย วโต ซึ่ ง จะหมดวาระบั ง คั บ ใช้ ภ ายในปี 2012
Medleuddang July-August 2010.indd 3
ตาม “อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” (United Nations Framework Convention on Climate
3
Change - UNFCCC) อันมีเป้าหมายหลัก ในการพยายามผลักดันความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่จะรักษาความเข้มข้นของปริมาณ ก๊ า ซเรื อ นกระจกในชั้ น บรรยากาศให้ อ ยู ่ ใ น ระดับที่ปลอดภัย (ตั้งเป้าหมายไว้คือ ระดับ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของปี พ.ศ. 2533) โดยธรรมชาติสามารถรองรับได้ และไม่เกิดผล กระทบอย่างรุนแรงต่อความมัน่ คงทางอาหาร ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ผลจากการประชุมในวาระดังกล่าว ปรากฏเป็นข้อตกลง Copenhagen Accord ซึง่ เจรจากันระหว่างสหรัฐฯ จีน อินเดีย บราซิล
28/8/2553 10:06:28
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
4
Medleuddang July-August 2010.indd 4
ร�่ำรวยรับภาระรับผิดชอบในการลด GHG ที่ สูงกว่าด้วยความที่ได้สร้างเศรษฐกิจมาเป็น เวลาที่ยาวนานและเป็นหัวขบวนในการท�ำให้ เกิดปัญหาโลกร้อน ขณะทีป่ ระเทศพัฒนาแล้วก็ มองว่าประเทศก�ำลังพัฒนาทีม่ ขี นาดก�ำลังการ ผลิตและการบริโภคเติบโตขึ้นก็ควรจะมีการ ร่วมรับผิดชอบทีม่ ากขึน้ ด้วย มองเผินๆ แล้วก็ อาจแทนภาพของการเมืองโลกในขณะนีท้ มี่ กี าร ท้าทายระบบโลกของ มหาอ� ำ นาจเดี่ ย วใน ยุ ค หลั ง สงครามเย็ น จากประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นาที่ ท วี บ ทบาท ทางเศรษฐกิ จ และ การเมื อ งโลกสู ง ขึ้ น ซึง่ เรามักนึกถึงจีนเป็น ประเทศแรกๆ ในระดั บ รั ฐ กล่ า วได้ ว ่ า กลุ ่ ม ชน ผู ้ มี บ ทบาททางการ เมื อ งย่ อ มเลื อ กที่ จ ะ รั ก ษาความสั ม พั น ธ์ ทางเศรษฐกิ จ ในลั ก ษณะที่ รั ก ษาสถานภาพ ของตน นับตั้งแต่เรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับระบบ ระเบียบทางเศรษฐกิจ และส่วนเกินก็จะน�ำ มาสนับสนุนกิจการความมั่นคงเป็นเครื่องมือ คุ้มกันระบอบสังคม ก่อให้เกิดการรวมศูนย์ อ� ำ นาจที่ จ ะใช้ ก� ำ ลั ง อาวุ ธ และศั ก ยภาพการ ระดมเอาทรัพยากรซึ่งฐานสองส่วนนี้สัมพันธ์ ในเชิ ง สนั บ สนุ น กั น และกั น เป็ น ในบริ บ ท ระหว่ า งประเทศที่ เ เต่ ล ะรั ฐ ต่ า งขั บ เคลื่ อ น วงจรเพื่ อ อยู ่ ร อดภายในเองเเละเเข่ ง ขั น ใน ระบบทุ น นิ ย มโลก จึ ง ดู เ หมื อ นว่ า ประเด็ น คุณภาพชีวิตเเละสิ่งเเวดล้อมตกเป็นประเด็น
GLOBAL WARMING: UBER
และแอฟริกาใต้เท่านั้น ทั้งยังไม่ได้กำ� หนดว่า จะเจรจาในรู ป แบบสนธิ สั ญ ญาเมื่ อ ใด และ ไม่มีการก�ำหนดปริมาณการตัดลดก๊าซเรือน กระจก (Green House Gas: GHG) ทีแ่ น่นอน ข้ อ ขั ด แย้ ง ส� ำ คั ญ คื อ ความไม่ ล งตั ว ระหว่ า ง ความคาดหวั ง ของประเทศร�่ ำ รวย ที่ อ าจ สังเกตบทบาทน�ำได้จากสหรัฐฯ กับประเทศ ยากจน(กว่า) ซึ่งส่วนมากเป็นประเทศก�ำลัง พั ฒ นาซึ่ ง น� ำ โดยจี น ประเด็นที่ตกลงกันไม่ ได้เรือ่ งแรกคือรูปแบบ ของข้อตกลง ประเทศ ยากจนต้ อ งการต่ อ อายุ พิ ธี ศ าลเกี ย วโต ด้ ว ยความที่ ไ ม่ ต ้ อ ง แบกรั บ ภาระผู ก พั น ในการลดการปล่ อ ย GHG แต่ ป ระเทศ ร�่ ำ รวยต้ อ งการสนธิ สั ญ ญ า ฉ บั บ ใ ห ม ่ เรื่ อ งที่ ส องคื อ การ ก�ำหนดระดับการเพิ่ม ขึ้นของอุณหภูมิโลกที่เทียบระหว่างสองกลุ่มนี้ ได้ว่า ประเทศยากจน:ประเทศร�่ำรวย เท่ากับ ก�ำหนดให้การเพิ่มอุณหภูมิได้ไม่เกิน 1◦C ต่อ 2 ◦C เรื่องที่สามคือ การก�ำหนดปริมาณ การปรับลดก๊าซเรือนกระจก ประเทศยากจน เรียกร้องให้ประเทศร�ำ่ รวยตัดลดก๊าซลง 40% ภายในปี 2020 ขณะทีฝ่ า่ ยตรงข้ามไม่ตอ้ งการ ก�ำหนดขอบเขตทางปริมาณ และเรื่องสุดท้าย คือ จ�ำนวนเงินที่ประเทศร�่ำรวยต้องจ่ายเพื่อ ช่วยเหลือประเทศยากจน ทั้งหมดอาจกล่าว ในภาพรวมได้วา่ ประเทศก�ำลังพัฒนาเรียกร้อง ให้ประเทศพัฒนาแล้วหรืออีกนัยหนึ่งประเทศ
28/8/2553 10:06:29
ด้วยแนวทางการพัฒนาที่สืบเนื่องมาจากโลก ทัศน์ที่มองมนุษย์เป็นศูนย์กลางอันแฝงไว้ใน องค์ความรู้ทั้งในทางปรัชญา ศาสนา และ วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ แต่ความพยายาม ที่ต้องอาศัยความจริงใจนี้ ...หากมองด้วยมิติ ทางการเมืองก็คงไม่อาจจบที่การเมืองระดับ บน แต่คอื ภาคพลเมืองทีจ่ ะร่วมแถลงถ้อยความ ผ่านวิถกี ารด�ำเนินชีวติ ..........ทีจ่ ะให้ความชัดเจน ขึ้นอีกแรงหนึ่ง n
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
รองเสมอ ดังการแก้ปัญหาโลกโลกร้อนบน เวทีที่โคเปนเฮเกนด้วยประการฉะนี้ ในด้านหนึ่ง ความพยายามด�ำเนิน การบนเวทีระหว่างประเทศในศตวรรษที่ผ่าน มาก็เป็นสัญญาณอันดีที่ “การเมือง” ได้หนั เห กลับมาใช้แสวงหาหนทางปกป้องธรรมชาติ เละสิ่งแวดล้อมซึ่งไม่ได้แยกห่างจากสวัสดิภาพ และสวัสดิการแห่งชีวิตแต่อย่างไร จากเดิมที่ ธรรมชาติถูกมองเป็นทรัพยากรอันมีไว้เพื่อน�ำ มาบริหารจัดการ บ�ำรุงเลีย้ งมนุษย์และสังคมที่ เติบโตโดยไม่มกี ารทดแทนจนเกินเลยจุดสมดุล
5
สื่ อไทย:
ผูส้ ร้างความชัดเจนทีไ่ ม่ชดั เจน
BY
Sayong#60
ส
วัสดีครับผู้อ่านทุกท่าน ขอต้อนรับสู่ วิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมือง ใน ปั จ จุ บั น เราท่ า นทุ ก คนต่ า งได้ รั บ ข้อมูล ข่าวสาร และความเป็นไปในสังคมผ่าน ทางสื่อต่างๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ ฯลฯ ซึง่ สือ่ แต่ละเจ้าก็มจี ดุ ขาย ทัศนวิสยั และ ความสนใจต่อประเด็นสังคมที่แตกต่างกันไป สือ่ บางเจ้าสนใจติดตาม และรายงานข่าวตลาด ทีม่ ผี สู้ นใจติดตามมากมาย เช่น ข่าวฆาตกรรม ข่าวอาชญากรรม สือ่ บางเจ้าสนใจติดตามและ รายงานข่ า วหนั ก ต่ า งๆ เช่ น สภาพสั ง คม เศรษฐกิจ สถานการณ์การเมือง ตรงข้าม
Medleuddang July-August 2010.indd 5
กับสื่อบางเจ้าที่ให้ความส�ำคัญกับข่าวเบาซึ่งมี เนื้อหาใจความสบายๆ น่าอ่าน และมักเป็นที่ สนใจเช่นเดียวกับข่าวตลาด เช่น ข่าวกีฬา ข่าวบันเทิง เป็นต้น จากที่เกริ่นน�ำในข้างต้นจะเห็นได้ว่า สื่ อ แต่ ล ะเจ้ า ที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ทาง เป้าประสงค์ในการเผยแพร่ ย่อมมีความแตก
28/8/2553 10:06:29
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
0.1
6
ต่างกันในทางเนือ้ หาสาระและกระบวนทัศน์ใน การมองสังคมการเมือง ซึ่งผู้บริโภคสื่อเหล่านี้ ก็จะรับเอากระบวนทัศน์ ชุดความคิดความเชือ่ และความหมายรูใ้ นเนือ้ หาสาระตามทีส่ อื่ เหล่า นี้ถ่ายทอด เช่น สื่อที่มีมุมมองในด้านลบต่อ การใช้กระบวนการความมั่นคงอาจมองการ สลายการชุมนุมในวันที่ 19 พฤษภาคม ว่า เป็นการใช้ความรุนแรง และรัฐใช้กำ� ลังเกินกว่า เหตุ ในขณะที่สื่อบางเจ้าที่มีมุมมองในเชิงลบ ต่ อ การชุ ม นุ ม อาจมองว่ากลุ่มผู้ชุมนุมสร้าง ความวุ่นวายและส่งผลต่อภาพรวมของบ้าน เมือง กองก�ำลังและหน่วยงานความมั่นคงจึง มีเหตุอันสมควรในการใช้ก�ำลัง ซึ่งกลุ่มผู้ที่ บริ โ ภคสื่ อ ในสองเจ้ า ข้ า งต้ น จะมี มุ ม มอง กระบวนทัศน์ ชุดของเหตุผล และความหมาย รูต้ อ่ เหตุการณ์เดียวกันในมุมมองทีแ่ ตกต่างกัน ไปตามสื่อที่ตนสนใจและบริโภคอยู่ จะเห็นได้ว่าสื่อเป็นปัจจัยที่มีความ ส�ำคัญยิ่งในการสร้างองค์ความรู้และเป็นองค์ ประกอบหลักในการท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และปรากฏการณ์ต่างๆ ทั้งในทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ สื่อเป็นผู้สร้างชุดความเชื่อ ชุดความเข้าใจ ค่านิยม และทัศนคติของ ประชาชน กล่าวคือสื่อเป็นผู้สร้างมโนภาพ ของสังคมการเมืองขึน้ ในสมองของคนในสังคม ว่าสังคมตอนนี้มีสภาพเช่นไร ต้องการอะไร ต้องด�ำเนินต่อไปเช่นไร ซึ่งบทบาทในฐานะนี้ ของสื่อมีทั้งในมุมของข้อเท็จจริง และข้อคิด เห็น นอกจากบทบาทหลักของสื่อในฐานะตัว สร้างความชัดเจนในการมองสังคมการเมือง ของประชาชนผู้บริโภคสื่อแล้ว สื่อทุกเจ้ายังมี จุดร่วมกันอีกหนึ่งจุดคือสื่อทุกสื่อไม่ว่าจะเป็น สื่อที่สนใจในเรื่องใด มุ่งเน้นการตลาดหรือ คุณภาพ(เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) เป็นสื่อ
Medleuddang July-August 2010.indd 6
40
57.7
0.2
2
ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่ชม โทรทัศน์ จ�ำแนกตามประเภทรายการที่ชม มากที่สุด ข่าว 40% สารคดี/ความรู้ทั่วไป 2% ความคิดเห็น/วิเคราะห์ 0.2% บันเทิง 57.7% อื่นๆ 0.1% 0.5
32.9
64.1
2.5
ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่ฟัง วิทยุ จ�ำแนกตามประเภทรายการที่ฟังมาก ที่สุด ข่าว 32.9% สารคดี/ความรู้ทั่วไป 2.5% บันเทิง 64.1% อื่นๆ 0.5%
ที่มา: รายงานการส�ำรวจสื่อมวลชน พ.ศ. 2551 ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
28/8/2553 10:06:29
Medleuddang July-August 2010.indd 7
ผิดพลาด สาเหตุจากการขาดความช�ำนาญ การในการแสวงหาข่าวและแยกแยะคุณภาพ แหล่งข่าว แต่สาเหตุหนึ่งซึ่งเป็นสาเหตุที่ ส�ำคัญมากและเห็นได้ชดั เจนในปัจจุบนั คืออคติ และการสอดแทรกอารมณ์ร่วมของผู้เขียนข่าว (ผู้ท�ำข่าว) ลงไปในตัวข่าว จนท�ำให้เกิดเป็น สังกัดของสื่อเจ้าต่างๆ เช่นสื่อสีเหลือง สื่อสี แดง สื่อฝ่ายซ้าย, ขวา ฯลฯ นอกจากนี้อีก สาเหตุ ส� ำ คั ญ คื อ สื่ อ กระแสหลั ก ส่ ว นมากวั ด ความประสิทธิภาพการสื่อสารมวลชนของตน โดยดู จ ากความส� ำ เร็ จ ทางด้ า นก� ำ ไรและ ปริมาณการขายเป็นหลัก หาได้ดูจากจาก ประสิทธิภาพของการส่งผ่านความเข้าใจ และ สิ่งที่ถูกต้องตามความเป็นจริงกับประชาชน ท�ำให้สื่อส่วนใหญ่เสนอข่าวที่ขายได้อย่างข่าว เบา ข่าวซุบซิบ ข่าวโหนกระแส โดยอาจลด ความเอาใจใส่ในการน�ำเสนอข่าวอื่นๆ จนเกิด ความผิดพลาด นอกจากนีส้ อื่ ยังชอบเสนอข่าว ในแบบที่คนอยากได้ยิน จนเกิดการออกข่าว ตามกระแสหรือตาม Demand ของผู้บริโภค ข่าว ปัจจัยทีส่ อง ปัจจัยจากผูบ้ ริโภคข่าว หรือปัจจัยบุคคลที่ 2 เป็นปัจจัยที่เกิดจากตัวผู้ บริโภคสือ่ เองทีม่ คี วามสามารถในการท�ำความ เข้าใจหรือเก็บรายละเอียดจากข่าวได้ไม่ดีพอ อันอาจเกิดมาจากหลายสาเหตุทั้งจากตัวผู้รับ สือ่ เอง เช่น ขาดทักษะในการคิดและวิเคราะห์ ไม่ ใ ช้ ก ารคิ ด วิ เ คราะห์ อั น เป็ น เหตุ เ ป็ น ผล เนื่องจากยึดติดกับมายาคติบางอย่าง หรือ เชื่อในชุดความเชื่อบางอย่างเสียจนน�ำมาเป็น แกนหลักของการคิดและวิเคราะห์สถานการณ์ เสียจนไม่สนใจใช้เหตุผล หรือเกิดจากภายนอก ผู้รับสื่อ เช่น สังคมการเมืองรอบตัวผู้รับสื่อ พืน้ ฐานทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของ
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ที่สังกัดขั้วความคิดเห็นใด ล้วนมีจุดขายร่วม กันคือความชัดเจนแจ่มแจ้ง กระจ่างชัดทั้งใน เชิงทรรศนะและเชิงข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเด็นหัวข้อข่าวที่สื่อนั้นๆ สนใจ มุ่งเน้น ติดตาม กล่าวคือสื่อนั้นถูกวางตัวให้เป็นผู้ สร้างความชัดเจนในขณะเดียวกันก็ปวารณา ตนเองเป็นผู้สร้างความชัดเจนเสียเองด้วย แม้ว่าสื่อจะถูกวางตัวไว้ในฐานะเช่น นั้ น แต่ ใ นความเป็ น จริ ง สื่ อ หลายเจ้ า หาได้ ด� ำ เนิ น กิ จ การสื่ อ สารมวลชนไปเพื่ อ การนั้ น หากแต่ มี ว าระซ่ อ นเร้ น บางสิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ สื่ อ ไม่ สามารถบรรลุเป้าประสงค์ของการเป็นผู้สร้าง ความชัดเจนอย่างสมบูรณ์ ข้อมูลข่าวสารที่ ประชาชนได้รบั จากสือ่ หลายส�ำนักเป็นข้อมูลที่ เมื่อดูผิวเผินแล้วดูชัดเจนทั้งในแง่ของข้อเท็จ จริง และทรรศนะ หากแต่เมื่อลงลึกไปในราย ละเอียดกลับพบช่องว่างและความพร่ามัวทัง้ ใน มุ ม มองมิ ติ ท างข้ อ เท็ จ จริ ง และมิ ติ ด ้ า น ทรรศนะ ท� ำ ให้ สิ่ ง ที่ สื่ อ ถ่ า ยทอดให้ กั บ ประชาชนได้แก่ มุมมอง ทรรศนะ ความ คิดความเชื่อและความจ�ำได้หมายรู้ในข้อเท็จ จริงต่างๆ ล้วนเป็นสิ่งที่พร่ามัวและมีช่องว่าง ตามไปด้วย ช่องว่างและความพร่ามัวเหล่านี้ มาจากปัจจัยหลากหลายปัจจัยหาได้มสี าเหตุมา จากสื่ อ เพี ย งอย่ า งเดี ย วหากแต่ ม าจาก กระบวนการสือ่ สารทัง้ กระบวนการ ปัจจัยดัง กล่าวมีดังนี้ ปัจจัยแรก ปัจจัยภายในตัวสือ่ หรือ ที่ผมจะเรียกง่ายๆ ว่าปัจจัยบุคคลที่ 1 เป็น ปัจจัยที่เกิดขึ้นจากตัวสื่อเองที่ท�ำให้เกิดความ ไม่กระจ่างชัดหรือท�ำให้ขอ้ เท็จจริงทีถ่ า่ ยทอดสู่ ผู้บริโภคผิดไปจากสิ่งที่เป็นตามจริง ซึ่งอาจ เกิดขึน้ จากหลายสาเหตุ เช่น สาเหตุจากความ สะเพร่ า สาเหตุ จ ากความบั ง เอิ ญ ความ
7
28/8/2553 10:06:29
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
8
ผู้รับสื่อ เป็นต้น ด้วยเหตุเหล่านี้ส่งผลให้บาง ครั้งแม้สื่อเสนอข่าวคุณภาพม๊ากมากมา มี ความชัดเจนและถูกต้องสมบูรณ์ตามจริงแต่ ผูร้ บั สือ่ กลับรับข่าวสารผิดๆ ถูกๆ หรือตีความ ผิดพลาด ขาดการคิดวิเคราะห์ข่าวสารที่ได้ รับ หรือปฏิเสธข่าวสารนัน้ ทิง้ เนือ่ งจากขัดกับ สมบัติดั้งเดิม (เช่นความคิด อุดมการณ์ พื้น ฐานความเชือ่ ) ของตน และสังคมรอบตัวทีห่ ล่อ เลี้ยงตนขึ้นมา ยิ่งถ้าเกิดสื่อเองก็มีความผิด พลาดข้างต้นท่านก็ลองนึกสภาพดูแล้วกันว่าจะ เกิดความวินาศสันตโรขนานใหญ่ขนาดไหน ปัจจัยที่สาม ปัจจัยจากบริบทโดย รอบ หรือปัจจัยบุคคลที่ 3 เป็นปัจจัยที่เกิด จากทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่โดยรอบและมิได้มีส่วน ในกระบวนการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารโดยตรง หากแต่ สิ่ ง เหล่ า นี้ ล ้ ว นส่ ง ผลกระทบต่ อ การ สื่อสารทั้งสิ้นซึ่งขอเรียกโดยรวมว่าบริบทแห่ง การสื่อสาร อาทิ สภาพสังคม ระบอบ การเมืองการปกครอง อิสระในการพูด การ คิด การแสดงความเห็น แนวความคิดความ เชื่อหลัก (main streem) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่า นี้ส่งอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมกับทั้งตัว สื่อและผู้รับสื่อ เนื่องมาจากสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็น บ่อเกิดของการตัดสิน และประเมินคุณค่าของ สิ่งต่างๆ ว่าสิ่งใดดีสิ่งใดไม่ดี สิ่งใดชอบสิ่งใด มิ ช อบ เช่ น นี้ ก็ ย ่ อ มเป็ น การยากที่ ข ้ อ มู ล ข่าวสารทีส่ ง่ ผ่านสูป่ ระชาชนจะเป็นไปตามจริง และครบถ้วนสมบูรณ์โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากไม่ เป็นไปตามกระแสของบริบททางสังคมซึ่งสื่อ เองก็เป็นหนึ่งในเครื่องมือในการสร้างกระแส ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนเช่น การน�ำเสนอข่าวที่ขัดกับกระแสหลักของสังคม ไทยอย่ า งข่ า วที่ ขั ด กั บ วั ฒ นธรรมประเพณี ทางการเมืองการปกครอง ทางสังคม ขัดกับ
Medleuddang July-August 2010.indd 8
จารีตประเพณี มักจะถูกตั้งข้อวิภาควิจารณ์ใน เรื่องความเหมาะสมจนบางครั้งเรื่องบางเรื่อง กลายเป็ น เรื่ อ งศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ จ นสื่ อ ก็ ไ ม่ อ ยากส่ ง ผู้รับก็ไม่อยากรับ (อย่างน้อยก็ไม่อยากรับ โจ่งแจ้ง) เรือ่ งบางเรือ่ งจึงยังคงอยูใ่ นเมฆหมอก มืดมิด หรือบางเรื่องก็แอบซ่อนบางส่วนจน ท�ำให้ภาพทีป่ ระชาชนเห็นและเข้าใจผิดเพีย้ นไป ปั จ จั ย สุ ด ท้ า ย ปั จ จั ย จากผู ้ ท รง อิทธิพลในการสื่อสาร หรือปัจจัยจากบุคคล ลึกลับ เราท่านที่เกิดทันภาพยนตร์การ์ตูน เรือ่ งโคนัน (ช่อง 9) น่าจะจ�ำกันได้วา่ มีตวั ละคร อยู่หนึ่งตัวที่เราจะเห็นมันโผล่มาทุกตอน เรา รู้ว่ามันจะท�ำอะไรต่อ (วางแผนฆาตกรรม วางเพลิง บลาๆๆ) แต่จนจบตอนเราก็ยงั ไม่เห็น น่าค่าตา ไม่สามารถจับต้อง ไม่สามารถท�ำ อะไรกับเขาได้ ถูกแล้วครับนายคนนี้คือ คุณ โพลิ ก อนแมนหรื อ คุ ณ บุ ค คลลึ ก ลั บ นั่ น เอง ลักษณะข้างต้นของเขามีความคล้ายคลึงกับ ผูท้ รงอิทธิพลS ทัง้ หลายในกระบวนการสือ่ สาร เป็นอย่างยิ่ง กล่าวคือเห็นตัวแต่ไม่รู้ เห็นผล การท�ำแต่ไม่เห็นการกระท�ำ ด้วยความที่เรา ไม่รู้ท�ำให้เราไม่มีข้อพิสูจน์ทั้งๆ ที่เราก็รู้ว่าเขา มีตัวตนจริง เขามีการกระท�ำจริง แต่เราก็ ไม่อาจท�ำอะไรกับเขาได้ ผู้มีอิทธิพลเหล่านี้ จะพยายามใช้ อิ ท ธิ พ ลของตนทั้ ง ที่ มี อ ยู ่ ต าม อ�ำนาจหน้าที่ทั้งแบบเฉพาะกิจและแบบประจ�ำ และอิทธิพลแบบไม่เป็นทางการเป็นแรงผลักดัน กระแสข่าวที่เห็นว่าสมควร และกดดันกระแส ข่าวที่เห็นว่าไม่สมควรโดยอาจอ้างเหตุผลด้าน ความมั่นคง ความสมานฉันท์ ความเหมาะสม ศีลธรรมจริยธรรม ฯลฯ กล่าวโดยสรุปการสื่อสารซึ่งเป็นกระ บวนการสร้างความชัดเจนทั้งในด้านทรรศนะ คติและด้านข้อมูลข้อเท็จจริงกับประชาชนผู้
28/8/2553 10:06:30
กรอง และวิเคราะห์ ทั้งระบบ หาใช่โยนให้ เป็นความรับผิดชอบของสื่อเพียงอย่างเดียว สุดท้ายนีก้ ารแก้ไขความผิดพลาดทัง้ ระบบของ กระบวนการสื่อสารจะสามารถท�ำได้เช่นไรผม ก็คงจ�ำต้องทิ้งท้ายเอาไว้ให้เพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ ได้เก็บไปคิดกันเช่นเคย ฉบับนีผ้ มขอลาไปก่อน แล้วพบกันใหม่ในฉบับหน้าขอบคุณครับ n
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
บริโภคข้าวสารอันมีสื่อเป็นผู้น� ำเสนอความ ชัดเจนเหล่านั้น กลับกลายเป็นกระบวนการที่ มีความไม่ชดั เจนอันมีสาเหตุมาจากทัง้ ส่วนของ ผู้เสนอ ผู้รับ ตัวข้อมูลข้าวสารและตัว กระบวนการท�ำให้เราเห็นได้ว่าการจะแก้ไข ความไม่ลุล่วงในการสร้างความชัดเจนให้กับ ประชาชนจ�ำต้องแก้ไขให้ครบในทุกๆ มิตทิ งั้ ตัว สื่อ ผู้รับสื่อ และกระบวนการส่งผ่าน กลั่น
9
50 UP ภาพที่ยังไม่ชัดเจน BY
ห ง ส์ หิ น
ฝ่ายศิลปกรรม:
BALLOT BOX
ร
ะหว่างเดินอยู่ผมเหลือบไปเห็นป้ายประกาศเรื่องการเลือกตั้งสภา นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ท�ำให้คดิ ถึงเรือ่ งการออกมาใช้สทิ ธิ ของนักศึกษาของเรา ทีน่ บั วันจะมีผมู้ าใช้สทิ ธิในการเลือก ตั้งลดลงทุกปี และถ้าผมจ�ำไม่ผิด มีการขึ้นป้ายบอกด้วยว่า กว่า 10 ปีแล้วที่นักศึกษาธรรมศาสตร์ออกมาใช้สิทธิเลือก ตั้งไม่ถึงครึ่ง ขนาดว่าปีที่แล้ว ทั้งอธิการบดี รองอธิการ ฝ่ายการนักศึกษา ต่างก็พร้อมหน้ากันถ่ายรูปลงป้าย ประกาศเชิญชวนนักศึกษาออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง (สภานักศึกษาหรือองค์การนักศึกษา ผมไม่แน่ใจ) ให้เกินครึ่ง แต่ถึงกระนั้น นักศึกษาก็ออกมา ใช้สิทธิเพียง 30 เปอร์เซ็นต์กว่าๆ เท่านั้นเอง ตั ว เลขที่ ป รากฏออกมาสื่ อ ถึ ง อะไร เป็นสิ่งที่น่าคิดนะครับว่า มหาวิทยาลัย
Medleuddang July-August 2010.indd 9
28/8/2553 10:06:31
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
10
ธรรมศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นมาภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้ไม่นาน เพื่อสร้าง บัณฑิตออกมาเป็นก�ำลังหลักในการพัฒนาประชาธิปไตยและรับใช้สงั คม แต่นกั ศึกษาในปัจจุบนั กลับมองข้ามเรื่องการออกมาใช้สิทธิเลือกตั้งในมหาวิทยาลัย ทั้งๆ ที่ฝ่ายจัดการเลือกตั้งก็ พยายามกระจายหน่วยเลือกตั้ง ใช้วิธีเลือกตั้งแบบออนไลน์ และอีกสารพัดวิธีที่จะท�ำให้การ ใช้สิทธิง่ายขึ้น แต่ตัวเลขการใช้สิทธิก็ยังน้อยลง สื่อถึงว่าจิตส�ำนึกในเรื่องนี้ของนักศึกษาเรา ยังต�่ำอยู่ ถึงแม้ว่าการเลือกตั้งจะไม่ใช่ทุกสิ่งของประชาธิปไตย แต่ก็เป็นกระบวนการหนึ่งที่ให้ สิทธิกับประชาชน อันเป็นแนวทางของประชาธิปไตย ความคิดเรือ่ งประชาธิปไตยในมหาวิทยาลัยของเรามีสงู มาก นักศึกษาทุกคนต้องการ เสรีภาพ ไม่ชอบการบังคับ กลายเป็นเสรีชน และปัจเจกชนที่แสดงออกได้อย่างเต็มที่ ซึ่ง บางครั้งก็อาจจะไม่เหมาะสมเท่าไรนัก แม้ความคิดในเรื่องประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ จะ มีสูง แต่การแสดงออกเพียงเศษเสี้ยวหนึ่งของประชาธิปไตย ด้วยการไปเลือกตั้ง ก็ยังมีน้อย อาจจะเป็นเพราะการตัดค�ำว่า “การเมือง” ออกไปจากชื่อมหาวิทยาลัยหรืออย่างไรก็ไม่ทราบ ท�ำให้นักศึกษาของเราในปัจจุบันดูเหมือนจะไม่ค่อยสนใจการเมือง เห็นเป็นเรื่องไกลตัวเกินไป ผมเคยได้ยินอาจารย์ท่านหนึ่ง บอกว่า “พวกคุณ (นักศึกษา) ทุกวันนี้กำ� ลังใช้บุญเก่าอยู่” พอ มาคิดก็ดูก็เห็นจะเป็นเรื่องจริง เพราะการกล่าวว่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต่อสู้เคียงคู่มากับ ประชาธิปไตยนัน้ เป็นการยกเอาอดีตทีน่ กั ศึกษารุน่ ก่อนกระท�ำไว้มาอ้างทัง้ สิน้ ซึง่ ในปัจจุบนั ก็ยังไม่เห็นแม้การกระท�ำที่แสดงออกทางการเมืองของนักศึกษาที่เป็นรูปธรรมจริงๆ อีกเรื่องที่อยากจะหยิบยกมาคือ เรื่องจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ เห็นพูดกันมากทั้ง อาจารย์และนักศึกษาหลายคน แต่ผมก็ยังไม่ค่อยเข้าใจว่า ตกลงจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ หมายถึงอะไร หากเป็นส�ำนึกพื้นฐานทางการเมือง หรือในเรื่องประชาธิปไตยแล้ว ผมคิดว่า เราคงต้องกระตุ้นและปลูกฝังนักศึกษาเป็นการใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแค่การออกมาใช้สิทธิ เลือกตั้งภายในมหาวิทยาลัยให้ได้เกินครึ่ง ซึ่งก็ยังเป็นภาพที่เลือนราง ไม่รู้ว่าจะท�ำได้หรือไม่ ลองคิดดูเล่นๆ นะครับว่า หากตอนนี้เราก�ำลังใช้บุญเก่าอยู่ แล้วบุญเก่าเกิดหมดขึ้นมา โดย ไม่ได้สร้างสมเพิ่มเติม ประวัติศาสตร์อันน่าภาคภูมิใจของเราในอดีต ก็จะกลายเป็นภาพจางๆ และยิ่งห่างไกลรุ่นหลังไปเรื่อยๆ จนพวกเขาเหล่านั้นไม่ได้ให้ความส�ำคัญก็เป็นได้ เรื่องนี้ เป็นเรื่องที่ต้องช่วยกันคิดอีกนาน ผมขอฝากไปถึงท่านอธิการบดีคนใหม่ และนักศึกษาทุกคน ด้วยแล้วกันครับ ... สวัสดี n
Medleuddang July-August 2010.indd 10
28/8/2553 10:06:32
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
สถานที่ สถานที่ไม่เพียงแต่รองรับการมีอยู่ของผู้คน หรือ รองรับเรือ่ งราวทีผ่ า่ นผุดขึน้ ตามการหมุนม้วนของโลกเท่านัน้ ...หากยังเป็นที่มาของค�ำถามบางอย่าง และเป็นเครื่องมือ แสวงหาค�ำตอบได้ในบางคราว ฉันเหยียบย่างเข้าไปในสถานทีห่ ลายแห่ง เดินพลัดหลงเข้าไปในหลายที.่ ..ช่วงเวลาของชีวติ ทีห่ มุน ไปพร้อมๆ กับโลกราวยี่สิบปีพบผ่านหลายสิ่งอย่างมากมาย
11
มีสถานที่เพียงไม่กี่แห่ง ที่ฉันประทับใจ... --สนามหลวง-ทุกครั้งที่เดินผ่าน ฉันไม่เคยปล่อยภาพรอบข้างให้เลือนหายไปจากสายตา ไม่ว่าจะเป็นหมู่นก พิราบทีร่ อเวลาผูค้ นหยิบยืน่ เม็ดข้าวโพดให้ เด็กเล็กในเสือ้ ผ้ามอมแมมทีว่ งิ่ เล่นกันอย่างสนุกสนาน พ่อค้าแม่ขายกับร้านแผงลอยบนบาทวิถี หรือแม้กระทัง่ ผูค้ นจรจัดไร้บา้ นทีน่ งั่ จับจองพืน้ ที่ “บ้าน” ให้ตัวเอง ทุกภาพที่ปรากฏล้วนบอกกล่าวให้ฉันรับรู้ถึงพื้นฐานไม่กี่อย่างของการมีชีวิต... กิน อยู่ หลับนอน แสวงสุข และดิ้นรน มากไปกว่านั้น ฉันรู้สึกสะเทือนใจกับภาพบางภาพ กิน อยู่ หลับนอน และเสพย์สังวาส...บนผืนเสื่อ ใต้ฟ้าโปร่ง ไร้รั้วก�ำแพงกั้น คนไร้บ้านที่นี่คงชินชากับสภาพของตัวเองแล้วกระมัง มนุษย์ที่มีสมบัติติดตัวเพียงลมหายใจอย่างพวกเขาคงรู้จักเพียง “สัญชาตญาณ” เท่านั้น อย่าง นั้นหรือ ฉันถามตัวเองก่อนจะพบอะไรอีกด้าน---ใช่เพียงจะมีแต่ภาพของสัญชาตญาณ หากมีความรุ่งเรืองบางอย่างซ่อนแฝงอยู่ในตัวของผู้คนเหล่านั้น ฉันพบความเอื้ออาทรระหว่างกันในหมู่พวกเขา
Medleuddang July-August 2010.indd 11
28/8/2553 10:06:32
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
12
เห็นความจริงใจที่มีต่อกัน นอกจากนั้นแล้ว ฉันเห็นความฝันที่ส่งผลให้ความพยายามไม่เคยหมดสิ้นไป หลายคนที่นี่เคยมีความงามในหัวใจก่อนจะถูกบั่นทอนท�ำลายลงด้วยสภาพที่รายล้อมและผู้คนที่ ตัดสินต่อว่า การเข้ามาของพวกเขาเมื่อหลายปีก่อน โดยมากเป็นผลพวงจากโลกาภิวัตน์ นอกจากนั้นแล้ว หลายคนขาดแหว่งเรื่องความรักในครอบครัว ยังมีด้านมุมอีกมากให้ค้นหาในที่แห่งนี้ โลกใบกว้างในพื้นที่เล็กๆ หากลองสัมผัสสักครั้ง...เราอาจเกิดค�ำถาม และอาจพบค�ำตอบ สนามหลวงท�ำให้ฉันตั้งค�ำถามมากมาย และได้พบค�ำตอบแล้วบางข้อ แค่นี้ก็เพียงพอแล้วส�ำหรับความประทับใจ
n
ศุจินทรา อนันต์
ติมอร์ตะวันออกกับอินโดนีเซีย: จากภาพอดีตสีจางอันเลวร้าย สู่ความสัมพันธ์อันดีที่ชัดเจน BY P A W E E S U D A . K
ติ
มอร์ ต ะวั น ออกเป็ น ประเทศที่ มี ประวั ติ ศ าสตร์ อั น ขมขื่ น จากการ ถู ก ปกครองและปราบปรามอย่ า ง รุนแรงโดยรัฐบาลอินโดนีเซียหลังจากโปรตุเกส ซึ่ ง เป็ น เจ้ า อาณานิ ค มของดิ น แดนนี้ ม ากว่ า 400 ปี ไ ด้ ถ อนตั ว ออกไป ปั จ จุ บั น ติ ม อร์ ตะวั น ออกเป็ น ประเทศเอกราชประเทศที่
Medleuddang July-August 2010.indd 12
11 ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มี การปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตย โดย มีส�ำนักงาน United Nations Integrated Mission in Timor-Leste (UNMIT) สนับสนุน ติมอร์ตะวันออกด�ำเนินความสัมพันธ์อันดีกับ หลายประเทศรวมไปถึงอินโดนีเซีย ประเทศ ที่ประชาชนชาวติมอร์เคยร่วมกันต่อต้านและ เรียกร้องเอกราชในอดีต ความสัมพันธ์ที่ดีจึง อยู่บนพื้นฐานประวัติศาสตร์อันเจ็บปวดของ ชาวติมอร์
28/8/2553 10:06:32
MAP: EAST TIMOR
ป ร ะ เ ท ศ ทั้ ง ส อ ง ค ร อ บ - ค ร อ ง อาณานิ ค มของตนอยู ่ จ นกระทั่ ง ญี่ ปุ ่ น เข้ า ขับไล่และบุกยึดเกาะติมอร์ได้ทั้งหมดในช่วง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ต่ อ มาเมื่ อ ญี่ ปุ ่ น แพ้ สงครามโลก เนเธอร์ แ ลนด์ พ ยายามกลั บ มาปกครองอินโดนีเซียและติมอร์ตะวันตกดัง เดิม แต่ด้วยกระแสชาตินิยมที่เกิดขึ้นระหว่าง ที่ถูกปกครองโดยญี่ปุ่น ท�ำให้ชาวอินโดนีเซีย ต่อต้านการกลับมาของเจ้าอาณานิคม น�ำไป สู่การสู้รบเพื่อเรียกร้องเอกราชให้กับดินแดน นี้ เนเธอร์แลนด์ได้ให้เอกราชแก่อินโดนีเซียใน ปี ค.ศ. 1949 หลังจากการเจรจายุติการสู้รบ อินโดนีเซียได้ผนวกติมอร์ตะวันตกเป็นส่วนหนึง่ ของตนตั้งแต่นั้นมา ขณะที่ติมอร์ตะวันออกยัง
Medleuddang July-August 2010.indd 13
คงเป็นของโปรตุเกส ท�ำให้รัฐบาลอินโดนีเซีย ซึ่งขณะนั้นน�ำโดยประธานาธิบดีซูการ์โนมิได้ มีนโยบายที่จะรวมติมอร์ตะวันออกเป็นส่วน หนึ่งของอินโดนีเซียแต่อย่างใด ติ ม อร์ ต ะวั น ออกอยู ่ ภ ายใต้ ก าร ปกครองของโปรตุ เ กสจนกระทั่ ง เกิ ด ความ วุ่นวายทางการเมืองของโปรตุเกสในปี ค.ศ. 1974 ท� ำ ให้ โ ปรตุ เ กสเน้ น สนใจปั ญ หา การเมืองภายในของตนและให้เสรีภาพทางการ เมืองกับติมอร์ตะวันออกมากขึ้น ส่งผลให้เกิด พรรคการเมืองทีม่ แี นวคิดเกีย่ วกับการปกครอง ของติมอร์ตะวันออกทีแ่ ต่งต่างกันออกไป ไม่วา่ จะเป็นพรรคสหภาพประชาธิปไตยสนับสนุนให้ ติมอร์ถูกปกครองภายใต้สหพันธรัฐโปรตุเกส พรรคสมาคมประชาธิ ป ไตยนิ ย มติ ม อร์ ที่ สนั บ สนุ น ให้ ติ ม อร์ ร วมกั บ อิ น โดนี เ ซี ย และ พรรคสมาคมแห่งประชาธิปไตยสังคมติมอร์ ที่สนับสนุนให้ติมอร์เป็นประเทศเอกราชและ ปกครองตนเอง ความขัดแย้งภายในติมอร์ตะวันออก น�ำไปสู่สงครามกลางเมือง อันเป็นเวลาเดียว กับกับที่โปรตุเกสประกาศถอนตัวออกจากดิน แดนแห่งนี้ พรรคสมาคมแห่งประชาธิปไตย สังคมติมอร์น�ำโดยนายซานานา กุสเมาจึงถือ โอกาสนีต้ ดั สินใจประกาศเอกราชโดยการจัดตัง้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ตะวันออก เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 ซึ่งรัฐบาล อินโดนีเซียขณะนั้นน�ำโดยประธานาธิบดีซูฮาร์ โตได้มองการกระท� ำดังกล่าวว่าเป็นการจัด ตั้งระบอบคอมมิวนิสต์ขึ้นในประเทศใกล้เคียง และอาจลุกลามมาถึงอินโดนีเซียได้ ประกอบ กับติมอร์ตะวันออกเป็นดินแดนที่มีทรัพยากร ไม่ ว ่ า จะเป็ น ป่ า ไม้ แ ละแหล่ ง พลั ง งานที่ อุ ด ม สมบูรณ์อนั เป็นประโยชน์ตอ่ อินโดนีเซีย รัฐบาล อินโดนีเซียจึงส่งกองทหารแห่งชาติอนิ โดนีเซีย
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ในอดีตเกาะติมอร์เคยเป็นอาณาจักร จนกระทั่งโปรตุเกสและเนเธอร์แลนด์เข้ามา ตั้งถิ่นฐานในช่วงศตวรรษที่ 16 เพื่อค้าขาย ไม้ จั น ทร์ ซึ่ ง เป็ น ทรั พ ยากรส� ำ คั ญ ของเกาะ ติมอร์ โดยเนเธอร์แลนด์ยึดฝั่งตะวันตกของ เกาะเป็นดินแดนการค้าของตน การแบ่งดิน แดนเพื่อการค้าขายดังกล่าวน�ำไปสู่การตกลง ท� ำ สนธิ สั ญ ญาลิ ส บอน ในปี ค.ศ. 1859 ส่งผลให้ติมอร์ตะวันออกตกเป็นอาณานิคม ของโปรตุเกส ขณะที่ติมอร์ตะวันตกเป็นของ เนเธอร์แลนด์
13
28/8/2553 10:06:33
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
14
ท่าทีของอินโดนีเซียต่อติมอร์ตะวัน ออกเริ่มผ่อนปรนลงหลังจากที่ยึดครองติมอร์ ตะวันออกมากว่า 23 ปี เมื่อประธานาธิบดีซู ฮาร์โตลาออกในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1998
Medleuddang July-August 2010.indd 14
เนือ่ งจากข้อกล่าวหาคอร์รปั ชัน่ ประธานาธิบดี บาคารุดดิน ยูซุฟ ฮาบิบีเข้ารับต�ำแหน่งแทน ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ แม้ว่าประธานาธิบดี ฮาบิบีจะมีความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับซูฮาร์ โตและมีกองทัพสนับสนุน เขาก็ได้ยุตินโยบาย เข้ายึดครองของซูฮาร์โต อีกทั้งให้ติมอร์ตะวัน ออกมีสถานะปกครองตัวเองได้โดยมีอ� ำนาจ เฉพาะในด้านกฎหมายและศาล เพื่อลดค่าใช้ จ่ายทางการทหารในติมอร์ และเพื่อจะได้รับ ความช่วยเหลือทางการเงินจากนานาชาติอีก ครัง้ นอกจากนีย้ งั เสนอให้ชาวติมอร์ตะวันออก ลงประชามติว่าติมอร์ตะวันออกจะยังคงเป็น ส่วนหนึ่งของอินโดนีเซียในฐานะเขตปกครอง ตนเองพิเศษติมอร์ตะวันออกหรือจะแยกตัว ออกมาเป็นเอกราช โดยการลงประชามติใน ครัง้ นีไ้ ด้รบั ความช่วยเหลือจาก คณะปฏิบตั งิ าน แห่งองค์การสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก (United Nations Mission for East Timor: UTAMET) ประธานาธิบดีฮาบิบีมีความมั่นใจ ว่าชาวติมอร์ตะวันออกจะเลือกอยู่ใต้อธิปไตย ของอินโดนีเซีย ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมีการใช้ ความรุนแรงและข่มขูป่ ระชาชนทีส่ นับสนุนการ เป็นเอกราชของติมอร์ตะวัน-ออก หากแต่ท้าย ที่สุดผลการลงประชามติลงความเห็นให้ติมอร์ ตะวันออกเป็นเอกราชจากอินโดนีเซีย โดย
timor-leste-dili.blogspot.com: TIMOR-LESTE
เข้ายึดครองตามนโยบายยึดครองติมอร์ตะวัน ออกด้ ว ยวิ ธี ก ารทหารและสังหารประชาชน ชาวติ ม อร์ ต ะวั น ออกที่ ต ่ อ ต้ า นอิ น โดนี เ ซี ย ท�ำให้มีประชาชนเสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก เมื่อ กองทัพบุกยึดติมอร์ตะวันออกได้ส�ำเร็จ รัฐบาล อินโดนีเซียจึงประกาศผนวกติมอร์ตะวันออก เข้าเป็นจังหวัดที่ 27 ของประเทศอินโดนีเซีย ท่ามกลางการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจาก ประชาคมโลก ประธานาธิบดีซูฮาร์โตได้ด�ำเนินนโยบาย บูรณาการ ให้ติมอร์ตะวันออกใช้โครงสร้าง บริ ห ารแบบอิ น โดนี เ ซี ย โดยข้ า ราชการ ต�ำแหน่งส�ำคัญในติมอร์ตะวันออกนั้นจะเป็น เจ้าหน้าทีท่ ถี่ กู ส่งมาจากส่วนกลาง อินโดนีเซีย ได้พัฒนาปรับปรุงสาธารณูโภค การศึกษา ในติมอร์ตะวันออก ที่มุ่งเน้นให้เป็นไปเหมือน อินโดนีเซียมากทีส่ ดุ โดยมิได้คำ� นึงถึงความแตก ต่างในด้านเชื้อชาติ ภาษาและวัฒนธรรม การ ถูกบีบบังคับประกอบกับการถูกริดรอนสิทธิ เสรีภาพทีช่ าวติมอร์ตะวันออกถูกทหารควบคุม ความประพฤติ ท� ำ ให้เกิดการประท้วงและ พยายามเรียกร้องเอกราชอยู่หลายครั้ง โดย ทุกครั้งรัฐบาลอินโดนีเซียจะได้ใช้ก�ำลังทหาร เข้าควบคุมสถานการณ์และท�ำให้มีผู้เสียชีวิต เป็นจ�ำนวนมาก เหตุการณ์ละเมิดสิทธิมนุษย ชนทีเ่ กิดขึน้ บ่อยครัง้ นี้ ท�ำให้รฐั บาลซูฮาร์โตถูก ประณามและตัดความช่วยเหลือจากนานาชาติ แต่ทว่าอินโดนีเซียก็ไม่มที า่ ทีวา่ จะคืนเอกราชให้ แก่ติมอร์ตะวันออก
28/8/2553 10:06:33
LIFE: Indonesia Establishes Diplomatic Ties with East Timor
Medleuddang July-August 2010.indd 15
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
กับการเร่งจัดการปัญหาติมอร์ตะวันออกนัก สหประชาชาติเป็นผู้รับรองผลดังกล่าว เหตุการณ์น่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น หาก แต่การสังหารเจ้าหน้าทีร่ กั ษาสันติภาพจากต่าง แต่ ก องก� ำ ลั ง อาสาสมั ค รพลเรื อ นฝ่ า ยนิ ย ม ชาติของกองก�ำลังอาสาสมัครพลเรือน ท�ำให้ อิ น โดนี เ ซี ย (Mitilia) ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ ผล รัฐบาลอินโดนีเซียขณะนัน้ ถูกวิจารณ์และกดดัน การลงประชามติ เนื่ อ งจากกองทั พ เสี ย ผล จากนานาชาติ ประธานาธิ บ ดี ว าฮิ ด จึ ง เร่ ง ประโยชน์จากการเป็นเอกราชของติมอร์ตะวัน ด�ำเนินการให้ติมอร์ตะวันออกเป็นเอกราชโดย ออกได้เข้าบุกยึด ก่อการจลาจลและ สั ง หารประชาชนที่ ส นั บ สนุ น การ เรี ย กร้ อ งเอกราช ประชาชนชาว ติ ม อร์ ต ะวั น ออกจ� ำ นวนมากหลบ หนีไปเข้าป่าไปทางติมอร์ตะวันตก เหตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรงที่ ป ระทุ ขึ้ น นี้ ท� ำ ให้ น านาชาติ ป ระณามและตั ด การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน แก่ อิ น โดนี เซี ย อีกครั้ง คณะมนตรี ความมั่ น คงลงมติ ใ ห้ อิ น โดนี เ ซี ย ถอนทหาร และบี บ ให้ อิ น โดนี เ ซี ย ยอมรั บ กองก� ำ ลั ง รั ก ษาสั น ติ ภ าพ ของสหประชาชาติ ใ ห้ เ ข้ า มาดู แ ล รักษาความสงบและฟื้นฟูเสถียรภาพ ทางการเมืองในติมอร์ตะวันออก เมือ่ ประธานาธิบดีฮาบิบียอมท�ำตามมติ ดังกล่าว สหประชาชาติก็ได้จัดตั้ง กองก�ำลังรักษาสันติภาะนานาชาติ นายซานานา กุสเมา ประธานาธิบดีติมอร์ตะวันออก (The International Force in East จับมือกับนางเมกาวตี ซูการ์โนปุตตรี ประธานาธิบดี Timor: INTERFET) เพื่อเข้าไปท�ำ อินโดนีเซีย ในระหว่างการเยือนท�ำเนียบประธานาธิบดี หน้าทีใ่ นติมอร์ตะวันออกแทนกองทัพ ในกรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย ของอินโดนีเซีย ประธานาธิบดีฮาบิบีแพ้การเลือกตั้ง เร็วที่สุด เพื่อรักษาเกียรติภูมิของอินโดนีเซีย พิเศษที่จัดขึ้นในวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1999 และรัฐบาลของตน โดยการถอนทหารทั้งหมด เนื่องจากการตัดสินใจผิดพลาดที่ให้มีการลง ออกจากอินโดนีเซียในเดือนตุลาคม ค.ศ.1999 ประชามติในติมอร์ตะวันออก ส่งผลให้นาย และการพบปะกับนายซานานา กุสเมาเพื่อ อับดูรเ์ ราห์มนั วาฮิดขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งแทน ใน ด�ำเนินความสัมพันธ์อนั ดีในอนาคตระหว่างทัง้ ช่วงแรกประธานาธิบดีวาฮิดมิได้ให้ความสนใจ สองประเทศ
15
28/8/2553 10:06:33
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
16
แม้ประธานาธิบดีวาฮิดจะสามารถ ฟืน้ ฟูความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างอินโดนีเซียและ ติมอร์ได้ แต่กไ็ ม่สามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ และคอร์ รั ป ชั่ น ภายในอิ น โดนี เ ซี ย ได้ ท�ำ ให้ ประธานาธิบดีวาฮิดถูกถอดถอน และนางเม กาวตี ซูการ์โนบุตรีเข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทนใน เดือนกรกฏาคม ค.ศ. 2001 นางเมกาวตีมี แนวคิดอนุรักษ์นิยมและไม่เห็นด้วยกับการให้ ติมอร์ตะวันออกเป็นเอกราช แต่ด้วยเหตุกาณ์ ความรุนแรงต่างๆที่เกิดขึ้น ท�ำให้อินโดนีเซีย กลายเป็ น ปั ญ หาในเวที ร ะดั บ โลกและถู ก ตั ด ความช่วยเหลือทางการเงินทีจ่ �ำเป็นต่อการน�ำ มาฟื้นฟูเศรษฐกิจภายใน ดังนั้นนางเมกาวตี จึงด�ำเนินนโยบายเป็นมิตรรอบด้าน โดยให้ ความช่วยเหลือติมอร์ตะวันออกในทุกด้านและ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆระหว่างทั้งสอง ประเทศ ติมอร์ตะวันออกได้รับเอกราชทาง เป็นทางการในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2002 ซึง่ มีพธิ เี ฉลิมฉลองการประกาศเอกราช โดยมีบุคคลส�ำคัญหลายท่านเข้าร่วมเป็นสักขี พยาน รวมถึงนางเมกาวตีทมี่ าพร้อมกับเรือรบ 6 ล�ำที่เทียบท่าอยู่ในอ่าวดิลี แสดงบารมี และแสนยานุภาพของอินโดนีเซียให้เป็นที่ ประจักษ์แก่ติมอร์ตะวันออก
ถอนทหารของอินโดนีเซียออกจากชายแดน ติ ม อร์ ต ะวั น ออกด้ ว ยความไม่ เ ต็ ม ใจของ ประธานาธิบดีเมกาวตี
ชื่อเสียง เกียรติยศของประเทศ ต้องมาก่อน ปัจจุบันประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโนแห่งอินโดนีเซียและประธานาธิบดี โฮเซ รามอส-ฮอร์ตาแห่งติมอร์ตะวันออกได้ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาความสัมพันธ์ให้ ยั่งยืนโดยการทูต รัฐบาลของประธานาธิบ ยูโดโนเน้นประเด็นเกี่ยวกับติมอร์ตะวันออก เป็นหลักโดยให้ความส� ำคัญในหลายด้านไม่ ว่าจะเป็นการไปเยือนระหว่างกัน การร่วมมือ แก้ไขปัญหาเรื่องสิทธิมนุษยชน การพัฒนา ความสัมพันธ์ในด้านเศรษฐกิจ ขณะที่รัฐบาล ติมอร์ตะวันออกก็ไม่มีทางเลือกอื่น นอกจาก เป็นมิตรกับอินโดนีเซีย เนื่องจากติมอร์ตะวัน ออกเป็นประเทศขนาดเล็ก มีจำ� นวนประชากร ไม่มากและอยู่ในช่วงฟื้นฟูโครงสร้างทางการ เมือง สังคมและเศรษฐกิจ ทั้งยังต้องพึ่งพา ความช่วยเหลือจากอินโดนีเซียในหลายๆด้าน แม้ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกจะยังคงมี ความจดจ�ำอันเลวร้ายต่ออินโดนีเซีย และมี ความหวาดระแวงว่าอินโดนีเซียอาจจะรุกราน ประเทศตนอีกเมือ่ ไรก็ได้ แต่รฐั บาลติมอร์ตะวัน ออกก็ต้องพาประเทศและประชาชนเดินหน้า และทิ้งอดีตเหล่านี้ไว้ข้างหลัง
หลั ง จากการประกาศเอกราชของ ติ ม อร์ ต ะวั น ออกได้ มี ค วามร่ ว มมื อ ระหว่ า ง รัฐบาลอินโดนีเซียและรัฐบาลติมอร์ตะวันออก มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการลงนามในกฤษฎีกาให้ อ�ำนาจแก่อัยการสูงสุดในการตรวจสอบเรื่อง การสังหารหมู่ในประชาชนชาวติมอร์ตะวัน- เพื่อเผชิญกับอุปสรรคข้างหน้า ออก การขึ้นไต่สวนของทหารที่มีความผิด คดีทารุณกรรมชาวติมอร์ตะวันออกและการ
Medleuddang July-August 2010.indd 16
n
28/8/2553 10:06:33
Medleuddang July-August 2010.indd 17
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
Sayong
กติกา เกมนี้เป็นเกมจับผิดภาพโดยภาพบนและภาพล่างจะมีจุดที่แตกต่างกันจ�ำนวน 5 แห่ง ให้เพื่อนๆ ลองจับ เวลาประมาณ 1 นาทีจากนั้นหาข้อแตกต่างให้เจอก่อนเวลาหมด ถ้าท�ำได้ถือว่าเพื่อนๆ เป็นฝ่ายชนะ
สวัสดีครับเพื่อนๆ พบกันอีกครั้งกับคอลัมน์จิบชา ครั้งนี้ผมมีเกมสนุกๆ ให้เพื่อนๆ เล่นคลายเครียดจากบทความต่างๆ ส�ำหรับฉบับนี้ กระแสบอลโลกเพิ่งจะจบไปหมาดๆ พร้อมๆ กับเจ้าหมึกพอลจ้าวนักพยากรณ์ เราเลยเอามาให้จับผิดภาพกัน รีบๆ หาจุดต่างให้เจอก่อนที่เจ้าพอลจะถูกจับย่างกินซะก่อนนะคร๊าบ
17
28/8/2553 10:06:34
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓ WALLS MADE OF KNOWLEDGE: FLICKR
18
การประกันคุณภาพทางการศึกษา ความรู้ ปัญญา และการเรียนรู้
ดร. ประพนธ์ ผาสุกยืด ผู้อำ� นวยการสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ปัญญาคืออะไร เราจะพัฒนาปัญญาให้เกิดขึ้นได้อย่างไร ในแวดวงการศึกษาผมมักจะ ได้ยนิ อาจารย์หลายท่านอธิบายค�ำว่าปัญญา ในความหมายทีไ่ ม่คอ่ ยจะแตกต่างไปจากค�ำว่าความ รู้เท่าใดนัก มีที่ละเอียดขึ้นหน่อย ก็อธิบายในท�ำนองที่ว่า ปัญญา คือ ความสามารถในการใช้ ความรู้ เมือ่ ผมลองศึกษาดูจากหลักทางพุทธศาสนา ก็พบว่ามีการอธิบายที่มาของปัญญาว่าจะ ต้องมา จากศีล และสมาธิ (ตามหลักไตรสิกขา) กล่าวคือถ้า ไม่มีสมาธิ ก็ไม่เกิดปัญญา และถ้าไม่มีศีลก็จะไม่มี สมาธิ โดยที่ท่านอาจารย์พุทธทาสได้อธิบายขยาย ความเพิ่มเติมว่า เรื่องของศีลเองก็ไม่ใช่อยู่ดีๆ มันก็ มีขนึ้ ได้ จะต้องอาศัย ปัญญาก่อนจึงจะมีศลี จึงท�ำให้ เห็นว่าโดยแท้จริงแล้วทัง้ สามสิง่ นี้ ต่างก็เวียนวนปน อยู่ด้วยกัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้คล้ายกับ เชือกสามเกลียวที่พันอยู่ด้วยกัน บางต�ำราก็บอกว่า ปัญญา ต้องพัฒนามา จากสติ ดังทีเ่ รามักจะได้ยนิ ค�ำสองค�ำนีอ้ ยูค่ กู่ นั เสมอ ว่า สติปัญญา ปัญญากับความรู้นั้นถ้าดูให้ดีแล้วจะ พบว่าไม่ใช่สงิ่ เดียวกันเหมือนอย่างที่ หลายคนเข้าใจ เรามักจะเห็นเป็นตัวอย่างอยู่เสมอโดยเฉพาะตาม พาดข่าวหนังสือพิมพ์ ที่แสดงให้เห็นว่าคนที่มีความ รูส้ งู นัน้ ไม่จำ� เป็นต้องเป็นผูท้ มี่ ปี ญ ั ญาเสมอ ไป ความ รู้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสมอง ในขณะที่ปัญญานั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับจิตใจ คนที่มากด้วยความ รู้แต่จิตใจไม่ดีจึงเป็นผู้ที่ไม่มีปัญญาไปโดยปริยาย เมื่อพูดถึงปัญญาและความรู้แล้ว คงต้องขอ กล่าวถึงค�ำทีเ่ กีย่ วข้องอีกสองค�ำ ซึง่ ก็คอื ค�ำว่า Information และ Data โดยจะเรียก Information เป็นภาษาไทยว่า “สารสนเทศ” และเรียก Data ว่า “ข้อมูล” ผู้ที่อยู่ในแวดวงคอมพิวเตอร์คงจะเข้าใจความความหมายและความแตกต่างระหว่าง
Medleuddang July-August 2010.indd 18
28/8/2553 10:06:34
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ค�ำว่า ข้อมูล และสารสนเทศเป็นอย่างดี ว่าเราจะใช้ค�ำว่า ข้อมูล ในกรณีที่เป็นข้อมูลดิบ (Raw Data) และใช้ค�ำว่าสารสนเทศในกรณีที่ข้อมูลนั้นๆ ได้ผ่านกระบวนการ (Process) บางอย่างมา แล้วจนท�ำให้ได้มาซึ่งรูปแบบที่สามารถน�ำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ (Decision-making) ได้ใน ขณะเดียวกันก็มีผู้อธิบายค�ำว่าความรู้ในท�ำนองที่ว่าถ้าเรามีความเข้าใจ ในสารสนเทศถึงระดับ ที่ท�ำให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ เกิดความเข้าใจในบริบทและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง จนอาจสร้างออกมาเป็นทฤษฎี หรือเป็นแบบจ�ำลองทางความคิดได้ สิ่งนั้นก็น่าจะเข้าข่ายสิ่งที่ เรียกว่าความรู้ หรือ Knowledge ได้ ถึงแม้ในปัจจุบันเราจะให้ความส�ำคัญเรื่องความรู้กันค่อนข้างมาก ซี่งผมเองก็คงจะไม่ ปฏิเสธว่าความรู้นั้นส�ำคัญและจ�ำเป็นเพียงใด แต่สิ่งที่ผมเริ่มเป็นห่วงเป็นใยในปัจจุบันก็คือกังวล ว่าถ้าเราไม่ระวังให้ ดีเราก็มีสิทธิ์ที่จะตก “กับดักความรู้” ได้เหมือนกัน คือให้ความส�ำคัญกับ ความรู้จนลืมให้ความส�ำคัญกับส่วนที่เป็นความรู้สึก ซึ่งถือว่าเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญญา โดยตรง เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับคุณค่าและการให้ความหมายแก่ชวี ติ เหมือนเช่นที่ T.S. Eliot (1934) ได้ประพันธ์ไว้ในบทกวีที่มีชื่อว่า The Rock ซึ่งกล่าวไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า
19
“Where is the life we have lost in living? Where is the wisdom we have lost in knowledge? Where is the knowledge we have lost in information?” ซึ่งถ้าแปลเป็นภาษาไทย (จากบรรทัดล่างย้อนขึ้นไปบรรทัดบน) ก็จะได้ใจความใน ท�ำนองของการตั้งค�ำถามว่า
สิ่งที่เรียกว่า”ความรู้”นั้นหายไปไหน ท่ามกลาง”สารสนเทศ”ที่มีอยู่มากมายนี้ แล้วเจ้าสิ่งที่เรียกว่า “ปัญญา” ล่ะหายไปไหน ในความรู้ทั้งหลายที่เรามีอยู่นี้ อะไรคือความหมายที่แท้จริงของ”ชีวิต” ท่ามกลางการด�ำเนินชีวิตของเราทุกวันนี้ สาระส�ำคัญของบทประพันธ์ชิ้นนี้เป็นการชี้ให้เราเห็นว่า การที่คนเราจะเข้าใจความ หมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ ได้นนั้ จะต้องด�ำรงชีวติ อยูด่ ว้ ยปัญญา และปัญญาจะเกิดขึน้ ไม่ได้เลย หาก เรามัวแต่ตดิ อยูแ่ ค่ความรู้ ซึง่ ความรูเ้ องก็คงจะไม่เกิดขึน้ ถ้าเรามัว่ แต่ยงุ่ หรือจมอยูก่ บั สารสนเทศ ซึ่งล้นท่วมตัวเราอยู่ในทุกวันนี้ จากตัวอย่างหลายๆ ตัวอย่างที่ผ่านมา คงจะเป็นที่ประจักษ์กันดี อยู่แล้วว่า ผู้ที่มีความรู้สูงไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นผู้ที่มีปัญญาเสมอไป ความรู้นั้นเป็นสิ่งที่สามารถ
Medleuddang July-August 2010.indd 19
28/8/2553 10:06:34
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓ ICS.LEEDS.AC.UK: POSTGRADUATE STUDY:
ภาพนี้ได้รับการตัดแต่งโดยฝ่ายศิลปกรรม
20
เพิม่ พูนได้จากการอ่านต�ำหรับต�ำรา ส่วนการทีป่ ญ ั ญาจะเกิดได้นนั้ ผมเชือ่ ว่าจะต้องมาจากความ สามารถในการอ่านจิตใจ อ่านอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องตามทันความรู้สึกของตนเอง แน่นอนที่สุดเรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ถือว่าเป็นเรื่องที่ส�ำคัญส�ำหรับการท�ำงานและ การด�ำเนินชีวิต แต่ถ้าหากเราปล่อยชีวิตให้ด�ำเนินไปโดยปราศจากการมองเข้าข้างในเพื่อความ เข้า ใจในความหมายทีแ่ ท้จริงของชีวติ แล้ว วันหนึง่ เราอาจจะรูส้ กึ เสียใจกับเวลาทีล่ ว่ งเลยไป โดย ไปให้ความสนใจเฉพาะเรื่องข้อมูล สารสนเทศ และความรู้เท่านั้น เดิมทีเดียวผมเคยเข้าใจผิด คิดไปว่าผู้ที่มีความรู้สูงก็คือผู้ที่มีปัญญา แต่เมื่อพิจารณา จากผู้ที่มีความรู้สูงจ�ำนวนมาก ก็กลับพบว่ามีมากมายหลายท่านที่ไม่ประสบความส�ำเร็จในชีวิต มีการตัดสินใจที่ผิดพลาด ครอบครัวแตกแยก ขาดความอบอุ่น ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ ถึงแม้ โลกจะอยูใ่ นยุคทีเ่ พรียบพร้อมไปด้วยเทคโนโลยีทใี่ ห้ความสะดวกสบายกับ ชีวติ มากมาย แต่ปรากฏ ว่าคนจ�ำนวนมากก็ยงั มีชวี ติ ทีไ่ ร้ซงึ่ ความสุข กลายเป็นสังคม “ High Tech, High ทุกข์” ท่ามกลาง โลกที่มีการพัฒนาไปอย่างมากมาย และคนก็มีการศึกษาที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ค�ำถามที่ตามมาก็คือ “การศึกษามิได้ช่วยให้เราได้เรียนรู้ เพื่อมุ่งไปสู่ความสุขในชีวิตหรอกหรือ” และเพื่อที่จะตอบ ค�ำถามนี้ ผมคิดว่าเราจะต้องมาท�ำความเข้าใจในเรื่องการเรียนรู้ ก่อนว่า จริงๆแล้วการเรียนรู้ นั้นอาจมองได้เป็น 3 ระดับ คือ 1). รู้จ�ำ 2). รู้จริง และ 3). รู้แจ้ง ผมคิดว่าระบบการศึกษาในปัจจุบัน ของเราคงจะเน้นอยูท่ กี่ ารเรียนรูใ้ นระดับแรก คือ เป็นการรูจ้ ำ� เป็นส่วนใหญ่ ซึง่ ได้แก่การเรียน รู้ตามตัวบท ตามตัวหนังสือ หรือตามค�ำ สอน เป็นการเรียนแบบที่มุ่งเน้นการ ท่องจ�ำให้พูดได้ เจื่อยแจ้วเป็นนกแก้ว นกขุนทอง ครั้นเมื่อถึงเวลาสอบใคร ที่ตอบได้ใกล้เคียงกับที่อาจารย์สอน มากที่ สุ ด ก็ จ ะ เป็ น ผู ้ ที่ ไ ด้ ค ะแนน สูงสุด การศึกษาแบบ “รู้จำ� ” นี้ ผม ได้ นิ ย ามให้ ค รอบคลุ ม กิ จ กรรมใน ส่วนของการฝึกฝนอันเป็นผลมาจาก การฝึ ก อบรม (Training) อี ก ด้ ว ย เพราะเห็นว่าการฝึกฝนส่วนใหญ่กม็ กั จะ เน้นการจดจ�ำขั้นตอนต่างๆ ไว้ เป็นต้นว่า เมื่อลูกค้าเปิดประตูร้านเข้ามา จะต้องกล่าว อะไรกับลูกค้าเป็นการต้อนรับ เรียกได้ว่าต้อง ฝึกฝนจนจ�ำมาเป็นอย่างดีจงึ จะสามารถท�ำได้ถกู ต้องตาม
Medleuddang July-August 2010.indd 20
28/8/2553 10:06:35
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ขั้นตอน ที่ได้รับการสอนมา ซึ่งการเรียนรู้ประเภทนี้ไม่ใช่ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี การงานหลายๆอย่าง ก็ต้องอาศัยการรู้จ�ำนี้ เพียงแต่เราต้องไม่ลืมว่ายังมีการเรียนรู้อีกสองระดับที่เราจะต้องให้ความ ส�ำคัญต่อไป อย่าหยุดการเรียนรู้อยู่เพียงแค่ระดับนี้ การเรียนรู้ระดับที่สองเป็นเรื่องของการ “รู้จริง” ซึ่งน่าจะเป็นเป้าหมายที่แท้จริงของ การศึกษา เพราะการเรียนรู้ระดับนี้จะเน้นที่ความเข้าใจเป็นหลัก ไม่ใช่สักแต่ให้จ�ำได้เหมือนใน ระดับแรก เป็นการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยข้อมูล อาศัยการวิเคราะห์ เพื่อท�ำความเข้าใจในเรื่องเหตุ เรือ่ งผล เป็นการศึกษาทีอ่ งิ การปฏิบตั จิ ริง ทัง้ นีเ้ พือ่ จะได้เกิดความแจ่มชัดในเรือ่ งต่างๆ เป็นการ เรียนรู้อันเกิดจากการกระท�ำที่เรียกว่า Learning by doing เป็นการเรียนรู้ที่ได้มาจาก ประสบการณ์จริง เป็นการศึกษาที่ได้มาจากการสังเคราะห์สถานการณ์ ท�ำให้เกิดความเข้าใจใน บริบท จนสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ส�ำหรับการเรียนรูใ้ นระดับสุดท้าย ถือว่าเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งของปัญญาโดยตรง เรียกว่าเป็นการเรียนรูใ้ นระดับ “รูแ้ จ้ง” อันหมายถึงการเรียนรูท้ อี่ ยูน่ อกเหนือขอบเขตของความ จ�ำ แต่เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยการสร้างความเข้าใจผ่านการกระท�ำ ผ่านความรู้สึก เป็นเรื่องของ สามัญส�ำนึก และจิตวิญญาณ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและการมองโลก สรุปว่าเป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตจิตใจโดยตรง การเรียนรู้ 2 ระดับแรกสอนให้คน “คิดเป็น ท�ำเป็น” ส่วนการ เรียนรู้ในระดับที่ 3 จะเป็นกลไกส�ำคัญที่ท�ำให้คน “คิดถูก ท�ำถูก” ผมเชื่อว่าเมื่อผู้บริหารมีความเข้าใจในเรื่องการเรียนรู้ทั้ง 3 ระดับนี้แล้ว เป้าหมายใน การบริหารองค์กรเพื่อให้ได้มาซึ่ง “งานที่ได้ผล และคนที่เป็นสุข” ก็ย่อมเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้โดย ไม่ยากนัก n
21
ขอขอบคุณ: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
แหล่งที่มา: http://www.kmi.or.th/kmi-articles/dr-prapon/67-001-k-wisdom.html
Medleuddang July-August 2010.indd 21
28/8/2553 10:06:36
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
22
มองการเมืองไทยปัจจุบัน ผ่าน “ความเป็นไทย” ของ “คึกฤทธิ์” BY D k _ To M
การมองสถานการณ์การเมืองไทยปัจจุบนั นัน้ มีอยูด่ ว้ ยกันหลายวิธี สุดแล้วแต่วา่ จะเลือก มองโดยใช้กรอบการมองแบบไหน โดยในที่นี้ผู้เขียนได้วิเคราะห์ตามกรอบ “ความเป็นไทย ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์” ซึ่งก็อาจพอช่วยให้เห็นภาพต่างๆ ได้ชัดขึ้น แต่ถึงกระนั้นนี่เป็นเพียงการมองของ ผู้เขียน ไม่ได้หมายความว่านี่คือกรอบที่ถูกต้องแล้วและทุกคนต้องมองตามกรอบนี้ จะเชื่อตาม กรอบนี้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของผู้อ่านเอง หมายเหตุ: บทความฉบับนี้เป็นการย่นย่อจากค�ำถาม-ค�ำตอบที่ใช้ตอบข้อสอบปลาย ภาควิชาร ร.321 การเมืองการปกครองไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 (ตั้งค�ำถาม เอง-ตอบเอง) โดยปรับปรุงจากฉบับที่ลงตีพิมพ์ในคอลัมน์ของ อ.เกษียร เตชะพีระ หนังสือพิมพ์ มติชนฉบับวันที่ 14 และ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2553 ส่วนฉบับเต็มที่เขียนสอบนั้น ลืมไปแล้ว เพราะได้ใช้วิธีการอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “แถสด” ร่วมด้วยเป็นส่วนใหญ่
เอื้อเฟื้อภาพโดย:
คึกฤทธิ์กับประดิษฐกรรมความเป็นไทย ๑ (ซ้าย) และ ๒ (ขวา) หนังสือที่พยายามอธิบายตรรกะ “ความเป็นไทย” ในสองยุคคือ ยุคจอมพล ป.พิบูลสงคราม (เล่ม 1) และยุค จอมพลสฤษดิ์ถึงทศวรรษ 2530 (เล่ม 2) โดยผู้แต่ง สายชล สัตยานุรักษ์
Medleuddang July-August 2010.indd 22
BOOKMARKTHONGLOR.COM
28/8/2553 10:06:37
- ค�ำตอบ นิยาม “ความเป็นไทย” กระแสหลัก เป็นหนึ่งค�ำอธิบายที่พบมากในการอธิบายสถานการณ์ ความขัดแย้งทางการเมืองไทยในปัจจุบนั โดยค�ำอธิบายเหล่านีไ้ ด้รบั อิทธิพลอย่างมากจาก “ความ จริง” ทางการเมืองที่ถูกสร้างขึ้นโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ปัญญาชนที่ทรงอิทธิพลในการ นิยาม “ความเป็นไทย” มากที่สุด ในที่นี้จึงจะท�ำการวิเคราะห์ว่า “ความจริง” เหล่านั้นได้ให้คำ� อธิบายอะไรเกี่ยวกับสถานการณ์ความขัดแย้งครั้งนี้บ้าง และค�ำอธิบายเหล่านั้นมีความถูกต้อง เหมาะสมเพียงใด แต่กอ่ นนัน้ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องทราบค�ำนิยามศัพท์สำ� คัญในเรือ่ งนีเ้ สียก่อน ได้แก่ค�ำว่า “ความเป็นไทย” กระแสหลัก และค�ำว่า “ความจริง” ทางการเมือง ทั้งนี้เพื่อความ เข้าใจที่ตรงกัน โดยในที่นี้จะขออ้างอิงค�ำนิยามที่ปรากฏใน “บทวิจารณ์ การสร้าง “ความเป็น ไทย” กระแสหลักและ “ความจริง” ที่ “ความเป็นไทย” สร้าง” (ฟ้าเดียวกัน, 3: 4 (ต.ค. – ธ.ค. 2548)) “ความเป็นไทย” หมายถึง สิง่ สร้างทางการเมืองวัฒนธรรม เชือ้ มูลทีป่ ระกอบสร้างเป็น เอกลักษณ์ของชาติไทย หากเรามีสิ่งนี้ก็จะได้ชื่อว่าเป็นคนไทยโดยสมบูรณ์ เมื่อน�ำมารวมกับค�ำ ว่า กระแสหลัก จึงหมายถึง สิ่งสร้างทางการเมืองวัฒนธรรมที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในการ ท�ำความเข้าใจว่าอะไรคือไทย “ความจริง” นั้น หมายถึง สภาวะนามธรรมที่เป็นจริงโดยตัวมันเอง อย่างไรก็ตาม “ความจริง” ในที่นี้เป็น สกรรมสภาวะ (transitive reality) เป็นจริงเพราะเราเชื่อ ไม่ได้เป็นจริง โดยตัวมันเอง แต่เรากลับเชื่อว่ามันเป็นจริงโดยตัวมันเอง เมื่อน�ำมารวมกับค�ำว่า การเมือง จึง หมายความว่า แง่มุมทางการเมืองที่เราเชื่อว่าถูกต้อง เป็นจริง ไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อน�ำ 2 ค�ำข้างต้นมารวมกันเป็น “ความจริง” ทางการเมืองที่ “ความเป็นไทย” กระแสหลัก สร้างขึ้น จึงอาจให้ความหมายได้ว่าเป็นกรอบการมองการเมืองที่เป็นผลมาจากอิทธิพลของ การท�ำความเข้าใจว่าอะไรคือไทย
Medleuddang July-August 2010.indd 23
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
- ค�ำถาม “ความเป็นไทย” กระแสหลักที่นิยามโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้สร้าง “ความ จริง” ทางการเมืองอะไรให้กับสังคมไทยบ้าง? “ความจริง” เหล่านั้นสามารถน�ำมาใช้อธิบาย สาเหตุ แ ละเสนอวิ ธี ก ารแก้ ป ั ญ หาสถานการณ์ ค วามขั ด แย้ ง ทางการเมื อ งของไทยในช่ ว งปี พ.ศ. 2495 – ปัจจุบันได้หรือไม่ อย่างไร? และท่านเห็นว่าการเสนอค�ำอธิบายตามแนวทาง “ความจริง” เหล่านั้น สามารถช่วยให้เข้าใจและแก้ปัญหาได้หรือไม่ อย่างไร? หากไม่ ท่านคิด ว่าเป็นเพราะอะไร?
23
28/8/2553 10:06:37
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
24
“ความเป็นไทย” กระแสหลัก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เป็นปัญญาชนที่ทรงอิทธิพลมากในการนิยาม “ความเป็นไทย” โดย ประเด็นส�ำคัญๆ ที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ได้นิยามไว้มีดังนี้ 1) การปกครองแบบไทย: ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้สร้างให้การปกครองแบบไทยเป็นรูปแบบ การปกครองที่ดีส�ำหรับไทย และเหนือกว่าการปกครองแบบประชาธิปไตยตะวันตก โดยมีหลัก ส�ำคัญคือเน้นทีอ่ ำ� นาจเด็ดขาดของผูน้ ำ� แต่ขณะเดียวกันผูน้ ำ� ก็กม็ ศี ลี ธรรมพระพุทธศาสนาก�ำกับ ไว้ เพื่อไม่ให้ประชาชนไม่ได้ถูกกดขี่ และการปกครองแบบนี้ให้สิทธิการเข้าร่วมการปกครองตาม ชัน้ ทางสังคม ผูท้ อี่ ยูใ่ นระดับล่างไม่มสี ทิ ธิเข้าร่วมการปกครองเนือ่ งจากคนกลุม่ นีไ้ ม่มคี วามรู้ หาก ให้ร่วมใช้อำ� นาจด้วยก็จะเกิดความวุ่นวายในสังคมขึ้นได้ 2) พระมหากษัตริย์: ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้เน้นให้เห็นว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นต้นแบบ ของผู้น�ำแบบไทย โดยเฉพาะรัชกาลปัจจุบันที่ทรงบุญญาบารมีสูงสุด ดังนั้นการปกครองและ ผู้น�ำที่ดีจึงต้องอยู่ภายใต้การดูแลและสายพระเนตรของพระมหากษัตริย์ แนวความคิดแบบนี้ได้ ก่อให้เกิด “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” 3) พระพุทธศาสนา: ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้เน้นที่ศีลธรรมแบบโลกียธรรม พร้อมทั้งได้เน้น ว่าผู้นำ� แบบไทยเป็นผู้นำ� ที่ดีเพราะมีพระพุทธศาสนาก�ำกับ ในส่วนของประชาชนทั่วไป ยังเน้น ความส�ำคัญของ “กรรม” เพื่อให้ประชาชนยอมรับสถานะของตัวเองและให้การสนับสนุนผู้น�ำ แบบไทยซึ่งเป็นผู้ที่มี “กรรม” เก่าที่ดีกว่า 4) ความสัมพันธ์ของคนในสังคม: ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ได้เน้นให้เห็นว่าสังคมที่รู้จัก “ที่สูง – ที่ต�่ำ” เป็นสังคมที่ดี เพราะแต่ละคนท�ำตามหน้าที่ของตนเอง ไม่เกิดความวุ่นวายขึ้น แม้จะมี ความแตกต่างทางชนชั้น แต่ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้โดยสงบสุข เพราะมีระบบอุปถัมภ์ผู้ที่อยู่ใน ชนชั้นต�่ำกว่า 5) ด้านอื่นๆ : ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ยังได้เน้น “ความเป็นไทย” ในด้านอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น เรื่องศิลปวัฒนธรรม โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้ให้ความส�ำคัญแก่วัฒนธรรมชั้นสูง (High Culture) ว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ดีงามและเป็นไทยอย่างที่สุด การเน้นแบบนี้มีแนวโน้มที่จะท�ำให้คนในสังคม ให้การสนับสนุนคนที่อยู่ใน “ที่สูง” แต่ไม่เห็นค่าของคนที่อยู่ใน “ที่ต�่ำ” “ความจริง” ทางการเมือง จาก “ความเป็นไทย” ในแง่มุมต่างๆ ที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้นิยามไว้ ได้ก่อให้เกิด “ความ จริง” ทางการเมืองที่ส�ำคัญก็คือ การมองว่า “ความเงียบทางการเมือง” หรือ “สังคมที่ไม่มี การเมือง” เป็นอุดมคติสูงสุดส�ำหรับการเมืองไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นทั้งค�ำตอบและข้อจ�ำกัด ในการมองการเมืองไทยของคนไทยปัจจุบัน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้ชี้ให้เห็นว่าการเมืองที่มาพร้อมกับระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นสิ่ง
Medleuddang July-August 2010.indd 24
28/8/2553 10:06:37
ฝ่ายศิลปกรรม: มโนภาพความเป็นไทย
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ชั่วร้าย เพราะเป็นการไปท�ำลายระบบความ สัมพันธ์ของคนในสังคมแต่เดิมลง ท�ำให้ คนที่อยู่ใน “ที่ต�่ำ” เข้ามามีอ�ำนาจใน การปกครอง ทัง้ ทีค่ นกลุม่ นีไ้ ม่มหี น้าที่ อย่างนั้น การปกครองโดยคนที่ไม่ สมควรได้ปกครองจึงท�ำให้ประเทศ มีแต่ความวุ่นวายขัดแย้ง อิทธิพล จากแนวความคิดนี้ท�ำให้คนไทยมอง การเมืองเพียงในแง่มุมของการต่อสู้ แย่งชิงผลประโยชน์ของนักการเมืองที่ เห็นแก่ตวั เท่านัน้ พร้อมกันนัน้ คนไทย ก็เชือ่ ว่าหากสามารถก�ำจัดนักการเมืองออกไปได้ บ้านเมืองก็จะดีขนึ้ เป็นแน่ “ความเงียบทางการ เมือง” จึงกลายมาเป็นอุดมคติส�ำหรับคนไทย ทีว่ า่ “ความเงียบทางการเมือง” หรือ “สังคมทีไ่ ม่มกี ารเมือง” นัน้ ก็คอื การปกครองแบบ ไทยซึง่ อยูภ่ ายใต้การดูแลของพระมหากษัตริย์ หน้าทีใ่ นการปกครองเป็นของคนดี ทีม่ คี วามเป็น ไทยและไม่ได้มาจากการเลือกตัง้ (เพราะการเลือกตัง้ ท�ำให้ความสัมพันธ์ของคนในสังคมยุง่ เหยิง) และต้องอยูใ่ น “ทีส่ งู ” ด้วย คนในชนชัน้ ต่างๆ กลับไปท�ำหน้าทีข่ องตนเองตามทีช่ นชัน้ ของตนเอง ก�ำหนด ผู้ที่อยู่ใน “ที่ต�่ำ” ก็มีเพียงหน้าที่ท�ำตามสิ่งที่คนอยู่ใน “ที่สูง” ก�ำหนดเท่านั้น ถ้าท�ำได้ แบบนี้ บ้านเมืองก็จะมีแต่ความสงบสุข อุดมคติแบบนี้ท�ำให้คนไทยไม่ให้ความส�ำคัญกับระบอบ ประชาธิปไตย และมีแนวโน้มจะสนับสนุนระบอบอ�ำนาจนิยมได้ง่าย “ความจริง” ทางการเมืองอีกประการหนึง่ ทีส่ ำ� คัญก็คอื การเกิดมโนภาพว่า “เมืองไทยนี้ ดี” โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิไ์ ด้ทำ� ให้คนไทยเชือ่ ว่าเมืองไทยดีกว่าประเทศอืน่ ๆ ด้วยเหตุผลหลายประการ ไม่วา่ จะเป็นทีต่ งั้ ตามภูมศิ าสตร์ การปกครองแบบไทย การมีพระมหากษัตริย์ ฯลฯ มโนภาพแบบ นี้ท�ำให้คนไทยส่วนใหญ่มีแนวโน้มต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เพราะคิดว่าจะท�ำให้เมืองไทยแย่ลง อีกทั้งยังปฏิเสธแนวทางของประเทศอื่นเพราะเชื่อว่าแนวทางของไทยดีที่สุด อย่างไรก็ตาม ไทย อาจจะรับแนวทางจากประเทศอื่นได้ แต่ต้องรับผ่านชนชั้นน�ำเท่านั้น ชนชั้นอื่นห้ามรับโดยตรง
25
มองการเมืองปัจจุบันผ่านกรอบคิดคึกฤทธิ์
สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองครั้งนี้อาจนับได้ว่าเริ่มต้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2548 โดยในช่วงแรกอาจถูกมองว่าเป็นเพียงความขัดแย้งระหว่าง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กับ นายสนธิ ลิ้มทองกุล แต่หลังจากนั้นความขัดแย้งก็ลุกลามขยายไปจนอาจเรียกได้ว่าเป็นความ ขัดแย้งระหว่าง ระบอบทักษิณ กับระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
Medleuddang July-August 2010.indd 25
28/8/2553 10:06:37
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
26
Medleuddang July-August 2010.indd 26
THE NATION WEBLOG: THAKSIN
หรือนัยหนึ่งเราอาจกล่าวได้ว่านี่เป็นความขัดแย้งระหว่าง “ความเป็นไทย” แบบใหม่ซึ่งน�ำโดย พ.ต.ท.ทักษิณ กับ “ความเป็นไทย” กระแสหลักที่ได้รับอิทธิพลจาก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ หากเราใช้กรอบของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์เป็นหลัก เราก็อาจให้คำ� อธิบายสถานการณ์ความ ขัดแย้งครั้งนี้ว่าเป็นผลมาจากการที่ พ.ต.ท.ทักษิณได้ท�ำลาย “ความเป็นไทย” กระแสหลักลง การท�ำลายในที่นี้คือการที่ พ.ต.ท.ทักษิณไม่ปฏิบัติตามแนวทางผู้นำ� แบบไทย เพราะมีข้อกล่าว หาว่า พ.ต.ท.ทักษิณได้กระท�ำการอันเป็นการผิดศีลธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านการทุจริตใน เรื่องต่างๆ ขณะเดียวกันก็ยังกระท�ำการใน ลักษณะที่ถูกมองว่าจะออกจากการควบคุม ดูแลโดยพระมหากษัตริย์ และพยายามท�ำ ตนเทียมพระมหากษัตริย์ เมือ่ พ.ต.ท.ทักษิณ ออกห่างจากพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นหลัก อ้างอิงและให้ความชอบธรรมในการเป็นเป็น ผู้น�ำไทยเช่น จึงได้ท�ำให้ท�ำให้ พ.ต.ท.ทักษิณ หมดคุณสมบัติของการเป็นผู้น�ำแบบไทยลง มีข้อสังเกตว่าในช่วงแรกที่ พ.ต.ท.ทักษิณใช้ อ�ำนาจในลักษณะเผด็จการนั้น ผู้คนจ�ำนวน มากยังไม่มคี วามคิดจะต่อต้าน พ.ต.ท.ทักษิณ เพราะตามหลัก “ความเป็นไทย” แล้ว การ ใช้อำ� นาจเผด็จการไม่ใช่เรือ่ งเลวร้ายแต่อย่าง ใด จนกระทัง่ เมือ่ มีกรณีกล่าวหาว่าทุจริตและ หมิน่ พระบรมเดชานุภาพ ผูค้ นจ�ำนวนมากจึง ได้ออกมาต่อต้าน พันต�ำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร ความผิ ด ของ พ.ต.ท.ทั ก ษิ ณ ต่ อ อดีตนายกรัฐมนตรีจากพรรคไทยรักไทย เข้าด�ำรง “ความเป็ น ไทย” อี ก อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ การ ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย คือด�ำรงต�ำแหน่ง ท�ำลายโครงสร้างความสัมพันธ์ของคนใน ครบวาระในสมัยแรก (กุมภาพันธ์ 2544 - มีนาคม สังคมลง เพราะ พ.ต.ท.ทักษิณได้อิงตัวเอง 2548) และด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันเป็นสมัยที่สอง เข้ากับประชาชนรากหญ้าซึ่งไม่ควรมีสิทธิ์ ก่ อ นจะถู ก ท� ำ รั ฐ ประหารโดย “คณะปฏิ รู ป การ มี เ สี ย งในการปกครอง แม้ ว ่ า โดยใจจริ ง ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา พ.ต.ท.ทักษิณอาจไม่ได้ต้องการให้อำ� นาจแก่ กษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.)” เมื่อ 19 กันยายน ประชาชนรากหญ้าอย่างแท้จริง แต่ก็ทำ� ให้ 2549 ถอื เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ผู้ที่อยู่ในที่ “สูงกว่า” อดรู้สึกไม่ได้ว่าอ�ำนาจ ที่ด�ำรงต�ำแหน่งครบวาระ 4 ปี ของตนเองก�ำลังถูกท้าทาย การเกิดมวลชน 2 กลุ่ม ซึ่งกลุ่มหนึ่งเป็นตัวแทนของผู้ที่อยู่
28/8/2553 10:06:38
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
สูงกว่า และอีกกลุ่มหนึ่งอยู่ในที่ต�่ำกว่า เข้าปะทะทางความคิดกัน ได้ทำ� ให้อุดมคติ “ความเงียบ ทางการเมือง” ของคนไทยจ�ำนวนมากพังทลายลง เพราะความขัดแย้งครัง้ นีเ้ กิดจากการทีค่ นใน ต�ำแหน่งต่างๆ ไม่ท�ำหน้าที่ของตนเอง คนในที่ต�่ำไม่สมควรออกมาประท้วง ข้อสรุปแบบนี้ได้นำ� ไปสู่การเสนอวิธีการแก้ปัญหาแบบไทยๆ ตามอิทธิพลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ วิธกี ารแก้ปญ ั หาทีห่ ลายคนเสนอจึงเป็นการท�ำยังไงก็ได้ให้นำ� “ความเงียบทางการเมือง” กลับคืนมา การรัฐประหารเมื่อ 19 ก.ย. 2549 ก็เป็นความพยายามในการสร้าง “ความเงียบ ทางการเมือง” และน�ำผู้นำ� แบบไทยที่เป็นคนดี มีความเป็นไทย และไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง ให้ มาเป็นผูป้ กครองประเทศอีกครัง้ หนึง่ และแม้การรัฐประหารจะเป็นวิธกี ารทีน่ านาชาติไม่เห็นด้วย แต่ก็ไม่เป็นไร เพราะ “เมืองไทยนี้ดี” วิธีการแก้ปัญหาแบบนี้จึงดีที่สุดแล้ว ขณะเดียวกัน การ แก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างมวลชน 2 ฝ่ายก็เป็นไปในแนวทางที่จะท�ำให้มวลชนฝ่าย “ที่ตำ�่ ” สลายไป เพราะไม่ใช่หน้าที่ของพวกเขาที่จะออกมาเรียกร้อง ส่วนฝ่าย “ที่สูง” ก็ได้รับอนุญาต ให้เคลื่อนไหวได้ ตราบใดที่ยังไม่ไปขัดกับ “ที่สูงสุด”
27
ทายาทความคิดของคึกฤทธิ์
การเสนอค�ำอธิบายแบบนีเ้ ป็นทีย่ อมรับของคนจ�ำนวนมาก ทัง้ นีเ้ พราะอิทธิพล “ความ จริง” ทางการเมืองที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้สร้างไว้ จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันเองก็มีปัญญาชนที่เป็นผู้ สืบทอดความคิดของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ และเป็นผู้ที่ยังท�ำให้กรอบ “ความจริง” แบบนี้ยังคงอยู่ต่อ ไป ตัวอย่างเช่น: ผู้หลักผู้ใหญ่ในบ้านเมืองซึ่งมักเน้นถึงเรื่องความส�ำคัญของ “คนดี” เป็นประจ�ำ และ ยังเน้นว่าผูป้ กครองต้องอยูภ่ ายใต้การดูแลของพระมหากษัตริย์ เพราะผูป้ กครองเป็นเพียงจ๊อกกี้ ไม่ใช่เจ้าของม้า การเน้นเช่นนี้ก็คือการสนับสนุนการปกครองแบบไทยและผู้น�ำแบบไทยนั่นเอง ขณะที่ตุลาการอาวุโสบางท่านก็เคยกล่าวว่าแม้ตุลาการจะไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่ก็มีสิทธิ์ เข้าไปแก้ปัญหาบ้านเมือง เพราะตุลาการได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ และพระมหา กษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจประชาชน ตุลาการจึงมาจากประชาชน การกล่าวเช่นนี้เป็นการเน้น ความส�ำคัญของพระมหากษัตริย์ขณะที่ลดค่าของการเลือกตั้งลงไป ด้านกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนั้นก็ได้เสนอหลักการเมืองใหม่ ให้มีตัวแทนจาก การแต่งตั้งมากกว่าเลือกตั้ง และให้ทหารสามารถเข้าแทรกแซงได้เมื่อมีเหตุสมควร อันเป็นการ แสดงความไม่ไว้ใจในประชาชนส่วนใหญ่ซึ่งยังอยู่ในวัฏจักรโง่-จน-เจ็บ จะเห็นได้ว่าปัญญาชนเหล่านี้ได้สืบทอดแนวทางค�ำอธิบายของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์และด้วย เหตุทปี่ ญ ั ญาชนเหล่านีม้ บี ทบาททางการเมืองค่อนข้างมาก ท�ำให้แนวทางค�ำอธิบายของ ม.ร.ว.คึก ฤทธิ์ยังถูกใช้เป็นกรอบในการท�ำความเข้าใจการเมืองในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตบาง ประการที่น่าสนใจว่าปัญญาชนในปัจจุบันมีลักษณะบางอย่างที่แตกต่างจาก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เช่น
Medleuddang July-August 2010.indd 27
28/8/2553 10:06:38
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
28
การยอมรับ “ความเป็นจีน” โดยในปัจจุบนั ลูกจีนไม่จำ� เป็นต้องกลายเป็นไทย แต่สามารถเป็นทัง้ จีนและไทยพร้อมกันได้ ดังเห็นได้จากวาทกรรม “ลูกจีนรักชาติ” ซึ่งน่าจะเป็นเพราะปัจจุบันลูก จีนจ�ำนวนมากได้มีบทบาททางเศรษฐกิจที่มีความส�ำคัญมากในยุคปัจจุบันขึ้น และเข้าไปร่วมมือ กับชนชัน้ น�ำในด้านการเมืองมากหน้าหลายตา อย่างไรก็ตาม “ความเป็นจีน” ในทีน่ จี้ ำ� กัดเฉพาะ ความเป็นจีนทีไ่ ม่ใช่คอมมิวนิสต์ ขณะเดียวกันก็พบว่านอกจากจีนแล้ว เชือ้ ชาติอนื่ ยังไม่ได้รบั การ ยอมรับเท่าที่ควร อาจเนื่องมาจากยังไม่มีพลังอ�ำนาจมากเท่ากับคนจีนก็เป็นได้ อีกจุดหนึง่ ทีแ่ ตกต่างก็คอื ปัญญาชนสมัยนีไ้ ด้ลดระดับมโนภาพ “เมืองไทยนีด้ ”ี ลง เห็น ได้จากแม้ว่าจะเห็นด้วยกับการรัฐประหาร แต่ก็ไม่กล้ากล่าวตรงๆ ที่เป็นเช่นนี้เพราะโลกาภิวัตน์ ท�ำให้คนทุกชนชั้นในสังคมสามารถรับสื่อจากต่างประเทศได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านชนชั้นน�ำเพียง อย่างเดียวเหมือนแต่ก่อน ท�ำให้ปัญญาชนจ�ำนวนมากต้องปรับเปลี่ยนค�ำอธิบายบางส่วนเพื่อให้ สอดคล้องกับสถานการณ์โลกด้วย
วิจารณ์ข้อจ�ำกัดของกรอบคิดคึกฤทธิ์
กรอบค�ำอธิบายแบบนีม้ ขี อ้ จ�ำกัดตรงทีว่ า่ เป็นเพียงการพิจารณาความไม่มศี ลี ธรรมของ พ.ต.ท.ทักษิณเท่านัน้ แต่ไม่ได้ท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับตัวระบบซึง่ ได้เพาะเชือ้ ความไม่พอใจระหว่าง ชนชั้นเอาไว้ อีกอย่าง กรอบค�ำอธิบายแบบนี้ยังไปไม่ทันกับกระแสโลก หากเป็นในอดีต วิธีการ แก้ปัญหาตามกรอบนี้อาจได้ผล เพราะชนชั้นน�ำสามารถตัดสินใจได้อย่างทันที แต่ปัจจุบันการ ที่ประเทศไทยผูกตัวเองติดกับกระแสโลกและได้รับอิทธิพลอย่างมากจากโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้คน จ�ำนวนมากในสังคมรับสื่อจากต่างประเทศได้โดยตรง อ�ำนาจในการรับสื่อนี่เองที่กลายมาเป็น พลังต่อกรส�ำคัญกับอ�ำนาจของชนชั้นน�ำ ตราบใดที่เรายังใช้รูปแบบการแก้ปัญหาแบบเก่าที่คับ แคบและไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ก็ย่อมจะยังไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ ส�ำหรับวิธกี ารแก้ปญ ั หาทีเ่ หมาะสมนัน้ ผูเ้ ขียนยังคิดไม่ออก แต่ผเู้ ขียนเชือ่ ว่าสังคมจะสามารถคิด ออกได้แน่ หากคนในสังคมหลุดพ้นจากค�ำอธิบายแบบ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ และหากรอบค�ำอธิบายแบบ ใหม่ๆ น�ำกรอบของแต่ละคนมาถกเถียง ตกผลึก สังเคราะห์ เมื่อนั้นเราจะได้กรอบค�ำอธิบายที่ เสนอสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมก็เป็นได้ แต่หาก “ความจริง” ทางการเมืองที่ “ความเป็นไทย” กระแสหลักของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ สร้างขึ้นยังคงมีอิทธิพลจ�ำกัดความคิดคนในสังคมอยู่เช่นนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางการ เมืองของไทยในปัจจุบันก็คงไม่สามารถหาทางออกได้ จะท�ำได้ก็คงแต่เพียงการกดทับปัญหาไว้ เท่านั้น ซึ่งผู้เขียนไม่เห็นว่าเป็นวิธีที่เหมาะสมแต่อย่างใด n
Medleuddang July-August 2010.indd 28
28/8/2553 10:06:38
ปฏิ วาทศาสน์ย้อน เพียรเพ่งพิภาษพุทธิ ์ แจงแจกสิ่งสมมุติ หวังท่านตรองตริได้
บริสุทธิ์ ผ่องไซร้ ปราศหมิ่น หยามแฮ สิ่งส้อนผสม มา
สิ่งสมมุติสิ่งโกหกตลกแท้ ต่างเพียงแต่ก็แค่ค�ำน�ำเสนอ ทั้งสองสิ่งล้วนประสบเคยพบเจอ อย่างพลั้งเผลอเข้าใจผิดคิดวุ่นวาย ยกตัวอย่างเป็นแนวทางชวนท่านคิด สุจริตด้วยใจใช่มุ่งหมาย จะหยามเหยียดศาสน์ใดให้อบาย โปรดช่วยคลายอคติที่คลุมใจ เช่นดินปูนที่ท่านมาทูนเทิด ว่าประเสริฐศักดิ์สิทธิพิสุทธิ์ใส มาสถิตเหนือแท่นบัลลังก์ใด ก็กราบไหว้ไม่ได้คิดจิตลืมตัว เขาหล่อพิมพ์ทิ่มแกะแซะสลัก เป็นรูปลักษณ์คนที่ตายวายชีพสูญ หลายร้อยวันเป็นพันปีทวีคูณ ด้วยแท่งปูนหรือเหล็กกล้าต่างว่าไป เอามาตั้งบ้างนั่งยืนพันหมื่นท่า ใครไปมาสักการ์ก้มกราบไหว้ เป็นสิ่งเพริศประเสริฐล�ำ้ ผ่องอ�ำไพ ไหว้ด้วยใจ ฤาด้วย ความเคยชิน ถูกพร�่ำสอนและห้ามการถามทัก เรื่องแปลกนักท�ำไมไหว้ปูนหิน วาทกรรมประดิษฐ์สร้างที่ยลยิน เพราะอาจเป็นมลทินหมิ่นศรัทธา ผมจึงหวังเพียงกระตุกต่อมชวนคิด หวนพินิจตริตรองลองศึกษา ว่าอดีตสิ่งนี้ถูกสร้างมา เพื่อกราบไหว้บูชาแต่ปางบรรพ์? เพื่อบวงสรวงปวงเทพเสพความสุข? หรือใช้ปลุกปลอบโยนประโลมขวัญ? เพื่อศักดิ์สิทธิ์กราบไหว้อภิวันท์? หรือเพื่อใช้บูชายันต์ศาสน์พิธี? เพื่อทดแทนผู้ตายวายชีพจาก ยามพลัดพรากระลึกถึงทุกสิ่งศรี หิน เหล็ก ปูน ที่แกะปั้นแทนความดี เพียงให้เห็นถึงวันนี้คงเพียงพอ. ผู้เขียนหนักใจเหลือเกินที่จะจรดปลายปากกาประพันธ์บทประพันธ์บทนี้เสียเหลือเกิน
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ประดิษฐกรรม ธรรมะสมมุติ
29
ไม่ใช่ว่ามันหาค�ำยากหรือคิดไม่ออกแต่ประการใด เพียงแต่ผู้เขียนก็เริ่ม “กลัว” เป็นเหมือนกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามก็กลั้นใจลงมือเขียนออกมาจนเสร็จจนได้ แม้ว่าบทประพันธ์ชิ้นนี้ จะยากต่อการตีความส�ำหรับไปเสียหน่อย หากผู้อ่านท่านใดตีความได้ถูกต้องตามที่ผู้เขียน สื่อสารไปทุกประการแล้วก็อาจจะขัดเคืองใจผู้อ่านต่อผู้เขียนอยู่เนืองๆเป็นได้ สุดท้ายนี้ผมก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ต่อผู้อ่านที่ขุ่นเคืองใจต่อผู้เขียน n พระยาลับแล ประพันธ์
Medleuddang July-August 2010.indd 29
28/8/2553 10:06:38
อยากเคลียร์งานทั้งหลายที่มีให้ชัดเจน
มด มุมตึก การเมืองการปกครอง #1 จากบน/
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
อยากเห็นอาชีพในอนาคตของตัวเองชัดเจน จะได้มุ่งตรงไป ทางนั้นอย่างเดียวเลย ไม่ต้องเสียเวลาหลงทางในปัจจุบนั เบ็ญ เจ้าจ�ำปี #1
CW.ROUTLEDGE.COM: A HANDBAKC NOTEBOOK / BUYABETTERLIFE.NET: RED-VUVUZELA
30
BY
เ ดื อ น
ศร
เ ฟิ น
อยากให้มีการประชาสัมพันธ์ต่างๆในคณะที่ชัดเจนกว่านี้ เพราะเพื่อนบางคนไม่รู้เรื่องกิจกรรมอะไรเลยก็มี แต่เท่าที่ท�ำนี่ก็ โอเคอยู่แล้วแหละ แต่บางคนก็ไม่ได้เข้า facebook ไรงี้บางที เขาก็ไม่รเู้ รือ่ งอ่ะ เช่นบอลแข่งตอนไหนกีโ่ มงไรงี้ ก็บางคนก็ยงั ไม่รู้ เรื่องเลยเป็นต้น
ลูกแก้ว สิงห์สนุก BMIR #1
อยากเห็นคนไทยมีความสามัคคีกันอย่างจริงจัง ไม่ ใช่ว่าท�ำไปแบบผิวเผินหรือ เพื่อประโยชน์ส่วนตน อยากให้ทุกคนสร้างบรรยากาศของสังคมให้ชัดเจนกว่านี้ มิ้ม แสงจันทร์ล่าง บริหารรัฐกิจ #1
Medleuddang July-August 2010.indd 30
28/8/2553 10:06:43
เนย Appeal-สายรุ้ง BMIR #1
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ในความคิดของผมถ้าเป็นไปได้ สิง่ ทีต ่ อ้ งการท�ำให้ชดั เจน คือ การสร้างความ สามัคคีให้เกิดขึน้ ในคณะเราอันจะเห็นได้จาก ทีม ่ กี ารแย่งแยกเป็นกลุม ่ ต่างๆ หากมีการ ทะเลาะกัน ก็จะยิง่ มีการแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ แต่เนือ่ งจากมหาวิทยาลัยของ เรา เป็นมหาวิทยาลัยที่มีเสรีภาพทุกตารางนิ้ว เรื่องการแบ่งแยกเป็นกลุ่ม หรือฝ่าย จึงไม่ได้ให้ความส�ำคัญกันมากนัก สิ่งที่ผมต้องการจะสื่อให้ทุกคนทราบคือ อยากให้ ทุกคนมีความสามัคคีกัน ท�ำงานร่วมกันอย่างไม่ถืออคติ และหันหน้าเข้าหากัน จึง จะสามารถน�ำพาให้ทุกสิ่งเดินไปข้างหน้าได้
31
เต้นจินนี่จ๋า อย่างชัดเจน เพราะอยากเกิด เก๋ๆ
จินนี่ จ�ำปี บริหารรัฐกิจ #2
ท�ำความจริงให้ปรากฏ
วีร์ แมงโม้ การระหว่างประเทศ #2
การบริหารบ้านเมืองให้ชัดเจน เพราะอยากให้เมืองไทยสงบสุข บี ถ�้ำสิงห์ บริหารรัฐกิจ #2
API.NING.COM: SMILE
Medleuddang July-August 2010.indd 31
28/8/2553 10:06:44
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
ผมต้องการความชัดเจนเรือ่ ง หลักเกณฑ์การให้คะแนนของวิชา PO211 (อ.ชลิดาภรณ์) โปรดรับไปพิจารณาอย่างจริงจังไม่ใช่ทำ� อย่างเล่นๆ ปล.จากใจจริง(เด็กปกครอง) กฤษ แสงจันทร์ การเมืองการปกครอง #2
ความคิด ความอ่านของตัวเองให้ชัดเจน เพื่อตอบ ปัญหาชีวิตตนเองให้ได้
32
มาย OH HO HE การเมืองการปกครอง #3
บอกเรื่องความสัมพันธ์ ที่มันคลุมเคลือ
เน YOUNGMAN บริหารรัฐกิจ #3
Medleuddang July-August 2010.indd 32
PARADE.COM: THINK YOURSLEF / ARTBYWICKS.COM: RELATIONSHIP RED BLUE
ความสัมพันธ์ เพราะมันค่อนข้างซับซ้อน 555+
จากบน/
พิม มาสิคะ บริหารรัฐกิจ #3
28/8/2553 10:06:44
ตุลาชัย การระหว่างประเทศ #3
อยากมีงานที่ชัดเจนเพื่ออนาคตที่สดใสกว่าปัจจุบัน บิล สิงห์โต๊ะเล็ก บริหารรัฐกิจ #4
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
เปิดวิชาให้เสรีภาพกับการเลือกวิชามากขึ้น
33
อยากท�ำให้สายตาชัดเจน เพราะจะได้มองการณ์ไกลได้ดี
อยากท�ำเลนส์กระจกตาของ นักการเมืองไทยให้ชัดเจน จะได้มอง เห็นซะทีวา่ โลกเขาพัฒนากันไปถึงไหน แล้ว............ชัดพอไหม! ^-^
เหมียว ภราดร บริหารรัฐกิจ
จากบน/
DRATIQ.CO.UK/CATALOG/IMAGES: VISION / CALVARYCHAPLGODBEACH.COM: BIBLE STUDY
หญิง appeal-สายรุ้ง การระหว่างประเทศ #4
Medleuddang July-August 2010.indd 33
28/8/2553 10:06:44
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
34
Surviving Disaster: เมื่อมหาอำ�นาจอำ�พรางตัว
BY S H I N T A R O Y A M A K U R A
ท่
Medleuddang July-August 2010.indd 34
CADE COURTLEY: FERALJUNDI.COM
ามกลางความทันสมัยของชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ท�ำให้ผคู้ นมากมายล้วนหลงใหลและ เพลิดเพลินไปกับสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความรวดเร็วของอินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้าม โลกที่รวดเร็ว การเข้าถึงข้อมูลที่ง่ายขึ้น หรือแม้แต่การขนส่งที่ฉับไว สิ่งที่กล่าวมา ทั้งหมดนี้ล้วนแต่เป็น “ประโยชน์” ที่มาพร้อมๆ กับศตวรรษใหม่ แต่เมื่อข้อมูลบางอย่างปรากฏขึ้น สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ ภาวะโลก ร้อน ภยันตรายต่างๆ ผู้คนมากมายต่างหวาดผวากับสึนามิที่ภาคใต้หรือแม้แต่แผ่นดินไหวใน จีน ไม่ใช่แค่ภัยธรรมชาติเท่านั้น สิ่งที่เป็นประโยชน์กับมนุษย์เรา ก็ได้สร้างความหวาดหวั่นไม่น้อยเช่นกัน ภาพเหตุการณ์เครื่องบิน “พลเรือน” ชนตึกเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ การก่อการร้าย และการก่อ อาชญากรรมที่ “ง่าย” ขึ้น นั่นหมายความว่าสิ่งที่ท�ำให้เราเกรง กลัวนั้นอยู่ “ใกล้” เราขึ้นทุกที Surviving Disaster เป็นรายการโทรทัศน์ของ สหรัฐอเมริกาที่ผลิตโดย Spike TV ซึ่งพยายามเสนอ ภาพเหล่านัน้ ในสถานการณ์จำ� ลองทีเ่ หมือนจริง โดยมี Cade Courtley อดีตนาวิกโยธินสหรัฐเป็นนักแสดง หลัก ซึ่งเขาจะเป็นคนเดินเรื่องและอธิบายวิธีการผ่าน วิกฤตต่างๆ ซึง่ ในแต่ละตอนจะมีความหลากหลายของ เหตุการณ์ เช่น ภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย หรือ แม้กระทั่งโรคระบาด ซึ่งตัว Cade จะคอยอธิบายวิธี การจัดการกับเหตุการณ์นั้นเป็นขั้นตอน รวมถึงข้อควร ระวังทีต่ อ้ งป้องกัน และรายละเอียดเล็กน้อยทีค่ วรสังเกต เมือ่ ดูผวิ เผินรายการนีอ้ าจจะเป็นรายการโทรทัศน์ทวั่ ไปที่ ดูแล้วสนุกสนาน ตื่นเต้น แต่ก็มีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อย Cade Courtley คนเดินเรื่อง ทีเดียว
28/8/2553 10:06:45
SURVIVING DESASTER: NEWS.LALATE.COM / EPISODE ‘2’ FIRE: SIDEREEL.COM
จากบน/
Medleuddang July-August 2010.indd 35
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
ความน่าสนใจแรกทีส่ งั เกตเห็นก็คอื การจ�ำลองเหตุการณ์ ภาพของเหตุการณ์ในรายการ นี้แน่นอนที่สุดต้องเป็นเหตุการณ์ที่เลวร้าย ซึ่งรายการนี้เสนอได้หลากหลายตั้งแต่ภัยธรรมชาติ และภัยจากมนุษย์ ตั้งแต่พายุเฮอร์ริเคน แผ่นดินไหว ไปจนถึงการจี้เครื่องบินและการโจมตีด้วย อาวุธนิวเคลียร์ ซึ่งภาพเหตุการณ์ที่เลวร้ายเหล่านี้ล้วนบังเอิญกับภาพเหตุการณ์สำ� คัญที่เกิดขึ้น กับคนอเมริกัน เช่น พายุเฮอ ริเคนแคทรินา หรือเหตุการณ์ 11 กันยายนที่สะเทือนใจคน อเมริกันอย่างมากในเวลานั้น ซึ่งเป็นหนึ่งในที่มาของการต่อ ต้านการก่อการร้ายในเวลาต่อ มา ซึ่งการน�ำเสนอภาพเหล่า นี้อาจจะท�ำให้ความกลัวที่ทุก คนพยายามจะท�ำให้มัน “เลือน ราง” นั้น “ปรากฏ” ให้เราเห็น ได้ดียิ่งขึ้น ความน่ า สนใจต่ อ มาคื อ การด�ำเนินเรื่องของเหตุการณ์ ที่สะท้อนความ “กลัว” เหล่า นั้ น ในลั ก ษณะที่ เ พิ่ ม เงื่ อ นไข ให้ ค วามกลั ว ของเหตุ ก ารณ์ นั้นเพิ่มระดับขึ้นไปเรื่อยๆ จน กระทั่ ง ไม่ ส ามารถที่ จ ะท� ำ ต่ อ ไปได้ในเงื่อนไขของความเป็น จริง แล้วท�ำให้ Cade เป็นคน ทีน่ ำ� พาผูค้ นในเหตุการณ์นนั้ ไป สู่ความปลอดภัย ความอยู่รอด หรืออิสรภาพ ซึ่งภาพของการเป็นวีรบุรุษที่พิชิตความชั่วร้าย Cade ได้ถูกสร้างให้เป็นภาพของ ฮีโร่ตามแบบฉบับอเมริกันที่พยายามจะบอกว่า “อเมริกา” จะเป็นคนที่พาทุกๆ คนผ่านวิกฤตเอง ซึ่งอาจจะเป็นภาพสะท้อนแนวคิดของความเป็นอเมริกันและสหรัฐอเมริกาที่ถูกท�ำให้ “จาง” จน กระทั่งน้อยคนนักที่จะสังเกตเห็นมัน นอกจากการน�ำเสนอเหตุการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะอย่างภัยธรรมชาติ หรือเหตุการณ์ที่ มีความซับซ้อนอย่างการจี้เครื่องบินแล้ว ก็ยังน�ำเสนอเหตุการณ์ทั่วๆ ไป ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ใน ชีวิตประจ�ำวัน เช่น ไฟไหม้ ด้วยวิธีการสะท้อนความกลัวแบบเพิ่มระดับตามที่กล่าวมาข้างต้น ได้ท�ำให้สิ่งที่เดิมอาจจะเห็นเป็นเรื่องธรรมดานั้นกลายเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ตื่นเต้น และเป็นเรื่อง
35
28/8/2553 10:06:45
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
36
ส�ำคัญได้ ความน่าสนใจอยูท่ วี่ ธิ กี ารท�ำให้กระแสความรูท้ ถี่ กู ท�ำให้เจือจางโดยผูค้ นทัว่ ไปนัน้ ส�ำคัญ ขึ้นมาสู่การเป็นกระแสที่ได้รับความสนใจอีกครั้ง ซึ่งรายการนี้ท�ำได้สมบูรณ์แบบมากเลยทีเดียว สิ่ ง ที่ ร ายการนี้ น� ำ เสนออี ก คื อ การน� ำ เสนอวิ ก ฤตการณ์ ที่ ส ะท้ อ นนโยบายของ สหรัฐอเมริกา ที่น่าสนใจคือสามารถใช้กลวิธีอย่างแยบยล ซึ่งตัวอย่างเหตุการณ์ของรายการนี้ ได้สะท้อนให้เห็นว่า ทุกวันนีส้ หรัฐอเมริกามีความสนใจในเรือ่ งราวเหล่านีม้ ากขึน้ ทัง้ การก่อการ ร้ายและภัยความมั่นคง ที่อาจจะท�ำให้ความกลัวของสหรัฐอเมริกาที่แต่เดิมถูกกลบเกลื่อนด้วย ก�ำลังทหารมีความชัดเจนมากขึ้น ความเกรงกลัวต่อภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อนที่มีแนวโน้ม เข้าสูเ่ วทีนานาชาติดา้ นสิง่ แวดล้อมมากขึน้ ซึง่ อาจจะเป็นเพราะภาพของการประสบพายุทรี่ นุ แรง นั้นยังคง “เจือปน” ในจิตใจของผู้คน หรือแม้แต่ความรู้สึกที่ถูกคุกคามจากภัยนิรนาม เช่น โรค ระบาด หรืออาวุธนิวเคลียร์ ที่ไม่ได้แสดงออกอย่างชัดเจนมากนัก ก็ได้แสดงออกผ่านรายการนี้ เช่นกัน รายการนี้ยังคงมีความน่าสนใจอีกตรงที่ภัยพิบัติต่างๆ ที่กำ� ลังเคลือบคลานเข้ามาใกล้ เรามากขึ้นทุกทีๆ ท�ำให้รัฐซึ่งท�ำหน้าที่จัดการบริการสาธารณะโดยเฉพาะความปลอดภัยของ ประชาชนนัน้ ไม่สามารถเข้าถึงตัวผูป้ ระสบเหตุได้ทนั ทีทนั ใด ฉะนัน้ การทีผ่ ปู้ ระสบเหตุจะสามารถ จัดการกับภัยพิบัติด้วยตนเองในสถานการณ์เฉพาะหน้านั้นเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ซึ่งรายการนี้ได้เจือ จางแนวคิดการบริหารจัดการทีเ่ ริม่ จากประชาชนซึง่ เป็นส่วนล่างไปสูร่ ฐั ทีเ่ ป็นส่วนบน (Bottomup) ด้วยความพยายามที่จะบอกให้ประชาชนรู้ว่ารัฐก็ไม่ได้พร้อมที่จะช่วยเราตลอดเวลา ให้ “ทึกทักเอาว่าไม่มีใคร...เรา” Surviving Disaster ก�ำลังพยายามจะบอกอะไรบางอย่างกับเราทีม่ ากกว่าการสอนเพือ่ เอาชีวิตรอดจากภัยพิบัติ เราได้เรียนรู้การสะท้อนอุดมการณ์ แนวคิด และวิธีการเผยแผ่แนวคิด แบบอเมริกนั ต่อผูค้ นทัว่ โลก กระบวนการพลิกความรูก้ ระแสรองสูก่ ารเป็นความรูก้ ระแสหลัก หรือ แม้แต่การสอดแทรกแนวคิดของรายการทีต่ อ้ งการสะท้อนสิง่ ทีป่ ระชาชนควรจะท�ำหน้าทีแ่ บ่งเบา ภาระของรัฐ และสุดท้าย Surviving Disaster ก�ำลังสอนเราว่า ในเรื่องบางเรื่องที่ชัดเจน อาจ จะมีภาพจางๆ ให้ผู้คนได้สังเกตเห็น แม้ว่ามันจะไม่ชัดก็ตาม n
Medleuddang July-August 2010.indd 36
28/8/2553 10:06:46
ณ ขณะที่ก�ำลังเขียนเรื่องสั้นเรื่องนี้ อยู่ในช่วงเศร้าบางอย่าง เพื่อนของพ่อคนหนึ่งที่
ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดแห่งหนึง่ ในปราจีนบุรี ก�ำลังอาพาธอย่างหนัก ในอดีตผูเ้ ขียน เคยได้รับค�ำสอนหลายอย่าง จึงขอน�ำมาเขียนเป็นเรื่องสั้นเรื่องนี้ วันหนึ่งของชีวิตชายวัยกลางคนคนหนึ่งที่ผ่านช่วงเวลาเลวร้ายต่างๆ มามากมายแล้ว ก�ำลังเข้าสู่จุดตกต�่ำที่สุดจุดหนึ่งของชีวิต เขาก�ำลังนอนอยู่บนเตียงในโรงพยาบาล เขาเข้าโรง พยาบาลมาแล้วหลายสิบวัน เขาถูกส่งมาเพราะว่าเขาล้มกลางงานเลี้ยงของที่บ้าน ท่ามกลาง ความตกใจของญาติพนี่ อ้ ง หมอตรวจร่างกายเขาแล้วพบว่าตับของเขามีปญ ั หา ต้องท�ำการผ่าตัด โดยด่วน แต่ปญ ั หายังคงไม่จบเพียงแค่นนั้ เนือ่ งจากทีบ่ า้ นของเขาไม่มเี งินพอจะแบ่งให้เขาท� ำการ รักษาทั้งนี้ก็เป็นผลมาจากการที่เขาใช้เงินที่หามาได้หมดไปกับสิ่งของที่ไร้สาระฟุ่มเฟือยไม่ว่าจะ เป็นค่าเหล้า ค่าพนัน ของใช้ที่ไม่จ�ำเป็นทั้งหลาย เพียงแค่การนอนในโรงพยาบาลครั้งนี้เงินเก็บ ที่เคยเหลือเผื่อไว้ก็หมดเกลี้ยงแล้ว บางทีการที่เขาจะตายจากไปอาจจะดีกว่าก็ได้ จะได้ไม่ต้อง เหลือภาระอะไรอีกแล้ว ชีวิตที่ไร้ค่าของเขาก็คงจะจบสิ้นเสียที คนเราเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เขาเหนื่อยมามากแล้วในชีวิตนี้ เขาเคลื่อนไหวตัวเอง อยู่เสมอ แต่พอยามนี้เขาถูกบังคับให้หยุดนิ่ง เขาก็รู้สึกเหมือนอะไรๆ ที่เคยผ่านหน้าเขาไปอย่าง รวดเร็วหยุดลง เขารูส้ กึ ถึงความสวยงามของดอกไม้ทใี่ นวัยเด็กเขามักจะหักเล่นเป็นประจ�ำ แมลง ตัวเล็กๆ บินผ่านไปมาท�ำให้เขาได้รู้สึกถึงความซุกซนของพวกมัน ทั้งที่แต่ก่อนเขามักจะโมโหที่ มันมาตอมไปมาและเขาก็มกั จะลงมือสังหารมันอย่างทันที เขารูจ้ กั การท�ำสมาธิเพ่งให้อยูเ่ ป็นจุดๆ ทุกหยดน�ำ้ เกลือที่ไหลเขาจะก�ำหนดจิตภาวนาพุทโธอยู่ในใจเสมอ ใครกันนะที่บอกว่าธรรมะต้อง เข้าไปศึกษาได้แต่เพียงในวัด เขาค้นพบแล้วว่าค�ำว่าสวรรค์อยู่ในอกเป็นเช่นไร ต้องขอบคุณทาง โรงพยาบาลเสียเหลือเกินทีว่ างหนังสือดีดแี บบนีใ้ ห้ได้ศกึ ษา หากเป็นเมือ่ ก่อนเขาคงจะด่าทางโรง พยาบาลเป็นแน่ เพราะเขาเคยคิดว่าธรรมะเป็นเรื่องของคนใกล้ตายและคนตายแล้ว การที่นำ� มาวางไว้ในโรงพยาบาลเช่นนี้ย่อมเป็นการแช่งให้เขาตายไวไว ท�ำไมเขาถึงคิดเช่นนี้นะ? เมื่อครั้งหนึ่งในวัยเด็ก ยุคสมัยที่อเมริกาเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในสังคมไทย ลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นศัตรูที่น่ากลัวที่สุดเป็นอย่างยิ่งในสังคม พ่อแม่เขาเคยพาเขาไปฝากพระ อาจารย์ทขี่ นึ้ ชือ่ คนหนึง่ ของจังหวัดช่วยอบรมเลีย้ งดูเขา แต่การไปอยูว่ ดั ของเขาก็เป็นเหมือนการ ย้ายที่นอน อีกทั้งยังได้เจอเพื่อนๆ รุ่นเดียวกันมากมายท�ำให้วัดกลายเป็นเหมือนสวนสนุกของ พวกเด็กๆ ธรรมะอันใดไม่เคยเข้ามาอยู่ในหัวเลยแม้แต่นิด สิ่งที่ใกล้เคียงมีเพียงแค่กิจกรรมบาง อย่าง เช่น การนั่งสมาธิ(หลับ) การตามพระสงฆ์ออกบิณฑบาต การกินข้าวก้นบาตร การสวด
Medleuddang July-August 2010.indd 37
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
กองไฟที่มอดดับยังเหลือซึ่งกองถ่าน สุขใดจะเทียบเท่าสุขสงบรสพระธรรม
37
28/8/2553 10:06:46
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
38
มนต์ การท�ำความสะอาด ฯลฯ เมื่อเขาเติบโตขึ้นศาสนาก็เป็นเพียงข้อมูลที่ต้องกรอกลงในใบ ประวัติเท่านั้น ไม่ได้มีความส�ำคัญอะไรมากไปกว่านี้เลย เขาใช้ชวี ติ อย่างสมบุกสมบัน ค�ำ่ คืนออกท่องเทีย่ วราตรี ยามเช้าเมาค้างหนัก ยามบ่าย ตื่นมากินข้าวแล้วนอนต่อ ยามคืนก็ออกเที่ยวอีก ท�ำเช่นนี้ทุกวันทุกคืน ไม่นานนักสมบัติของ ครอบครัวก็เริ่มมีปัญหา เขาต้องไปกู้เงินจากชาวบ้านมา เพื่อน�ำมาถลุง พอนานวันเข้าหนี้ของ เขาก็ปาเข้าไปหลายหมืน่ ยิง่ ท�ำให้เขาเครียดหนักและ เมาหนักมากขึ้น เขาเริ่มมีอาการปวดบริเวณ ท้องมานานแล้ว ในช่วงแรกเขาคิดว่าเป็นการ ปวดท้องปกติ แต่เมื่อปวดติดต่อกันหลายๆ วัน เขาก็ชกั สงสัยแต่เนือ่ งจากทีต่ นเองไม่มี เงินพอจะไปหาหมอ เขาจึงซื้อยามาทาน เอง แต่จนแล้วจนรอดเขาก็ไม่สามารถทน ต่อความเจ็บปวดได้อีกแล้ว เขาไปยืมเงิน เพื่อนเพื่อน� ำเงินไปหาหมอ หมอตรวจ สุขภาพร่างกายของเขาแล้วพบว่า ตับของ เขาเริม่ มีปญ ั หาแล้ว นอกจากนีป้ อดของเขา ก็เริ่มมีอาการบ้างแล้ว ตั้งแต่เขาเริ่มเป็นหนี้ เขาก็ สู บ บุ ห รี่ ห นั ก ขึ้ น หลั ง จากออกจากโรง พยาบาลเขาพยายามที่จะเลิกเหล้า เลิกบุหรี่ให้ได้
ได้รับการตัดแต่งโดยฝ่ายศิลปกรรม
Medleuddang July-August 2010.indd 38
IMPAWARDS.COM: IN MY SLEEP:
เป็นเรื่องเหลือเชื่อที่เขาสามารถเลิกเหล้าและบุหรี่ได้เป็นเวลาถึง 3 เดือนแล้ว เขาเอง ยังแปลกใจกับตัวเองด้วยซ�้ำ ช่วงเวลานี้เขาเริ่มกลับมาท�ำงานอีกครั้ง น�ำค่าแรงที่ได้รับไปใช้หนี้ จนเริม่ หายใจได้อกี ครัง้ แต่แล้วเขาก็ตอ้ งพบกับความเศร้าอีกครัง้ พ่อของเขาถูกคนร้ายปล้นเงิน แล้วฆ่า ความเสียใจในครั้งนี้ยากกว่าที่จะรับได้ คนที่เมื่อเช้าเพิ่งจะได้คุยกันตกเย็นกลับต้องจาก กันตลอดกาล ท�ำให้เขาหันเข้าไปสูว่ งั วนของอบายมุขอีกครัง้ การดืม่ เหล้าอาจจะไม่ชว่ ยแก้ปญ ั หา อะไรแต่มันก็ช่วยให้เราลืมความเลวร้ายของชีวิตไปได้หลายชั่วโมง เคยมีญาติมาถามเขาว่าท�ำไม ถึงดื่มเหล้า เขาตอบกลับไปว่าเพื่อแก้อาย อายที่กินเหล้า แล้วเค้าก็ดื่มหนักขึ้นๆ จากแต่ก่อนดื่ม เพียงกลางคืน ตอนนี้เขาดื่มทุกครั้งที่ลืมตา ไม่ต้องแปลกใจเลยว่า ท�ำไมเขาถึงเข้าโรงพยาบาล ในครั้งนี้ หมอที่ดูแลรักษาเขาเตือนว่า หากเขาดื่มเหล้าอีกนิดเดียว ครั้งหน้าเขาไม่ต้องมาที่โรง พยาบาลแล้วให้ไปจองศาลาวัดได้เลย การนอนอยูใ่ นห้องรวม ท�ำให้เขาเห็นอะไรเป็นไปในชีวติ อยูเ่ สมอ หลายคนทีอ่ ยูม่ านาน แต่ก็อยู่แบบไร้ชีวิตมีเพียงเครื่องมือต่างๆ มากมายที่ช่วยให้ยังมีลมหายใจ หลายคนที่เข้ามาหลัง เขาก็ได้ออกไปก่อน ซึง่ ออกไปทัง้ แบบมีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ทุกคนในห้องนีม้ หี ลายอายุ มีตงั้ แต่เด็ก หนุ่มไปยันแก่ เด็กหนุ่มบางคนดูแข็งแรงดีเข้ามาคุยด้วยกับเขาในตอนเช้า พอตกค�่ำหัวใจก็หยุด
28/8/2553 10:06:46
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
เต้นจากไป แต่คนบางคนที่ดูเหมือนจะอ่อนแอขี้โรคก็อยู่คงกระพันมาโดยตลอด ทุกครั้งที่มีใคร ตายเขาจะพบว่าต้องมีคนเสียใจให้กับผู้ที่จากไป แล้วเขาก็หวนกลับมาดูตัวเองบ้าง ถ้าเขาตาย จากไปจะมีใครเสียใจให้เขาบ้างไหม ชีวติ ทีผ่ า่ นมาของเขาไม่ได้มคี ณ ุ ค่าอะไรเลย มีแต่สร้างความ เดือดร้อนให้แก่ผู้อื่นไม่ว่าจะเป็น ญาติพี่น้อง เพื่อนสนิท เขากลัวความอ้างว้าง นับตั้งแต่เขาเข้า โรงพยาบาลแล้ว มีคนมาเยี่ยมเขาเพียงไม่กี่คน เขากลัวความอ้างว้าง เขาเห็นเตียงข้างๆ เป็น คนแก่วยั เกือบ 80 แต่มลี กู หลานมาเฝ้าไม่ขาดสาย เวลามาก็น�ำขนมต่างๆ มาให้กนิ ตลอด บางที เขาก็แบ่งมาให้บ้าง แต่ในที่สุดแล้วชายแก่คนนั้นก็จากไป แต่เป็นการจากอย่างสงบและมีความ สุข ต่างกับอีกหลายคนที่เศร้าโศกตลอดการเจ็บป่วยแล้วจากไปพร้อมกับความอ้างว้าง เขาเอง ก็หวั่นวิตกว่าอีกไม่นานเขาจะจากไปพร้อมกับความอ้างว้างเช่นเดียวกัน เขาเหงาเสียเหลือเกิน 10 กว่าวันแล้วนับแต่เขาเข้าโรงพยาบาล เขาชินชาเสียแล้วกับการจากไป ความไม่แน่นอนของ ชีวิตเป็นเรื่องที่มนุษย์ทุกคนหลีกหนีไม่พ้น ครอบครัวเขาก็ไม่เคยจะมาเยี่ยมเยียนเลยด้วยซ�ำ้ แต่ เขาเข้าใจแล้วว่านี่เป็นกฎแห่งกรรมที่เขาเคยกระท�ำในอดีต เขาใช้ชีวิตเลวร้ายมาโดยตลอดหาก เป็นเขาเองก็คงจะไม่อยากคบคนเช่นนี้เป็นแน่ หลายวันมานี้เขาใจสงบมากขึ้น ความสวยงาม ต่างๆ ที่เขาเคยมองข้ามในอดีตก็ปรากฏให้เห็นเด่นชัดมากขึ้น หรือที่เค้าบอกว่าคนใกล้ตายจะ มองเห็นความสวยงามของชีวิตมากขึ้น คนเราจะรู้ค่าก็ต่อเมื่อเสียของไปแล้ว และตอนนี้คงถึง เวลาของเขาแล้ว เขาอยู่ในโลกนี้มานานพอดูแต่พอเขาจะจากไป เขาเหลืออะไรไว้บ้างนะ
39
เวลา 16.00 น. เขารู้สึกปวดท้องเป็นอย่างมาก ตัวงอเป็นกุ้ง เขาพยายามที่จะกด สัญญาณเพื่อเรียกพยาบาลแต่ก็ไม่มีแรงจะกด จนเวลาผ่านไปกี่นาทีไม่ทราบแต่สำ� หรับเขาแล้ว แต่ละนาทียาวนานเหมือนเป็นปี ผูป้ ว่ ยทีเ่ ตียงข้างๆ สังเกตเห็นความแตกต่างจึงได้เรียกพยาบาล ให้ เมือ่ พยาบาลมาถึงเธอได้เรียกหมอโดยด่วน ส่งตัวเขาเข้าห้องฉุกเฉิน และโทรเรียกญาติให้รบั ทราบ เขาหมดสติไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อได้สติอีกครั้งเขาพบว่า เขาไม่สามารถที่จะขยับตัวได้ เลย อาจจะเป็นเพราะว่าเขาถูกฉีดยาเข้าไปก็ได้ เขาได้ยนิ เสียงของหมอคุยกับญาติของเขาว่า เขา คงเหลือเวลาอีกไม่มากแล้วอย่างช้าก็ไม่กี่วันอย่างเร็วก็ไม่กี่ชั่วโมง เขาพยายามคุมสติ เขาอยาก จะกล่าวค�ำสอนอะไรสักอย่างให้คงเหลือไว้ แต่เขาก็ไม่สามารถกระท�ำการอันใดได้ เขาพยายาม คิดถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แต่ไม่ใช่คิดเพื่อขอยืดระยะเวลาออกไป เขารู้ดีว่าไม่มีใครที่ สามารถหนีจากโชคชะตาของตนไปได้ มนุษย์เราเกิดมาแล้วก็ต้องตาย เขาไม่กลัวอะไรอีกแล้ว แต่ทเี่ ขาระลึกถึงนัน้ เพือ่ ขออาราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายให้ชว่ ยเป็นพยายามว่า ในครัง้ หนึง่ ของ ประวัติศาสตร์ชาติมนุษย์เคยมีบุคคลที่ไม่ควรเอาเยี่ยงอย่างเกิดขึ้นมา ค�่ำคืนนั้นเขาหลับไปอย่างสบาย อาการเจ็บปวดใดใดก็หายไปเป็นหมดสิ้น เขาฝันดี อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน เขาหวนร�ำลึกถึงช่วงเวลาที่เขายังเป็นเด็ก แม่ของเขาร้องเพลงกล่อม เด็กให้เขาฟัง เขานอนหนุนตักแม่แล้วหลับไป อีกครั้งหนึ่งเขาจ�ำได้ว่าเมื่อตอนวัยรุ่นเคยทะเลาะ กับแม่และจบลงด้วยการทีเ่ ขาออกจากบ้านทิง้ ให้แม่รอ้ งไห้เพียงล�ำพัง อีกครัง้ หนึง่ ไม่นานนักเขา
Medleuddang July-August 2010.indd 39
28/8/2553 10:06:46
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
40
จ�ำได้ว่าเขาเห็นแม่ร้องไห้อีกครั้งแต่ไม่ใช่เป็นเพราะเขาหากแต่เป็นเพราะพ่อถูกคนเมาแล้วขับชน จนตายขณะที่ไปซื้อยามาให้เขาที่นอนป่วยอยู่ ครั้งนั้นเขาสัญญากับตัวเองว่าชาตินี้เขาจะไม่แตะ สุราเป็นอันขาด และครัง้ สุดท้ายทีเ่ ขาเห็นแม่รอ้ งไห้กค็ อื ตอนทีแ่ ม่กำ� ลังนอนป่วยหนักอยูบ่ นเตียง ร้องไห้ทเี่ ห็นเขาเมากลับบ้านทุกวัน แม่ขอร้องให้เขาเลิกเหล้า ครัง้ นัน้ เขาสัญญาว่าจะไม่กนิ เหล้า อีกตลอดชีวิต และคืนนั้นเองที่แม่ก็จากเขาไปอย่างตลอดกาล เขาผิดสัญญาที่เคยให้ไว้กับผู้คน ทั้งหลายมาโดยตลอด เขาส�ำนึกผิดได้แล้ว เขาก�ำลังจะไปหาพ่อและแม่ของเขาแล้ว ตลอดชีวิต พ่อและแม่อยากทีจ่ ะเห็นเขานุง่ ผ้าเหลืองสักครัง้ แต่เขาก็เห็นว่ามันเป็นเรือ่ งไร้สาระและบ่นทุกครัง้ ที่พ่อและแม่ขอ เขาเหนื่อยแล้ว เขาก็ไม่นึกถึงอะไรอีก 3 ปีผ่านไป นับจากวันที่เขาหมดสติ คืนนั้นเขาตื่นขึ้นมาอย่างที่ไม่น่าเชื่อ จากบุคคลที่หมอลงมติ ว่าอยู่ได้อีกไม่กี่วัน ก็อยู่ต่อมาได้เรื่อยมาเป็นเวลา 3 ปี นับจากวันนั้นเขาบอกกับตัวเองว่า เขา ที่เลวได้ตายจากไปแล้ว ตัวตนที่ยังคงอยู่นั้นเป็นเขาคนใหม่ที่เหลือแต่สิ่งดีดี หลังจากได้ออกจาก โรงพยาบาลอย่างมีชีวิต เขาเลิกเหล้าและบุหรี่อย่างเด็ดขาด ขยันท�ำมาหากินจนเก็บเงินได้ก้อน หนึง่ เพือ่ มอบให้หลานๆของเขาเป็นทุนการศึกษา เมือ่ ชีวติ ทางโลกเขาหมดห่วงใดใดแล้ว เขาก็ได้ ท�ำในสิ่งที่พ่อและแม่ของเขาปรารถนามาตลอด เขาออกบวชในวัดแห่งหนึ่งในต่างจังหวัด และ ค้นพบความสุขที่เป็นนิรันดร์แล้ว นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ แม้สุขอื่นยิ่งกว่าพระนิพพาน ย่อมไม่มี ฐิตวํโส
Medleuddang July-August 2010.indd 40
28/8/2553 10:06:47
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
BY S H I N T A R O Y A M A K U R A
41
ส
ำหรับฉบับนี้ถือว่าเป็นฉบับพิเศษจริงๆ ที่ทุกๆ คน จะได้รู้จักเบื้องหลังของคณะรัฐศาสตร์ที่ ทุกคนอาจจะไม่รู้จักมากนัก วันนี้จึงขอ น�ำเสนอผู้ที่อยู่เบื้องหลังส�ำคัญ และแน่นอนว่า ทุกคนรูจ้ กั คนคนนัน้ ดี วันนีเ้ ราจะรูจ้ กั เธอมากขึน้ เธอคนนั้นก็คือพี่เตี้ย หรือคุณดารุณี อยู่ยัง รักษาการเลขานุการคณะรัฐศาสตร์นั่นเอง พี่เตี้ย ดารุณี อยู่ยัง รักษาการเลขานุการคณะรัฐศาสตร์ หัวหน้างานบริการการศึกษา
และมาท�ำหน้าที่ตรงนี้ได้อย่างไร? A: พี่ จ บปริ ญ ญาโทรั ฐ ศาสตร์ บั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ก็เริ่มท�ำงานที่คณะ เมื่อ 30 ปีที่แล้ว แต่มาท�ำงานบริการการศึกษาจริงจังก็ประมาณ 20 ปี เห็นนักศึกษามา มากมาย อาจารย์ศิริพรก็เป็นนักศึกษาตอนที่พี่ท�ำงานอยู่ อาจารย์ชลิดาภรณ์ อาจารย์อัมพร อาจารย์อรทัย พี่อยู่ฝ่ายการนักศึกษา อาจารย์นครินทร์พี่ก็เจอเป็นนักศึกษาปี 4 มาขอทุนการ ศึกษา เห็นหน้ากันก็จำ� ได้ อาจารย์นครินทร์ชอบอยู่ใต้ต้นแสงจันทร์ ชอบอ่านหนังสือ ก็จะสนิท กับกลุ่มอาจารย์ชลิดาภรณ์ เพราะว่าดูแลด้านกิจกรรมนักศึกษาโดยตรง
POLSCI.TU.AC.TH :
พี่เตี้ย (ได้รับการตกแต่งโดยฝ่ายศิลปกรรม)
Q: พี่เตี้ยช่วยเล่าประวัติย่อๆ ของพี่เตี้ย
Medleuddang July-August 2010.indd 41
28/8/2553 10:06:48
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
42
Q: ปัจจุบัน พี่เตี้ยดูแลงานอะไรบ้างครับ? A: ปัจจุบันเป็นหัวหน้างานบริการการศึกษา ดูแลนักศึกษาปริญญาตรี โท เอก รักษาการ หัวหน้างานบริการวิชาการ รักษาการเลขานุการคณะรัฐศาสตร์ และเลขานุการโครงการปริญญา โทการเมืองการปกครองส�ำหรับผู้บริหาร (MPE) ถึงแม้ว่าจะดูแลทั้งคณะ แต่ก็ดูแลงานบริการ การศึกษาเป็นหลัก
Q: พี่เตี้ยท�ำงานมานานมาก ต้องเห็นนักศึกษาหลายรุ่น พี่เตี้ยคิดว่านักศึกษาแต่ละรุ่น
เปลี่ยนไปอย่างไร? A: เปลีย่ นไป ในช่วงแรกๆ ก็เปลีย่ นไม่มากนะ เพราะเมือ่ ก่อนการสือ่ สารไม่ได้งา่ ยเหมือนปัจจุบนั พอยุคข้อมูลข่าวสาร High Technology อย่างนี้ มันเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง เห็นได้จากการท�ำ รายงานของนักศึกษา พี่เป็นคนชอบอ่าน ก็อ่านรายงานของเด็กที่เอามาส่ง เห็นได้ว่าเด็กไม่เข้า ห้องสมุดเท่าที่ควรในการเรียนรู้ เด็กรุ่นใหม่ขาดวินัย ใช้สิทธิเสรีภาพเกินขอบเขต ก็เหมือนกับ เสื้อเหลืองเสื้อแดง เขาเรียกร้องทุกอย่างโดยไม่คิดถึงสิทธิของผู้อื่น
Q: เป็นไปได้หรือไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการปลูกฝังความเป็นธรรมศาสตร์? A: พีไ่ ม่รวู้ า่ เป็นสโลแกนทีผ่ ดิ หรือถูก “เสรีภาพทุกตารางนิว้ ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” ต้อง
ต่อท้ายมั้ย พี่เชื่อว่าบูรพคณาจารย์ในอดีตเขาสอนแล้ว คิดแล้วว่าค�ำนี้เหมาะสม แต่วันนี้ยุค เทคโนโลยีอาจท�ำให้เสรีภาพถูกตีความไปอีกอย่างหนึ่งรึเปล่า พี่โทษเทคโนโลยีที่ทำ� ให้เราคิดไป เองได้หมด โดยไม่คดิ ว่าคนอืน่ จะชอบมัย้ เห็นด้วยมัย้ การเมืองมันสะท้อนเรือ่ งเหล่านีไ้ ด้ในฐานะ ที่เรียนรัฐศาสตร์ แล้วเด็กปัจจุบันนี้เรียกร้องเสรีภาพเก่ง แต่เรียกร้องให้ตัวเอง ก็ยังเห็นแต่ตัว เหมือนกับนักการเมืองและข้าราชการบางส่วน เพราะสิ่งที่เรียกร้องต้องกระทบตนเองเท่านั้น แต่ในเมื่อจะเรียกร้องเพื่อประเทศ เด็กไม่ท�ำ เด็กธรรมศาสตร์เข้าร่วมน้อยลง
คณาจารย์ที่พี่ดารุณี ได้ให้บริการ การศึกษาขณะยังเป็นนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์* *อ้างอิงจากบทสัมภาษณ์พี่ดารุณี อยู่ยัง Medleuddang July-August 2010.indd 42
รศ.ดร.ศิริพร วัชชวัลคุ
รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
: ภาพโดยฝ่ายศิลปกรรม 28/8/2553 10:06:48
น้อยลง? A: ก็ด้วยนะ แต่ก็ไม่ใช่เพราะเราอยู่ห่างไกล ห่างไกลอาจจะเป็นไปได้ แต่ว่าไม่จ�ำเป็นต้องไปที่ โน่น ท�ำที่นี่ก็ได้ ประท้วงให้เห็นที่นี่ เดี๋ยวนักข่าวก็มาถ่ายเอง หรือเราไม่สนใจกันแน่ อีกเหตุผล หนึ่งคือธรรมศาสตร์ทิ้งช่วงของการเมืองไปนาน น่าจะตั้งแต่ยุค 14 ตุลาคม 2516 เพราะว่า เหตุการณ์พฤษภา 2535 นั้นจริงๆ แล้วเป็นนักศึกษารามค�ำแหง ซึ่งธรรมศาสตร์บังเอิญเป็น สถานที่ใกล้เคียง ถ้าเราไม่ได้อยู่แล้ว อย่างที่อาจารย์เสกสรรค์พูดตอนสรรหาคณบดี ว่าคุณ ต้องหา Generation ของคุณ จะไปเลียนแบบอันเดิมไม่ได้ สิ่งที่ท�ำคือเอาคนเดิมมาเป็นรูปแบบ ได้ แต่คุณต้องสร้างเอง เป็นรูปแบบใหม่ที่เป็นกระแสเรียกร้องได้
Q: ถ้านักศึกษาไม่มีส่วนร่วม ท�ำให้นักศึกษาท�ำกิจกรรมน้อยลงมั้ย? A: กิจกรรมคณะมีเยอะมาก ถามว่าใช่มั้ย ใช่ทั้งหมดหรือไม่ที่เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ไม่ใช่ ที่
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
Q: เป็นเพราะเราอยูห่ า่ งไกลรึเปล่า ก็เลยท�ำให้เด็กธรรมศาสตร์เข้าไปเรียกร้องเพือ่ ประเทศ
43
สร้างสรรค์เห็นจะมีค่ายอาสา บางอย่างท�ำขึ้นมาเพื่ออะไร คนเข้าร่วมเยอะมั้ย บางอย่างก็ดีนะ เช่น ภาษา ดีแต่ท�ำไมไม่มีคนเข้า มันแค่เป็นฟีเวอร์เป็นช่วงๆ รัฐศาสตร์วิชาการดีมั้ย ดี แต่มา ร่วมหรือไม่ ไม่มา ท�ำไม กิจกรรมต้องมีฐานอะไร อาหารว่าง ต้องจูงใจถึงจะเข้า กิจกรรมที่ มหาวิทยาลัยสนับสนุน คณะ กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนก็คือกิจกรรมเพื่อสร้างสรรค์ให้ นักศึกษาบริหารจัดการ เป็นหน่วยงานย่อยให้เรียนรู้ก่อนออกไปท�ำงาน ถามว่าที่มีอยู่ใช่หรือไม่ ส่วนใหญ่ไม่ใช่ เพราะคณะสนับสนุนทุกอย่าง
Q: พี่เตี้ยคิดว่าตอนนี้รูปแบบของกิจกรรมนักศึกษาไปทางไหน? A: พี่ว่าสันทนาการมากกว่า ถ้าเป็นวิชาการเมื่อไหร่ไม่มีคน ปัจฉิมนิเทศ มัชฌิมนิเทศยังไม่มี คน กิจกรรมที่เกิดขึ้นตอนนี้เป็นกิจกรรมที่คณะท�ำให้เป็นครึ่งหนึ่งของทั้งหมด ทั้งติวสอบเจ้า หน้าที่การทูต ปลัดอ�ำเภอ รัฐศาสตร์วิชาการ อบรมคอมพิวเตอร์ อบรมภาษาอังกฤษอยากจัด เพราะเด็กอ่อน วิเคราะห์ไม่เป็น ไม่อดทน ไม่แน่ใจว่ากิจกรรมไม่ส่งเสริมรึเปล่า ซึ่งถ้ากิจกรรม นั้นสร้างสรรค์ก็ดีนะ เด็กควรท�ำ
รศ.ดร.อัมพร ธ�ำรงลักษณ์
Medleuddang July-August 2010.indd 43
รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์
ผศ.ดร.อรทัย ก๊กผล
28/8/2553 10:06:49
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
44
Q: พีเ่ ตีย้ คิดว่ากิจกรรมนักศึกษาควรจะมีการปรับปรุงหรือพัฒนาหรือไม่ อย่างไรบ้าง? A: ควรจะปรับปรุงและพัฒนาได้แล้ว ควรจะคิดได้แล้วว่ากิจกกรมนักศึกษามีไว้เพื่ออะไร หนึ่ง คือเพื่อให้นักศึกษาไม่ได้เรียนอย่างเดียว สามารถท�ำงานกับคนหมู่มากได้ สองคือให้ฝึกหัดการ บริหารงาน สร้างสรรค์งาน เป็นประสบการณ์ในการท�ำงาน ถ้าเงินไม่พอก็หาผู้สนับสนุนเพิ่ม ถ้าท�ำได้ เวลาไปท�ำงานแล้วคิดเป็น ท�ำเป็น บริหารงานในงบที่จำ� กัดได้ พอท�ำได้แล้วผลที่ได้ คือนายพึงพอใจ ต้องพัฒนากิจกรรมใหม่ๆ ไม่ใช่กิจกรรมซ�ำ้ เดิม เราจะคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ มั้ย อย่างจุฬาเนี่ย เราจะร่วมกับเขาแค่กีฬาหรือสันทนาการเท่านั้นหรอ จะไม่ท�ำอะไรมากกว่า นี้ ใหญ่กว่านี้บ้างหรอ
Q: เรื่องความใส่ใจในวิชาการของนักศึกษา พี่เตี้ยมีความคิดเห็นอย่างไร? A: มีความใส่ใจน้อย เท่าที่ฟังจากอาจารย์ คนที่ใส่ใจก็เยอะ คนที่ไม่ใส่ใจก็มีมาก สิ่งที่อาจารย์
รับไม่ได้คือการหาข้อมูลจาก Wikipedia ใช้ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตตลอดเวลา อาจารย์พูดว่าเด็ก อ่านหนังสือน้อยลง เข้าห้องสมุดน้อยลง สนใจงานวิขาการน้อยลง ต้องใช้แรงจูงใจ เช่น คะแนน ซึ่งเราพยายามจะจัดในวันที่เรียนน้อยที่สุด ซึ่งเด็กปัจจุบันไม่ต่างจากเด็กในอดีตมากนัก แล้ว กิจกรรมของนักศึกษาที่ต่างคนต่างท�ำ เคยคิดจะรวมกันท�ำมั้ย อย่างรัฐศาสตร์วิชาการ เป็นต้น
Q: ทุกวันนี้เชื่อว่ามีนักศึกษาบางคนที่ไม่ท�ำกิจกรรมเลย เรียนอย่างเดียว พี่เตี้ยมีอะไร
จะบอกกับเขาบ้าง? A: ไม่ดี อย่าท�ำ เพราะทุกวันนี้ไม่มีใครรับคนที่ไม่ท�ำกิจกรรมเข้าท�ำงาน ถึงจะจบเกียรตินิยม ก็ไม่รับ ธนาคารกรุงเทพปฏิเสธเด็กจุฬาที่จบเกียรตินิยม โดยบอกว่าไปเป็นอาจารย์ดีกว่า แต่ รับเด็กธรรมศาสตร์ที่เกรดเฉลี่ยแค่ 2.8 แต่ท�ำกิจกรรม ซึ่งส่วนใหญ่จะรับท�ำงานด้วยเกรด ประมาณ 2.80-3.00 เพราะกลัวว่าเด็กทีจ่ บเกียรตินยิ มจะข้ามคนอืน่ ดูถกู เพือ่ นร่วมงาน ฉะนัน้ ต้องเรียนอย่างเข้าใจ รับผิดชอบ ท�ำกิจกรรมอย่างจริงจัง เพราะว่าต้องอธิบายได้เวลาสมัครงาน ไม่ใช่แค่มีชื่อเข้าร่วม
Q: แล้ววันนี้คณะมีการเตรียมจัดกิจกรรมพิเศษอะไรบ้างให้กับนักศึกษา? A: กิจกรรมของคณะโดยทั่วไปแล้วก็จะมีการติวสอบเจ้าหน้าที่การทูต ติวสอบปลัดอ�ำเภอ และ
การอบรมต่างๆ แต่อยากให้นักศึกษาเสนอสิ่งที่นักศึกษาอยากให้คณะจัดอะไร แล้วบอกว่าคณะ ควรเป็นผู้จัด หรือนักศึกษาอยากจัดอะไร เพราะปัจจุบันรูปแบบนี้เริ่มมีตั้งแต่สมัยอาจารย์อเนก เหล่าธรรมทัศน์เป็นคณบดี ถ้านักศึกษาอยากท�ำก็นำ� เสนอ โดยมีคณะพร้อมสนับสนุน และให้ นักศึกษาได้เข้าร่วมเยอะๆ ซึ่งตอนนี้ อาจารย์อรรถกฤต ปัจฉิมนันท์ มีความพยายามริเริ่มการ จัดห้องแห่งการเรียนรู้ ซึ่งจะดีมากถ้านักศึกษาเข้าร่วมจริงจัง โดยจะมีรุ่นพี่นักศึกษาปริญญาโท มาติวให้ฟรี ถ้านักศึกษาอยากให้ติว เช่น ปรัชญา หรือการเขียนรายงาน เป็นต้น
Medleuddang July-August 2010.indd 44
28/8/2553 10:06:49
อุ้มน้องตลอด รุ่นพี่มักจะเอาตารางของตัวเอง รวมถึงการเลือกอาจารย์ให้น้องทั้งหมด ซึ่งจริงๆ แล้วควรจะให้นอ้ งเรียนเอง แล้วสอนวิธเี ลือกให้นอ้ งจะดีกว่า อีกอย่างหนึง่ คือรุน่ พีอ่ ย่าบังคับน้อง ท�ำกิจกรรม เช่น ถ้าน้องมีปญ ั หาการเรียน หรือมีความจ�ำเป็นบางอย่าง อย่าบังคับน้อง ในขณะ ที่รุ่นน้องเองก็อย่าเอาแต่เรียน ท�ำกิจกรรม ต้องรู้จักสมดุลในชีวิต อย่าเอาแต่สนุกอย่างเดียว สิง่ สุดท้ายทีอ่ ยากจะฝากคืออยากให้กจิ กรรมสร้างสรรค์ อยากให้ทกุ คนท�ำงานเป็น พีไ่ ม่ขเี้ หนียว เงิน แต่อยากให้รู้จักความล�ำบากในการท�ำกิจกรรม เป็นไปไม่ได้ที่จะมีคนโอบอุ้มตลอดเวลา ก็ ฝากไว้เท่านี้ละกัน ก็คงจะได้รู้จักกับเบื้องหลังของคณะรัฐศาสตร์ของเราแล้วนะครับ บางคนอาจจะรู้จัก ว่าพี่คนนี้มีชื่ออยู่ในคู่มือบ้าง เจอกันตามงานบ้าง วันนี้ก็คงจะได้รู้จักถึงตัวตนที่แท้จริง แนวคิด และความห่วงใยที่มีต่อนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ทุกคนมากขึ้น ก็หวังว่าทุกคนจะรู้จักพี่เตี้ยได้ “ชัดเจน” ขึ้น n
Medleuddang July-August 2010.indd 45
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
Q: สุดท้ายนี้พี่เตี้ยอยากจะบอกอะไรกับนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์? A: พี่อยากจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือรุ่นพี่กับรุ่นน้อง ส�ำหรับรุ่นพี่ อยากจะบอกว่ารุ่นพี่อย่าโอบ
45
28/8/2553 10:06:50
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
46
Amelie สาวน้อยสะดุดรัก
ส
Medleuddang July-August 2010.indd 46
NAIRALAND.COM: TOP ROMANTIC MOVIES
ภาวะแวดล้อมในยุคปัจจุบันบีบคั้นและ กดดันให้ทกุ คนต้องเคร่งเครียดและคร�่ำ เคร่ง หันไปทางซ้ายก็เจอผู้ชายนั่งหน้า นิว่ คิว้ ขมวดอ่านหนังสือพิมพ์ หันไปทางขวาก็เจอ ผูห้ ญิงทีป่ ว่ ยเป็นโรครุมเร้าแต่กย็ งั ต้องทนท�ำงาน เพื่อหาเลี้ยงตัวเองและครอบครัว และเมื่อมองใน กระจกก็เห็นคนหน้าตาคุ้นเคยที่ความแก่เริ่มมา เยือนโดยไม่ทันตั้งตัว มนุษย์ในทางหนึ่งเป็นสิ่ง มีชีวิตที่ดีเลิศกว่าสัตว์ใดๆ เพราะมีปัญญามาก ท�ำให้คิดได้มาก คิดได้ไกล แต่ในอีกทางหนึ่งเรา ก็เป็นสิ่งมีชีวิตที่น่าสงสารมากเช่นกันเพราะด้วย ความที่คิดได้มาก ท�ำให้น�ำความทุกข์มาสู่ตัวเอง ได้มากเช่นกัน ท่ า มกลางความหมองมั ว ของชี วิ ต ฉั บ พลั น ก็ เปลีย่ นเป็นสดใสเมือ่ เอมิลปี่ รากฏกายขึน้ เธอเป็นสาวน้อยทีไ่ ม่ได้โดดเด่น หน้าตาก็ไม่ได้สวยระดับ นางงามจักรวาล แต่ออกจะเด๋อด๋าด้วยซ�้ำกับทรงผมทีส่ นั้ ติดติง่ หู แต่สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ ทีเ่ อมิลนี่ �ำพามาให้ ทุกคนคือความสุข ความสุขทีเ่ คยเลือนลางหายไปพร้อมกับกระแสทีเ่ ชีย่ วกราดของความโหดร้าย และท�ำให้หลายคนลืมไปแล้วว่าเมือ่ มีความสุขตนเองเคยรูส้ กึ อิม่ เอมมากเพียงใด หากกล่าวว่าเอมิ ลี่คืนความสุขให้กับผู้คนรอบข้างตัวเธอน่าจะถูกต้องมากกว่า เธอช่วยให้ผู้ชายที่คิดว่าตัวเองไม่มี ความหมายอะไรเลยเมื่อถูกคนรักทิ้งไป ช่วยผู้หญิงที่คิดว่าไม่มีใครสนใจได้สัมผัสถึงคุณค่าและมี การมีอยู่ของตัวเอง หรือช่วยให้หญิงม่ายที่จมปลักอยู่ในอดีตเพราะถูกสามีทิ้งและหนีไปอยู่กับผู้ หญิงคนอื่นสามารถลืมคืนวันอันโหดร้ายและเริ่มต้นวันใหม่ด้วยความสดใสได้ ในชีวิตจริงหากมีคนอย่างเอมิลี่อยู่จริงๆ เราคงคิดว่าผู้หญิงคนนี้ต้องบ้าหรือไม่ก็จิตไม่ สมประกอบนิดหน่อยแน่ๆ เพราะเธอมักจะหาความสุขจากสิง่ เล็กๆ ทีไ่ ม่มใี ครคาดเดาได้ เช่น เธอ ชอบทีจ่ ะจุม่ มือลงไปในถุงทีเ่ ต็มไปด้วยถัว่ เพราะมันให้ความรูส้ กึ ทีแ่ ปลกประหลาดและเธอชอบทีจ่ ะ โยนหินลงไปในแม่นำ�้ และมองดูมันกระทบกับผิวน�้ำไปเรื่อยๆ จนความเร็วช้าลงและจมไปในที่สุด แม้เอมิลี่จะเป็นผู้คอยเติมเต็มความสุขให้กับคนอื่นตลอดเวลาแต่เมื่อมาถึงปัญหาของตัวเองแล้ว
28/8/2553 10:06:50
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
เธอกลับไม่สามารถที่จะรับมือกับมันได้ เธอต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยวตั้งแต่เด็ก เพื่อนคนเดียวของ เธอก็คือปลาทองตัวน้อยที่มักจะกระโดดออกมาจากอ่างเพื่อฆ่าตัวตายเสมอท�ำให้ต้องปล่อยมัน ไป จริงๆ แล้วเอมิลกี่ อ็ ยากจะเริม่ ต้นความสัมพันธ์กบั ใครสักคนแต่เธอไม่กล้าพอ เพราะกลัวความ เจ็บปวดและกลัวความเสียใจ ปั ญ หาที่ เ กิ ด กั บ ทุ ก คนในโลกนี้ก็เหมือนกับเส้นผม บั ง ภู เ ขาที่ เ จ้ า ตั ว อาจจะคิ ด ว่ า มันเป็นปัญหาที่ยิ่งใหญ่และไม่ สามารถแก้ไขได้ แต่ส�ำหรับคน อื่นที่มองมามันคือเรื่องเล็กนิด เดียว ปัญหาของเอมิลี่ก็เหมือน กันที่ในท้ายที่สุดแล้วเพื่อนใหม่ ที่เธอได้พบ สิ่งต่างๆ ที่เธอท�ำ เพื่อคืนความสุขให้กับผู้อื่นมันก็ Amelie ออกฉายในปี 2001 ตัวละครหลัก Amelie กลายเป็นผลดีทยี่ อ้ นกลับมาช่วย เธอท�ำให้ชวี ติ ทีเ่ คยสดใสร่าเริงก็ รับบทโดยนักแสดงชาวฝรั่งเศส Audrey Tautou ยิ่งมีสีสันมากยิ่งขึ้น ในโลกทุกวันนี้อาจจะหาคนอย่างเอมิลี่ได้ยากเต็มที่หรืออาจเป็นไปไม่ได้เลยที่จะได้เจอ คนอย่างเธอ คนทีเ่ ป็นห่วงเป็นใยคนอืน่ ในสภาวะทีท่ กุ คนต่างก็ตอ้ งดิน้ รนเพือ่ เอาตัวรอด แต่หาก ทุกคนลองมีสักเศษเสี้ยวหนึ่งของความเป็นเอมิลี่ โลกที่ใครคิดว่าโหดร้ายก็อาจไม่ร้ายจนเกินไป สภาพสังคมที่ดูเหมือนบีบคั้นก็น่าจะผ่อนคลายลงได้เช่นกัน
47
ดูหนังเรือ่ งนีจ้ บแล้วทุกคนจะอดอมยิม้ ไม่ได้และลุน้ ไปกับความขีเ้ ล่น รวมกับความเป็นจอมวางแผนของเอมิลที่ วี่ างแผนได้ซบั ซ้อนจนตัวเองเกือบ จะตกลงไปหลุมที่ขุดไว้หลอกล่อคนอื่นซะเอง n
NAIRALAND.COM: TOP ROMANTIC MOVIES
FORN FLICKERS FAVES: AMELIE
LeChat
Medleuddang July-August 2010.indd 47
28/8/2553 10:06:50
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
BY
ธ นิ ก ล า บ เ ป็ ด
48
ใ
Medleuddang July-August 2010.indd 48
THAIGOODVIEW.COM
เรื่องกินไม่ใช่เรื่องใหญ่ เรื่องไม่ได้กินต่างหากที่เป็นเรื่องใหญ่
จากซ้าย/ ราดหน้า: เอื้อเฟือภาพโดยธนิก วิไลลักษณ์ /ขนมจีบกุ้ง:
นฉบับนี้ สิงห์ลงพุงยังท�ำหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ในการกระฉับวงล้อมและขอพื้นที่คืน จากความหิว โดยการแนะน�ำร้านอาหาร หรือของอร่อยๆ มาแนะน�ำสู่ประสาทสัมผัสของ ท่านๆผู้อ่านทั้งหลาย ในฉบับนี้ขอแนะน�ำ ร้านอาหารจีน เปิดใหม่ คือร้านฮ่องเต้ ท�ำเลที่ ตัง้ ของร้านนัน้ ก็หาง่ายคือ อยูบ่ ริเวณฝัง่ ตรงข้ามหอพัก Twin Town บรรยากาศในร้านก็สบายๆ โล่งๆ แต่อาจจะต้องเบียดบ้างเวลานั่ง เพราะร้านนี้คนเยอะจริง เมนูที่จะแนะน�ำ คือ ติ่มซ�ำ ร้านนี้เขาเสนอราคา เข่งล่ะ 19 บาทขาดตัว ก็ให้ท่าน ทั้งหลายเลือกกันตามใจชอบ เมนูต่อมาคือ เกี๊ยวกุ้ง ตัวเกี๊ยวแป้งบางๆ กุ้งตัวใหญ่ๆ มาพร้อม กับซุปอุ่นๆ หรือใครชอบแบบแห้ง ก็เลือกตามใจชอบ บอกได้เลยว่าเมนูนี้สั่งมาแล้วไมผิดหวัง ต่อมาคือ บะหมี่ ที่ร้านนี้ ไม่เหมือนใคร นุ่มลิ้น เมนูบะหมี่ก็มีให้เลือกสรรตามรสนิยมของผู้ทาน จานต่อมาคือ ราดหน้าเต้าซี่ซี่โครงหมู จานนี้ ขอยืนยัน นั่งยัน นอนยัง ว่าจานนี้ ไม่สั่งไม่ได้ เพราะของเขาดีจริงๆ เมนูสุดท้ายที่จะแนะน�ำ คือเมนูข้าวทั้งหลาย ขอแนะน�ำ ข้าวผัดปูแบบ ฮ่องกง จานนี้ รสชาติ อย่าบอกใคร อร่อยขั้นเทพ และยังมีเมนูอื่นๆ อีกมากที่อยากวิงวอนให้ ท่านผู้อ่านได้ลองแวะไปหาความสุขให้กับชีวิต โดยการทานของอร่อยๆ ร้านนี้ เขาเปิด วันอาทิตย์ ถึง วันศุกร์ เวลา ตั้งแต่ 5 โมงเย็นถึง ตีสาม n
28/8/2553 10:06:54
ประวัติต้นรัชกาลที่ ๖: ได้รับภาพจากคอลัมนิสต์ เอกวี มีสุข
BY E A K
ใ น บ ร ร ด า ค ว า ม ไ ม ่ ชั ด เ จ น อั น คลุมเครือที่เกิดขึ้นบนโลก ถ้าเปรียบแล้วก็คง เหมือภาพจางๆ ที่มันไม่อาจปรากฏให้เด่นชัด ได้ในมโนส�ำนึก ที่แม้ว่าเราจะพินิจมันอย่างไร ก็ไม่อาจตอบได้ชัดเจนว่ามันคืออะไร แต่ละคน ย่อมพินจิ ภาพต่างๆ ในหลายรูปแบบและหลาย ทางตามแต่สติปัญญาหรือประสบการณ์ ซึ่ง แน่นอนว่าย่อมได้ค�ำตอบที่แตกต่างกันหรือไม่ ได้คำ� ตอบเลย หนังสือก็เช่นกัน ย่อมมีหนังสือ ที่เราอ่านไม่เข้าใจบ้าง เข้าใจบ้าง หรือมีความ เข้าใจที่แตกต่างหลากหลายตามแต่ที่ผู้อ่านจะ มองและจินตนาการ แต่ทว่าหนังสือก็เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยไขความ กระจ่างหรือท�ำให้คลุมเครือซับซ้อนขึน้ ด้วย ดัง เช่นการค้นพบหลักฐานหรือเอกสารใหม่ๆ ของ นักประวัตศิ าสตร์ ทีอ่ าจน�ำมาสูก่ ารไขกระจ่าง ปริศนาในอดีตกาลหรืออาจเพิ่มค� ำถามและ ความคลุมเครือของพวกเขาได้เช่นกัน แต่บางที ความกระจ่ า งอาจน�ำ มาซึ่ ง ปั ญ หาจนภาพที่ ชั ด เจนและประทั บ ใจของเรื่ อ งบางเรื่ อ ง เหตุการณ์บางเหตุการณ์ กลับกลายเป็นภาพ อัน คลุมเครือ และแปดเปื้อนไป จนบางครั้งก็ รูส้ กึ ว่าควรปล่อยให้เรือ่ งบางเรือ่ ง “ไม่ชดั เจน” ไปเสียดีกว่า ในบรรดาความคลุ ม เครื อ ทาง ประวัตศิ าสตร์โดยเฉพาะประวัตศิ าสตร์ไทยนัน้ ก็ เ กิ ด จากการที่ เ ราอ่ า นหนั ง สื อ น้ อ ยไป มี
Medleuddang July-August 2010.indd 49
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
หนังสือกับความคลุมเคลือ
หนังสือให้อ่านไม่มากพอ หรือไม่พยายามที่จะ ขวนขวายหาหลั ก ฐานมาเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ สร้ า ง ความแจ่มชัดขึ้นมา การมีหลักฐานใหม่ๆ จึง ช่วยในเรื่องนี้ได้ ดังเช่นหนังสือ ประวัติต้น รัชกาลที่ 6
49
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว หรือ พระมหาธีรราชเจ้า ได้ทรง นิ พ น ธ ์ ขึ้ น ม า โ ด ย ใ ช ้ พ ร ะ น า ม แ ฝ ง ว ่ า ราม วชิราวุธ เพื่อมีจุดประสงค์ให้เจ้าพระยา รามราฆพ (ม.ล. เฟื้อ พึ่งบุญ ณ กรุงเทพ) ที่ ถือว่าเป็น “ผู้ที่ได้เคยเป็นผู้รับใช้สรอยและเป นมิตรที่ไว้วางใจของฉัน (รัชกาลที่ 6 – โดยผู้ เขียน) มาตั้งญี่สิบกว่าปีมาแล้ว” โดยพระองค์ ท่านมีจุดประสงค์ให้เจ้าพระยารามฯ รู้ถึง “ประวัติการความเป็นไปของฉัน (รัชกาลที่ 6 - โดยผู้เขียน) เปนล�ำดับมาแล้วก็จริง, แต่ถึง กระนั้นก็มีข้อความบางข้อที่เธออาจจะไม่ได้ ทราบ....ฉนัน้ ฉันจึงได้ตกลงใจจดประวัตขิ นึ้ ใหม่
28/8/2553 10:06:54
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
50
Medleuddang July-August 2010.indd 50
ม า ก ก ว ่ า ก า ร เ ป ็ น ก ษั ต ริ ย ์ ใ น ร ะ บ อ บ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ของสยาม น อ ก จ า ก ค ว า ม ค ลุ ม เ ค รื อ ท า ง ประวัติศาสตร์แล้วยังมีเรื่องราวทางเศรษฐกิจ ที่ดูแล้วคลุมเครือไม่แพ้กัน จากโลกาภิวัตน์อัน รวดเร็วทีเ่ กิดขึน้ ก็ทำ� ให้ยากทีจ่ ะนิยามหรือบอก หรือท�ำนายเรือ่ งง่ายๆ ในระบบเศรษฐกิจ ภาพ อันพร่ามัวจากโลกาภิวัตน์ย่อมท� ำให้เราคาด การณ์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการลงทุน ผิดพลาด ดังเช่นการเกิดขึน้ ของเศรษฐกิจฟอง สบู่ของไทยที่ท�ำให้ชนชั้นกลาง นักลงทุน นักอุตสาหกรรม นายธนาคาร หลงระเริง
กับฟองสบูท่ สี่ วยงามอันนัน้ โดยไม่ค�ำนึงว่ามัน เป็นสิ่งที่ไม่คงทนถาวร หนังสือทุนนิยมฟอง สบู่ โดย รศ.ดร.สุวินัย ภรณวลัย ที่พิมพ์ครั้ง แรกใน พ.ศ.2537 แม้ในปัจจุบันเราจะคุ้นเคย
ทุนนิยมฟองสบู่: ได้รับภาพจากคอลัมนิสต์ เอกวี มีสุข
ในสมุดเล่มนี้ โดยอาศัยเลือกฟั้นเอาข้อความ ที่น่ารู้จากสมุดรายวันปีนั้นๆ มาเรียบเรียงขึ้น ใหม่ เพื่อให้อ่านได้เป็นเรื่องราวติดต่อกัน” ความน่าสนใจของหนังสือเล่มนี้ที่ถือว่าเป็น หลักฐานใหม่ คือ เป็นงานในลักษณะบันทึก ส่วนตัวของพระองค์ท่าน ที่ท่านได้บันทึกเรื่อง ราวช่วงก่อนการเสด็จสวรรคตของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงช่วง เวลาบรมราชาภิ เ ษกของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์ท่านได้ สรุปจากสมุดจดหมายเหตุรายวันของพระองค์ ท่านเองเป็นการเฉพาะ ที่ท่านได้บันทึกเรื่อง ราวและรายละเอี ย ดที่ ท รงคุ ณ ค่ า ทาง ประวัติศาสตร์ไม่ว่าจะเป็น รายละเอียดในการ จัดงานราชพิธี เช่น การจัดงานพระบรมศพ ของรัชกาลที่ 5 การจัดงานบรมราชาภิเษก ของรัชกาลที่ 6 เรือ่ งราวเกีย่ วกับการสืบสันตติ วงศ์และการแต่งตัง้ องค์รชั ทายาท การประชุม ปรึกษาหารือเรื่องราชกิจ รวมไปถึงเกร็ดเรื่อง ราวทางประวัตศิ าสตร์และราชวงศ์จกั รีทงั้ เรือ่ ง ในอดีตจนถึงยุคสมัยของพระองค์ท่านที่ทรง คุณค่ายิ่งในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย โดยบันทึกเล่มนีเ้ ป็นหลักฐานทีใ่ นทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น หลั ก ฐานชั้ น ต้ น เพราะเป็นงานที่มีความเป็นส่วนตัวอยู่มาก จึง มีการแสดงทัศนะของพระองค์ท่านอย่างตรง ไปตรงมา ซึ่งถ้าเทียบได้กับงานจ�ำพวกบันทึก ทีไ่ ด้ตพี มิ พ์ออกไปแล้วนัน้ ลักษณะงานเขียนคง พอเทียบได้กับหนังสืออันลือลั่นอย่าง สิ่งที่ ข้าพเจ้าพบเห็น ของ ม.จ.พูนพิศมัย ดิศกุล ที่ เป็นหลักฐานชิน้ ส�ำคัญในการอธิบายเหตุการณ์ ก่อนการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หนังสือประวัติต้นรัชกาลที่ 6 ท�ำให้เราเข้าใจ ถึงพระทัยของพระองค์ท่านมากยิ่งขึ้น และ
28/8/2553 10:06:55
ชื่อหนังสือ : ประวัติต้นรัชกาลที่ ๖ เขียนโดย : ราม วชิราวุธ พิมพ์ครั้งที่ : 4 (กันยายน 2542) โดยส�ำนักพิมพ์มติชน ISBN : 978-974-02-0438-1 รายละเอียดรูปเล่ม : ปกแข็ง ราคา : 330.00 บาท
Medleuddang July-August 2010.indd 51
ขึ้นจากวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ ปุ ่ น ที่ แ พร่ ก ระจายวิ ก ฤติ นี้ ไ ปทั่ ว โลก ท� ำ ให้ ห นั ง สื อ เล่ ม นี้ ย�้ ำ เตื อ นได้ ดี ถึ ง สภาวะ เศรษฐกิจที่เกิดจากความโลภโมโทสันและการ ยากทีจ่ ะควบคุมของเศรษฐกิจในระบบเสรี รวม ถึ ง ท� ำ ให้ เ ราต้ อ งพิ เ คราะห์ ถึ ง ตั ว ตนของนั ก เทคนิคทางเศรษฐกิจกับผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ด้าน เศรษฐกิจในสังคมไทยด้วยว่า มีองค์ความรูม้ าก เพียงใดในการจัดการปัญหาโลกาภิวัตน์ที่ซับ ซ้อนทั้งขนาดของปัญหาและเทคนิควิธีการ ที่ มีมากกว่าทฤษฎีแบบเก่าๆ การคาดเดาแบบ ส่งๆ โชคชะตาไสยศาสตร์ หรือการบันดาลของ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ แม้ ว ่ า ภาพจางๆ จะยั ง ไม่ แ จ่ ม ชั ด เหมือนการอ่านหนังสือเล่มเดียวก็ไม่อาจท�ำให้ สติปัญญาของมนุษย์นั้นแจ่มชัดได้ การอ่าน มากหรือน้อยก็ไม่ได้ตัดสินได้ว่าเราจะมีความ แจ่มชัดต่อตัวหนังสือหรือเหตุการณ์ต่างๆ บน โลกใบนี้ แต่การอ่านก็เป็นกุญแจน�ำทางแห่ง ความรู ้ ที่ จ ะน� ำ ความแจ่ ม ชั ด ทางปั ญ ญา... ไม่วันใดก็วันหนึ่ง n
วารสารเม็ดเลือดแดง: ภาพจางๆ ที่ไม่ชัดเจน
กับอ.สุวินัย ในฐานะผู้แต่งหนังสือด้าน จิต วิญญาณ สิ่งลี้ลับ และการพัฒนาทางจิตอย่าง เช่น มูซาชิฉบับท่าพระจันทร์ แต่ดว้ ยความเป็น นักเศรษฐศาสตร์ที่เคยมีภูมิหลังเป็นฝ่ายซ้าย อย่างเขา ก็ได้เขียนทุนนิยมฟองสบู่โดยเขา วิ เ คราะห์ ถึ ง ภาวการณ์ ฟ องสบู ่ ใ นระบบ เศรษฐกิ จ ที่ แ สดงออกจากการขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว เช่นที่เกิดในไทยช่วง พ.ศ.2531-2533 ทีท่ ำ� ให้เกิดคนรวยรุน่ ใหม่ที่ รวยจากการเข้าไปเล่นเกมเงินตราและการเก็ง ก� ำ ไร การนิ ย มชมชอบการบริ โ ภคอย่ า ง ฟุ่มเฟือย การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของราคา สิ น ค้ า และการลงทุ น ในระบบเศรษฐกิ จ โดย เฉพาะสินค้าและการลงทุนทีไ่ ม่เอือ้ กับการสร้าง รากฐานทางเศรษฐกิจอันแข็งแกร่งอย่าง หุ้น ที่ดิน สนามกอล์ฟ รถยนต์ บ้าน รูปภาพ ฯลฯ นอกจากนี้ อ.สุวินัยยังได้คาดการณ์ถึงภาว การณ์เกิดฟองสบูแ่ ตกขิงไทยไว้ลว่ งหน้าอีกด้วย แม้ในปัจจุบันประเทศไทยจะผ่านเหตุการณ์ วิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 มาได้สักพักใหญ่ แล้ว แต่ทว่าโอกาสที่เหตุการณ์ในลักษณะนี้จะ เกิดขึ้นซ�ำ้ อีกก็เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ดังเช่นที่เกิด
51
ชื่อหนังสือ : ทุนนิยมฟองสบู่ เขียนโดย : รศ.ดร.สุวินัย ภรณวลัย พิมพ์ครั้งที่ : 2 (2547) โดยส�ำนักพิมพ์ Openbooks ISBN : 974-92595-8-0 รายละเอียดรูปเล่ม : ปกอ่อน ราคา : 135.00 บาท
28/8/2553 10:06:55
Medleuddang July-August 2010.indd 52
ภาพเฉลยเกมจั บ ผิ ด ภาพ: ฝ่ า ยศิ ล ปกรรม
ไม่ยากเลยใช่ไหมกับการจับผิดพี่หมึกพอล เล่มนี้ชาหมดแล้ว พบกันใหม่กบั จิบชาฉบับหน้าครับ
52
28/8/2553 10:06:58
วารสารเม็ดเลือดแดง ฉบับที่ ๑๘ ก.ค.-ส.ค. ๕๓
Special Thanks ขอขอบคุณ ขอขอบคุณ ขอขอบคุณ ขอขอบคุณ ขอขอบคุณ ขอขอบคุณ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันที่เรา “ชัดเจน” ยิ่งใน ความรักที่มีให้ พี่พร พี่เหมียว และพี่ๆเจ้าหน้าที่คณะรัฐศาสตร์ทุกคน ที่สร้างความ “ชัดเจน” ให้การท�ำงานของวารสารเรา สมาชิกเม็ดเลือดแดงที่ช่วยท�ำให้จินตนาการของทุกคนกลายเป็นต้นฉบับที่ “ชัดเจน” ภาพเบลอ ภาพล้ม ภาพสองแง่ ที่สอนให้เรารู้จัก “ความไม่ชัดเจน” แว่นขยาย แว่นสายตา กล้องโทรทัศน์ ที่ท�ำให้เราสัมผัส “ความชัดเจน” ทุกๆ คนที่ท�ำให้ภารกิจของเรามีเป้าประสงค์ที่ “ชัดเจน”
และสุดท้าย ขอขอบคุณ ผู้อ่านทุกๆ คนที่ชัดเจนกับเม็ดเลือดแดงเสมอมา
สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง สามัคคี ประเพณี เป็นพี่น้อง ภาพเฉลยเกมจั บ ผิ ด ภาพ: ฝ่ า ยศิ ล ปกรรม
Medleuddang July-August 2010.indd 1
28/8/2553 10:07:01