ระบบการฝึกและกระบวนการฝึกทักษะ

Page 1

2010

ระบบการฝกและกระบวนการฝกทักษะ

นายคมธัช รัตนคชและนายดนุพล คลอวุฒินันท กลุมงานพัฒนาระบบการฝก 24/9/2010


บทนํา การพัฒนาทักษะฝมือภาคแรงงานของประเทศถือเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางประเทศที่กําลังพัฒนาอยางประเทศไทย ซึ่งมีผูใชแรงงานในภาคสวนตางๆ ทั้ง ภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจบริการ ซึ่งแรงงานที่อยูในภาคอุตสาหกรรมเปนกลุมคนที่ สําคัญที่จะขับเคลื่อนใหภาคอุตสาหกรรมเจริญกาวหนา และสงเสริม สนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศ กาวไปขางหนาอยางยั่งยืน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน เปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการพัฒนาฝมือแรงงาน เพื่อ แกปญหาดานทักษะฝมือของแรงงานใหสามารถรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางทัน เหตุการณ และใหแรงงานมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน สามารถตอบสนองตอความตองการของ ตลาดแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก มีหนาที่คิดคน และพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการฝกทักษะที่ตอบสนองตอ ความตองการดานแรงงาน มี มาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมตองการ กลุมงานพัฒนาระบบการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ไดจัดทํา เอกสารทางวิชาการขึ้น เพื่อเผยแพร องคความรู และเผยแพรขอมูลขาวสารทางวิชาการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือของผูรับการฝกใน สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด เพื่อให บุคลากร เจาหนาที่และผูที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานไดใชเพื่อการศึกษา คนควา และเปนแนวทางในการพัฒนาทักษะ ฝมือแรงงาน เพื่อประโยชนในการพัฒนาความสามารถของผูรับการฝกให บรรลุวัตถุประสงคในการฝก ทักษะฝมือแรงงานและมีมาตรฐานสมรรถนะสอดคลองกับงานและอาชีพตางๆ ที่สถานประกอบกิจการและ ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการ ตอไป

กลุมงานพัฒนาระบบการฝก สํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก กรมพัฒนาฝมือแรงงาน


สารบัญ หนา บทที่2 ระบบการฝกและกระบวนการฝกทักษะ ความหมายของระบบ(System) การออกแบบระบบการฝก ระบบการฝก กระบวนการฝก ขั้นตอนการรับสมัครผูมารับการฝก

1 1 4 4 6 8


1

บทที่2 ระบบการฝกและกระบวนการฝกทักษะ ระบบ (System) ความหมายของคําวาระบบ ไดมีนกั วิชาการและนักการศึกษาใหคํานิยามและใหความหมาย ไวมากมาย พอสรุป ไดดังนี้ (ปรัช ญา ศิริภรู ,ี 2550) ระบบ(System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดให ความหมายเอาไววา ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งตางๆ ซึ่งมีลกั ษณะซับซอนใหเขาลําดับ ประสานเปนอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิชาการ หรือหมายถึงปรากฏการณทางธรรมชาติซึ่งมี ความสัมพันธ ประสานเขากัน โดยกําหนดรวมเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน ระบบ(System) คือ กระบวนการตางๆ ที่อยูในเครือขายเดียวกันและมีความสัมพันธกนั ระหวางกระบวนการเหลานั้น และเชื่อมตอกันเพือ่ ทํางานใดงานหนึ่งใหบรรลุถึงเปาหมายที่วางไว ระบบ(System) คือ กลุมขององคประกอบตางๆ ที่ทํางานรวมกัน เพือ่ จุดประสงคอัน เดียวกันและเพือ่ ใหเขาใจในความหมายของคําวาระบบที่จะตองทําการวิเคราะห จึงตองเขาใจ ลักษณะของระบบกอน ไพฑูรย ศรีฟา (2550) ไดใหความหมายวา ระบบ (System) เปนกลุมขององคประกอบตาง ๆ ที่ทํางานรวมกัน เพื่อจุดประสงคในสิ่งเดียวกัน ระบบอาจประกอบดวยบุคลากร เครือ่ งมือ วัสดุ วิธีการ การจัดการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะตองมีระบบในการจัดการเพือ่ ใหบรรลุจุดประสงคเดียวกัน คําวา “ระบบ” เปนคําที่มกี ารเกี่ยวของกับการทํางานและหนวยงานและนิยมใชกันมาก เชน ระบบธุรกิจ (Business System) ระบบสารสนเทศ (Management Information System) ระบบการเรียนการสอน (Instructional System) ระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Computer Network System) เปนตน เมือ่ ทําการศึกษาระบบใดระบบหนึง่ นักวิเคราะหระบบจะตองเขาใจการทํางานของระบบ นั้นใหดี โดยการศึกษาวา ระบบทําอะไร (What) ทําโดยใคร (Who) ทําเมือ่ ไร (When) และทํา อยางไร (How) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst หรือ SA) ซึ่งไดแก บุคคลที่มีหนาที่วิเคราะห


2 และออกแบบระบบจะตองเขาใจการทํางานของระบบนั้น ๆ วาเปนอยางไรและอะไรคือความ ตองการของระบบ นอกจากนี้ ไดมผี ูที่ใหความหมายและคําอธิบาย ของคําวา “ระบบ” ไวหลายทานดวยกัน เชน (ไพฑูรย ศรีฟา, 2550) บานาธี (1968)ไดใหความหมายของระบบวาเปนการรวบรวมสิ่งตาง ๆ ทั้งหลายที่มนุษยได ออกแบบ และคิดสรางสรรคขนึ้ มา เพื่อจัดดําเนินการใหบรรลุผลตามเปาหมายที่วางไว กูด (1973) ใหความหมายของระบบวา หมายถึง การจัดการสวนตาง ๆ ทุกสวนใหเปน ระเบียบโดยแสดงความสัมพันธซึ่งกันและกันของสวนตาง ๆ และความสัมพันธของแตละสวนกับ สวนทั้งหมดอยางชัดเจน เซมพรีวิโว (1976) อธิบายวา ระบบ คือ องคประกอบตาง ๆ ที่ทํางานเกีย่ วโยงสัมพันธกัน เพื่อใหเกิดผลอยางใดอยางหนึ่ง กลาวไดวา ระบบคือ การปฏิสัมพันธขององคประกอบทั้งหลายใน การปฏิบตั ิหนาทีแ่ ละการดําเนินงาน จากที่กลาวมาพอสรุปไดวา ระบบ(System) หมายถึง การนําเอาปจจัยตางๆ อันไดแก คน (People) ทรัพยากร(Resources) แนวคิด(Concept) หลักการและทฤษฎี(Theory) ตลอดจนขั้นตอน กระบวนการ(Process) นํามาผสมผสานการทํางานรวมกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายอยางใดอยางหนึ่ง ตามที่ไดวางแผนไวลวงหนา ดวยวิธกี ารบริหารจัดการ (Management) ก็คอื บริหารจัดการปจจัย ตางๆ ทีก่ ลาวมาใหสนับสนุนและมีความสอดคลองซึ่งกันและกันไปในทิศทางเดียวกัน โดยภายใต ระบบหนึ่งๆ อาจประกอบดวยระบบยอยๆ (Subsystem) ตางๆ ที่ตองทํางานรวมกันเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคอันเดียวกัน เมือ่ นําวิธเี ชิงระบบ(System Approach) มาประยุกตใชในวงการศึกษาเพือ่ เปนแนวทางใน การจัดการเรียนการสอน จะทําใหไดเครือ่ งมือหรือแนวทางที่ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีระสิทธิ ภาพมากขึ้น โดยที่เรียกรูปแบบ (Model) ดังกลาววา การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design) นั่นเอง ซึ่งจะใชรูปแบบมาตรฐานการออกแบบการเรียนการสอน (ID Standard) อยางเชน ADDIE Model ซึ่งเปนรูปแบบทีเ่ ปนมาตรฐานสําหรับใชออกแบบระบบ


3 การเรียนการสอน และสามารถนํามาประยุกตใชเพือ่ การออกแบบและพัฒนาระบบการฝกอบรมได ดวย ระบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional System) คือ องคประกอบตาง ๆ ของ กิจกรรมการเรียนและการสอนที่ไดรับการจัดใหมีความสัมพันธกัน และสงเสริมกันอยางเปนระบบ เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูต ามจุดมุงหมายที่กําหนดไว ในการเรียนการสอนและการฝกอบรม นั้นควรมีการกําหนดกระบวนการเรียนการสอน และการฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาขั้นตอน กระบวนการดังกลาวอยางเปนระบบ ซึ่งใน กระบวนการการออกแบบและพัฒนาระบบใดๆ ตองใชความพยามและตองศึกษา คิด วิเคราะหและ ทําการทดลองซ้ําๆ ทุกขั้นตอนของกระบวนการนั้นๆ และแกไขปญหาและขอผิดพลาดทีเ่ กิดขึ้น จนกวาผลที่ได(Output) จะเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวและไดระบบที่มีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ดังนั้น ในการพัฒนาระบบการเรียนการสอนและการฝกอบรม จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตอ งทํา การวิเคราะห ออกแบบ และทําการพัฒนาระบบการเรียนการสอนและการฝกอบรมขึน้ อยางมี ระเบียบแบบแผนโดยอยูภายใตรูปแบบที่มโี ครงสรางชัดเจนมาเปนแนวทาง และรูปแบบที่นิยม นํามาใชกันมากคือ การออกแบบระบบการเรียนการสอน (ISD) มี 5 ขั้นตอน ซึ่งจะกลาวอยาง ละเอียดถึงในหัวขอตอไป

ภาพที่2.1แสดงรูปแบบการพัฒนาระบบการเรียนการสอน


4 การออกแบบระบบการฝก ในการออกแบบและพัฒนาระบบการฝก ซึ่งมีแนวคิด และกระบวนการที่เปนขั้นตอนที่ ตอเนือ่ งและสัมพันธกัน กอนอื่นตองทําความเขาใจและใหความหมาย หรือ นิยามของคําตางๆ กอน เพื่อจะไดแยก วิเคราะหและเรียบเรียงความสัมพันธไดอยางถูกตอง ซึ่งคําตางๆ ทีเ่ กี่ยวของกับการ ออกแบบและพัฒนาระบบการฝกมีดังนี้ ระบบการฝก หมายถึง กระบวนการที่ไดจากการวิเคราะหและสังเคราะหจนไดองคประกอบตางๆ ขึน้ มี ความเชื่อมโยงกันขององคประกอบของกระบวนการฝก โดยมีกรอบแนวคิดที่ทําเกิดความมั่นใจได วากระบวนการฝกจะมีความตอเนือ่ ง สามารถดําเนินการตามขั้นตอนทีก่ ําหนดและมีความกาวหนา ไปอยางมีประสิทธิภาพตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว ซึ่งเปนการนําเอาปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการฝกอบรม ไดแก ผูรับการฝก ผูฝ ก หลักสูตร สื่อการฝก ระเบียบวิธแี ละเทคนิค วัสดุอุปกรณ เครือ่ งมือ เครื่องจักร และเทคโนโลยีการฝก สถาน ฝก และสภาพแวดลอมในการฝกอบรม เชน ระบบแสงสวาง เครือ่ งอํานวยความสะดวกตางๆ เปน ตน รวมถึงแนวคิดและกระบวนการ มาผสมผสานการดําเนินงานรวมกันเพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย อยางใดอยางหนึ่งตามที่ไดวางแผนไว โดยภายในระบบใดๆ อาจประกอบไปดวยระบบยอยๆ (Subsystem) ตางๆ ที่ตอ งทํางานรวมกันเพือ่ ใหบรรลุวัตถุประสงคเดียวกัน I/P

PROCE

OUTP

I/P

feedback

INPUT

PROCE feedback

PROCESS

OUTPUT

FEEDBACK ภาพที่ 2.2 แสดงโครงสรางเชิงระบบซอนระบบ

OUTP


5

ปจจัยนําเขา(Input)

กระบวนการ(Process)

ผลผลิต(Product)

- ผูเขารับการฝก - บุคลากรฝก - หลักสูตร - กระบวนการ - ระบบการฝก - รูปแบบการฝก - ระเบียบ ขอกําหนด - นโยบายดานแรงงาน - สื่อและวัสดุอุปกรณ

-

ดําเนินการตามกระบวนการและ ขั้นตอนการฝกอยางมีประสิทธิภาพ

-

-

-

การใชปจจัยตางๆ เพื่อดําเนินการฝก ใหเกิดประสิทธิภาพ

-

ทักษะ ความสามารถทีผ่ ูรบั การฝก ไดรับ (คุณภาพ) ตามมาตรฐาน จํานวนผูผ านการฝกอบรม(ปริมาณ)

ดําเนินการตามวัตถุประสงค

ประเมินผลเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)

ประเมินผลเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)

ฝก ระเบียบ วิธีการและ เทคนิค

- สภาพแวดแวดลอม

การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation)

สิง่ อํานวยความ สะดวก

Inputs - การวิเคราะหหาความ จําเปนในการฝกอบรม - วัตถุประสงคของโครงการ - โครงการ ฯ และกําหนด การฝกอบรม - เอกสารการฝกอบรม - การคัดเลือกวิทยากร - การคัดเลือกผูเขารับการ อบรม

Process

Outputs

- วิทยากร - ผูเขารับการอบรม - เอกสารประกอบการ บรรยาย -สภาพแวดลอมและสิง่ อํานวยความสะดวกตาง ๆ

- การเรียนรู - ปฏิกริ ิยา - พฤติกรรม - ผลลัพธ

Feedback ภาพที่ 2.3 แสดงวิธีเชิงระบบ

* กรอบแนวคิด ที่ใชคอื แนวคิดดานการออกแบบระบบการเรียนการสอน ISD: Instructional System Design ประกอบดวย การวิเคราะหสงิ่ ที่เกีย่ วของกับการฝก (Analysis) การ ออกแบบระบบการฝก (Design) การพัฒนาระบบการฝก (Develop) การนําระบบการฝกไป ดําเนินการใช (Implement) และการประเมินผลการใชระบบการฝก (Evaluation) แลวนํามา ปรับปรุง ซึ่งรูปแบบวิธกี ารเชิงระบบ ทีเ่ หมาะสมก็คอื *ADDIE Model


6 ขั้นการวิเคราะห (Analysis)

ขั้นการออกแบบ (Design)

ขั้นการพัฒนา (Develop)

ขั้นการดําเนินการ ใหเปนผล

ขั้นการประเมิน (Evaluate)

ภาพที่ 2.4 แสดงขั้นตอนของรูปแบบ ADDIE Model กระบวนการฝก หมายถึง ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิที่จะทําใหผูเขารับการฝกเกิดความรู ความเขาใจ (K) มีทศั นะ คติ (A) และมีทกั ษะ(S) หรือความชํานาญ ตลอดจนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ประสบการณในเรื่องใดเรือ่ งหนึ่งตามวัตถุประสงคทกี่ ําหนด ตัวอยาง กระบวนการฝกอบรมในหนวยงาน การหาความจําเปนในการ จัดฝกอบรม (ความตองการ ดานทักษะ) การประเมินผล/ติดตาม การฝกอบรม

พัฒนาหลักสูตรและเครื่องมือที่ ใชในการฝกอบรม

บริหารการจัดการ ฝกอบรม

เตรียมการ/วางแผนในการ ฝกอบรม วัสดุ เทคนิค วิธีการ ระเบียบการฝก ) ดําเนินการ จัดการฝกอบรม

ภาพที่ 2.5 แสดงกระบวนการจัดการฝก


7 กระบวนการฝกทักษะฝมือแรงงานที่กรมพัฒนาฝมอื แรงงานนํามาใชนั้น ไมมขี อมูลและ หลักฐานหรือเอกสารใดยืนยันไดชดั เจนวา เปนรูปแบบใด มีขั้นตอนและกระบวนในลักษณะใด รวมทั้งหนวยงานที่ทําหนาที่จัดฝกทักษะฝมือแรงงานของกรมฯ ไดดําเนินการจัดฝกภายใตรูปแบบ และกระบวนการฝกใด และแตละศูนยฯ หรือ สถาบันภาค ตางๆ ใชกระบวนการฝกแบบเดียวกัน หรือไม ซึ่งทั้งหมดที่กลาวมาเปนสิ่งทีก่ ลุมงานพัฒนาระบบ พยายามศึกษาและไดพัฒนาโครงราง ของกระบวนการฝกทักษะฝมือแรงงานที่กรมฯ ไดดําเนินการอยูในปจจุบัน เพือ่ ใชเปนกรอบและ เปนแนวทางในการศึกษา และพัฒนาตอไป โดยมีกระบวนการและขั้นตอนการดําเนินการจัด ฝกอบรมดังตอไปนี้

ผู สมัครเขารับการฝก ขอมูลปอนกลับ

รับสมัครเขารับการฝก

หนวยการฝก/หลักสูตร รูปแบบการฝก

ตรวจสอบคัดเลือก คุณสมบัติ

เทคโนโลยีการฝก

ทดสอบความถนัด ประเมินผล/วิเคราะหความ ตองการ เลือกหนวยการฝก

Methodology & Technique

Training Material

ประเมินความสามารถ ทักษะ

ความรู

เจตคติ

แนะนําการฝกอบรม อบรม

ออกใบรับรองความสามารถ

แนะแนวการฝก

รับการฝก

การ ประเมิน และ ติดตาม ผลการฝก

เขาสูสถาน ประกอบ การ มี มีงานทํา

การ ประกัน คุณภาพ การฝก

ไมมี

เขาสูโ ลก การ ทํางาน แนะแนว อาชีพ

กรมจัดหางาน

การประเมิน

ภาพที่ 2.6 แสดงโครงรางกระบวนการจัดฝกอบรมทักษะ กระบวนการฝกอบรมฝมอื แรงงานที่นํามาแสดงตอไปนี้ เปนแนวทางที่มีการนํามาใชฝก กันในปจจุบัน จากกรอบแนวทางดังกลาวจะมีขั้นตอน โดยเริ่มตนจากขัน้ การแนะแนวการฝก (Training Guidance) เปนขัน้ ตอนสําคัญและเปนขั้นแรกทีผ่ ูมาสมัครเขารับการฝกอบรมจะตองผาน การสัมภาษณ ทําแบบสอบถาม แบบประเมินความรู แบบวัดความรูพื้นฐานและความถนัดเฉพาะ ทางเพือ่ เปนขอมูลเบือ้ งตนสําหรับการเลือกหนวยการฝกและเขาฝกอบรมตอไป โดยมีขั้นตอนดังนี้


8 ขั้นตอนการรับสมัครผูมารับการฝก ในการฝกอบรมภายใตกระบวนการที่หนวยงานของกรมฯ มักใชในการจัดฝกนั้น เริ่มจาก การเขารับสมัครเพื่อฝกอบรมในหลักสูตรตางๆ ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีกระบวนการสําคัญคือการ ตรวจสอบคุณสมบัติจากหลักฐานตางๆ จากนั้นจะเขาสูการทดสอบพื้นฐานในดานตางๆ เชน ความ สนใจ ความถนัดและความรู รวมถึงพื้นฐานสมรรถนะทางรางการและความพรอมทางรางกาย ประกอบกัน เพื่อหาความตองการทีแ่ ทจริงของผูที่มารับสมัครฝกอบรม เมือ่ ผูมาสมัครผานขั้นตอน ตางๆ แลว เจาหนาที่ก็จะเลือกหนวยการฝก หรือ หลักสูตรที่ผูมาสมัครตองฝก ขัน้ ตอนนี้มี ความสําคัญอยูที่ เมือ่ ไดหนวยการฝกหรือหลักสูตรการฝกแลว เจาหนาที่ที่รับสมัครตองให คําแนะนําการฝก (Training Guidance) ซึ่งผูที่จะใหคําแนะนํา ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูดานจิตวิทยาการแนะแนว 2. มีความรูดานการศึกษา 3. มีความรูเกี่ยวกับการฝกอบรม 4. มีความรูเกี่ยวกับอาชีพตางๆ 5. การวัดและประเมินทางการศึกษา เปนตน ซึ่งในการแนะแนวการฝกอาจใชเจาหนาที่มากกวา 1 คนก็ได แตตอ งมีความรูตามทีก่ ลาว มา ปกติจะมีครูฝก หรือผูชํานาญในสาขาอาชีพทีส่ อดคลองกับหนวยฝก หรือ หลักสูตรทีผ่ ูมาสมัคร ฝกอบรมเลือกฝก เพราะจะไดแลกเปลี่ยนประสบการณหรือใหคําแนะนําไดสอดคลองกับกิจกรรม ที่ผูมาสมัครตองฝกจริง และเปนการสรางความสัมพันธที่ดรี ะหวางผูมาสมัครรับการฝกและผูฝ ก ตอไป ขอมูลตางๆ ทีเ่ กี่ยวของกับผูมารับสมัคร เชน ผลการประเมินแบบทดสอบ หรือ คะแนน ตางๆ จะถูกสงไปยังฝายฝกในสาขานั้นๆ ทีผ่ ูมารับสมัครเขาฝก เพื่อเปนขอมูลพืน้ ฐานในการ จัดรูปแบบการฝกและเทคนิคการฝกใหสอดคลองกับผูมาสมัครรับการการฝกคนดังกลาว ใหมาก ที่สุดเพือ่ ประสิทธิภาพในการฝกตอไป


9

ภาพที่ 2.7 แสดงขั้นตอนในกระบวนการรับสมัครและแนะแนวการฝก จากที่กลาวมาในขั้นตอนแรกคือการรับสมัครและแนะแนวการฝก ซึ่งมีราย ละเอียด พอสมควร อาจจะอธิบายไดไมหมด ในบทความถัดจากนี้ไปจะเกี่ยวกับการฝกอบรม ซึ่งจะได อธิบายความสัมพันธของขั้นตอนตางๆ ในกระบวนการฝกอบรมใหละเอียดอีกครั้ง กระบวนการฝกและขัน้ ตอนการฝก ทักษะ มีกลไกตามรูปขางลาง โดยหลังจากทีผ่ ูมาสมัคร ผานการตรวจสอบและคัดเลือกตามคุณสมบัติที่กําหนดแลว เจาหนาที่ก็จะเลือกหนวยการฝกหรือ หลักสูตรการฝกใหสอดคลองกับผลการคัดเลือกหรือความตองการ จากนั้นจะเขาสูขั้นตอนการฝก โดยครูฝก จะเลือกรูปแบบการฝก เทคโนโลยีการฝก ระเบียบวิธีการฝก สือ่ การฝก วัสดุอุปกรณการ ฝกที่เหมาะสมตอไป


10

ภาพที่ 2.8 แสดงขั้นตอนการฝกอบรม ในสวนรายละเอียดของขัน้ ตอนการฝกจะนั้น จะกลาวถึงในบทตอไป


คณะดําเนินการ ที่ปรึกษา

๑.นายนคร ศิลปอาชา ๒.นายประพันธ มนทการติวงศ ๓.นายประวิทย เคียงผล ๔.หมอมหลวงปุณฑริก สมิติ ๕.นายสันโดษ เต็มแสวงเลิศ

ผูจัดทํา

๑.นายณรงค ฉ่ําบุญรอต ๒.นายคมธัช รัตนคช ๓.นายดนุพล คลอวุฒนิ ันท

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

นักวิชาการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการพิเศษ นักวิชการพัฒนาฝมือแรงงานชํานาญการ นักวิชการพัฒนาฝมือแรงงานปฏิบัติการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.