e-news_5-2

Page 1

ผู้เขียน ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ โทร.02-273-9020 ต่อ 3279 บทวิเคราะห์ เรื่อง การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมหลังมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 1 บทนา หากย้อนไปในช่วงเวลาประมาณ 1 ปีแล้ว ได้เกิดเหตุการณ์มหาอุทกภัยที่กินเวลายาวนานนับจากปลาย เดือนกรกฎาคม พ .ศ. 2554 ถึงช่วงกลางเดือนมกราคมปี พ.ศ. 2555 และได้สร้างความเสียหายให้กับภาคส่วน ต่างๆ ทั้งนี้ เหตุการณ์น้าท่วมครั้งดังกล่าวได้รับการจัดอันดับให้เป็นภัยพิบัติครั้ง ใหญ่ที่ ธนาคารโลก (World Bank) จัดให้เป็นความเสียหายอันดับ 4 ของโลก รองจากเหตุการณ์สึนามิในญี่ปุ่น แผ่นดินไหวในโกเบ และเฮอริเคนแคทรี น่า ตามล้าดับ โดยแบ่งเป็นความเสียหาย (Damage) ประมาณ 630 ล้านบาท และความสูญเสีย (Loss) ประมาณ 795 ล้านบาท โดยภาคเอกชนมี Damage และ Loss คิดเป็นร้อยละ 90 หรือประมาณ 1.3 พันล้านบาท ขณะที่ ภาครัฐได้รับ Damage และ Loss ประมาณ 0.13 พันล้านบาท ทั้งนี้ หนึ่งในภาคเศรษฐกิจส้าคัญที่ได้รับผลกระทบอย่างมาก คือ “ภาคอุตสาหกรรม”2 เนื่องจากเหตุการณ์ น้​้าท่ว มลุกลามสู่พื้นที่จังหวัดที่เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมที่ส้าคัญในการผลิตสินค้า ถึง 7 แห่ง ได้แก่ สหรัตนนคร โรจนะ ไฮเทค บางปะอิน และแฟคตอรี่แลนด์ ในจังหวัดอยุธยา และ นวนคร และบางกระดีในจังหวัด ปทุมธานี (ภาพที่ 1) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลักๆ ได้ แก่ ชิ้นส่วนยานยนต์ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอาหารและเครื่องดื่ม ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานการผลิตทั้งในและ ต่างประเทศ

1

ผู้เขียน นายธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ เศรษกรชานาญการ ส่วนแบบจาลองและประมาณการเศรษฐกิจ สานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภา รัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ และดร.กุลยา ตันติเตมิท สาหรับข้อแนะนา

2

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ประเมินผลกระทบจากเหตุอุทกภัยดังกล่าว โดยผลกระทบต่อรายได้ส่วนใหญ่ มาจากภาคอุตสาหกรรมที่คิดเป็นประมาณร้อยละ 72.41 ของผลกระทบต่อรายได้ทั้งหมดหรือประมาณ 3.57 แสนล้านบาท ขณะที่ผลการสารวจของ World Bank ต่อผลกระทบที่เกิดจากความสูญเสีย (Loss) ในภาคอุตสาหกรรม 4.93 แสนล้านบาท หรือร้อยละ 62.03 ของ Total Loss นอกจากนี้ สศช. ได้ประเมินผลกระทบต่อ GDP ณ ระดับราคาคงที่ ซึ่งคิดเป็นประมาณร้อยละ 2.3 โดยแยกเป็นผลกระทบต่อเกษตร 7.336 พันล้านบาท อุตสาหกรรม 77.456 พันล้านบาท การค้าส่งค้าปลีก 23.034 พันล้านบาท สาธารณูปโภค 421 ล้านบาท และการท่องเที่ยว 3.696 พันล้านบาท

1


ภาพที่ 1 นิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง ที่ถูกนาท่วมช่วงปลายปี พ.ศ. 2554

ที่มา : การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

นอกจากนี้ เหตุการณ์มหาอุทกภัยดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติอย่างมาก โดยเฉพาะนักลงทุนจากญี่ปุ่น จนมีกระแสข่าวเกี่ยวกับการย้ายฐานการผลิตสินค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อ กระจายความเสี่ยงทีจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ที่ปัจจุบัน โรงงานหลายแห่งก็ยังไม่มีการขยายโรงงาน หรือลงทุนเพื่อขยายก้าลังการผลิต มีเพียงการควบรวมกิจการโดย Hitachi ขายกิจการบริษัทลูก Hitachi GST (Hitachi Global Storage Technologies) ให้กับ Western Digital ในวงเงินมูลค่า 4.25 พันล้านดอลลาร์ บทบาทการช่วยเหลือจากภาครัฐบาลต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลจึงเข้ามามีบทบาทในการเข้ามาช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย โดยครอบคลุมผู้ที่ ได้รับผลกระทบในภาคส่วนต่างๆ ทั้งในส่วนของประชาชนทั่วไป เกษตรกร ผู้ใช้แรงงาน ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม และผู้ประกอบการรายย่อย (ภาพที่ 2) ตลอดจนหาแนวทางป้องกันน้​้าท่วมในอนาคต และให้ข้อมูล ให้กับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการลงทุนและวางแผนการด้าเนินงานต่อไป และเร่ง เสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบการ ซึ่งในที่นี้ จะกล่าวถึงเฉพาะในส่วนของบทบาทรัฐบาลที่มี ต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั้งรายใหญ่จนถึงรายย่อย (L&SMEs) และความคืบหน้าในการสร้าง แนวป้องกันน้​้า ท่วมในนิคมต่างๆ ที่ได้รับความเสียหายเมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 ดังแสดงในตารางที่ 1 ภาพที่ 2 ภาคส่วนต่างๆที่ประสบอุกทกภัยและรัฐบาลเข้ามาบรรเทาเยียวยา

2


ตารางที่ 1 แสดงบทบาทความช่วยเหลือจากภาครัฐบาลต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรายใหญ่ และ SMEs ความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

ความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่อผู้ประกอบการรายย่อย

1) ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ สาหรับนิคม/เขตประกอบการ/สวนอุตสาหกรรมทั้ง 7 แห่ง และสถานประกอบการ อุตสาหกรรม เพื่อฟืน้ ฟูให้สามารถดาเนินกิจการได้เร็วที่สด ุ 2)การให้สท ิ ธิประโยชน์การส่งเสริมการลงทุนและผ่อนผันเงือ่ นไข เช่น ให้สท ิ ธิยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับ เครือ่ งจักรที่นาเข้ามาเพื่อทดแทนเครือ่ งจักรที่เสียหายจากเหตุอุทกภัย รวมทั้งสามารถเพิ่มกาลังการผลิตในคราว เดียวกัน 3)การช่วยเหลือทางด้านการเงิน โดยประสานงานกับสถาบันการเงินต่างๆ ได้แก่ ธ.กรุงไทย ธ.ออมสิน ธ. อิสลามฯ EXIM Bank บสย. โดยมีแนวทางช่วยเหลือลูกหนี้ ดังนี้ - พักหนีช ้ าระเงินต้น และ/หรือดอกเบีย้ ชัว่ คราว - สินเชือ่ หมุนเวียนเพื่อการส่งออก - สินเชือ่ ธุรกิจและเงินทุนหมุนเวียน - พักชาระค่าธรรมเนียมค้าประกัน - สินเชือ่ เพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัย 4)ให้สท ิ ธิเฉพาะสถานประกอบการที่ประสบอุทกภัยกู้เงินจากกองทุนประกันสังคมเพื่อซ่อมแซม รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท ดอกเบีย้ ร้อยละ 3 ต่อปี คงที่ 3 ปี 5) การช่วยเหลือด้านภาษี 5.1) ยกเว้น PIT และ CIT สาหรับเงินชดเชยจากภาครัฐเท่ากับความเสียหายที่ได้รบั สาหรับผูล้ งทะเบียนไว้กับ หน่วยงานรัฐ / สาหรับเงินหรือราคาทรัพย์สนิ ที่ได้รบั บริจาคเพื่อชดเชยความเสียหาย ซึง่ ไม่เกินมูลค่าความ เสียหายที่ได้รบั 5.2) ยกเว้น CIT สาหรับค่าสินไหมทดแทนที่บริษท ั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบ ิ คุ คลได้รบั จากบริษท ั ประกันเฉพาะส่วนที่ เกินมูลค่าของทรัพย์สนิ ที่เสียหาย 5.3) เงินบริจาค หักภาษีได้ 1.5 เท่า 5.4) ยกเว้น VAT สาหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียน VAT ที่นาสินค้าไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย 5.5) ขยายเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษีสรรพากรสาหรับผูป้ ระกอบการในพื้นที่ประสบอุทกภัย 5.6) ขยายกาหนดเวลาชาระภาษีสรรพสามิตสาหรับผูป้ ระกอบการในพื้นที่ฯ 5.7) ขยายเวลาการส่งออกสิง่ ของที่ขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ ออกไปอีก 6 เดือน สาหรับผูป้ ระกอบการใน พื้นที่ฯ โดยการนาเข้าวัตถุดบ ิ ที่มีชว่ งเวลาไม่เป็นไปตามข้างต้น หากไม่สามารถส่งออกได้ภายใน 1 ปี นับแต่วนั นาเข้า ให้นาของเข้ายื่นคาร้องขอขยายเวลาส่งออกต่อกรมศุลฯ ได้ 6) การลดค่าสาธารณูปโภค สาธารณูปการ จาก กฟน. กฟภ. กปภ. TOT และ กสท. 7) การบริการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการในเขตประกอบการเสรีในนิคมฯ - อานวยความสะดวกในการขนย้ายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ออกนอกเขตประกอบการฯ - อานวยความสะดวกด้านพิธีการศุลกากร โดยให้ผปู้ ระกอบการแจ้งสถานที่ชวั่ คราวที่ขนย้ายเครือ่ งจักร อุปกรณ์ หรือสถานที่ชวั่ คราวที่ประกอบกิจการ และสามารถประกอบกิจการและปฏิบตั พ ิ ิธีการศุลกากรตามปกติ 8) การอนุญาตนาคนต่างด้าวเข้ามาอยู่และทางานภายใต้กฏหมาย กนอ.

1)เร่งรัดให้บริษท ั ประกันจ่ายค่าสินไหมทดแทนอย่างรวดเร็ว 2)การช่วยเหลือทางด้านการเงิน โดยประสานงานกับสถาบันการเงินต่างๆ ได้แก่ ธ.กรุงไทย ธ.ออมสิน ธ. อิสลามฯ EXIM Bank บสย. ซึง่ ได้ให้ความช่วยเหลือ ดังนี้ - พักหนีช ้ าระเงินต้น และ/หรือดอกเบีย้ ชัว่ คราว - สินเชือ่ หมุนเวียนเพื่อการส่งออก - สินเชือ่ ธุรกิจและเงินทุนหมุนเวียน - พักชาระค่าธรรมเนียมค้าประกัน - ค้าประกันสินเชือ่ เพื่อฟืน้ ฟูธุรกิจ 3)ให้สท ิ ธิเฉพาะสถานประกอบการที่ประสบอุทกภัยกู้เงินจากกองทุนประกันสังคมเพื่อซ่อมแซม รายละไม่ เกิน 1 ล้านบาท ดอกเบีย้ ร้อยละ 3 ต่อปี คงที่ 3 ปี

4) การช่วยเหลือด้านภาษี 4.1) ยกเว้น PIT และ CIT สาหรับเงินชดเชยจากภาครัฐเท่ากับความเสียหายที่ได้รบั สาหรับผูล้ งทะเบียนไว้ กับหน่วยงานรัฐ / สาหรับเงินหรือราคาทรัพย์สนิ ที่ได้รบั บริจาคเพื่อชดเชยความเสียหาย ซึง่ ไม่เกินมูลค่า ความเสียหายที่ได้รบั 4.2) ยกเว้น CIT สาหรับค่าสินไหมทดแทนที่บริษท ั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบ ิ คุ คลได้รบั จากบริษท ั ประกันเฉพาะ ส่วนที่เกินมูลค่าของทรัพย์สนิ ที่เสียหาย 4.3) เงินบริจาค หักภาษีได้ 1.5 เท่า 4.4) ยกเว้น VAT สาหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียน VAT ที่นาสินค้าไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย 4.5) ขยายเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษีสรรพากรสาหรับผูป้ ระกอบการในพื้นที่ประสบอุทกภัย

5) การช่วยเหลืออื่นๆ - กรณีเช่าอาคารราชพัสดุ หากผลกระทบฯ ทาให้ผเู้ ช่าไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติเกิน 3 วัน ได้รบั การยกเว้นการเรียกเก็บค่าเช่า 1 เดือน - จัด Business Matching ระหว่างผูป้ ระกอบการที่เสียหาย กับผูป้ ระกอบการที่จาหน่ายวัสดุก่อสร้างและเครือ่ ง จักอุปกรณ์ - สถานประกอบการจ่ายค่าจ้างไม่นอ้ ยกว่า 75% ของค่าจ้างปกติ และทา MOU ว่าจะไม่เลิกจ้าง โดยรัฐบาล ช่วยจ่ายสมทบให้คนละ 2 พันบาท/เดือน เวลา 3 เดือน - การฟืน้ ฟูสถานประกอบการ SMEs ที่อยู่นอกนิคมฯ เพื่อให้สามารถดาเนินการเข้าสูร่ ะบบปกติโดยเร็วที่สด ุ

ที่มา : กระทรวงการคลัง รวบรวมโดย สศค. ทั้งนี้ นอกจากบทบาทความช่วยเหลือด้านการให้สิทธิประโยชน์ด้านการลงทุน การช่วยเหลือด้านการเงิน และภาษี และการลดค่าสาธารณูปโภค แล้ว รัฐบาลยังช่วยเหลือผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมที่ถูกน้​้าท่วมทั้ง ในจังหวัดอยุธยาและปทุมธานี โดยในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบวงเงินสนับสนุนการก่อสร้างคันกั้นน้​้า ถาวรประมาณ 2 ใน 3 ของวงเงินก่อสร้างรวม แก่ผู้ประกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่ประสบภาวะน้​้าท่วม 7 แห่ง ใน 2 จังหวัดดังกล่าว วงเงิน 3,236.69 ล้านบาท 3 จากประมาณการงบประมาณการก่อสร้างรวม 5,512.91 ล้านบาท (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) โดยในส่วนของรายละเอียดการก่อสร้างเขื่อนและความคืบหน้า มีดังนี้

3

นอกจากนี้ เมื่อ กรกฎาคม 2555 คณะกรรมการกลั่นกรองเศรษฐกิจได้ตกลงอนุมัติงบ 3,500 ล้านบาท ให้ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) กู้เงินสร้างเขื่อนให้นิคมอุตสาหกรรม 6 แห่ง ที่จะมีความเสี่ยงน้าท่วม (เนื่องจากเขื่อนที่มีอยู่เดิมไม่แข็งแรงและมีความสูงไม่เพียงพอในการ ป้องกันน้าท่วม) โดย กนอ. สามารถกู้เงินในอัตราพิเศษจาก ธ.ออมสิน และบริหารจัดการเอง เพื่อใช้ในการจัดสร้างเขื่อนป้องกันนิคมอุตสาหกรรมที่เสี่ยง ต่อการถูกน้าท่วมทั้ง 6 แห่ง ความยาวกาแพงรวม 66.7 กิโลเมตร ประกอบด้วย นิคมอุตสาหกรรมลาดกระ บัง บางชัน บางปู บางพลี สมุทรสาคร และ พิจิตร ที่มีมูลค่าทรัพย์สินรวม 6 แห่ง เท่ากับ 350,000 ล้านบาท

3


ตารางที่ 2 แสดงงบประมาณในการก่อสร้างเขื่อนรอบนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปลายปี พ.ศ. 2554 Seq. 1 2 3 4 5 6

Areas Saharattananakorn Industrial Estate Hi-tech Industrial Park Bangpa-in Industrial Estate Rojana Industrial Park Navanakorn Industrial Estate Bangkra-di Industrial Park

Total

Budget Amount (Mil. Baht)

Contractor

Starting Date

Scheduled Completion

339.05

Government Subsidy (Mil. Baht) 226.030

492.43

Sino-Thai

1-Feb-12

31-Aug-12

328.288

474.02

Ch-karnchang

1-Feb-12

31-Dec-12

316.011

2,145.46

Italian-Thai

20-Feb-12

31-Aug-12

1,430.303

1,058.93

Italian-Thai

15-Feb-12

31-Aug-12

705.955

Thai Piling Rig 2-Mar-12

31-Aug-12

230.107

345.16

5,512.91

3,236.694

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ทั้งนี้ หากพิจารณาความคืบหน้าการก่อสร้างเขื่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่บริเวณจังหวัด พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานี จ้านวน 5 แห่ง (ยกเว้นสหรัตนนคร) พบว่า ปัจจุบันค่อนข้างมีความพร้อม ที่จะรับน้​้าได้เต็มที่ โดยมีการด้าเนินงานเฉลี่ยเป็นไปตามแผนประมาณร้อยละ 90 ซึ่งเหลือเพียงเก็บรายละเอียด งานก่อสร้างบางส่วน ส้าหรับในส่วนของนิคมสหรัตนนครมีความล่าช้ากว่าแผน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงใน ข้อตกลงบางส่วน รัฐบาลจึงได้อนุมัติเงินงบประมาณส่วนหนึ่งมาให้นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ด้าเนินการก่อสร้าง ก้าแพงกั้นน้​้าชั่วคราวที่สามารถเคลื่ อนย้ายได้ (Flood Wall) ยาวรวม 6 กิโลเมตร โดยปัจจุบันมีความคืบหน้าใน การก่อสร้างกว่าร้อยละ 30 ความคืบหน้าในส่วนของการกลับมาผลิตของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมทัง 7 แห่ง จากข้อมูลล่าสุดพบว่า มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมที่ถูกน้​้าท่วม 839 แห่ง เริ่มผลิตได้ทั้งหมด 357 แห่ง ผลิตบางส่วน 306 แห่ง รวม 663 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 79 ของโรงงานทั้งหมด (ภาพที่ 3) อย่างไรก็ดี จ้านวน โรงงานที่สามารถกลับมาผลิตได้มีจ้านวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ คาดว่าภายในไตรมาส 3 ปีนี้ โรงงานในนิคมฯ จะเริ่ม ผลิตได้ร้อยละ 904

4

โดยปัจจุบันมีผู้ประกอบการในนิคมสหรัตนนครเปิดดาเนินการกว่า 20 โรง และส่วนที่เหลือยังอยู่ระหว่างในการปรับปรุง การเคลมจากบริษัทประกัน และ ผู้ประกอบการอยู่ระหว่างการตัดสินใจ เกี่ยวกับเรื่องน้าในปี 2555 โดยมีบางโรงงานเคลื่อนย้ายไปอยู่ในที่ปลอดภัยเป็นบางส่วน แต่ยังไม่พบการย้าย ฐานการผลิตไปตั้งในต่างประเทศ

4


ภาพที่ 3 แสดงการเพิ่มจานวนอย่างต่อเนื่องของจานวนโรงงานที่สามารถกลับมาผลิตได้ (Resume the Operation Already) นับจากต้นปี พ.ศ. 2555

100% 90% 80%

Not resume the operation yet

70% 60% 50% 40% 30%

Resume the operation already

20% 10% 0%

Resume already

Not resume yet

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) อย่างไรก็ตาม จ้านวนโรงงานที่กลับมาผลิตจะไม่ครบเต็มจ้านวนเท่าเดิม เนื่องจากมีโรงงานที่ย้ายหรือปิด กิจการรวมจ้านวนทั้งสิ้น 59 แห่ง โดยอยู่ในเขตประกอบการโรจนะ บ้านหว้า (ไฮเทค) นวนคร สหรัตนนคร บาง กะดี และบางปะอิน เขตละ 29 13 8 5 3 และ 1 แห่ง ตามล้าดับ ทั้งนี้ โรงงา นที่ย้ายออกจากนิคมอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ไปอยู่ที่ภาคตะวันออก ซึ่งท้าให้การขายหรือเช่าที่ดินของนิคมอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกขยายตัวมาก ขึ้น เช่น นิคมอุตสาหกรรมอมตะ เป็นต้น อย่างไรก็ดี จ้านวนโรงงานที่ย้ายหรือปิดกิจการคิดเป็นร้อยละ 7.0 ของ จ้านวนโรงงานทั้งหมด ทั้งนี้บา งส่วนของโรงงานที่ปิดกิจการเนื่องจากประสบปัญหาทางธุรกิจอยู่แล้ว จึงไม่น่ามี ผลกระทบต่อการฟื้นตัวในภาพรวม ขณะเดียวกันเมื่อพิจารณาโรงงานขนาดใหญ่ และวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) ที่ประสบอุทกภัย ซึ่งตั้งอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรม ขณะนี้มีโรงงาน สถานประกอบการ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เปิดด้าเนินการแล้ว 7,783 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.61 ของสถานประกอบการทั้งหมด 7,893 ราย แผนแม่บทการบริหารจัดการน้​้า (Action Plan of Water Management) รัฐบาลได้ตระหนักถึงความส้าคัญของปัญหาน้​้าท่วมดังกล่าวที่ได้ส่งผลกระทบไปยังทุกภาคส่วน จึงได้ แต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้​้า5 ขึ้น ซึ่งได้จัดท้าแผนแม่บทในการ บริหารจัดการน้​้าอย่างยั่งยืน ทั้งแผนระยะเร่งด่วนและแผนระยะยาว เพื่อให้ การพัฒนาประเทศเป็นไปอย่าง ต่อเนื่องและไม่เกิดการหยุดชะงักจากปัญหาน้​้าท่วมและน้​้าแล้งในอนาคต ทั้งนี้ แผนแม่บทการบริหารจัดการนา ประกอบด้วย 8 แผนงานหลัก และ 2 แผนปฏิบัติการ 6 โดยมีสาระส้าคัญของแผนงานหลัก (รายละเอียด งบประมาณแสดงในตารางที่ 3) ได้แก่ 5

คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้า (กยน.) เป็นคณะกรรมการหนึ่งในสองชุดที่รัฐบาลแต่งตั้งหลังเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ ในประเทศไทย พ.ศ. 2554 มีภารกิจเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้าของประเทศในระยะยาว โดยทางานภายใต้ "ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย ยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้า พ.ศ.2554” โดย กยน. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Strategic Committee for Water Resources Management (SCWRM) 6

แผนปฏิบัติการในแผนแม่บทการบริหารจัดการน้า ได้แก่ 1) แผนปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยระยะเร่งด่วน และ 2) แผนปฏิบัติการบรรเทา อุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้าแบบบูรณาการและยั่งยืน (กรณีลุ่มน้าเจ้าพระยา)

5


ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดแผนแม่บทการบริหารจัดการนา Action Plan of Integrated and Sustainable Flood Mitigation in Chao Phraya River Basin in which

1. 2. 3. 4.

the upper, mid and downstream of the river basin is taken into account. The plan will be implement in 2012 and onwards with total amount of the budget at 9.5 billion USD (from Royal Decree on Investment Loan for Water Resource Management and Future Development) detail as follows; Amount Amount Work Plan 2012 - 2013 million Baht million USD Restoration and Conservation of Forest and 60,000 1,905 Ecosystem Management of Major Water Reservoirs and Formulation of Water Management Restoration and Efficiency Improvement of Current and Planned Physical Structures Information Warehouse, Forecasting and Disaster Warning System

5.

Response to Specific Area

6.

Assigning Water Retention Areas and Recovery Measures

7. 8.

Improving Water Management Institutions Creating Understanding, Acceptance, and Participation in Large Scale Flood Management from all Stakeholders. Total

177,000

5,619

3,000

95

-

-

60,000

1,905

-

-

-

-

300,000

9,524

ที่มา : คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้า (กยน.) รวบรวมโดย สศค. ภาพที่ 4 แสดงสัดส่วนการลงทุนภาครัฐต่อ GDP และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรวม

ที่มา : ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจทีเอ็มบี (TMB Analytics)

ทั้งนี้ การเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ณ ปัจจุบัน มีความเหมาะสม เพราะ ผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกกระทบการส่งออก ดังนั้น การขับเคลื่อนเศรษฐกิจก็ต้องอาศัย เครื่องยนต์อีก 3 ตัวที่เหลือ คือการบริโภคภายในประเทศ และการลงทุนของภาครัฐบาลและเอกชน ขณะที่ในช่วง หลายปีที่ผ่านมาการลงทุนของภาครัฐที่ควรจะเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจหรือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศมี สัดส่วนที่น้อยมาก (โดยในช่วงปี พ .ศ. 2546-2551 การลงทุนภาครัฐมีสัดส่วนเฉลี่ยเพียงร้อยละ 6.8 ของ GDP ลดลงอย่างชัดเจนเมื่อเทีย บกับช่วงก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ที่มีสัดส่วนเฉลี่ยในช่วง พ .ศ. 2536-2540 ที่ ร้อยละ 11.6 ของ GDP และแม้แต่ช่วงหลังวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2541-2545 ที่มีสัดส่วนร้อยละ 8.4 ของ GDP ขณะที่ในปี พ .ศ. 2554 สัดส่วนการลงทุนภาครัฐได้ลดลงไปอีกอยู่ที่ร้อยละ 5.5 ของ GDP) (ภาพที่ 4 ประกอบ) นอกจากนี้ เหตุการณ์อุทกภัยในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ และกระทบต่อเนื่องให้การลงทุนภาครัฐแผ่วลงไป อย่างไรก็ดี ส้าหรับเศรษฐกิจไทยในปี พ .ศ. 2556 ส้านักงาน เศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดการณ์ (ณ กันยายน 2555) ว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีช่วงคาดการณ์การขยายตัวของ GDP ที่ร้อยละ 4.7 – 5.7 โดยมีแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์ภาครัฐ อันมี

6


ปัจจัยสนับสนุนจากการเบิกจ่ายตามแผนบริหารจัดการน้​้าใน ระยะยาวของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้าน บาท7 ที่คาดว่าจะเริ่มทยอยลงทุนได้มากขึ้นในปีงบประมาณ พ .ศ. 2556 นอกจากนี้ ในระยะต่อไป รัฐบาลมีแผน จะเสนอร่างพระราชบัญญัติกู้เงินเพื่อลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของประเทศในระยะปานกลางถึงยาว (5-7 ปี) โดยในแผนดังกล่าวจะบรรจุการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็น รวมถึงโครงการรถไฟความเร็วสูง ทางด่วนมอเตอร์เวย์เพื่อเปิดประตูสู่ทวาย โครงการรถไฟรางคู่ การขยาย สนามบินในต่างจังหวัด การขยายสนามบินสุวรรณภูมิ การขยายท่าเรือแหลมฉบัง ตลอดจนโครงการท้าถน นเลียบ ชายฝั่งหรือโครงการแหลมผักเบี้ย โดยประเมินว่าจะใช้เงินกู้ในประเทศส่วนหนึ่งเพราะสภาพคล่องในประเทศมีสูง ซึ่งอาจมีแนวทางระดมทุนจากประชาชนที่ต้องการเป็นเจ้าของโครงการด้วยการออกพันธบัตรหรืออาจจะเป็นการ ให้เอกชนมาร่วมทุนในโครงการของรัฐ (Public-Private Partnership : PPP) ทั้งนี้ ร่าง พ .ร.บ.กู้เงินฉบับดังกล่าว เป็นการกระจายการกู้เงินออกไปตามความต้องการใช้เงินในโครงการต่างๆ ในแต่ละปี 8 --------------------------------------------------------------------------------------------

7

วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท มีหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักด้วยกัน 2 หน่วยงาน คือ (1) คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้า (กยน.) แบ่งออกเป็น วงเงิน 3.0 แสนล้านบาท ใช้สาหรับลุ่มน้าเจ้าพระยา (ดังแสดงในตารางที่ 3) และ 4.0 หมื่นล้านบาท ใช้กับ 17 ลุ่มน้า แบบบูรณาการและยั่งยืน (ระยะยาว) ในพื้นที่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า (2) คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) วงเงิน 1.0 หมื่นล้านบาท ใช้สาหรับโครงการปรับปรุงน้าท่วม ทั้งนี้ รายละเอียดในการกู้ยืมจานวนเงินดังกล่าว ขั้นตอนอยู่ที่ สศช . (ยังไม่เปิดเผยให้กับ หน่วยงานภายนอก) 8 ภาครัฐมีแผนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานตั้งแต่ปี 2555-2561 เป็นเงินรวม 2,274,359 ล้านบาท โดยเป็นการลงทุนจากรัฐบาล 1,422,822 ล้านบาท (ร้อยละ 62.6) และรัฐวิสาหกิจ 851,537 ล้านบาท (ร้อยละ 37.4) โดยในจานวนนี้เป็นแหล่งเงินทุนจากโครงการที่เป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ เอกชน (Public-Private Partnership: PPP) 310,822 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 ของวงเงินลงทุนรวม (ที่มา : สัมมนาวิชาการ ประจาปี 2555 : 2425 กันยายน 2555 เรื่อง Choosing the Right Financial System for Growth โดยธนาคารแห่งประเทศไทย)

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.