วารสารเกษมบัณฑิตฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

Page 1

วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

เจ้าของ : มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเผยแพร่บทความทางวิชาการ บทความวิจัย การแนะนาตารา และบทวิจารณ์บทความในสาขา การศึกษาและจิตวิทยา สาขานิเทศศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์และการ ปกครอง สาขาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ทั่วไป สาขาศิลปศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์และอื่น ๆ 2.เพื่อเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความคิดเห็น วิทยาการและเทคนิคใหม่ ๆ อันน าไปสู่การพัฒนา ทักษะและศักยภาพในการสร้างผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า การวิจัยและบริการทางวิชาการระหว่าง บุคคลากรของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และมหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภายใน และต่างประเทศ 3.เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการนาเสนอบทความทางด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ สังคม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและมหาวิทยาลัยหรือ หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ บรรณาธิการบริหาร : ศาสตราจารย์ ดร. ผ่องพรรณ รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพล รองศาสตราจารย์ ดร. รัญจวน รองศาสตราจารย์ สถาพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราทัศน์ อาจารย์ ดร. เสนีย์

เกิดพิทักษ์ ขันธไชย คาวชิรพิทักษ์ ดีบุญมี ณ ชุมแพ รัตนมณีฉัตร สุวรรณดี

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

กองบรรณาธิการวารสาร : ศาสตราจารย์ ดร. สุรพงษ์ โสธนะเสถียร ศาสตราจารย์ ดร. ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี Associate Professor Samuel M. Schreyer, Ph.D. รองศาสตราจารย์ ดร.สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต รองศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ปานมณี

รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพล รองศาสตราจารย์ ดร. รัญจวน ศาสตราจารย์ ดร.บดินทร์ รองศาสตราจารย์ สถาพร อาจารย์ ดร. เสนีย์ Lecturer Dr. William R.

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ Fort Hays State University สาขาวิชาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชินทยารังสรรค์ สาขาวิชาพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบัน พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อิงคะวัต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง เดชหาญ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ขันธไชย สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต คาวชิรพิทักษ์ สาขาวิชานวัตกรรมการศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รัศมีเทศ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดีบุญมี ณ ชุมแพ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สุวรรณดี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต James สาขามนุษยศาสตร์และศิลปศาสตร์

ประจากองบรรณาธิการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราทัศน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุชมณฑ์ อาจารย์ ดร. สุชีพ อาจารย์ ดร. พนิดา อาจารย์ ดร. วรรณนภา นางสาวทิพนาถ

ขันธไชย รัตนมณีฉัตร โถสุวรรณจินดา เจมส์ พิริยสมิทธิ์ ชินสุวพลา วามานนท์ ชารีรักษ์

รองศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยชนะ รองศาสตราจารย์ ดร.กอบชัย

หัวหน้าบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ประจากองบรรณาธิการ


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

คณะกรรมการกลั่นกรองบทความ (Peer Review) สาขาวิชาการศึกษาและจิตวิทยา ศาสตราจารย์ ดร.จรรจา สุวรรณทัต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย์ ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ศรียา นิยมธรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ดร.สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.รัญจวน คาวชิรพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล หวังพาณิชย์ นักวิชาการอิสระ รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา วิหคโต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร แหยมแสง มหาวิทยาลัยรามคาแหง รองศาสตราจารย์ ดร.สมถวิล วิจิตรวรรณา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ ณ ระนอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑิรา จารุเพ็ง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกล วรเจริญศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์ ดร.นาชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สกลธ์ ภู่งามดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม รองศาสตราจารย์ รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ บรรจง โกศัลวัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภรณ์ ศรีดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวัติ เลิศจันทรางกูร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ เดชะชีพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาวิขาบริหารธุรกิจ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุธรรม เลิศพงษ์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ศาสตราจารย์ ธนสรรค์ แขวงโสภา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ปานมณี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.บดินทร์ รัศมีเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ บัญญัติ จุลนาพันธุ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย์ ทองฟู ศิริวงษ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อิงอร ตั้นพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัณณ์ชิตา ไวทยวงศ์สกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต อาจารย์ ดร. สุทธิกร กิ่งแก้ว มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ ดร. เกศสิรี ปั้นธุระ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา อาจารย์ ดร.รุ่งอรุณ กระแสสินธุ์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล ขันธไชย รองศาสตราจารย์ ดร.ดารารัตน์ อานันทนะสุวงศ์ รองศาสตราจารย์ กาญจนา ธรรมาวาท รองศาสตราจารย์ จรินทร์ เจริญศรีวัฒนกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราทัศน์ รัตนมณีฉัตร อาจารย์ ดร.เสนีย์ สุวรรณดี สาขาวิชารัฐศาสตร์และการปกครอง ศาสตราจารย์ ดร.ติน ปรัชญพฤทธิ์ ศาสตราจารย์ ดร. ทินพันธุ์ นาคะตะ ศาสตราจารย์ ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยชนะ อิงคะวัต รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย เลาหวิเชียร รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ ปรียากร รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณี แสงมหาชัย สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญมาก ศิริเนาวกุล รองศาสตราจารย์ ดารงค์ ทวีแสงสกุลไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัตถกร กลั่นความดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชัย หิรัญวโรดม อาจารย์ ดร.กฤชชัย วิถีพานิช สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นรัชฎ์ กาญจนัษฐิติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาดิศร์ อิดรีส รักษมณี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสตราจารย์ ดร.สุดา เกียรติกาจรวงศ์ รองศาสตราจารย์ ดร.กอบชัย เดชหาญ อาจารย์ ดร.จารุวรรณ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ทั่วไป ศาสตราจารย์ ดร.บุญทัน รองศาสตราจารย์ ดร.จุมพล รองศาสตราจารย์ ดร.ลลิตา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉนวน อาจารย์ ดร.รัชยา อาจารย์ ดร.พนิดา

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยนานาชาติสแตมฟอร์ด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

เกษมทรัพย์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ดอกไธสง หนิมพานิช ฤกษ์สาราญ เอื้อการณ์ ภักดีจิตต์ ชื่นชม

มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยนานาชาติสแตมฟอร์ด มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

สาขาวิชาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.สมทรง รองศาสตราจารย์ อรทัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธาสินี สาขาวิชานิติศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ รองศาสตราจารย์ ดร.ภูมิ รองศาสตราจารย์ ดร.ยศศักดิ์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกพร อาจารย์ ดร.เจษฎา อาจารย์ ดร.งามนิตย์ อาจารย์ ดร.จินดามาศ อาจารย์ ดร.กุลธิดา

บุรุษพัฒน์ ศรีสันติสุข ปิยสุนทรา

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศรีธรรมรักษ์ เครืองาม โชคเหมาะ โกไศยกานนท์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ทาเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีประทุม

นทีธนสมบัติ อังกาบสี รัตนานุกูล โกศลชื่นวิจิตร พานิชกุล

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สมาคมเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ (ไทย) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

กาหนดการเผยแพร่ วารสารเกษมบัณฑิต (KASEM BUNDIT JOURNAL) กาหนดออกเผยแพร่ราย 6 เดือน ปีละ 2 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน กาหนดเผยแพร่ กรกฎาคม ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม กาหนดเผยแพร่ มกราคม การจัดพิมพ์ จัดพิมพ์ฉบับละ 500 เล่ม การเผยแพร่ฉบับ on-line http://www.google.co.th และ (keywords), Kasem Bundit Journal การส่งต้นฉบับ On-line: www.tci-thaijo.org/index.php/jkbu E-mail: journal@kbu.ac.th ประสานงานการผลิต : สานักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ศูนย์ออกแบบและสื่อสิ่งพิมพ์

คาชี้แจง

ทัศนคติ ความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารเกษมบัณฑิตฉบับนี้เป็นของ ผู้เขียน โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตและบรรณาธิการ ไม่จาเป็นต้อง มีความเห็นพ้องด้วย

จัดพิมพ์โดย :

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-3202777 โทรสาร. 02-321-4444 ISSN 1513-5667


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

บทบรรณาธิการ

วารสารเกษมบั ณ ฑิ ต ฉบั บ พิ เ ศษ ตี พิม พ์ บ ทความจากผู้ เ ข้ า อบรมโครงการฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิบัติการ “การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ” จัดโดยเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทาง มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งมีสมาชิก 10 สถาบัน ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิ ท ยาลั ย เกริ ก มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ นครปฐม มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มหาวิ ท ยาลั ย รามค าแหง (สงขลา) มหาวิ ท ยาลั ย รา ชภั ฎ ร าไพพรรณี มหาวิทยาลัยศรีปทุ ม สมาคมปรัชญาดุ ษฎีบัณฑิต ทางสังคมศาสตร์ม หาวิทยาลั ยรามคาแหง และ สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 9 และ 16 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง เพื่อพัฒนาขีดความสามารถนักวิชาการไทยในการเขียน บทความทางวิชาการ (academic articles) และ บทความวิจัย (research articles) ตาม เจตนารมณ์ และรูปแบบของศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย (TCI) บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณา โดยผู้ทรงคุณวุฒิและปรับแก้โดยผู้เขียนเพื่อให้อยู่ในมาตรฐานทางวิชาการตามระเบียบของศูนย์ดัชนี การอ้างอิงวารสารไทย รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพล ขันธไชย บรรณาธิการ


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

บทความวิจัย

การเรียนรู้โดยจัดกิจกรรมโครงงานและทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย :กรณีศึกษาโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ Project–Based Learning and Life Skills of High School Students: A Case Study of a Welfare Education School ณศศิอุษา บุษบกแก้ว อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล นนทสรวง กลีบผึ้ง และดลพัฒน์ ยศธร .......... 1-14 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่ม เพื่อนและครอบครัวของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขต อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร The Association between Behavior and Motivation of Social Networks Usage and the Relationship with Friends and Families among High School Students in Muang District, Samutsakhon จิราภรณ์ สาเภาทอง สาวิตรี ทยานศิลป์ และอธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล .................................... 15-28 คุณภาพชีวิตการทางานกับความผูกพันต่อองค์การ ของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 Work Life Quality and Organizational Commitment of Personnel in the 3rd Infantry Regiment จิตติ กิตติเลิศไพศาล ชาคริต ชาญชิตปรีชา โสภัชย์ วรวิวฒ ั น์ และศิวดล ยาคล้าย .................... 29-40 พฤติกรรมปัญหา สมรรถภาพทางกายภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนวิชาพลศึกษา Problematic Behaviour, Physical Capability and Academic Achievement among Physical Education Students กฤติณภัทร สุขเจริญ ดลพัฒน์ ยศธร และอธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล ................................... 41-56 การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการออมระหว่างบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และพนักงานบริษัทเอกชนในเขตจังหวัดปทุมธานี A Comparative Study of Saving Patterns between Personnel of Rajamungala University of Technology Thanyaburi and Employees of Private Companies in Phatumthani Province จุฑาทิพย์ สองเมือง อภิรดา สุทธิสานนท์ สุภาพร คูพิมาย และสุภิญญา อนุกานนท์................... 57-70 ความสุขของแรงงานไทยและพม่า: กรณีศึกษาในโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูป The Happiness of Thai and Myanmar Workers: A Case Study in a Garment Factory อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล .................................................................... 71-88


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

ตั ว แปรทางจิ ต และสถานการณ์ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ สมรรถนะวิ จั ย ของบุ ค ลากรสายวิ ช าการใน สถาบันอุดมศึกษาไทย Psychological and Situational Variables Influencing Research Competency of Academic Staff at Higher Education Institutes in Thailand ปิยวรรณ บุญเพ็ญ ยุทธนา ไชยจูกุล และดุษฎี โยเหลา ...................................................... 89-105 การวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุน ความสามารถการทากาไร และจุดคุ้มทุนระหว่างการผลิ ตผักปลอด สารพิษกับการผลิตผักโดยใช้สารเคมี : กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี A Comparative Analysis of Cost Structure, Profitability, and Break-Event Point between Pesticide-Free and Pesticide Vegetable Production: A Case Study of Pathumthani Province จิระพันธ์ ชูจันทร์ เฮียง บัวไหล จุฑาทิพย์ สองเมือง .........................................................106-117 มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรม Legal Measures to Prevent and Control Air Pollution Emitted from Industrial Factories พวงผกา บุญโสภาคย์ ประสาน บุญโสภาคย์ และณปภัช นธกิจไพศาล...................................118-129 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม Management of Community Enterprises, Ampawa District, Samutsongkhram Province สมชาย น้อยฉ่า วรินทร์ธร ธรสารสมบัติ และสุภา แสงจินดาวงษ์..........................................130-139 แนวทางการจัดการการตลาดสาหรับร้านค้าปลีกขนาดเล็ก: กรณีศึกษาอาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ Marketing Management Approaches for Small Retailers: A Case Study of Mueang District, Samut Prakan Province วรรณา ทองเย็น......................................................................................................................140-149 การเติบโตด้านในของเยาวชนผ่านการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย: การวิจัยแนวปรากฏการณ์วิทยา The Inner Growth of Youths through Hospice Care: A Phenomenological Research สุปรียส์ กาญจนพิศศาล จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร และสมสิทธิ์ อัสดรนิธี ....................................150-160


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

การศึกษาเปรียบเทียบนโยบายและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ระหว่างประเทศไทยและ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว A Comparative Study of Creative Tourism Policy and Model between Thailand and Lao People's Democratic Republic ปิยะนุช เงินคล้าย ...................................................................................................................161-174 การประเมินผลโครงการเฉลิมพระเกียรติ น้อมราลึก ถึงพระมหากรุณาธิคุณ 62 ปี บรมราชาภิเษก ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช An Evaluation of the Commemorative Ceremony Project on the 62nd Anniversary of King Bhumibol Adulyadej’s Coronation Day มัลลิกา ธรรมจริยาวัฒน์ .........................................................................................................175-184

บทความวิชาการ

โอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศไทยในยุคแห่งนวัตกรรม Life Science Business Opportunities for Thailand Development in Innovation Era รุจิกาญจน์ สานนท์ .................................................................................................................185-196 กระบวนการนโยบายสาธารณะในประเทศไทย Public Policy Process in Thailand: Problems and Solutions วรรณนภา วามานนท์ .............................................................................................................197-207 เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับไทยแลนด์ 4.0 Creative Economy and Thailand 4.0 จุฑามาศ ศรีรัตนา.................................................................................................................... 208-217 บทบาทของปราชญ์ชาวบ้านในการจัดการตนเองของชุมชน The Role of Local Wisdom Scholars in Community Self- Management อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ สุวรรณา เขียวภักดี พร พระปลัดสุระ ญาณธโร กันตพัฒน์ พรสิริวัฒนสิน และปกรณ์ ปรียากร.................................................................................................................218-228 การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ Community Participation in Tackling Haze Problem in Chiangmai Province ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์ .....................................................................................................229-241


วารสารเกษมบัณฑิต

ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

บทวิจารณ์หนังสือ Shafritz, Jay M. (2004) The Dictionary of Public Policy and Administration. Washington, D.C.: Westview Press, pp.483.

พนิดา ชินสุวพลา ...................................................................................................................242-243


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

1

การเรียนรู้โดยจัดกิจกรรมโครงงานและทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

ณศศิอุษา บุษบกแก้ว1 อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล2 นนทสรวง กลีบผึ้ง3 ดลพัฒน์ ยศธร4

บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบกิจกรรมโครงงาน เป็นวิธีการหนึ่งที่ จะช่วยพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้าน ความรู้และทักษะชีวิต การวิจัยนี้เป็นแบบผสานวิธี มีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษา กิจกรรมโครงงานและทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย แบบเจาะจง จานวน 25 คน โดยใช้แบบวัด ทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิตของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งชายและนักเรียนหญิงไม่แตกต่างกัน ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะ ชีวิตของนักเรียนทั้งสามระดับชั้นไม่แตกต่างกัน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิตของนักเรียน สูงทั้ง 4 ด้าน สรุปได้ว่า กิจกรรมโครงงานช่วยพัฒนาทักษะชีวิตด้านการคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ ส่วนปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดทักษะชีวิต คือ สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน คาสาคัญ: กิจกรรมโครงงาน ทักษะชีวิต โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

1

นักศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการมนุษย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 4641 โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 e-mail: fresh_sirikorn@hotmail.com 2 ผู้รับผิดชอบบทความ: รองผูอ้ านวยการ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: athiwat_1@yahoo.com 3 อาจารย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: nonthasruang.kle@mahidol.ac.th 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ที่อยู่ 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: dalapat@hotmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Project–Based Learning and Life Skills of High School Students: A Case

Study of a Welfare Education School

Nasasiusa Bussabokkaew1 Athiwat Jiawiwatkul2 Nonthasruang Kleebpung3 Dalapat Yossatorn 4

Abstract Learning management in project-based learning is one of the methods which helps learners develop knowledge and life skills. Qualitative and quantitative researches were designed to study project-based learning outcomes and life skills of high school students in a welfare education school. For quantitative approach, 25 high school students were selected using purposive sampling, and were given life skills test for high school students which consisted of four parts: self-awareness and value development, analytic thinking, decision making and creative problem solving, stress and emotion management, and relationship development. Results showed that: there were no significant differences between mean scores of life skills for both males and females high school students, mean scores of life skills test of all grades among high school students were not significantly different, and mean scores of life skills in four parts of the test were high. In conclusion, project - based learning was able to develop life skills in terms of analytic thinking, decision making, and creative problem solving. The relationship between instructors and student saffected life skills. Keywords: Project-Based Learning Outcomes, life Skills, Welfare Education School

1

Student of the Master of Science in Human Development, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 4641 Piboon Prachasan School Dindaeng District, Bangkok, 10400. e-mail: fresh_sirikorn@hotmail.com 2 Corresponding Author: Deputy Director of National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand. e-mail: athiwat_1@yahoo.com 3 Lecturer, of National Institute for Child and Family Deveopment, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand. e-mail: Nonthasruang.Kle@Mahidol.ac.th 4 Assistant Professor, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand. e-mail: dalapat@hotmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

ทั ก ษะชี วิ ต เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคั ญ ในการ พัฒนาเด็กวัยรุ่น โดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาสให้เป็น บุคคลที่มีคุณภาพ จะได้รู้จักนาทักษะชีวิตไปใช้ใน การจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และช่วยพัฒนา ระดับวุฒิภาวะทางจิตใจให้สามารถปรับตัวให้อยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข แต่จากการศึกษาปัญหา การดูแลเด็กด้อยโอกาสในหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนในประเทศไทย พบว่า เด็กด้อยโอกาส มี ปัญหาพัฒนาการ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สั ง คม พฤติ ก รรม และขาดทั ก ษะจ าเป็ น ในการ ดาเนินชีวิต (มูลนิธิคุณภาพการเรียนรู้, 2557) ซึ่ง แนวทางหนึ่ง ที่อาจจะช่วยพัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ เด็กตั้งแต่วัยเรียนได้นั้น สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน กาหนดให้จัดกระบวนการ เรียนการสอน ด้วยการบูรณาการ และสอดแทรก สาระสาคัญที่เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว ผ่านการ จั ด กิ จ กรรมโครงงานให้ แ ก่ ผู้ เ รี ย น (ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554) อนึ่ง กิจกรรมโครงงานเป็นการจัดการเรียน การสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ อภิปราย แสดงความรู้สึก นึกคิด ค้นคว้า และปฏิบัติอย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่ง หลังสิ้นสุดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมโครงงานแล้ว จะ ท าให้ ผู้ เ รี ย นได้ มี โ อกาสเปิ ด เผยตั ว เองผ่ า นการ สะท้ อ นความรู้ สึ ก หรื อ มุ ม มองของตนเอง ได้ คิ ด เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับประสบการณ์ และประยุกต์ ความรู้นั้นไปใช้ในชีวิตได้ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสาคัญ แก่ ก ารพั ฒ นาเด็ ก วั ย เรี ย น ทั้ ง ด้ า นความคิ ด สติ ปั ญ ญา จิ ต ใจอารมณ์ และสั ม พั น ธภาพทาง สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาเด็กด้อยโอกาส ให้ได้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ สามารถจัดการแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ทาให้ปรับตัวให้อยู่ในสังคม และดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

3 ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา ผลการจัดกิจกรรมโครงงานและทักษะชีวิตของเด็ก มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายของโ รงเรี ย นศึ ก ษา สงเคราะห์แห่งหนึ่ง ช่วงอายุ 16-18 ปี ตามกรอบ แนวคิดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ซึ่งประกอบด้ว ย (1) การตระหนักรู้และ เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น (2) การคิดวิเคราะห์ ตัดสิ นใจและแก้ปัญหาอย่ างสร้างสรรค์ (3) การ จัดการกับอารมณ์และความเครียด และ (4) การ สร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี กั บ ผู้ อื่ น ( ส า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554) อันจะ เป็นประโยชน์ต่อผู้ เรียน ครู และสถานศึกษา ซึ่ง อาจช่ ว ยให้ ค้ น พบ แนวทางในการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการ และพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ของเด็ ก ในวั ย ดั ง กล่ า ว ให้ ส ามารถเตรี ย มพร้ อ มส าหรั บ การ ปรับตัว การดาเนินชีวิตในสังคม รวมทั้ง สามารถ เผชิ ญ กั บ สถานการณ์ ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษา ตอนปลายของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่ง 2. เพื่ อ ศึ ก ษาผลการเรี ย นรู้ ผ่ า นกิ จ กรรม โครงงานที่มีต่อทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอน ปลาย ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่ง แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัยรุ่นในช่ว งอายุ 10-19 ปี เป็นวัยที่อยู่ใน ระยะวิกฤต ที่มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ที่ สาคัญ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม ซึ่งมี ความส าคั ญ ต่ อ การเตรี ย มพร้ อ มเข้ า สู่ วั ย ผู้ ใ หญ่ (สุวรรณจูฑะ, 2547) โดยเฉพาะข่วงวัยที่เรียนใน ระดับมัธยมศึกษานั้น จากการศึกษาปัญหาของเด็ก ระดั บมั ธ ยมศึก ษา พบว่า เด็ กระดับ มัธ ยมศึ กษา


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ขาดทักษะชีวิต ซึ่งเห็นได้จากกรณีท้ องก่อนวัยอัน ควร ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาเด็ก ติดเกม ปั ญหา วัยรุ่นทะเลาะวิวาท ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาการ พัฒ นาตนเอง และปั ญ หาครอบครัว (ค าเกลี้ ย ง, 2554) ตลอดจนปั ญ หาความสั ม พั น ธ์ กั บ พ่ อ แม่ ปั ญ หาบุ ค ลิ ก ภาพ ความประพฤติ ผิ ด ปกติ รวมทั้งปัญหาการฆ่า ตัวตาย ดังนั้นความสามารถ ของบุคคลที่จะจัดการกับปัญหาต่าง ๆ รอบตัวใน สภาพสังคมปัจจุบัน และเตรีย มพร้อมส าหรับการ ปรับตัวในอนาคต เรียกว่า ทักษะชีวิต (ศูนย์เฉพาะ กิจเสริมสร้างทักษะชีวิตนักเรียน, 2558) จึงเป็นสิ่ง ที่ ส าคั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง นอกจากพฤติ ก รรมที่ แสดงออกถึ ง ความสามารถของบุ ค คลที่ จ ะคิ ด ตัดสิ น ใจแก้ปั ญหาต่าง ๆ ในการดาเนิ น ชีวิต แล้ ว ทักษะชีวิต ก็ ป ระกอบด้ว ย ทักษะทางด้านสั งคม ทักษะด้านการคิด และทักษะด้านการเผชิญทาง อารมณ์ เพื่อให้ตนเองสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุ ข และประสบความส าเร็ จ (เกลี ย วทอง, 2556) ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของพัฒนาการมนุษย์ทุก ช่วงวัย อนึ่ ง หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ซึ่งประเด็นการ พัฒนาทักษะชีวิตให้แก่เด็กระดับมัธยมศึกษา โดย วิธีการสอนแบบโครงงานนั้ น แคทซ์ และ ชาร์ด (Katz and Chard, 2000) อธิบายว่า เป็นวิธีการที่ ต้องการพัฒนาเด็กทั้งชีวิตและจิตใจ โดยหลักการ ที่ส าคัญ ประการหนึ่ ง คือ มีเป้ าหมายเพื่ อพัฒ นา สติ ปั ญ ญาและจิ ต ใจของเด็ ก มุ่ ง ให้ เ ด็ ก พั ฒ นา ความรู้โดยจัดการเรียนรู้ให้เด็กเกิดความเข้าใจสิ่งที่ อยู่ ร อบตั ว และปลู ก ฝั ง คุ ณ ลั ก ษณะการอยากรู้ อยากเรียนให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก นอกจากนั้น การ เรียนรู้แบบกิจกรรมโครงงาน เป็นการจัดการเรียน ที่สอดคล้องกับแนวคิดของ John Dewey เรื่อง

“learning by doing” คือ การเรียนรู้ที่เกิดจาก การผู้เรียนลงมือทางานต่างๆ ด้วยตนเอง เพื่อสร้าง ผลผลิตหรือผลงานขึ้นมา โดยผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ วิธีการคิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการคิดแก้ปัญหา จะต้องเรียนรู้เพื่อเตรียมตัวสาหรับการดารงชีวิตใน สังคมให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเรียนรู้ในการ ให้ความร่วมมือกับผู้อื่น รวมทั้งข้อดีของการเรียนรู้ โดยผ่านกิจกรรมโครงงาน ได้แก่ (1) ทาให้ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริง (2) ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และการทางานอย่างเป็นระบบ (3) ช่วยให้ผู้เรียนมี ประสบการณ์ในการทางานร่วมกับผู้อื่น และ (4) ผู้เรียนรู้จักการแก้ปัญหา การเรียนการสอนผ่ าน กิจกรรมโครงงาน จึงสามารถนามาใช้ในการพัฒนา ทั้ ง ทั ก ษะชี วิ ต และพั ฒ นาการของเด็ ก ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและตรงประเด็น นิยามศัพท์เฉพาะ วัยรุ่น หมายถึง บุคคลที่อายุระหว่าง 11-19 ปี ซึ่ ง วั ย รุ่ น ในงานวิ จั ย นี้ หมายถึ ง นั ก เรี ย น มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่ง ปีการศึกษา 2559 เด็ก ด้อยโอกาส หมายถึ ง เด็ก ที่ประสบ ปัญหาทั้งด้านสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่มีสภาพ ที่ด้อยกว่าเด็กทั่วไป ไม่ได้รับการพัฒนาตามความ ต้องการพื้นฐาน และบริการสาหรับเด็ก เด็กด้อย โอกาสในการศึ กษานี้ เป็ น เด็ กที่ อ ยู่ ใ นโรงเรี ย น ศึ ก ษาสงเคราะห์ ซึ่ ง มี ค วามด้ อ ยโอกาสตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด โดยส่ ว นใหญ่เป็ น เด็กยากจน และเป็นเด็กกาพร้า กิ จ กรรมโครงงาน หมายถึ ง งานวิ จั ย ชิ้ น เล็ก ๆ ที่ผู้เรียนต้องศึกษาในแนวลึกถึงสิ่งที่อยากรู้ หรื อ สงสั ย ในเรื่ อ งนั้ น ๆ โดยศึ ก ษาค้ น คว้ า หา ค าตอบด้ ว ยตนเอง มี ก ารก าหนดรู ป แบบการ ทางาน มีการวิ เคราะห์ และวางแผนการทางาน


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

อย่างเป็นระบบ แล้วลงมือปฏิบัติด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย มีการสังเกตและบันทึกผลการ ปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน มีการคาดการณ์ถึงผลที่ จะเกิดขึ้น ได้ออกมาเป็นชิ้นงาน/ผลงานที่ตรงตาม เจตนารมณ์ของหลักสูตร แล้วนาเสนอต่อเพื่อน ๆ และผู้ อื่ น ภายใต้ การดูแ ลชี้ แ นะของผู้ ส อนหรื อ ผู้ เ ชี่ ย วชาญในเรื่ อ งนั้ น ๆ อย่ า งใกล้ ชิ ด ตลอด ขั้นตอนการทาโครงงาน ทั ก ษะชี วิ ต หมายถึ ง ความสามารถของ บุ คคลในการปรั บ ตัว ให้ เข้ ากับ สภาพแวดล้ อมได้ อย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพในขณะที่เผชิญสถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน โดยนาความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ที่มี ม าเชื่ อมโยง คิด วิ เคราะห์ คิ ดไตร่ ต รองหา เหตุผลและตัดสินใจปฏิบัติในสิ่งที่เหมาะสม การตระหนั ก รู้ แ ละเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเอง และผู้อื่น หมายถึง การรู้จุดเด่นจุดด้อยของตนเอง รู้ ค วามถนั ด และความสามารถของตนเอง เข้ า ใจความแตกต่ า งของแต่ ล ะบุ ค คล รู้ จั ก ตนเอง ยอมรั บ เห็น คุณค่าและภาคภูมิใจในตนเองและ ผู้อื่น มีเป้าหมายในชีวิต และมีความรับผิดชอบ ต่อสั ง คม ซึ่ งในงานวิ จั ย นี้ นั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ งของ พัฒนาการด้านจิตใจ การคิด วิเคราะห์ ตั ด สิน ใจและแก้ปัญหา อย่ า งสร้ า งสรรค์ หมายถึ ง การแยกแยะข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ปั ญ ห า แ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ ร อ บ ตั ว วิพากษ์วิจารณ์และประเมินสถานการณ์ด้วยหลัก เหตุผ ลและข้อมูล ที่ ถูกต้อ ง รั บ รู้ ปั ญหา สาเหตุ ของปั ญ หา หาทางเลื อ ก และตั ด สิ น ใจในการ แก้ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่ างสร้ างสรรค์ ซึ่งงานวิจัยนี้ นับเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการด้าน ความคิด ปัญญา การจั ด การกั บ อารมณ์ แ ละความเครี ย ด หมายถึง ความเข้าใจ และรู้ เท่าทันภาวะอารมณ์ ของบุคคล รู้สาเหตุของความเครียด รู้วิธีควบคุม

5 อารมณ์ แ ละความเครี ย ด รู้ วิ ธี ผ่ อ นคลายจาก ความเครียดหลีกเลี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ ก่อให้เกิดอารมณ์ไม่พึงประสงค์ไปในทางที่ดี ซึ่งใน งานวิจั ย นี้ นั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ งของพั ฒ นาการด้า น จิตใจและอารมณ์ ก า ร ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี กั บ ผู้ อื่ น หมายถึง การเข้าใจมุมมอง อารมณ์ ความรู้สึก ของผู้ อื่น ใช้ภ าษาพูดและภาษากายเพื่อสื่ อสาร ความรู้สึกนึกคิดของตนเอง รับรู้ความรู้สึก นึกคิด และความต้ อ งการของผู้ อื่ น วางตั ว ได้ ถู ก ต้ อ ง เหมาะสมในสถานการณ์ต่ า ง ๆ ใช้ ก ารสื่ อสารที่ สร้างสัมพันธภาพที่ดี สร้างความร่วมมือและทางาน ร่ ว มกับ ผู้ อื่น ได้ อย่ างมี ความสุ ข ซึ่ งในงานวิ จั ย นี้ นับเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการด้านสังคม วิธีการดาเนินการวิจัย การวิ จั ย นี้ เป็ น การวิ จั ย แบบผสานวิ ธี (Mixed - method Research) ด้วยวิธีการวิจัย ทั้ง เชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพในการดาเนิ นการ เพื่อหาคาตอบของการวิจัยครั้งนี้ในช่วงระยะเวลา เดี ย วกัน และให้ น้ าหนั กความส าคัญ เท่ า ๆ กั น ซึ่งข้อมูลที่ได้ทั้งหมด ผู้วิจัยจะนามาเปรียบเทียบ สรุปตีความอธิบายร่วมกัน โดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณด้านทักษะชีวิต และสัมภาษณ์เ ชิงลึ ก แบบมีโครงสร้าง ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจาก ครู ผู้ ส อนและผู้ บ ริ ห าร เพื่ อ ศึ ก ษาผลการจั ด กิ จ กรรมโครงงานต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการพิทักษ์ สิทธิ์ของกลุ่ มตัวอย่าง การวิจั ยเรื่องนี้ ได้หนั งสื อ รับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการและเกณฑ์คัดเลือก ดังนี้ 1. นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลาย (ม.4–6) ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่ง หนึ่ ง ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2559 โดย คัดเลือกแบบเจาะจง เพราะมีนักเรียนจานวนเพียง 25 คน และทุกคนได้รับการเรียนการสอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่มีการจัดกิจกรรมโครงงาน 2. กลุ่มครูผู้สอนนักเรีย นชั้นมัธ ยมศึกษา ตอนปลาย (ม.4–6) ก าหนดเกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ ก ดังนี้ 1) เลือกแบบเจาะจงเฉพาะครูผู้สอนกลุ่ม สาระการเรี ย นรู้ สุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ที่ มี ก าร จัดการเรี ยนการสอนแบบกิจกรรมโครงงานและ เนื้อหาการเรียนเกี่ยวกับทักษะชีวิต จานวน 1 คน 2) เลื อกแบบทั้งหมด ได้แก่ ครูที่เป็น ที่ ปรึกษาของนักเรียนดังกล่าว ทั้งหมด รวม 6 คน 3) กลุ่มผู้ บริ หารโรงเรีย น กาหนดเกณฑ์ การคัดเลือกไว้ว่า ต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ด้าน การบริหาร ณ โรงเรียนแห่งนี้ไม่น้อยกว่า 1 ปี ได้ รองผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1.แบบประเมิ น การท าโครงงานส าหรั บ ผู้ ส อนของ ส านั ก งานเลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา กระทรวงศึกษาธิการ (2550) 2. แบบประเมินผลงานผู้เรียนของสานักงาน เลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา กระทรวงศึก ษาธิ ก าร (2550)

3. เครื่องมือวัดทักษะชีวิตสาหรับนักเรียน มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย พั ฒ นาโดย กล่ อ มแก้ ว (2555) ซึ่งกาหนดทักษะชีวิตของผู้เรียนไว้ 4 ด้าน ได้แก่ (1) การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง และผู้ อื่ น (2) การคิ ด วิ เ คราะห์ ตั ด สิ น ใจและ แก้ ปั ญ หาอย่ า งสร้ า งสรรค์ (3) การจั ด การกั บ อารมณ์ แ ละความเครี ย ด และ (4) การสร้ า ง สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิง พรรณนา ได้ แ ก่ ร้ อ ยละ ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวน (ANOVA) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิ ง คุ ณ ภาพ ใช้ ก ารวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา (Content Analysis) ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่าง จานวน 25 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 48.00 และเพศหญิง ร้อยละ 52.00 ซึ่ง ส่วนใหญ่กาลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คิด เป็นร้อยละ 60.00 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง เ ด็ ก มัธยมศึกษาตอนปลาย จาแนกตามเพศ คะแนนทั ก ษะชี วิ ต ของนั ก เรี ย นชาย และ หญิ ง ไม่ แ ตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ 0.05 (ตารางที่ 1)


7

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิตนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จาแนกตามเพศ เพศ Mean S.D. t p-value ชาย 161.83 22.91 -2.004 0.061 หญิง 177.08 13.57 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง เ ด็ ก มัธยมศึกษาตอนปลาย จาแนกตามระดับชั้น

คะแนนทักษะชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย ทั้งสามระดับชั้น ไม่แตกต่างกัน อย่าง มี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.05 (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาพรวม จาแนกตามระดับชั้น ระดับชั้น Mean S.D. F p-value ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 166.47 23.67 0.988 0.388 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 170.71 11.44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 184.00 3.46 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง เ ด็ ก มัธยมศึกษาตอนปลาย จาแนกเป็นรายด้าน กลุ่มตัวอย่างมีทักษะชีวิตสูงทั้ง 4 ด้าน โดย ด้ า นที่ มี ค่ า เฉลี่ ย คะแนนทั ก ษะชี วิ ต สู ง ที่ สุ ด คื อ

ด้านการสร้างสั มพั นธภาพที่ดี กับผู้ อื่น รองลงมา คือ ด้า นการจัด การกั บ อารมณ์ แ ละความเครี ย ด และ ด้านการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง และผู้อื่น ตามลาดับ (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย จาแนกเป็นรายด้าน ผลการประเมินทักษะชีวิต Mean ด้านที่ 1 การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น 46.16 ด้านที่ 2 การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 79.68 ด้านที่ 3 การจัดการกับอารมณ์และความเครียด 25.52 ด้านที่ 4 การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น 18.40

S.D. 6.32 8.78 4.09 1.82


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ผลการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมโครงงานที่มี ต่อทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย จากการสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก ผู้ บ ริ ห าร สถานศึก ษาและครู ที่เกี่ย วข้อง พบว่า กลุ่ มผู้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ ส่ ว นใหญ่ มี ค วามเห็ น ว่ า เด็ ก มี ค วาม จาเป็นต้องพัฒนาทักษะชีวิตในด้านการตระหนักรู้ และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นเป็นอันดับหนึ่ง และยั ง มี ส่ ว นน้ อ ยที่ คิ ด ว่ า เด็ ก จ าเป็ น ต้ อ งพั ฒ นา ทักษะชีวิตในด้านการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นตรงกันว่า ควรพัฒนา ทักษะชีวิตให้แก่เด็กเพิ่มขึ้นในด้านการคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วย ส่วน ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ทั ก ษะชี วิ ต แก่ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายของโ รงเรี ย นศึ ก ษา สงเคราะห์แห่งนี้ พบว่า สัมพันธภาพระหว่างครู กับนักเรียนเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดทักษะชีวิตแก่ นักเรียน ซึ่งสัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียนนั้น สามารถเกิดขึ้นได้หลากหลายรูปแบบ สาหรับการ สร้ า งสั ม พั น ธภาพของที่ ค รู ที่ ใ ช้ กั บ นั ก เรี ย นใน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งนี้นั้นถูกส่งผ่านวิธีการ ที่หลากหลาย เช่น การสอน การดูแล การกระทา เพื่อเป็นแบบอย่าง การหาแบบอย่ างที่ดีเพื่อเป็ น ตัวอย่าง ให้ความรักความเมตตา อบรม สั่งสอน แนะนา ให้ความสนใจ ให้ความสาคัญกับเด็ก และ การสร้างสัมพันธภาพผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ประเด็ น แนวทางในการพัฒนาทักษะ ชีวิตให้แก่เด็ก ครูใช้แนวทาง กระบวนการ วิธีการสอน ที่หลากหลาย และมีกลุ่มตัวอย่างเพียง 2 คน ที่ใช้ หลักการสอนเหมือนกัน คือ ใช้หลักการวิเคราะห์ หาจุ ด แข็ ง จุ ด อ่ อ น ปั ญ หาอุ ป สรรค แต่ ผ่ า น กิจกรรมต่างกันออกไป นอกจากนั้น การจัดการ เรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น ส าคั ญ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 ที่ใช้อยู่ใน

ปั จ จุ บั น ก็ คื อ การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบกิ จ กรรม โครงงานด้วย ซึ่งผลจากการสัมภาษณ์ พบว่า การ เรียนรู้แบบโครงงาน ช่วยพัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ เด็ ก ได้ ในด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ ตั ด สิ น ใจ และ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และพบว่า การจัดการ เรียนรู้แบบโครงงานของโรงเรียนแห่งนี้ ผู้เรียน มี ความสาคัญในขั้น การคิดหาหัว ข้อเรื่อง หาข้อมูล และลงมื อ ปฏิ บั ติ ส่ ว นผู้ ส อนมี ค วามส าคั ญ เป็ น อย่ า งมากทุ ก ขั้ น ตอน ทั้ ง ในการเป็ น ผู้ แ นะน า สนับสนุน กระตุ้นให้คิด เสนอแนวทาง แต่ผู้เรียน และผู้สอนต้องร่วมกันคิด ร่วมกันแก้ปัญหา คือต้อง ร่วมศึกษาในสิ่งที่ศึกษาไปด้วยกัน อนึ่ง หลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรู้แบบ กิจกรรมโครงงาน พบว่า ผู้เรียนทาโครงงานสาเร็จ จะเกิดความภาคภูมิใจ มีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น รู้ หน้าที่ เกิดการเห็ น คุณค่าในตนเอง เพราะได้รับ การยอมรับจากเพื่อนในกลุ่มที่ทางานร่วมกัน โดย การทางานเป็นกลุ่มจะช่วยส่งเสริมความสามารถ ในด้านที่ถนัด และเกิดทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ รู้ จั ก สั ง เคราะห์ ซึ่ ง เกิ ด จากการระดมสมองเพื่ อ ปรึ ก ษากั น ในการท าโครงงานในแต่ ล ะขั้ น ตอน และกระบวนการทางานเป็น กลุ่ มในขั้นตอนของ การเก็ บ รวมรวมข้ อ มู ล ท าให้ เ กิ ด การสร้ า ง สั ม พั น ธภ าพที่ ดี กั บ ผู้ อื่ น เพื่ อ ขอข้ อ มู ล ขอ ค าแนะน า แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ในการท า โครงงาน อี ก ทั้ ง พบว่ า การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบ กิจกรรมโครงงาน มีมนต์เสน่ห์ ที่ทาให้ ครูผู้ ส อน ทักษะชีวิตเลื อกใช้การจัดการเรี ยนการสอนผ่ าน กิจกรรมโครงงาน โดยผู้สอนมีมุมมอง ความคิด ที่ เ กี่ ย วกั บ ทั ก ษะชี วิ ต ของเด็ ก มั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลายของโรงเรี ย นศึ ก ษาสงเ คราะห์ แ ห่ ง นี้ แตกต่ า งกั น ออกไป โดยที่ ค วามคิ ด ตลอดจน พฤติ ก รรมของเด็ ก แต่ ล ะกลุ่ ม จะถู ก ส่ ง ผ่ า น เรื่องราวของโครงงานที่นักเรียนเลือกศึกษา


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

สรุปและอภิปรายผล 1. ผลการประเมินทักษะชีวิตของเด็ก

มัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการประเมิ น ทั ก ษะชี วิ ต ของเด็ ก มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งมี ทักษะชีวิตสูงทั้ง 4 ด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา ของ ดัดงาม (2555) ที่ศึกษาความสามารถการใช้ ทัก ษะชีวิ ตตามหลั กสู ตรแกนกลางการศึก ษาขั้ น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนก ประถมปีการศึกษา 2554 พบว่า ความสามารถ การใช้ทักษะชีวิตโดยภาพรวมและรายด้า นอยู่ใน ระดับค่อนข้างสูง โดยพบว่า ด้านการตระหนักรู้ และเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเองและผู้ อื่ น มี ค่ า คะแนน เฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 42.49 ประเด็ น การสร้ า งสั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ผู้อื่น มีค่าเฉลี่ยคะแนนสูงเป็นอันดับ 1 สอดคล้อง กับการศึกษาของ พรไตร (2557) ที่ศึกษาเรื่อง ผล การจั ด การเรี ยนรู้ แ บบโครงงานฐานวิ จัย ต่ อการ เปลี่ยนแปลงคุณลักษณะพึงประสงค์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา พบว่า ครู และนั กเรี ย นมีความคิดเห็ นตรงกันว่ า นักเรียนมีพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น อย่างเด่นชัดในเรื่องความสามัคคีและการทางาน เป็ น ที ม และยั ง พบอีก ว่า การเรี ย นรู้ ผ่ า นการท า โครงงานฐานวิจัยทาให้นักเรียนพัฒนาตนเองครบ ทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความรู้ เจตคติ และทักษะกระบวนการ การ เปลี่ยนแปลงด้านทักษะกระบวนการที่เด่นชัดมาก ที่สุด คือ ทักษะการทางานเป็นทีม ซึ่งสอดคล้อง กั บ ผลที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภ าษณ์ เ ชิ ง ลึ ก แบบมี โครงสร้าง ที่พบว่า สัมพันธภาพระหว่างครูกับ นักเรียน เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดทักษะชีวิตกับ นั กเรี ย น ดังค าให้ สั ม ภาษณ์ ของครู ที่ป รึกษาชั้ น

9 มัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ว่า “คิดว่าต้องให้ความสาคัญ กับเด็กก่อน ต้องเข้าไปพยายามสร้างให้เด็กเห็นว่า ครูให้ความสนใจในตัวเด็ก และสังเกตว่าเด็กเป็น อะไร เด็กมีอะไรถึงไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรม คือ เหมือนว่าพอครูสร้างความสัมพันธ์จะทาให้เด็กสื่อ ออกมาให้ครูได้รู้ปัญหาจริง ๆ” ประเด็น ด้านการจัดการกับอารมณ์และ ความเครียด พบว่า มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิต ด้านการจัดการกับอารมณ์และความเครียด สูงเป็น อันดับ 2 ซึ่ง เกตุมาน (2550) อธิบายว่า วัยรุ่นยัง อาจขาดความยั้งคิด มีความหุนหันพลันแล่น ขาด การไตร่ตรองให้รอบคอบในเรื่องความคิดเกี่ยวกับ ต น เ อ ง ( self-awareness) แ ต่ จ ะ เ ริ่ ม มี ความสามารถในการรั บ รู้ ต นเอง ในเรื่ อ งการ ควบคุมตนเอง (self-control) ควบคุมความคิ ด รู้ จั ก ยั้ ง คิ ด และอยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น ได้ ส่ ว นเรื่ อ ง อารมณ์ (mood) จะเปลี่ ย นแปลง หงุ ดหงิ ด ง่ า ย เครียดง่าย โกรธง่ายและอารมณ์ซึมเศร้าโดยไม่มี สาเหตุ อารมณ์เหล่านี้ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเกเร ก้าวร้าว ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียน และการดาเนิน ชี วิ ต แต่ จ ะค่ อ ย ๆ ดี ขึ้ น เมื่ อ อายุ เ พิ่ ม มากขึ้ น สอดคล้องกับผลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ที่ว่า เด็กจาเป็นต้องพัฒนาในด้านการจัดการกับอารมณ์ และความเครียด เนื่องจากเด็กอยู่ โรงเรียนประจา “เพราะเด็กอยู่ห่างพ่อแม่ ห่างไกลพี่น้อง ห่างไกล คนสนิท และต้องมาใช้ชีวิตอยู่ลาพัง” ประเด็ น ด้ า นการตระหนั ก รู้ แ ละเห็ น คุณค่าในตนเองและผู้อื่น พบว่า มีค่าเฉลี่ยคะแนน สู ง เป็ น อั น ดั บ 3 สอดคล้ อ งกั บ ผลที่ ไ ด้ จ ากการ สัมภาษณ์เชิงลึ ก ที่พบว่า เด็กมีความจาเป็นต้อง พัฒ นาทั กษะชี วิตในด้ านการตระหนัก รู้แ ละเห็ น คุณค่าในตนเองและผู้อื่นเป็นอันดับหนึ่ง ดังคาให้


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

สั ม ภาษณ์ ข องครู ที่ ป รึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ ว่ า “เด็ ก ต้ อ งเห็ น คุ ณ ค่ า ของตนเองก่ อ นว่ า ตนเองมีความส าคัญ ... เด็กต้องเรี ยนเพื่อตัวเอง เด็กต้ องไม่เกิด ความน้ อ ยใจ และต้องคิดว่ าการ เรี ย นที่ นี่ ก็ ส ามารถเรี ย นต่ อ ที่ อื่ น ได้ การอยู่ ที่ นี่ โอกาสที่ จ ะได้ แ สดงความสามารถนั้ น มี เ ยอะ เพราะคู่แข่งมีน้อย เด็กที่มาเรียนที่นี่นับว่าโชคดีที่ โรงเรีย นและพ่อแม่ให้ โอกาส” ซึ่ง สอดคล้องกับ การศึกษาของ มากบุญ (2555) ที่พบว่า การเห็น คุณค่าในตนเอง ความสัมพัน ธ์ในครอบครั ว และ อิ ท ธิ พ ลจากเพื่ อ น มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างบวกกั บ ทั ก ษะทางสั ง คมของเด็ ก และเยาวชน โดยที่ อิทธิพลจากเพื่อนมีอิทธิพลโดยตรงต่อทักษะทาง สังคม ประเด็ น ด้ า นการคิด วิ เ คราะห์ ตัดสิ น ใจ และแก้ ไ ขปัญหาอย่า งสร้ า งสรรค์ ซึ่ง มีค่ าเฉลี่ ย คะแนนเป็ น อั น ดั บ สุ ด ท้ า ย สอดคล้ อ งกั บ ผล ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ค ล่ อ ง ดี ( 2559) ที่ พ บ ว่ า กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยสอนแบบโครงงาน เป็นฐานนั้น ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่า งพัฒนาความคิด สร้ า งสรรค์ ข องตนเอง และมี ค ะแนนความคิ ด สร้ า งสรรค์ อ ยู่ ใ นระดั บ นอกจากนั้ น จากการ สัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า ทักษะชีวิตในด้านการคิด วิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีความจาเป็นต้องพัฒนาเป็นอันดับที่สองรองจาก ทักษะชีวิตในด้านการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าใน ตนเองและผู้อื่น เนื่องจากเด็กไม่ค่อยได้มีโอกาส คิด “เพราะครูวางแผนให้เด็กไปทุกเรื่อง ครูชี้นา เด็กหมดไปทุกเรื่ อง ทาให้ เด็กขาดการคิด ขาด การติดสินใจและแก้ปัญหาที่ดี” ดังคากล่าวของครู ที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทักษะชีวิตที่ จาเป็นต้องพัฒนาเป็นอันดับ สอง คือ การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับงานของ เหล่าพิเดช

(2556) ที่ศึกษาเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ หั วข้อเรื่องปัญหาทางสั งคม ไทยของ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ด้ ว ยการจั ด การ เรี ย นรู้ โ ดยใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐาน พบว่ า เนื่ อ งจาก นั ก เรี ย นพบแต่ ก ารเรี ย นการสอนที่ เ น้ น แต่ ก าร ท่องจา เน้ น ทฤษฎีมากกว่าปฏิบั ติ หรือไม่เคยมี ประสบการณ์ที่ ตนเองต้องเป็ นผู้ แ สวงหาความรู้ ทาให้ขาดการพิจารณาสาเหตุของปัญหา ขาดการ คิดหาแนวทางแก้ปัญหา และขาดโอกาสในการ ปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา ซึ่งเท่ากับนักเรียนขาด การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาด้วยเช่นกัน การพัฒนาทักษะชีวิต พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดใช้แนวทาง กระบวนการ และวิธีการสอน ที่ ห ลากหลาย มี เ พี ย ง 2 คนที่ ใ ช้ ห ลั ก การสอน เหมื อ นกั น คื อ ใช้ ห ลั ก การวิ เ คราะห์ ห าจุ ด แข็ ง จุดอ่อน ปัญหา อุปสรรค แต่ผ่านกิจกรรมแตกต่าง กันออกไป ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ภู่เกียรติ (2552) และเรืองฤทธิ์ (2553) ที่เชื่อมั่นในศักยภาพ การเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย น ภายใต้ ห ลั ก การจั ด การ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ผลการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมโครงงานที่มี ต่อทักษะชีวิตของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกที่ได้จากผู้บริหาร สถานศึกษาและครูที่เกี่ยวข้อง พบว่า ครู เชื่อมั่นว่า โครงงานสามารถเพิ่ ม ทั ก ษะชี วิ ตให้ กั บ เด็ ก มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายได้ เพราะได้ จั ด กิ จ กรรม โครงงาน โดยให้ เ ด็ ก ได้ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง มาแล้ ว ซึ่ ง หลังจากจัดการเรียนรู้แล้ว พบว่า เด็กรู้จักวางแผน ว่าควรทาอะไรก่อนหลัง และทราบผลที่จะตามมา ว่าเป็น อย่างไร และได้ นาองค์ค วามรู้ที่ไ ด้ไปเป็ น ประโยชน์ในการเรียนรายวิชาอื่นๆ


11

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

3. ทักษะชีวิตกับพัฒนาการของเด็กวัยรุ่น การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหา อย่ า งสร้ า งสรรค์ : พั ฒ นาการด้ า นความคิ ด สติปัญญา พบว่า ทักษะชีวิตในด้านนี้ต่ากว่าทักษะ ชี วิ ต ในด้ า นอื่ น ๆ ซึ่ ง ควรจั ด กิ จ กรรมที่ ต้ อ งใช้ ความคิ ด วิ เ คราะห์ มี ก ารท างานเป็ น ที ม เพื่ อ พัฒนาทักษะการคิด การตัดสินใจ และแก้ปัญหา ให้แก่นักเรียน การจั ดการกับ อารมณ์และความเครียด: พั ฒ นาการด้ า นอารมณ์ จิ ต ใจ พบว่ า มี ค่ า เฉลี่ ย คะแนนทักษะชีวิตด้านนี้สูงเป็นอันดับ 2 ซึ่งควร จัดกิจกรรมให้เด็กทาเป็นเวลา กิจกรรมที่มีความ สนุกสนานเพลิดเพลิน เพื่อช่วยลดความเครียด การตระหนั ก รู้ แ ละเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเอง และผู้อื่น: พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ พบว่า มี ค่าเฉลี่ยคะแนนด้านนี้สูงเป็นอันดับที่ 3 สอดคล้อง กับผลการสัมภาษณ์เชิงลึก ที่ส่วนใหญ่ มีความคิด ตรงกันว่า จาเป็นต้องเร่งพัฒนาทักษะชีวิตในด้าน การตระหนั กรู้ และเห็ น คุณค่าในตนเองและผู้ อื่น เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง เพราะ ส่ ว นใหญ่ เ ด็ ก มาจาก ครอบครัวที่ไม่ได้ให้การดูแล เด็กไม่รู้จักตัวเอง ไม่มี เป้าหมายในชีวิต ขาดความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และมีความสาคัญ ซึ่งอาจจัดกิจกรรมโครงงานใน รูปแบบกิจกรรมการเข้าค่ายคุณธรรม และรูปแบบ กิจกรรมโฮมรู ม (สุ ขหิ้ น , จงจิ ตร ศิริ จิร กาล และ ไกรสกุล, 2557) ก า ร ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ ดี กั บ ผู้ อื่ น : พัฒนาการด้านสังคม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ย คะแนนด้ า นนี้ สู ง เป็ น อั น ดั บ ที่ 1 แต่ ผ ลการ สัมภาษณ์เชิงลึก มีครูที่ปรึกษา 2 คน ที่คิดว่า เด็ก จ าเป็ น ต้ อ งพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ในด้ า นการสร้ า ง สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ผู้ อื่ น เพราะ “เด็ ก มี แ ต่ ค รู ที่ ปรึ ก ษาคอยให้ ค าแนะน า ...หากไม่ รู้ จั ก สร้ า ง

สัมพันธภาพที่ดีกับผู้ อื่น เมื่อจบการศึกษาไปแล้ ว ต้อ งไปอยู่ กั บ โลกภายนอก อาจใช้ ชี วิ ตอย่ า งไม่ สมบูรณ์” จึงควรจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อ พัฒนา ทั ก ษ ะ ด้ า น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล (Interpersonal abilities) ตามแนวคิ ด ของ ยูเนสโก (Focusing Resources on Effective School Health, 2002 อ้างใน วรเจริญศรี, 2550) ซึ่งประกอบด้วย ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล ทักษะการปฏิเสธและการเจรจาต่อรอง ทักษะการ เห็นอกเห็นใจ ทักษะการทางานเป็นทีม และทักษะ การให้ความร่วมมือ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

1) โรงเรียนควรมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอน จัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมโครงงาน โดยจัดอบรม ให้ความรู้แก่ครูผู้สอน 2) โรงเรี ย นควรมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบ กิจกรรมโครงงานกับการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่น ๆ ที่สามารถพัฒนาทักษะชีวิตได้

ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครัง้ ต่อไป

1) ควรศึกษาวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิจัย เชิงทดลอง โดยการประเมิน ทักษะชีวิตก่อนและ หลั ง การจั ด การเรี ย นรู้ ผ่ า นโครงงานในแต่ ล ะ ระดับชั้น 2) ควรมี การศึกษาเปรียบเที ยบผลการ ประเมินทักษะชีวิตที่ได้จากผลการจัดการเรียนรู้ ผ่ า นโครงงานระหว่ า งโรงเรี ยนศึ ก ษาสงเคราะห์ อื่น ๆ หรือเปรียบเทียบกับโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ 3) ควรมี ก ารศึ ก ษาปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ อ าจ ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะชีวิตและผลการจัดการ เรียนรู้ผ่านโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

References Center for Life Skills of Students. (2558). The way to build a life skills camp: "Stop the problem with the power of children and youth". Bangkok: Office of the Basic Education Commission. Dad ngam, Chuleeporn. (2555). Study ability usage Life Skills Main The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 Assumption College Primary Section. Thesis Master of Education, Program in Measurement and Evaluation, Srinakharinwirot University. Katumarn, Panom. (2550). Adolescent Development. [Online], available from: http:// http://www.psyclin.co.th/new_page_56.htm. (17 June 2017). Kamkliang, Kusumavadee. (2554). Basic Course Book of Basic Health Education 6. Bangkok: Aimphun. Katz, Lilian and Chard, Sylvia. (2000). Engaging Children’s Minds: The Project Approach. (2nd Ed.) Stamford, CT: Ablex. [Online], Available from: http://www.projectapproach.org/store/. Kliawthong, Sasiwimol. (2556). Some Factors Affecting to Life Skills of Mathayomsuksa V Students in the Secondary Education Service Office Area II. Veridian E-Journal Silpakorn University. Volume 6 No.3: Humanities, Social Sciences and Arts (September-December, 2013): 443-460. Klomkaew, Monlada. (2555). A Construction Of Life Skills Test For High School. Journal of Graduate Studies Review Chulalongkorn University, Volume 8 No.3: 155-168. ----------. (2555). A Construction Of Life Skills Test For High School. Master’s Thesis, Graduate School, Srinakharinwirot University. Klongdee, Thitirat. (2559). The develolment of creative thinking project based leaning for undergraduate Students. The 6th Annual National Conference Phetchaburi Rajabhat research for territory Thailand Sustainable. 9 July 2016 at Phetchaburi Rajabhat University. Phetchaburi: Research Institute and Promote Art and Culture Phetchaburi Rajabhat University. Kotawong, Suputtar. (2559). Promoting team working skills learning activities with STEM Education With cooperative learning of Matthayomsuksa 4 Chumphaesuksa School. 1st Documentation Conference Annual Report 2016 National Development Research to Serve the Society” 27 May 2016 at Academic and Graduate Services Building Kanchanaburi Rajabhat University. Kanchanaburi: Research and Development Institute Kanchanaburi Rajabhat University.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

13

Laopidej, Apichai and Sirisampan, Orapin. (2556). THE Development of Learning Achievement and Creative Problem Solving Abilities on Social Problem in Thailand of Mathayomsuksa 6 Students by Problem-Based Learning Approach. Veridian EJournal Silpakorn University. Volume 6 No.3: Humanities, Social Sciences and Arts (September-December, 2013): 757-774. Makboon, Pornpan. (2555). Factors Contributing to School Skills of Male Children and Youths in the Department of Observation and Protection Regional Center of Juvenile Training School II, Ratchaburi Province. Master’s Thesis, Graduate School, Silapakorn University. Nakhon Pathom. Office of the Basic Education Commission. (2554). Life Skills Development guidelines integration in The Basic Education Core Curriculum 2551. [Online], available from: http://www.un.ac.th/html/V_54 /K- M_book55/004.pdf. (29 April 2015) Office of the Education Council. (2550). Project-Based Learning. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand., Limited. Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. (2554). Education Development Plan of Ministry of Education Eleventh Edition 2012 – 2016. Bangkok: Office of the Permanent Secretary Ministry of Education, Ministry of Education. Pookiat, Ladda. (2552). Project-Based Teaching and Research Based Teaching: The Primary Teacher Work Done. Bangkok: Saha and Son Printing. Porntrai, Supaporn. (2557). The Effects of Research-Based Learning on Grade-11 Students’ Desirable Characteristic Changing in Pohpanpunya Project. Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning. Volume 5 No.22: 176-185. Quality Learning Foundation. (2557). Conference proceedings Partnership in Creating a Learning Society for All “Disadvantaged Children The future of the Country”, 6-8 May 2557 at Muangthong Thani Nonthaburi. Bangkok: Quality Learning Foundation. Reongrit, Nummon. (2553). Development of an Online Project Activity Model for Educational Programs for the Exchange of Learners in the Asia Pacific Region Through Collaborative Learning Methods to Improve Communication Skills and Interoperability Skills among Thai and Korean Learners. Nakhon Pathom: Silapakorn University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Sukhin, Sangeamjit, Sirijirakarn, Veeravan J. and Graisakul, Graidetch. (2557). The Life Skills Development Model for the Secondary School Students in the Private School. Journal of Southern Technology. Volume 7 No.2 (July-December 2014): 1-8. Suwanjutha, Supree. (2547). Family-Centered Care in Pediatric and Critical Care: Role of Nurse and Pediatricians. In Deerojanawong, Jitladda, Staworn, Dusit and Prapphal, Nuanchan. (Eds), Pediatric Respiratory Critical Care. (pp. 113-119). Bangkok: Beyond Enterprise. Voracharoensri, Skol. (2550). A Study of Life Skills and a Training Group Model Construction for Developing Life Skills of Adolescent Students. Doctoral Dissertation. Graduate School, Srinakharinwirot University.


15

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กั บ สั ม พั น ธภาพในกลุ่ ม เพื่ อ นและครอบครั ว ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในเขต อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จิราภรณ์ สาเภาทอง1 สาวิตรี ทยานศิลป์2 อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล3

บทคัดย่อ การวิจัย นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับ แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาตอน ปลาย อายุ 15 – 18 ปี ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จานวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย แบบสอบถามและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วย Chi – Square Test ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมด้าน ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ สถานที่ ที่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ อุป กรณ์ในการเข้าถึงเครื อข่ายสั งคมออนไลน์ และประเภทกิจ กรรมที่ทาบนเครื อข่ายสั งคม ออนไลน์ มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน และครอบครัว พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.01 โดยกลุ่มตัวอย่างที่มี ระดั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ สู ง มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะมี สั ม พั น ธภาพในกลุ่ ม เพื่ อ นและ ครอบครัวสูงด้วย ข้อเสนอแนะจากการศึกษาคือ ผู้ปกครอง โรงเรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับวัยรุ่น สามารถประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ให้เป็นประโยชน์ในการสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างวัยรุ่นกับ เพื่อนและสมาชิกในครอบครัวได้ คาสาคัญ: สังคมออนไลน์ แรงจูงใจ สัมพันธภาพ

1

นักศึกษาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาพัฒนาการมนุษย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 1200 ถ.เอกชัย ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 E-mail: orange_j02@hotmail.com 2 อาจารย์ประจาหลักสูตรพัฒนาการมนุษย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 E-mail: sawitri.tha@mahidol.ac.th 3 รองผู้อานวยการสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 E-mail: Athiwat.jia@mahidol.ac.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

The Association between Behavior and Motivation of Social Networks Usage and

the Relationship with Friends and Families among High School Students in Muang District, Samutsakhon Jiraporn Sompoathong1 Sawitri Thayansin2 Athiwat Jiawiwatkul3

Abstract To investigate the association between behavior and motivation of social networks usage and the relationship with friends and families, the data from a sample of 400 high school students aged 15-18 years old in Muang District, Samutsakhon Province were collected by questionnaire and analyzed with Chi-square test. Findings of the study indicated that frequency, time, place, and device of social networks usage as well as type of activity on social networks were associated with motivation significantly (p <0.05). Moreover, the motivation of social networks usage was also associated with relationship with friend groups and families (p<0.01). Furthermore, students who had high motivation for using social networks were likely to be related with friends and families. It was recommend that parents, school staffs and individuals who worked with teenagers could apply social networks for promoting the relationship between teenagers, on the one hand, and their friends and families, on the other. Keywords: Social network, motivation, relationship

1

Master of Science (Human Development), National Institute for Child and Family Development, Mahidol University 1200 Ekachai Road, Muang District, Samutsakhon Province 74000, Thailand e-mail: orange_j02@hotmail.com 2 Ph.D., Professor of National Institute for Child and Family Development, Mahidol University 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom Province 73170, Thailand e-mail: sawitri.tha@mahidol.ac.th 3 Ph.D., Deputy director of National Institute for Child and Family Development, Mahidol University 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom Province 73170, Thailand e-mail: Athiwat.jia@mahidol.ac.th


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

มนุ ษ ย์ เป็ น สั ต ว์สั ง คมที่ ใช้ก ารสื่ อสารในการ แลกเปลี่ยนความรู้ ข่าวสารและประสบการณ์ซึ่งกัน แ ล ะ กั น เ พื่ อ ที่ จ ะ เ ข้ า ใ จ จู ง ใ จ แ ล ะ ค ง ไ ว้ ซึ่ ง ความสั ม พั น ธ์ การสื่ อ สารมี ก ารพั ฒ นามาอย่ า ง ต่อเนื่อง ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใน ปัจจุบัน จึงเกิดสังคมและการสื่อสารรูปแบบใหม่ นั่น ก็คือสังคมออนไลน์ (social - network) (วิจิตรบุญย รักษ์, 2554) โดยสังคมออนไลน์ในตอนต้นนั้น ผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตไม่สามารถติดต่อ หรือตอบโต้กับผู้ใช้ราย อื่นได้มากนัก เพราะเว็บไซต์ (website) ที่มีอยู่ใน ขณะนั้นยังเป็นเว็บไซต์ที่มีการติดต่อสื่อสารทางเดียว คื อ การอ่ า นเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ต่ อ มามี ก ารพั ฒ นา เว็บไซต์ให้ผู้ใช้สามารถตอบโต้กับผู้ใช้รายอื่นได้มาก ขึ้น ทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรืออินเตอร์เน็ตเป็น ที่นิยมและเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร แสดงออกซึ่ ง ความคิ ด เห็ น หรื อ ท ากิ จ กรรมเพื่ อ การศึก ษา ธุร กิจและความบัน เทิง (เพชระบูร ณิน , 2556) สั งคมออนไลน์เติบโตขึ้น อย่ างรวดเร็ว และ กว้างขวาง ส่ ว นมากนิ ยมใช้บ ริการเครือข่ายสั งคม ออนไลน์ (social - media) ที่ให้บริการโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย เช่น เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ จากการสารวจการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารในครั ว เรื อ น พ.ศ. 2557 โดย ส านั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ส ารวจพฤติ ก รรมการใช้ อินเตอร์เน็ตพบว่ามีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ ไลน์และอินสตาแกรมถึงร้อยละ 73.9 โดยผู้ใช้งานส่วนใหญ่คือวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 15 - 24 ปี และรองลงมาคือกลุ่มอายุระหว่าง 6 - 14 ปี (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2557) สอดคล้องกับ รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2558 (it24hrs.com, 2558) ที่ พบว่ากลุ่ มอายุ 15 - 34 ปี เป็น กลุ่ มที่มีพฤติกรรม การใช้อินเตอร์เน็ตมากที่สุดถึง 54.2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือเฉลี่ยแล้ว มีการใช้อินเทอร์เน็ตเกือบ 8 ชั่วโมง

17 ต่อวัน ด้ว ยปริ มาณการใช้ง านที่ สู งท าให้ เครื อข่า ย สั ง คมออนไลน์ เ ป็ น สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ใ กล้ ชิ ด มากของ วัยรุ่น โดยธรรมชาติแล้ววัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ หล่อหลอม ปลูกฝังเจตคติและฝึกฝนทักษะของชีวิต ที่สาคัญที่จะนาไปใช้เป็นรูปแบบของการดาเนินชีวิต จริงในอนาคต ขณะเดียวกันก็เป็นช่วงระยะเวลาที่มี การเปลี่ ย นแปลงในทุ ก ๆ ด้ า น โดยมี ปั จ จั ย จาก สภาพแวดล้อมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องและกระทบต่อ การเปลี่ ยนแปลงอย่างมาก ความรัก ความผู กพั น และสัมพันธภาพภายในครอบครัวจึงเป็นส่วนสาคัญ ที่จะช่วยเป็นเกราะคุ้มครองป้องกันการคุกคามจาก สังคมและสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ (อารีย์กุล , 2553) แต่ด้วยสภาพครอบครัวไทยในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง ไป ทาให้ความสัมพันธ์และสัมพันธภาพเปลี่ยนแปลง ไปด้วยเช่นกัน หากประสงค์ให้เกิดสัมพันธภาพที่ดี ต้ อ งมี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารที่ ดี แ ละการเลื อ กวิ ธี ก าร สื่อสารที่เหมาะสมก็จะทาให้มีเกิดสัมพันธภาพที่ดี ซึ่ง สั ม พั น ธภาพในครอบครั ว ที่ ดี จ ะท าให้ ส มาชิ ก ใน ครอบครั ว แต่ ล ะคนมี โ อกาสในการพั ฒ นาตนเอง โดยเฉพาะวัยรุ่นที่จะได้มีโอกาสในการรับรู้ตนเองใน ด้านดี เห็น คุณค่าในตนเองและศักยภาพในตนเอง อย่างต่อเนื่อง มีความภาคภูมิใจในตนเอง จนนาไปสู่ การพัฒนาจนเกิดความคิดความเข้าใจที่ดีในตนเอง (positive self-concept) ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญ ในการดารงชีวิตอย่างมีความสุข รวมถึงการพัฒนา สัมพันธภาพระหว่างบุคคลในวัยรุ่นอีกด้วย (พยอม แย้ม, 2548) จากบทความเครื อ ข่า ยสั ง คมออนไลน์ ส ร้ า ง ปั ญ หาทางความสั ม พั น ธ์ ข องคนในครอบครั ว (vafamilyconnections.org, 2558) กล่าวถึงผล ก า ร ส า ร ว จ ก ลุ่ ม นั ก ศึ ก ษ า อ เ ม ริ กั น เ กี่ ย ว กั บ ความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ พ บว่ า 1 ใน 7 เกิ ด ความรู้ สึ ก โดดเดี่ ย ว ห่างไกลผู้คนมากขึ้นเมื่อใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ผ ล ก า ร ศึ กษ า คว า มสั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง กา ร ใ ช้ อินเตอร์เน็ตและพัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น ของ Heitner (2002) พบว่าระยะเวลาที่ใช้ในเครือข่าย สั ง คมออนไลน์ มี ค วามสั มพั น ธ์ กับ การมี เ พื่ อนน้ อ ย และการบกพร่องในการเข้าสังคม จึงอาจกล่าวได้ว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นปัจจัยหนึ่งในการสร้าง ปัญหาทางความสัมพันธ์ของบุคคลในสั งคม ทาให้ คนเราห่ า งไกลกั น มากขึ้ น แต่ จ ากการศึ ก ษา พฤติกรรมและวัตถุประสงค์ของการใช้งานเครือข่าย สังคมออนไลน์กลับพบข้อมูลน่าสนใจในอีกมุมหนึ่ง คือ วัต ถุ ประสงค์ หนึ่ ง ของผู้ ใ ช้ งานเครื อข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ คือเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ทาความรู้จัก กับเพื่อนใหม่ ๆ (ตาน้อย, 2554) และการใช้งาน เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ นื่ อ งจากเวลาที่ รู้ สึ ก โดด เดี่ ย วหรื อ อยู่ คนเดี ย วก็ จ ะมี การใช้ เครื อ ข่ ายสั ง คม ออนไลน์เพื่อหาเพื่อนคุย เป็นต้น (ราชพิบูลย์, 2553) นอกจากนั้น เมื่อนาเครือข่ายสังคมออนไลน์มาใช้ใน กระบวนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนยังพบว่า สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสังคมในชั้นเรียน ได้อีกด้วย (แก้วสุกใส และ จุสปาโล, 2556) จึงเป็นที่ น่าสนใจว่าแท้จริงแล้ ว การใช้ งานเครือข่า ยสั งคม ออนไลน์ ท าให้ สั ม พั น ธภาพในสั ง คมของผู้ ค นลด น้อยลงหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์นั้นเป็นเครื่องมือ ส าคั ญ อย่ า งหนึ่ง ในการสร้ างสั ม พั นธภาพระหว่ า ง ผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์กับบุคคลรอบข้างใน สังคมปัจจุบัน ดังนั้น ผู้วิจัยสนใจศึกษาความสัมพันธ์ของการ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเด็นพฤติกรรมและ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กั บ สัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัวของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเลือกศึกษากลุ่ม นักเรียนวัยรุ่นที่กาลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย ช่ว งอายุระหว่าง 15 - 18 ปี เนื่องจาก เป็นกลุ่มที่มีการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่สูง มากกว่ า ช่ ว งวั ย อื่ น และเลื อ กศึ ก ษาในเขตพื้ น ที่ อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เนื่องจากสภาพของ

พื้ น ที่ เ ป็ น เมื อ งที่ อ ยู่ ใ นเขตปริ ม ณฑลที่ ก าลั ง เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จึงทาให้สภาพเมืองมีความ แออัด มีประชากรที่ห ลากหลาย สภาพครอบครั ว และสั ง คมเปลี่ ย นแปลง การศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ ะท าให้ ทราบถึงพฤติกรรม แรงจูงใจและสัมพันธภาพในกลุ่ม เพื่ อ นและครอบครั ว ของวั ย รุ่ น และยั ง ทราบ ความสั มพั นธ์ ระหว่า งแรงจูงใจในการใช้เครือข่า ย สังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการส่ งเสริมให้วัยรุ่นใช้เครือข่ายสั งคมออนไลน์ อย่างเหมาะสมและมีสัมพันธภาพกับครอบครัวและ กลุ่ มเพื่อนในทิศทางที่เหมาะสม ซึ่งจะน าไปสู่ การ ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุขต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจใน การใช้ เ ครือ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กับ สั มพั น ธภาพใน กลุ่มเพื่อนและครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการ ใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย

วิธีการดาเนินการวิจัย

1. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ใ น สั ง กั ด ก ร ม ส า มั ญ ศึ ก ษ า กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ในเขตอ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สมุทรสาคร ปีการศึกษา 2558 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 4– 6 ที่สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ปีการศึกษา 2558 ที่ถู ก สุ่ ม ตั ว อย่า งแบบอาศั ยความน่า จะเป็ น (Probability sampling) กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้สูตร Yamane ที่ความเชื่อมั่น 95% ยอมให้เกิด


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ความคลาดเคลื่อนได้ 5% ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 400 ตัวอย่าง (คน) กลุ่ มตัวอย่างเลื อกด้ว ยวิธีการสุ่ มแบบหลาย ขั้นตอน (Multi – stage random sampling) โดย แบ่งโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดสมุทรสาคร ตามเงื่ อ นไขที่ ก าหนดคื อ เป็ น โรงเรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา จั ด การเรี ย นการสอนถึ ง ระดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย สั ง กั ด ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ในเขตอ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด สมุ ทรสาคร มี โ รงเรีย นที่ต รงตามเงื่ อนไขทั้ ง สิ้ น 5 โรงเรี ย น ท าการสุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบง่ า ย (Simple random sampling) โดยทาการจับสลากเลือก โรงเรียนต่าง ๆ จานวน 3 โรงเรียน จากทั้งหมด 5 โรงเรียน ผลการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3 โรงเรียนได้แก่ 1) โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย 2) โรงเรียนสมุทรสาคร บูรณะ 3) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ สมุทรสาครและทาการคานวณสัดส่วนของ กลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้จานวนกลุ่มตัวอย่างของแต่ ละโรงเรียนเป็นไปตามสัดส่ว นจานวนนักเรียนของ โรงเรียนนั้น ๆ โดย โรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย มี จานวนกลุ่มตัวอย่าง 172 คน โรงเรียนสมุทรสาคร บูรณะ มีจานวนกลุ่มตัวอย่าง 178 คน และโรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร มี จ านวนกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง 50 คน รวมจ านวนกลุ่ ม ตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ใน ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ แ บ บ ส อ บ ถ า ม (Questionnaire) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่ ว น ที่ 1 ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ข อ ง ผู้ ต อ บ แบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ โดยใช้แบบสอบถาม แบบตรวจสอบรายการ (Check List) เพื่อสอบถาม สถานภาพผู้ตอบ

19 ส่ ว นที่ 2 พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ได้แก่ ความถี่ในการใช้สื่อสั งคมออนไลน์ ระยะเวลาที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อครั้ง ช่วงเวลาที่ใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ สถานที่ ที่ ใ ช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ อุ ป กรณ์ / เครื่ อ งมื อ ในการเข้ า ถึ ง สื่ อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เลือกใช้ บุ ค คลที่ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นทางเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ประเภทกิจกรรมที่ทาบนเครือข่ายสั งคม ออนไลน์ ใช้ แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ส่วนแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ ในการวิ จัยนี้ได้ประยุกต์แบบสอบถามเพื่อ หาแรงจู ง ใจในการใช้ เ ฟซบุ๊ ค ของ ประสิ ทธิ์ วิ เ ศษ (2556) ที่ศึกษาการสื่อสารทุนทางสังคมออนไลน์ ผ่ า นเฟซบุ๊ ค กั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในโลกแห่ ง ความจริ ง จานวน 22 ข้อ เป็นการวัดแรงจูงใจ (Motives) หรือ เหตุผล (Reasons) ในการใช้เฟซบุ๊ค เป็นคาถาม ประเมินค่า (Rating Scale) แบบ Likert Scale แบ่ ง เป็ น 5 ระดั บ ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของเครื่ อ งมื อ Cronbach’s alpha coefficient เท่ากับ 0.88 ส่ ว นที่ 3 สั ม พั น ธภาพในกลุ่ ม เพื่ อ นและ ครอบครัว แบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้ 1) แบบวัดสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน ค่าความ เชื่ อ มั่ น ของเครื่ อ งมื อ Cronbach’s alpha coefficient เท่ากับ 0.93 2) แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว ค่าความ เชื่ อ มั่ น ของเครื่ อ งมื อ Cronbach’s alpha coefficient เท่ากับ 0.96 3. การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลทั่วไป พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ ระดับ แรงจู งใจในการใช้ เครือ ข่า ยสั งคม ออนไลน์ และระดับสั มพันธภาพในกลุ่ มเพื่อนและ ครอบครั ว ใช้ ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา ( Descriptive statistic) โ ด ย ร ะ บุ ค่ า ข้ อ มู ล เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ ( Percentage) ค่ า เ ฉ ลี่ ย ( Mean) ค ว า ม ถี่ ( Frequency) แ ล ะ ส่ ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

(Standard deviation) ส่วนการศึกษาความสัมพันธ์ ของพฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ และ ความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้สถิติ ChiSquare Test ในการทดสอบความสัมพันธ์

ผลการวิจัย 1. ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างมีจานวนทั้งสิ้น 400 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65.3 และรองลงมา เป็นเพศชาย ร้อยละ 34.7 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี อายุ 17 ปี ร้อยละ 37.7 รองลงมาคือ 16 ปี ร้อยละ 27.5 2. พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่ ม ตัว อย่ างมากกว่ า 1 ใน 3 มี พ ฤติก รรม ด้านความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากกว่า 6 ครั้งต่อวัน (ร้อยละ 42.7) เมื่อพิจารณาแยกตาม เพศ พบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วน ใหญ่มีพฤติกรรมด้านความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ ไม่ แ ตกต่ า งกั น คื อ มากกว่ า 6 ครั้ ง ต่ อ วั น (ร้อยละ 43.2 และร้อยละ 42.5 ตามลาดับ) ด้านระยะเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ต่อ ครั้ง พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์มากกว่า 1 – 2 ชั่วโมงต่อครั้ง (ร้อยละ 29.0) เมื่ อ พิ จ ารณาแยกตามเพศแล้ ว พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งทั้ ง เพศชายและเพศหญิ ง ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เครื อ ข่ายสั งคมออนไลน์ ต่อครั้ งไม่ แตกต่ างกั น คื อ มากกว่า 1 – 2 ชั่วโมงต่อครั้ง (ร้อยละ 29.5 และ ร้อยละ 28.7 ตามลาดับ) ด้ า นช่ ว งเวลาที่ ใ ช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ พบว่ามากกว่า 4 ใน 5 ของกลุ่มตัวอย่างใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ในช่วงเวลา 16.01 น. – 00.00 น. (ร้อยละ 81.7) เมื่อพิจารณาแยกตามเพศแล้วพบว่า

ทั้งเพศชายและเพศหญิงส่วนใหญ่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ในช่วงเวลา 16.01 น. – 00.00 น. (ร้อยละ 74.1 และร้อยละ 85.8 ตามลาดับ) ด้ า นสถานที่ ที่ ใ ช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ พบว่ามากกว่าครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างใช้เครือข่าย สั ง คมออนไลน์ ในบ้ า น/ที่ พั ก อาศัย (ร้ อ ยละ 70.2) เมื่อพิจารณาแยกตามเพศแล้วพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้ง เพศชายและเพศหญิงมากกว่าครึ่งหนึ่งใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่บ้าน/ที่พักอาศัย (ร้อยละ 69.1 และ ร้อยละ 70.9 ตามลาดับ) ด้านอุปกรณ์/เครื่องมือในการเข้าถึงเครือข่าย สั ง คมออนไลน์ พบว่ า มากกว่ า 3 ใน 4 ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า งใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ในการ เข้าถึงเครือข่ายสั งคมออนไลน์ (ร้อยละ79.5) เมื่อ พิจารณาแยกตามเพศแล้ ว พบว่ากลุ่ ม ตัว อย่างเพศ หญิ ง นิ ย มใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ สู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 88.1 ในขณะที่เพศชายนิยมใช้โทรศัพท์มือถือร้อยละ 63.3 ด้านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เลือกใช้ พบว่ า มากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า งเลื อ กใช้ Facebook เป็นอันดับที่หนึ่ง (ร้อยละ 69.8) เมื่อ พิจารณาแยกตามเพศพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชาย และเพศหญิงมากกว่าครึ่งเลือกใช้ Facebook (ร้อย ละ 77.0 และร้อยละ 65.9 ตามลาดับ) เป็นอันดับ หนึ่ง ด้านบุคคลที่ติดต่อสื่อสารผ่านทางเครือข่าย สังคมออนไลน์ พบว่ากลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 ใน 3 ติดต่อสื่อสารกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน (ร้อยละ 79.3) ผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ ป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง เมื่ อ พิจารณาแยกตามเพศพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชาย และเพศหญิงมากกว่า 2 ใน 3 ติดต่อสื่อสารกับเพื่อน ร่วมชั้นเรียนโดยกลุ่ มตัวอย่างเพศหญิงใช้ติดต่อกับ เพื่อนร่วมชั้นเรียนมากกว่าเพศชายเล็กน้อย (ร้อยละ 82.8 และร้อยละ 72.7 ตามลาดับ) และประเภทกิจกรรมที่ทาบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกทาเป็นอันดับที่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

หนึ่งคือ การส่งข้อความ (private message) (ร้อย ละ 50.5) เมื่อพิ จ ารณาแยกตามเพศพบว่ าทั้งเพศ ชายและเพศหญิ ง นิ ย มการส่ ง ข้ อ ความ (private

21 message) โดยเพศหญิ ง ส่ ง ข้ อ ความ (private message) มากกว่าเพศชายเล็กน้อย (ร้อยละ 52.1 และ ร้อยละ 47.4 ตามลาดับ)

3. แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับของแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ จาแนกรายด้าน แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ Mean S.D. ระดับแรงจูงใจ 1. การใช้เวลาว่าง 3.33 0.62 ปานกลาง 2. การแสดงอารมณ์ความรู้สึก 3.29 0.70 ปานกลาง 3. การติดตามแฟชั่น 2.94 0.88 ปานกลาง 4. การแก้ปัญหา 3.39 3.89 ปานกลาง 5. การสร้างสังคม 3.06 0.84 ปานกลาง 6. การรับรู้ข้อมูลทางสังคม 3.45 0.89 สูง แรงจูงใจในภาพรวม 3.25 0.52 ปานกลาง จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจ ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง (X = 3.25, SD = 0.52) เมื่อ พิจารณาแรงจูงใจเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่แรงจูงใจ อยู่ในระดับสูงได้แก่ การรับรู้ข้อมูลทางสังคม (X = 3.45, SD = 0.89) แรงจูงใจด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับ ปานกลางทั้งสิ้น แรงจูงใจที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า

ด้านอื่น ๆ คือ แรงจูงใจด้านการแก้ปัญหา (X = 3.39, SD = 0.89) รองลงมาคือ ด้านการใช้เวลาว่าง (X = 3.33, SD = 0.62) ด้านการแสดงอารมณ์และ ความรู้สึก (X = 3.29, SD = 0.70) ด้านการสร้าง สังคม (X = 3.06, SD = 0.84) และด้านการติดตาม แฟชั่น (X = 2.94, SD = 0.88)

4. สัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว กลุ่ มตัว อย่ างส่ ว นใหญ่มีสัมพันธภาพในกลุ่ ม เพื่อนอยู่ในระดับสูง รองลงมามีสัมพันธภาพในระดับ ปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ยสัมพันธภาพในกลุ่ม เพื่อนเท่ากับ 92.47 คะแนน เมื่อพิจารณา แยกตามเพศพบว่า เพศชายส่วนใหญ่มีสัมพันธภาพ ในกลุ่มเพื่อนอยู่ในระดับปานกลางและสูงในสัดส่วน ที่เท่ากัน (ร้ อยละ 48.2) ส่ วนในเพศหญิงพบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างมีสัมพันธภาพใน กลุ่มเพื่อนอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 62.5)

ด้านสัมพันธภาพในครอบครัว พบว่ามากกว่า ครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างมีสัมพันธภาพในครอบครัว อยู่ในระดับสูง รองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี คะแนนเฉลี่ยสัมพันธภาพในครอบครัวเท่ากับ 95.83 คะแนน เมื่อพิจารณาแยกตามเพศแล้วพบว่าทั้งเพศ ชายและเพศหญิ ง มากกว่ า ครึ่ ง มี สั ม พั น ธภาพใน ครอบครัวอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 58.3 และร้อยละ 69.7 ตามลาดับ)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

5. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับแรงจูงใจในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ - 1 – 2 ครั้งต่อวัน - 3 – 4 ครั้งต่อวัน - 5 – 6 ครั้งต่อวัน - มากกว่า 6 ครั้งต่อวัน ระยะเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ต่อครั้ง - น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ชั่วโมง - มากกว่า 1 – 2 ชั่วโมง - มากกว่า 2 – 4 ชั่วโมง - มากกว่า 4 ชั่วโมง ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ - 08.01 น. – 16.00 น. - 16.01 น. – 00.00 น. - 00.01 น. – 08.00 น. - มากกว่า 1 ช่วงเวลาที่กาหนด สถานที่ที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ - สถานที่ต่าง ๆ ผ่านทางโทรศัพท์มอื ถือ - สถานที่ต่าง ๆ ผ่านคอมพิวเตอร์พกพา - ร้านอินเตอร์เน็ต - บ้าน/ที่พักอาศัย - สถานศึกษา อุปกรณ์/เครื่องมือในการเข้าถึงเครือข่าย สังคมออนไลน์ - คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ - คอมพิวเตอร์พกพา - โทรศัพท์มือถือ - ไอแพด/แทปเลต

ระดับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ร้อยละ 100) น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 3.3 0.0 2.9 1.2

9.8 3.1 12.9 5.8

55.7 67.3 44.3 42.1

27.9 29.6 37.1 43.9

3.3 0.0 2.9 7.0

1.4 0.9 1.9 1.9

6.9 6.9 7.6 6.5

50.0 55.2 53.3 43.9

40.3 32.8 37.1 38.3

1.4 4.3 0.0 4.0

6.0 0.9 0.0 0.0

6.0 7.3 0.0 5.6

38.0 52.6 80.0 44.4

48.0 36.1 20.0 22.2

2.0 3.1 0.0 27.8

1.0 0.0 25.0 1.1 0.0 3.5 0.0 1.3 0.0

4.8 0.0 0.0 7.8 25.0 5.3 6.7 7.2 10.0

42.3 0.0 25.0 54.8 75.0 38.5 73.3 50.6 90.0

50.0 33.3 25.0 32.7 0.0 43.9 6.7 38.1 0.0

1.9 66.7 25.0 3.6 0.0 8.8 13.3 2.8 0.0

Sig. 32.23

0.001

16.12

0.186

41.21

0.000

86.79

0.000

24.93

0.015


23

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับแรงจูงใจในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ต่อ) พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เลือกใช้ - Facebook - Line - Twitter - Instagram - Google plus - อื่นๆ บุคคลที่ติดต่อสื่อสารผ่านทางเครือข่าย สังคมออนไลน์ - สมาชิกในครอบครัว - เพื่อนร่วมชั้นเรียน - เพื่อนเก่า - บุคคลทั่วไป/คนแปลกหน้า - อื่นๆ ประเภทกิจกรรมที่ทาบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ - การโต้ตอบบนกระดานข่าว - การแบ่งปันรูปภาพ - การเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ - การแบ่งปันวีดิโอ - การค้นหาเพื่อนเก่า/คนที่เคยรู้จัก - การส่งข้อความ (private message) - การแสดงความคิดเห็นในกลุ่มข่าวสาร - การชื่นชอบ/ถูกใจ (Like)

ระดับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ร้อยละ 100) น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 2.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

7.5 1.3 12.5 0.0 33.3 14.3

46.6 66.7 31.3 80.0 50.0 50.0

39.4 26.7 56.3 20.0 16.7 35.7

4.3 5.3 0.0 0.0 0.0 0.0

Sig. 30.06

23.92 2.6 1.6 0.0 0.0 0.0

60.5 50.5 30.8 42.1 61.5

13.2 6.3 23.1 0.0 0.0

21.1 38.2 46.2 42.1 30.8

จากตารางที่ 2 ผลทดสอบความสัมพัน ธ์ ระหว่างพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ กับ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่า ยสั ง คมออนไลน์ พบว่า พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ

20.0 0.0 0.0 0.0 0.0 6.9 0.0 8.2

60.0 64.3 0.0 25.0 66.7 53.0 100 48.1

20.0 35.7 62.5 75.0 16.7 36.1 0.0 37.3

0.091

2.6 3.5 0.0 15.8 7.7 53.10

0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.5 0.0 1.9

0.069

0.003

0.0 0.0 12.5 0.0 16.7 3.5 0.0 4.4

≤0.05 ได้ แ ก่ พฤติ ก รรมด้ า นความถี่ ใ นการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ต่อครั้ง สถานที่ที่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ อุ ป กรณ์ / เครื่ อ งมื อ ในการเข้ า ถึ ง เครือข่ายสังคมออนไลน์ และประเภทกิจกรรมที่ ทาบนเครือข่ายสังคมออนไลน์


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

6. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน และครอบครัว ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่ม เพื่อนและครอบครัว สัมพันธภาพ สัมพันธภาพในกลุม่ เพื่อน - สัมพันธภาพต่า - สัมพันธภาพปานกลาง - สัมพันธภาพสูง สัมพันธภาพในครอบครัว - สัมพันธภาพต่า - สัมพันธภาพปานกลาง - สัมพันธภาพสูง

ระดับแรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ร้อยละ 100) น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 17.6 1.3 0.4

11.8 7.2 6.5

41.2 52.3 50.4

29.4 35.9 37.8

0.0 3.3 4.9

8.3 1.8 0.8

12.5 4.4 7.6

41.7 66.4 44.9

33.3 24.7 42.2

4.2 2.7 4.5

จากตารางที่ 3 ผลการวิ เ คราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและ ครอบครั ว พบว่า กลุ่ มตัว อย่ างที่ มีแรงจู งใจใน การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มาก มีแนวโน้มที่ จะมีสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัวสูง และเมื่อทดสอบด้วย Chi – Square Test พบว่า แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ มี ความสั ม พั น ธ์ กั บ สั ม พั น ธภาพในกลุ่ ม เพื่ อ น 33.93) และมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ( = สัมพันธภาพในครอบครัว ( = 25.68) อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p≤0.001

สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

1. สรุปผล อภิปรายผล 1.1 พฤติกรรมการใช้ เครื อข่ายสั งคม ออนไลน์ มีค วามสั มพั น ธ์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ข องนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาตอนปลาย

Sig. 33.93

0.000

25.68

0.001

ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กั บ แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสั งคมออนไลน์ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่ามี พฤติกรรมในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ด้าน ความถี่ ช่วงเวลา สถานที่ที่ใช้ อุปกรณ์/เครื่องมือ ในการเข้ า ถึ ง และประเภทกิ จ กรรมที่ ท าบน เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.05 สามารถ อภิปรายความสัมพันธ์ได้ดังนี้ ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มี ความสั ม พั น ธ์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ย สั งคมออนไลน์ ตัว อย่ างมีความถี่ในการใช้งาน บ่อยครั้ง คือมากกว่า 6 ครั้งต่อวัน โดยบุคคลจะ มีแ รงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ก็ ต่อเมื่อมีความเชื่อว่าเว็บไซต์นั้นจะสามารถช่วย ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้างความสัมพันธ์ ทางสังคมกับผู้อื่นได้ (Urista et al., 2008 อ้าง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ถึงใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) ซึ่งทาให้บุคคลเกิด ความพึ ง พอใจและแสดงออกโดยมี พ ฤติ ก รรม ความถีใ่ นการเข้าใช้งานบ่อยครั้ง ช่วงเวลาในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ มีความสั มพั น ธ์กับ แรงจู งใจในการใช้เครื อข่า ย สังคมออนไลน์ พบว่าช่วงเวลาที่ใช้งานเครือข่าย สังคมออนไลน์มากที่สุดคือช่วงเวลา 16.01 น. – 00.00 น. เป็ น ช่ว งเวลาที่กลุ่ มตัว อย่างเสร็จสิ้ น ภารกิจจากการเรียนและไม่ได้ใช้เวลาร่วมกับกลุ่ม เพื่อน ดังนั้น การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์จึง เป็ น การตอบสนองแรงจู ง ใจ ในการรั ก ษา ความสัมพันธ์กับเพื่อนที่มีอยู่ (Ellision et al., 2007 อ้างถึงใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) การใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อสนทนากับกลุ่มเพื่อน จึ ง พบว่ า ช่ ว งเวลาดั ง กล่ า วมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ สถานที่ ที่ ใ ช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ มี ความสั ม พั น ธ์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ย สังคมออนไลน์ โดยสถานที่ที่ใช้เครือข่ายสั งคม ออนไลน์มากที่สุดคือ บ้าน/ที่พักอาศัยสอดคล้อง กับช่วงเวลาที่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์คือ ช่วงเวลา 16.01 น. – 00.00 น. ซึ่งเป็นช่วงเวลา ที่กลุ่มตัวอย่างเสร็จสิ้นจากภารกิจการเรียนและ เดิน ทางกลั บ บ้ านที่พักอาศัย และไม่ได้ใช้เวลา ร่ ว มกั บ กลุ่ ม เพื่ อ น จึ ง ใช้ ค วามสามารถของ เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดตามเรื่องราว และพฤติกรรมของเพื่อน (Ellision et al., 2007 อ้างถึงใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) เพื่อตอบสนอง แรงจูงใจในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมกับ ผู้อื่น อุปกรณ์/เครื่องมือในการเข้าถึงเครือข่าย สังคมออนไลน์มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มตัวอย่างร้ อย

25 ละ 97.5 ใช้โ ทรศั พท์มื อถื อหรื อ Smartphone ซึ่งทาให้การเข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ทาได้ ง่ า ยมากขึ้ น ท าให้ ต อบสนองความต้ อ งการให้ เป็นไปตามความคาดหวังมากขึ้น ประเภทกิจกรรมที่ทาบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ มีค วามสั มพั น ธ์ กั บ แรงจู ง ใจในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่ากลุ่มตัวอย่างนิยม ส่งข้อความหากัน ทั้งนี้เพราะแรงจูงใจในการใช้ อิ น เตอร์ เ น็ ต เพื่ อ สร้ า งสั ง คมของวั ย รุ่ น โดยใช้ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ระหว่างเพื่อนและสังคม เครือข่ายสังคมออนไลน์ จึง เป็ น สื่ อ ในการสนั บสนุน การสื่ อสารระหว่ า ง บุคคลในการสร้าง และรักษาความสัมพันธ์ ซึ่งถือ เป็นแรงจูงใจในการใช้ประโยชน์ ในการสื่อสาร และการติดตามข้อมูลข่าวสาร (Leung, 2007 อ้างถึงใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) 1.2 แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์มีความสัมพันธ์กับสัมพันธภาพในกลุ่ ม เพื่อนและครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจ ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพ ในกลุ่ มเพื่อนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีแรงจูงใจใน การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มาก มีแนวโน้มที่ จะมีสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อน และเมื่อทดสอบ ด้วย Chi – Square Test พบว่า แรงจูงใจในการ ใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ สั มพันธภาพในกลุ่ มเพื่อนอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.001 จากการศึกษาพบว่ากิจกรรม ที่ นิ ย มท ากั น อย่ า งมากคื อ การสนทนาหรื อ ส่ ง ข้อความ เมื่อพิจารณากลุ่มตัวอย่างมีการใช้สื่ อ เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการติดต่อสื่อสารกับ บุ ค คลกลุ่ ม ใดมากที่ สุ ด ได้ ผ ลการศึ ก ษาที่


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

สอดคล้องกับความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใน การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพใน กลุ่มเพื่อนในครั้งนี้ที่ว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 79.3 นิ ย ม ใ ช้ เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ เพื่ อ นร่ ว มชั้ น เรี ย นมากที่ สุ ด สอดคล้องกับ พงษ์เสือและคณะ (2556) ที่พบว่า กลุ่ มตัว อย่ าง มีการใช้ เครื อข่ายสั งคมออนไลน์ เพื่อติดต่อกับเพื่อนโดยกิจกรรมที่ทามากที่สุดคือ การสนทนาผ่ านการส่ งข้อความ แรงจูงใจหรือ วัตถุประสงค์ที่สาคัญของการใช้เว็บไซต์เครือข่าย สังคมออนไลน์ส่วนหนึ่งคือเพื่อสร้างและส่งเสริม ให้เกิดสัมพันธภาพ การติดต่อสื่อสารด้วยวิธีการ ที่ห ลากหลายทาให้ สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็ น พื้ น ที่ ส นทนาระหว่ า งเพื่ อ น เกิ ด การ แลกเปลี่ ย นเรื่ องราวระหว่างกัน สอดคล้ องกับ การศึกษาของ Park and Floyd (1996, อ้างถึง ใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) ที่พบว่าอินเตอร์เน็ต สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนและค่อย ๆ พัฒนาความสัมพันธ์ไปได้เรื่อย ๆ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจ ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กับสัมพันธภาพ ในครอบครัว ของนั กเรีย นระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีแรงจูงใจในการ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มาก มีแนวโน้มที่จะมี สัมพันธภาพในครอบครัวสูง และเมื่อทดสอบด้วย Chi – Square Test พบว่า แรงจูงใจในการใช้ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ สั มพัน ธภาพในครอบครั ว อย่ า งมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.001 สอดคล้องกับผลการศึกษาที่ พบว่ า กิ จ กรรมที่ ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า งท าบนเครื อ ข่ า ย สังคมออนไลน์มากที่สุดคือการส่งข้อความหากัน ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ใ นการสร้ า งสั ม พั น ธภาพโดยใช้ ก าร สื่ อ สา ร แล ะพ บว่ าบุ คค ลที่ กลุ่ มตั ว อ ย่ า ง ติดต่อสื่อสารด้วยนอกจากเพื่อนร่วมชั้นเรียนแล้ว

บุ ค คลที่ ก ลุ่ ม ตั ว อย่ า งติ ด ต่ อ ด้ ว ยคื อ สมาชิ ก ใน ครอบครั ว สอดคล้ อ งกั บ กระบวนการสร้ า ง สัมพันธภาพ เพราะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีที่ สาคัญประการหนึ่งคือการติดต่อสื่อสาร (พยอม แย้ม, 2548) บางครอบครัวมีการติดต่อสื่อสาร กันผ่านเครือข่ายสั งคมออนไลน์ การสร้างกลุ่ ม เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ พู ด คุ ย สื่ อ สาร ระหว่ า งสมาชิ ก ในครอบครั ว การติ ด ตามการ เคลื่ อ นไหวของสมาชิ ก ในครอบครั ว เป็ น การ สร้างสัมพันธภาพทางบวกผ่านการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่สาคัญอีกทางหนึ่ง ผลการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง แรงจู ง ใจในการใช้ เครื อข่ า ยสั ง คมออนไลน์ กั บ สัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและครอบครัวในครั้งนี้ ไม่สอดคล้องกับการวิจัยของ Park and Floyed (1996, อ้างถึงใน ประสิทธิ์วิเศษ, 2557) ที่พบว่า การสื่อสารผ่านสื่อกลางคอมพิวเตอร์มีข้อค้นพบ ในเชิ ง ลบ โดยไม่ ส ามารถสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ระหว่ างบุ ค คลได้ เ พราะขาดเงื่ อนไขทางสั ง คม (Social cues) นั่นคือเน้นการสื่อสารผ่ าน ตัวอักษรหรือส่งข้อความมากกว่าการสื่อสารทาง กายภาพ และ Shapiro and Leon Leone Park and Floyd (1996, อ้างถึงใน ประสิทธิ์ วิเศษ, 2557) ที่กล่าวว่าการใช้อินเตอร์เน็ตจะทา ให้ ใช้ เวลากับ ครอบครัว และกลุ่ มเพื่อ นน้ อยลง ความไม่ ส อดคล้ อ งในครั้ ง นี้ เ กิ ด จากการศึ ก ษา พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โดยทั่วไป ไม่ได้ศึกษาลึกซึ้งถึงประเด็นพฤติกรรม การใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ แ บบหลงใหล ผิ ด ปกติ (Addiction) ซึ่ ง พฤติ ก รรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์แบบหลงใหลผิดปกติ คือ การพฤติกรรมที่มากเกินไปจนไม่สามารถเลิกทา ได้ หรือไม่สามารถควบคุมให้ไม่ทาได้ ซึ่งจะทาให้ เกิดผลกระทบรุนแรงในการทาหน้ าที่ต่าง ๆ ไม่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับที่พิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ว่าจะเป็นการเรียน การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น กลุ่ ม เพื่อ นและครอบครั ว ขาดสั มพั นธภาพกั บ บุ ค คลรอบข้ า ง (กองราช, 2554) ซึ่ ง จาก การศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการใช้งานเพื่อส่ง ข้อความ ติดต่อสื่อสารกับกลุ่มเพื่อนและสมาชิก ในครอบครัวเป็นส่วนใหญ่จึงทาให้ผลการศึกษาที่ ได้ไม่สอดคล้องกับการศึกษาข้างต้นที่กล่าวว่ามี ผลกระทบในเชิ ง ลบ นอกจากนั้ นลั ก ษณะการ สื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันมี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนามากกว่าการสื่อสาร ผ่ า นตั ว อั ก ษร โดยสามารถสื่ อ สารผ่ า นการ แบ่งปันรูปภาพ การแบ่งปันวีดีโอ หรือแม้กระทั่ ง การสื่อสารแบบเห็นหน้า (Video call) เป็นการ พัฒนารูปแบบการสื่อสารได้ดีและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น (เพชระบูรณิน, 2556) ซึ่งการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพเป็นกระบวนการสร้างและพัฒนา สัมพันธภาพได้นั่นเอง 2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 2.1 ผู้ปกครองใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการสนทนา ติดตาม และกระชับ ความสั ม พั น ธ์ ซึ่ ง จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม สั ม พั น ธภาพ ระหว่างกันได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดกับวัยรุ่น 2.2 วัยรุ่นและผู้ปกครองควรควบคุม ดูแล พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในด้าน ความถี่ ระยะเวลาและช่ ว งเวลาในการใช้ ง าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ไม่ให้สูงเกินไป เนื่องจาก ผลการศึกษาพบว่าวัยรุ่นจานวนมากมีความถี่ใน

References

27 การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ค่อนข้างสูง และ ช่ว งเวลาที่ ใช้งานเครื อข่ายสั งคมออนไลน์ส่ ว น ใหญ่คือช่วงเวลาระหว่าง 16.01 น. – 00.00 น. ซึ่งเป็นช่วงเวลาหลังเลิก เรียนและเวลากลางคืน เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายต้องการการพักผ่อน เป็น เวลาที่ ร่ า งกายมี ก ารหลั่ ง ฮอร์ โ มนแห่ ง การ เจริญเติบโต (Growth hormones) ซึ่งเป็น ฮอร์โมนสาคัญในการช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต และมีพัฒนาการสมวัย หากขาดการควบคุม ดูแล อาจส่งผลต่อพัฒนาการ การเรียนและสุขภาพ 2.3 โรงเรียนนาเครือข่ายสังคมออนไลน์ มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ให้ เหมาะสมกับยุคสมัยที่มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนได้ อาทิเช่นการเรียน การสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (The Flipped Classroom) ที่มีการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายสังคม ออนไลน์จัดทากิจกรรมให้นักเรียนเข้ามาศึกษา ค้นคว้าก่อนเข้าห้องเรียน ทาให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้และกระตุ้นให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรียนอย่างเต็มที่ 2.4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเด็กและ เยาวชนสามารถนาผลการศึกษาที่ได้ไปใช้ในการ ส่งเสริมและพัฒนาสัมพันธภาพในกลุ่มเพื่อนและ ครอบครั ว โดยใช้เครื อข่ายสั งคมออนไลน์เป็ น สื่ อ กลางในการเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ห รื อ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และกิจกรรมที่จะ เป็นประโยชน์ ซึ่งเป็นช่องทางให้เด็กและเยาวชน รับสื่อข่าวสารได้ง่ายยิ่งขึ้น

Arreekul, Viroj. (2553). Health care and adolescent counseling. Bangkok: Pediatric Division. Phramongkutklao Hospital and the Department of Military and Community Medicine. College of Medicine, Phramongkutklao.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Heitner, E. I. (2002). the relationship between use of the internet and social and development in adolescence. Westchester, NY: Pace University. Kaewsuksai, Rawi and Jussapalo, Chairat (2556). Online social network: Facebook usage for learners’ development. Princesses of Naradhiwas University Journal, Special Issue 2556, 195 – 205. Kongrach, Panuwat. (2554). The Study of Teenagers’ Behaviors in Using Social Networking Sites (SNSs) in Thailand: A Case Study of Facebook. Master of Arts Program in Mass. Communication Administration Faculty of Jurnalism and Mass Communication, Thammasat University. National Statistical. Office. (2557). Executive Summary Use of Information and Communication in Households, 2014. Searched on 2558 March 14, Available from http://service.nso.go.th/nso/web/servey/surtec5-1-3.html. Phayomyam, Surapol (2548). Psychology of Relations. Bangkok: BANGKOK - COMETECH INTERTRADE CO., LTD Phetcharaburanin, Prisana (2556). Social Network and Social Force. Phathumwan Academic Journal. Vol 3, no.6 January – April 2013. Prasitwisate, Grisanaporn. (2556). The Communication and Online Social of Facebook With Psychological Well-being. Doctor of Philosophy Program in Communication Arts, Dhurakij Pundit University. Pongsua, Pimsuree,Thamcharean, Yuttana and Phongyeela, Adilla (2556). The Behavior of using social of undergraduates. The 3rd STOU Graduate Research Conference. Rachapiboon, Chanakit (2553). The Study of Online Social Networks Behavior and Their Impact on High School Students in Bangkok. Master of Education Thesis Faculty of Technology Department of Technology and Education King Mongkut's University of Technology Thonburi. vafamilyconnections.org. (2558). Online social networking creates relationships among family members. Searched on 2558 January 8, [online], Available from: http://www. vafamilyconnections.org. Vichitrboonyaruk, Pichit. (2554). Social media: future media. Executive Journal. Bangkok University Press. Zocial, inc. (2557). ‘Online statistics’ Thailand Zocial Award 2014. [online], Available from: www.it24hrs.com. Searched on 2558 march 24


29

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

คุณภาพชีวิตการทางานกับความผูกพันต่อองค์การ ของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 จิตติ กิตติเลิศไพศาล1 ชาคริต ชาญชิตปรีชา2 โสภัชย์ วรวิวัฒน์3 ศิวดล ยาคล้าย4

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวิตการทางานต่อความผูกพันต่อองค์การของ กาลังพล กรมทหารราบที่ 3 เป็นการวิจัยเชิงสารวจจากประชากรคือ กาลังพลกรมทหารราบที่ 3 จานวน 2,643 คน ตัวอย่างเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิจานวนทั้งสิ้น 350 คน ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิต การทางานของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับสูงทุกด้าน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.92 ขณะที่ความผูกพันต่อองค์การของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงทุก ด้านเช่นกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 นอกจากนั้นพบว่า คุณภาพชีวิตการทางานมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อ องค์การของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ ≤.05 คาสาคัญ: ความผูกพันต่อองค์การ คุณภาพชีวิตการทางาน กรมทหารราบที่ 3

1

รองศาสตราจารย์ (เศรษฐศาสตร์) ประธานหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะวิทยาการจัดการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถนนนิตโย ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมือง สกลนคร 47000 e-mail: jitti1998@hotmail.com 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (บริหารธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถนนนิตโย ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมือง สกลนคร 47000 e-mail: chakrit1771@hotmail.com 3 อาจารย์ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะวิทยาการจัดการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถนนนิตโย ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมือง สกลนคร 47000 e-mail: sopatvora@yahoo.com 4 พันเอก ศิวดล ยาคล้าย กรมทหารราบที่ 3 อาเภอเมือง สกลนคร 47000 e-mail: jugkajee4433@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Work Life Quality and Organizational Commitment Jitti Kittilertpaisan1 Kanchana Tanmavad2 Wannapa Wamanond3 Siwadol Yaklai4

Abstract This research aimed to study the influence of quality of work life on organizational commitment of personnel in the 3rd Infantry Regiment. Based on a population of 2,643 personnel in the 3rd Infantry Regiment, a multi-stage sampling technique was employed for a sample of 350 personals. It was revealed that the overall level of quality of work life of personnel in the 3rd Infantry Regiment, as well as in each aspect, was in high level, while the organizational commitment of personnel in the 3rd Infantry Regiment as well as in each dimension, was also in high level. The regression analysis indicated that quality of work life positively influenced organizational commitment of personnel in the 3rd Infantry Regiment at p ≤.05. Keywords: Quality of work life, organizational commitment, the 3rd Infantry Regiment

1

Associate Professor (Economics), Director of Ph.D. Programme in Develoment Administration, Faculty of Management Science, Sakon Nakhon Rajabhat University, Sakon Nakon Province, 47000 e-mail: jitti1998@hotmail.com 2 Assistant Professor (Business administration), Sakon Nakhon Rajabhat University, Sakon Nakon Province, 47000

e-mail: chakrit1771@hotmail.com 3 Lecturer, Ph.D. Programme in Develoment Administration, Sakon Nakhon Rajabhat University, Sakon Nakon Province, 47000 e-mail: sopatvora@yahoo.com 4 Col. Siwadol Yaklai, the 3rd Infantry Regiment, Sakon Nakon Province, 47000 e-mail: jugkajee4433@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ เ ป็ น สิ น ท รั พ ย์ อั น ทรงคุณค่าขององค์การ เพราะส่งผลต่อความสามารถ ในการแข่งขันขององค์การ ดังนั้นผู้บริหารจาเป็นต้อง ดู แ ลเอาใจใส่ ก ระบวนการในการท างานและสิ่ ง อานวยความสะดวก ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการปฏิบัติงาน หากผู้ปฏิบัติงานไม่มีความสุขใน การทางาน ย่อมส่งผลให้เกิดการขาดงาน การลาออก ฉะนั้ น ผู้ บ ริ ห ารต้ อ งสนใจต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั ศ นคติ สุขภาพอนามัย อารมณ์ จิตใจ และปัจจัยต่าง ๆ ที่ ส่ งผลต่อการทางาน เพื่ อลดปัญหาและส่ งเสริมให้ บุคลากรทางานอย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพชีวิต การทางาน และความผูกพันต่อองค์การจึงเป็นปัจจัย ส าคั ญ ที่ ผู้ บ ริ ห ารต้ อ งให้ ค วามสนใจ เพราะหาก สมาชิกมีคุณภาพชีวิตการทางานที่ดีและความผูกพัน ต่อองค์การสู ง ย่อมทาให้ องค์การนั้นย่อมสามารถ บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ได้ง่าย (Muindi and K'Obonyo, 2015) นอกจากนี้ยังทาให้เกิด ความรู้สึกหรือความปรารถนาที่จะเป็นสมาชิกของ องค์การโดยไม่คิดที่จะลาออกหรือโอน-ย้ายไปที่อื่น ความผูกพันต่อองค์การจึงเป็นปัจจัยสาคัญที่บ่งชี้ถึง ความมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผ ลขององค์การ ดังนั้น ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญกับความผูกพันต่อ องค์การ (Buchanan, 2004: 535) Chaisiripanich (2549) กล่าวว่าคุณภาพ ชีวิตการทางาน อาทิ สภาพแวดล้อมในการทางาน ความมั่นคงปลอดภัย ค่าตอบแทน ความก้าวหน้าใน การทางาน การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคล

31 ต่าง ๆ ในองค์การ รวมถึงการมีกิจการรมต่าง ๆ ที่ เปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่ว นร่วมอย่างเหมาะสม ย่อมส่ งผลให้ บุคลากรเกิดความพึงพอใจ และมี ความรู้ สึ ก ว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก าร ซึ่ ง ปั จ จั ย ดังกล่าวเป็นปัจจัยที่เอื้ออานวยให้เกิดความผูกพันต่อ องค์การ รวมทั้งส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การ (Feuer, 1989) กรมทหารราบที่ 3 เป็นหน่วยกาลัง หน่ว ยหนึ่งในกองทัพบก มีภ ารกิจป้อ งกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายในประเทศ การรักษาความ สงบเรี ย บร้ อ ยภายในประเทศ และการช่ ว ยเหลื อ ประชาชนซึ่ ง เป็ น ภารกิ จ หลั ก การปฏิ บั ติ ง านที่ หลากหลาย ดังนั้นความผูกพันของกาลังพลต่อกรม ทหารราบที่ 3 เป็นปัจจัยสาคัญที่ผู้บังคับบัญชาต้อง ให้ความสาคัญเพื่อเป็นแรงเสริมสาคัญในการผลักดัน ให้ผ ลการดาเนินงานของกรมทหารราบที่ 3 บรรลุ วัตถุประสงค์ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาอิทธิพล ของคุ ณ ภาพชี วิ ต การท างานต่ อ ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารของก าลั ง พล กรมทหารราบที่ 3 ผล การศึกษาสามารถทาให้เกิดแนวทางในการส่งเสริม ให้เกิดความผูกพันต่อองค์การของกรมทหารราบที่ 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อประเมิน ระดับคุณภาพคุณภาพ ชีวิตการทางานและความผูกพันต่อองค์การของกาลัง พลกรมทหารราบที่ 3 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวิตการ ทางานต่อความผูกพันต่อองค์การของกาลังพลกรม ทหารราบที่ 3


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กรอบแนวความคิดในการวิจัย คุณภาพชีวิตการทางาน 1. ด้านค่าตอบแทน 2. ด้านสิ่งแวดล้อม 3. ด้านการพัฒนาศักยภาพ 4. ด้านความมั่นคงในการทางาน 5. ด้านการทางานร่วมกัน 6. ด้านสิทธิส่วนบุคคล 7. ด้านการดาเนินชีวิตกับการทางาน 8. ด้านสังคม

ความผูกพันต่อองค์การ 1. ความผูกพันด้านความรู้สึก 2. ความผูกพันต่อเนื่อง 3. ความผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานทางสังคม

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวความคิดของการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย คุณภาพชีวิตการทางานมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางาน จากนักวิชาการต่าง ๆ สามารถสรุปนิยาม คุณภาพชีวิตการทางาน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ แวดล้อมชีวิตการทางาน เช่น สภาพแวดล้อมในการ ท างาน ความมั่ น คงปลอดภั ย ค่ า ตอบแทน ความก้าวหน้าในการทางาน การมีปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมกับบุคคลต่าง ๆ ในองค์การ เพื่อให้พนักงาน เกิดความพึงพอใจ มีความสุขทั้งทางกายและใจ ซึ่ง ส่ ง ผลให้ พนั ก งานมี ความรู้ สึ กว่ า เป็น ส่ ว นหนึ่ง ของ องค์การและมีความผูกพันต่อองค์การ Bruce and Blackburn (1992) และ HCBI (2552) ได้สรุป 8 องค์ประกอบที่สาคัญของคุณภาพ ชีวิตการทางาน ได้แก่ 1. การได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและ ยุติธรรม (Adequate and fair compensation) การที่ บุ ค ลากรได้ รั บ ผลตอบแทนที่ เ พี ย งพอและ สอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน 2. สภาพการทางานที่มีความปลอดภัยและ ส่งเสริมสุขภาพ (Safe and healthy working

conditions) คือ การที่บุคลากรได้ปฏิบัติงานใน สภาพแวดล้ อ มที่ เหมาะสม และเอื้อ อานวยให้ บุ ค ลากรสามารถปฏิ บั ติ ง านโดยไม่ ส่ ง ผลเสี ย ต่ อ สุขภาพและไม่เสี่ยงอันตราย 3. ความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน (Future opportunity for continued growth and security) หมายถึง การที่บุคลากรในองค์การมี โอกาสที่จะก้าวหน้าในอาชีพและตาแหน่งอย่างมั่นคง 4. โ อ ก า ส ใ น ก า ร ใ ช้ แ ล ะ พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง บุ ค ค ล (Immediate opportunity to use and develop human capacities) หมายถึง การที่บุคลากรได้รับโอกาส การพัฒนาขีดความสามารถของตนจากงานที่ทาโดย พิจารณาจากลักษณะงานที่ปฏิบัติ 5. การทางานร่วมกันและความสัมพันธ์กับ บุคคลอื่น (Social Integration in the work organization) หมายถึง การที่บุคลากรในองค์การมี ความรู้สึ กว่าไม่มีการแบ่งชั้นกันในองค์การ รวมถึง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ความรู้ สึ ก ว่ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปในทางที่ ดี ขึ้ น กว่าเดิม 6. สิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คลในสถานที่ ท างาน (Constitutionalism in the work organization) หมายถึง การที่องค์การให้เกียรติและเคารพ ในสิทธิส่วนบุคคลอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน 7. จังหวะชีวิต (Total life space) หมายถึง การปฏิบัติงานของบุคคลควรมีความสมดุล กับบทบาทของชีวิตบุคคล บทบาทนี้เกี่ยวข้องกับการ แบ่งเวลาทางด้านอาชีพ ควรให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม ระหว่างการใช้เวลาว่างของบุคคลและเวลาว่างของ ครอบครัวตลอดทั้งความก้าวหน้าและการได้รับความ ดีความชอบ 8. การเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม (The social relevance of work life) หมายถึง การที่ บุ ค ลากรรู้ สึ ก ว่ า งานที่ ป ฏิ บั ติ นั้ น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ สังคม เป็นการเพิ่มคุณค่าความสาคัญของอาชีพและ เกิดความรู้สึกภูมิใจในองค์การของตนเอง แนวความคิดเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การ การสร้างความผูกพัน ต่อองค์การเป็นอีก วิธีหนึ่งที่สามารถผูกใจให้บุคลากรทางานกับองค์การ ความผูกพันต่อองค์การเป็นปัจจัยสาคัญที่นาไปสู่การ บรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยสามารถสรุปนิยาม ความผูกพันต่อองค์กร หมายถึง ทัศนคติทางบวก ของบุคลากร มีความเชื่อมั่น ความศรัทธาต่อองค์กร มี ค ว ามผู ก พั น มี ค วามเต็ ม ใจทุ่ ม เทมุ่ ง มั่ น ใน ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ในการทางาน เพื่อองค์การและมีความต้องการที่จะปฏิบัติงานกับ องค์การนี้ตลอดไป Allen and Meyer (2007: 70-89) ได้ กล่าวถึงลักษณะของความผูกพันต่อองค์การ เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. ความผูกพันด้านความรู้สึก (Affective commitment) หมายถึง ความผูกพันที่เกิดขึ้นจาก ความรู้สึก เป็นความรู้สึกผูกพันและเป็นอันหนึ่งอัน

33 เดียวกันกับองค์การ รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ ทุ่มเทและอุทิศตนให้กับองค์การ 2. ความผูกพันต่อเนื่อง (Continuance commitment) หมายถึง ความผูกพันที่เกิดขึ้นจาก การคิดคานึ่งของบุคคล โดยมีพื้นฐานอยู่บนต้นทุนที่ บุคคลให้กับองค์การ ทางเลือกที่มีของบุคคลและ ผลตอบแทนที่ บุคคลได้รับ จากองค์การ โดยจะ แสดงออกในรูปของพฤติกรรมต่อเนื่องในการทางาน ของบุคคล ว่าจะทางานอยู่กับองค์การนั้น ต่อไปหรือ โยกย้ายเปลี่ยนแปลงที่ทางาน 3. ความผู กพัน ที่เกิดจากมาตรฐานทาง สังคม (Normative commitment) หมายถึง ความ ผูกพันที่เกิดขึ้นจากค่านิยม วัฒนธรรมหรือบรรทัด ฐานของสังคม เป็นความผูกพันที่เกิดขึ้นเพื่อตอบ แทนในสิ่งที่บุคคลได้รับจากองค์การ แสดงออกในรูป ของความจงรักภักดีของบุคคลต่อองค์การ นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ 1. คุณภาพชีวิตการทางาน หมายถึง ระดับความรู้สึกพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อชีวิตการ ท างานที่ เ กี่ ย วกั บ งานหรื อ ผลงานที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ บุคลากร อันเนื่องมาจากประสบการณ์การทางานใน ภายในองค์ ก าร หรื อ หน่ ว ยงานของก าลั ง พลกรม ทหารราบที่ 3 ประกอบด้วย การได้รับค่าตอบแทนที่ เพียงพอและยุติธรรม (Adequate and fair compensation) ส ภ า พ ก า ร ท า ง า น ที่ มี ค ว า ม ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (Safe and healthy working conditions) ความก้าวหน้าและความ มั่น คงในงาน (Future opportunity for continued growth and security) โอกาสในการ ใ ช้ แ ล ะ พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง บุ ค ค ล (Immediate opportunity to use and develop human capacities) การทางานร่ว มกันและ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Social Integration in the work organization) สิทธิส่วนบุคคลในสถานที่


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ทางาน (Constitutionalism in the work organization) จังหวะชีวิต (Total life space) และการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม (The social relevance of work life) 2. ความผูกพันต่อองค์การ หมายถึง การ แสดงออกถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อองค์การที่แสดงถึง ความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าที่จะยอมรับเป้าหมายและ ค่านิยมขององค์การ มีความเต็มใจทุ่มเท มุ่งมั่นใน ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ในการทางาน เพื่อองค์การและมีความต้องการที่จะปฏิบัติงานกับ องค์การนี้ตลอดไป ประกอบด้วย ความผูกพันด้าน ความรู้สึก (Affective commitment) ความผูกพัน ต่อเนื่อง (Continuance commitment) และความ ผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานทางสังคม (Normative commitment) วิธีดาเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร (Population) ได้แก่ กาลัง พ ล ก ร ม ท ห า ร ร า บ ที่ 3 จ า น ว น 2,643 ค น ประกอบด้วย กรมทหารราบที่ 3 ค่ายกฤษณ์สีวะรา อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 ค่ายกฤษณ์สีว ะรา อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหาร รา บ ที่ 3 ค่ า ย สุ ร น า รี อ า เ ภ อเ มื อง จั ง ห วั ด นครราชสีมา และกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหาร ราบที่ 3 ค่ า ยพระยอดเมื อ งขวาง อ าเภอเมื อ ง จังหวัดนครพนม (Infantry Regiment the 3rd, 2559) 1.2 กลุ่มตัวอย่าง (Sample) กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการศึกษา ได้แก่ กาลั งพลกรมทหารราบที่ 3 จานวน 350 คน โดยขนาดของกลุ่ มตัวอย่างใช้ วิธีการคานวณจากสูตรของ Yamane (1973, p. 127, Cited in Punpinij, 2011: 133) โดย ก าหนดค่ า ความเชื่ อ มั่ น ร้ อ ยละ 95 ท าการสุ่ ม

ตัว อย่ า งแบบเป็ น ชั้ น ภู มิ (Stratified Random Sampling) 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ ใช้ในการวิจัย จาแนกเป็น 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 คุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถาม ประกอบด้ ว ย อายุ อายุ ร าชการ ระดับชั้นยศ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ ยต่อเดือน และหน่วยงานที่สังกัด ตอนที่ 2 เป็นคาถามปลายปิดเกี่ยวกับ คุณภาพชีวิตการทางานของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 โดยแบ่ ง ระดั บของคุ ณ ภาพชี วิ ตการท างานของ กาลั ง พลกรมทหารราบที่ 3 ประกอบด้ว ย 8 ด้า น ดังนี้ 1. ด้านค่าตอบแทน 2. ด้านสิ่งแวดล้อม 3. ด้าน การพั ฒ นาศั ก ยภาพ 4. ด้ า นความมั่ น คงในการ ทางาน 5. ด้านการทางานร่วมกัน 6. ด้านสิทธิส่วน บุคคล 7. ด้านการดาเนินชีวิตกับการทางาน และ 8. ด้านสังคม ตามวิธีการลิเคอร์ท (Likert) มี 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตอนที่ 3 ความผูกพันต่อองค์การของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 ประกอบด้ ว ย 3 ด้ า น ดั งนี้ 1. ความผูกพันด้านความรู้สึก 2. ความผูกพันต่อเนื่อง และ 3. ความผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานทางสังคม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คณะผู้ วิ จั ย ได้ ท บทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัย เกี่ ย วข้ อ งของคุ ณ ภาพชี วิ ต การท างาน และความ ผูกพันต่อองค์การ มีจานวนข้อคาถาม 55 ข้อ โดยให้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญจ านวน 5 ท่ า น เพื่ อ พิ จ ารณาความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดยการ ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างภาพรวมทั้งหมด ของแบบสอบถามโดยใช้สูตร IOC (Index of item


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

objective congruence) ตามวิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิ ล ตั น (Hambleton) (Phatiyanee, 2544: 219-233) ได้ค่าความ สอดคล้ อ งตั้ ง แต่ .70 ขึ้ น ไป จากนั้ น จึ ง น า แบบสอบถามมาทดสอบกั บ ทหารที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ตัวอย่างจานวน 30 ชุด แล้วนามาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาตาม วิ ธี ข องครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficients) (Srisaard, 2549: 99) ได้ค่าความ เชื่อมั่น เท่ากับ .97 การเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อการวิจัย ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ถึ ง เดื อ นมี น าคม พ.ศ. 2560 รวมระยะเวลา 11 เดือน โดยผู้วิจัยมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) โดย เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการส ารวจโดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล จากกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 จานวน 350 คน 2. ข้อมูล ทุติยภูมิ (Secondary data) โดยค้นคว้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพชีวิตการทางาน และความผูกพันต่อองค์การ การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปในการประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยดาเนินการดังนี้

35 1. ส ถิ ติ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า (Descriptive statistics) เพื่ออธิบายลักษณะของข้อมูลด้วยค่าสถิติ พื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ ( Percentage) ค่ า เ ฉ ลี่ ย ( Mean) แ ล ะ ค่ า ส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 2. ส ถิ ติ เ ชิ ง อ นุ ม า น (Inference statistics) เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้ สู ต รสั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์ ข องเพี ย ร์ สั น (Pearson’s product moment correlation) ณ ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และอิทธิพลของ คุณภาพชีวิ ตการทางานต่อความผูกพันต่อองค์การ ทดสอบสมมุ ติ ฐ านโดยใช้ ส ถิ ติ ก ารวิ เ คราะห์ ก าร ถดถอยพหุ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัย ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลของกลุ่ ม ตัวอย่าง ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุไม่เกิน 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 53.70 อายุราชการ มากกว่า 6 ปีขึ้นไป และระหว่าง 1-2 ปีคิดเป็นร้อยละ 38.00 และ 36.00 ตามลาดับ ขณะที่เมื่อพิจารณาระดับชั้น ยศ ส่วนใหญ่มีระดับชั้นยศนายทหารประทวนสูงถึง ร้อยละ 64.60 สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา / ปวช. คิดเป็นร้อยละ 56.30 สาหรับรายได้เฉลี่ยต่อ เดือน ร้อยละ 38.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,001–15,000 บาท รวมทั้งการปฏิบัติงานสังกัด กองพันทหารราบที่ 2 และกองพันทหารราบที่ 3 คิด เป็นร้อยละ 28.60 เท่ากัน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตการทางานของกรมทหารราบที่ 3 ตาราง 1 การวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิตการทางานของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 ข้อที่

ระดับ

คุณภาพชีวิตการทางานของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3

1 2 3 4 5 6 7 8

ด้านค่าตอบแทน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการพัฒนาศักยภาพ ด้านความมั่นคงในการทางาน ด้านการทางานร่วมกัน ด้านสิทธิส่วนบุคคล ด้านการดาเนินชีวิตกับการทางาน ด้านสังคม ภาพรวม จากตาราง 1 คุณภาพชีวิตการทางานของ ก าลั ง พลกรมทหารราบที่ 3 โดยภาพรวมอยู่ ใ น ระดับสูงทุกด้าน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 จากคะแนน เต็ม 5 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสังคม มี ค่าเฉลี่ ย มากที่สุ ด เท่ากั บ 4.12 มีคุณภาพชีวิ ตการ

S.D.

X

แปล ความหมาย

3.70 0.82 สูง 3.98 0.66 สูง 4.03 0.62 สูง 3.93 0.68 สูง 3.92 0.70 สูง 3.93 0.73 สูง 3.77 0.72 สูง 4.12 0.68 สูง 3.92 0.59 สูง ทางานในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการพัฒนา ศักยภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 มีคุณภาพชีวิตการ ทางานในระดับมาก ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านค่าตอบแทน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 มีคุณภาพ ชีวิตการทางานในระดับมาก ตามลาดับ

การวิเคราะห์ระดับความผูกพันต่อองค์การของกรมทหารราบที่ 3 ตาราง 2 การวิเคราะห์ระดับความผูกพันต่อองค์การของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 ข้อที่ 1 2 3

ความผูกพันต่อองค์การของกาลังพล กรมทหารราบที่ 3 ความผูกพันด้านความรู้สึก ความผูกพันต่อเนื่อง ความผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานทางสังคม ภาพรวม

ระดับ X

S.D.

แปล ความหมาย

4.04 3.89 4.04 3.99

0.76 0.78 0.74 0.68

สูง สูง สูง สูง


37

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

จากตาราง 2 พบว่า ความผูกพันต่อองค์การ ของกาลังพลกรมทหารราบที่ 3 โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับสูงทุกด้าน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 จากคะแนน เต็ม 5 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้ านที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ ความผูกพันด้านความรู้สึก และความ

ผู ก พั น ที่ เ กิ ด จากบรรทั ด ฐานทางสั ง คม มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ากัน คือ 4.04 มีความผูกพันต่อองค์การในระดับ มาก รองลงมา คือ ความผูกพันต่อเนื่อง ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.89 มีความผูกพันต่อองค์การในระดับสูง

การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทางานและความผูกพันต่อองค์การ ตาราง 3 สหสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทางานและความผูกพันต่อองค์การ ความผูกพันต่อองค์การ ระดับความสัมพันธ์ คุณภาพชีวิตการทางาน Pearson Sig. correlation .617 1. ด้านค่าตอบแทน .00 สูง .668 2. ด้านสิ่งแวดล้อม .00 สูง .687 3. ด้านการพัฒนาศักยภาพ .00 สูง .690 4. ด้านความมั่นคงในการทางาน .00 สูง .637 5. ด้านการทางานร่วมกัน .00 สูง .686 6. ด้านสิทธิส่วนบุคคล .00 สูง .675 7. ด้านการดาเนินชีวิตกับการทางาน .00 สูง .677 8. ด้านสังคม .00 สูง จากตาราง 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ท างานทุ ก ด้ า นมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ความผู ก พั น ต่ อ ระหว่างคุณภาพชีวิตการทางานและความผูกพันต่อ องค์การอยู่ในระดับสูงนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p< องค์การ พบว่า องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตการ .01


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณภาพชีวิตการทางานต่อความผูกพันต่อองค์การ ตาราง 4 อิทธิพลของคุณภาพชีวิตการทางานต่อความผูกพันต่อองค์การ ตัวแปรพยากรณ์ ค่าคงที่

สิ่งแวดล้อม การพัฒนาศักยภาพ ความมั่นคงในการทางาน สิทธิส่วนบุคคล การดาเนินชีวิตกับการทางาน สังคม Adjusted R2 Sig F. F-Value

Unstandardized Standardized Coefficient Coefficient t b SE β .324 .156 2.072 .122 .055 .120 2.240 .124 .063 .114 1.984 .230 .052 .229 4.409 .124 .052 .134 2.376 .159 .051 .169 3.141 .167 .052 .168 3.184 .630 .000 100.029

จากตาราง 4 การวิเคราะห์การถดถอยพหุ เพื่อพยากรณ์ปัจจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ องค์การ พบว่า องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตในการ ทางาน (ตัว แปรอิ ส ระ) ประกอบด้ว ย สิ่ งแวดล้ อ ม การพัฒนาศักยภาพ ความมั่นคงในการทางาน สิทธิ ส่วนบุคคล การดาเนินชีวิตกับการทางาน และสังคม มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก าร อย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ <.05 โดยความมั่นคงใน การทางานมีอิทธิพลสูงที่สุด (Beta=.229) รองลงมา คือ การดาเนินชีวิตกับการทางาน (Beta = .169) และอิ ท ธิ พ ลน้ อ ยสุ ด คื อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพ (Beta=.114) โดยองค์ ป ระกอบดั ง กล่ า วสามารถ ร่ว มกันพยากรณ์ ความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 63.0 (Adjusted R2 = .630) ขณะเดียวกันตัวแปร อิ ส ระไม่ เ กิ ด ปั ญ หาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งตั ว แปร อิส ระ เนื่องจากค่า VIF (Variance inflation factor) ไม่เกิน 10 และค่า Tolerance เข้าใกล้ 1 ดังนั้นจึงเป็นสมการที่สามารถนาไปพยากรณ์ได้ โดย

Sig. .039 .026 .048 .000 . .018 .002 .002

Collinearity Statistics Tolerance

VIF

.369 .319 .394 .332 .366 .382

2.708 3.134 2.539 3.013 2.733 2.619

น ามาเขี ย นเป็ น สมการถดถอยพหุ คู ณ ในรู ป ของ คะแนนดิบได้ดังนี้ ความผูกพันต่อองค์การ = .324 + .077 (ค่าตอบแทน) + .122 (สิ่งแวดล้อม) + .124 (การ พัฒนาศักยภาพ) + .230 (ความมั่นคงในการทางาน) + .124 (สิทธิส่วนบุคคล) + .159 (การดาเนินชีวิต กับการทางาน) + .167 (สังคม) สรุปและอภิปรายผล ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่มีอายุไม่เกิน 30 ปี โดยอายุราชการ มากกว่า 6 ปี ขึ้ น ไป มี ร ะดั บ ชั้ น ยศนายทหารประทวน ส าเร็ จ การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา / ปวช. โดยรายได้ เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,001–15,000 บาท รวมทั้ง การปฏิบัติงานสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 และกอง พันทหารราบที่ 3 ซึ่ งเป็นบุคลากรรุ่นใหม่ของกรม ทหารราบที่ 3 ทาให้มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน เพื่อตอบสนองภารกิจที่หลากหลายของกองทัพบก


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ส า ห รั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ก า ร ท า ง า น ผลการวิ จั ย สรุ ป ได้ ว่ า คุ ณ ภาพชี วิ ต การท างาน ประกอบด้วย ค่าตอบแทน สิ่งแวดล้อม การพัฒนา ศั ก ยภาพ ความมั่ น คงในการท างาน การท างาน ร่ ว มกั น สิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คล การด าเนิ น ชี วิ ต กั บ การ ทางาน และสั งคม โดยคุณภาพชีวิตการทางานทั้ ง ภาพรวมและรายด้านอยู่ ใ นระดับ สู ง ขณะที่ ความ ผู ก พั น ต่ อ องค์ ก าร ผลการวิ จั ย สรุ ป ได้ ว่ า ความ ผู กพัน ต่อ องค์การ ประกอบด้ว ย ความผู กพัน ด้าน ความรู้สึก และความผูกพันที่เกิดจากบรรทัดฐานทาง สังคม และความผูกพันต่อเนื่อง โดยภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับ สูงทุกด้าน ซึ่งสอดคล้องกับผล การศึกษาของ Lepkrut (2554: 67)ที่ได้ศึกษาเรื่อง ผลกระทบของคุณภาพชีวิตในการทางานที่มีผลต่อ ความผูกพันต่อองค์การของบุ คลากรสายสนับสนุน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ผลการวิ จัยพบว่า โดยรวมบุคลากรเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การอยู่ ในระดับค่อนข้างสูง นอกจากนี้ คุ ณ ภาพชี วิ ต การท างานมี อิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การ ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการศึกษาของ Rahothan (2554) ได้ศึกษาความ พึ ง พอใจในการท างาน ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร คุณภาพชีวิตและความสุขในการทางาน กับผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรสุขภาวะ เขตพื้นที่ ภาคตะวั น ออก พบว่ า ปั จ จั ย คุ ณ ภาพชี วิ ต และ ความสุ ข มีอิ ทธิ พลทางตรงที่ เป็ น บวกต่ อความพึ ง พอใจในการทางาน และความผูกพันองค์กร ปัจจัย ความพึงพอใจในการทางาน มีอิทธิพลทางตรงเชิง บวกต่อความผูกพันต่อองค์กรและผลการปฏิบัติงาน และหากผ่ า นตั ว แปรความผู ก พั น องค์ ก รซึ่ ง เป็ น อิทธิพลทางอ้อมจะให้ค่าเชิงลบต่อผลการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับที่ .05 อีกทั้งสอดคล้องกับ

39 ผลการศึ ก ษาของ Venkatachalamand and Velayudham (1997) สรุปว่า คุณภาพชีวิตการ ทางานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความผูกพั นต่อองค์การ หากคุ ณ ภาพชี วิ ต การท างานของบุ ค ลากรเพิ่ ม ขึ้ น ย่ อ มส่ ง ผลให้ บุ ค ลากรมี ค วามผู ก พั น ต่ อ องค์ ก าร เพิ่มขึ้น นั่นแสดงถึงประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ บุคลากรเพิ่มขึ้นเช่นกัน ข้อเสนอแนะ ควรทาศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการ ท างานและความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารกั บ หน่ ว ยงาน ต่าง ๆ ของกองทัพไทย เพื่อนาผลการศึกษาไปใช้ เป็นแนวทางในการนาไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตการ ทางานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รวมถึงนาผลการวิจัยมาพิจารณาเป็นแนวทางในการ เสริ ม สร้ า งและปรั บ ปรุ ง นโยบายการบริ ห ารงาน บุคคล ตลอดจนระบบการบริหารในหน่วยงานต่างๆ เพื่อ ให้ คุ ณภาพชี วิตการท างานของบุ คคลากรของ กรมทหารราบที่ 3 ดี ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถน าผล การศึ ก ษาไปใช้ เ พื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานและเป็ น ประโยชน์ ท างการศึ ก ษาแก่ ผู้ ส นใจศึ ก ษาวิ จั ย ใน อนาคต รวมถึงการปรับเปลี่ยนนโยบายการบริหาร โดยเฉพาะการปรับปรุงนโยบายการเสริมสร้างความ มั่ น คงในการท างานด้ ว ยการให้ บุ ค ลากรของกรม ท ห า ร ร า บ ที่ 3 ไ ด้ มี โ อ ก า ส เ พิ่ ม พู น ค ว า ม รู้ ความสามารถตามต าแหน่ ง สายงานที่ บุ ค ลากร เหล่ า นั้ น ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อาทิ การอบรมพั ฒ นา ยกระดับ สรรถนะของบุค ลากรทั้งระบบ ตลอดจน การศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น เพื่ อ ความมั่ น คงใน อาชีพ ตลอดจนเป็นที่ยอมรับทั้งของเพื่อนร่วมงาน และสมาชิกขององค์การ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

References Allen, N. J. and Meyer, J. P. (2007). A three-component conceptualization of organizational committment. Human Resource Management Review, 1, 61-89. Bruce, W. M., & Blackburn, J. W. (1992). Balancing Job Satisfaction & Performance: A Guide for Human Recourse Professionals. Westport: Quaorum Books. Buchanan, I. I. (2004). Building organizational commitment: The socialization of managers in work organizations. Administrative Science Science Quarterly, 19, (4), 535. Chaisiripanich, T. (2549). The Relationship between Quality of Working Life and Organizational Commitment of Production’s Employee ETA (Thailand) ltd. Independent Study Master of Science: Bangkok: NIDA. Feuer, D. (1989). Quality of work life: a cure for all ills? Training. The Magazine of HumanResources Development, 26, 65-66. HCBI. (2552). The Measurement of Quality of Working Life. Retrieved August, 3, 2015 from http://www.qwlthai.com/downl.php. Infantry Regiment the 3rd (2559). Operational Plan Executive Summary of Infantry Regiment the 3rd Sakon Nakhon Province in 2016. Sakon Nakhon: Infantry Regiment the 3rd. Lepkrut, C. (2554). The Effecto of Quality of Working Life to Organizational Commitment of Supporting Staffs. Bangkok: NIDA. Phatiyanee, S. (2554). Educational Measurement. 3thed. Bangkok: Prasan Printing. Punpinij, S. (2554). Research Techniques in Social Science. 2nd. Bangkok: Vittayapat. Rahothan, J. (2559). Job Satisfaction, Organizational Commitment, Quality of Work Life and Affecting Staffs’ Work Performance of Healthy Organizations in Eastern Region of Thailand. Sripatum Chonburi Journal.13(2), 24-34. Srisaard, B. (2545). Fundamental Research. 7 ed. Bangkok: Suveyasarn. Venkatachalam, J. and Velayudham, A. (1997). Quality of work life: A review of literature. South Asian Journal of Management, 4(1), 45-57.


41

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

พฤติกรรมปัญหา สมรรถภาพทางกายภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนวิชา พลศึกษา

กฤติณภัทร สุขเจริญ1 ดลพัฒน์ ยศธร2 อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล3

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมปัญหา สมรรถภาพทางกาย และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา โดย ใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเลือกกลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 90 คน แบบเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า สมรรถภาพทางกายมีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี การศึกษา ดัชนีมวลกายมีผลต่อสมรรถภาพทางกายอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ ≤.05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพลศึกษาของนักเรียน มีความสัมพันธ์ทางลบกับคะแนนรวมพฤติกรรมที่เป็นปัญหา (ด้านอารมณ์ ความ ประพฤติเกเร สมาธิสั้น และความสัมพันธ์กับเพื่อน) แต่เมื่อพิจารณาพฤติกรรมรายด้านที่เป็ นปัญหา พบว่า ด้านที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา ได้แก่ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง/ สมาธิสั้น และพฤติกรรมเกเร/ ความประพฤติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ≤0.05 ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงควร สนใจและให้ความสาคัญกับการเรียนวิชาพลศึกษา และการประเมินสมรรถภาพทางกาย ทั้งนี้ เพื่อช่วย กระตุ้นและส่งเสริมให้นักเรียนระดับประถมศึกษาได้มีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมที่สมวัย อย่างมีประสิทธิภาพ คาสาคัญ: พัฒนาการวัยเด็กตอนปลาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา สมรรถภาพทางกาย

1

นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาการมนุษย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: Kritnaphat_s@hotmail.com 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาการมนุษย์ สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: Dalapat@hotmail.com 3 รองผูอ้ านวยการ สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: Athiwat_1@yahoo.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Problematic Behaviour, Physical Capability and Academic Achievement among Physical Education Students

Kritnaphat Sukcharoen 1 Dalapat Yossatorn 2 Athiwat Jiawiwatkul 3

Abstract The main objectives of this research were to study problematic behavior and the relationship among problematic behaviour, physical capability, and physical education learning achievement of grade 6 students in a school in Chachoengsao Province. Questionnaire and physical fitness test were applied to collect data from 90 students selected by purposive sampling method. The study revealed that physical capacity of students changed over the academic years. Body mass index affected physical fitness significantly at ≤0.05 level. Physical education learning achievement of the students was negatively related with total score of problematic behaviour (in terms of their emotion, unruly behaviour, attention deficit hyperactivity disorder or ADHD and relationship with their peers), specially physical education learning achievement being negatively related with hyperactivity/ADHD and unruly behavior significantly at p ≤.05. It was suggested that attention and focus should be paid on physical education learning and physical fitness evaluation in order to promote and encourage physical, mental and social development among primary school students. Keywords: Late childhood development, physical education learning achievement, Physical fitness 1

Graduate student, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand e-mail: Kritnaphat_s@hotmail.com 2 Assistant Professor, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand e-mail: Dalapat@hotmail.com 3 Deputy Director, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University, 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170, Thailand e-mail: Athiwat_1@yahoo.com e-mail: drwannapa@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

การที่ ปั จ จุ บั น ปั จ จั ย ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเฉพาะเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากมาย ทาให้ เบียดเบียนเวลาสาหรับการทากิจกรรม เพื่อพัฒนา สติปัญญาและการพัฒนาทางกายของเด็กไทย ทาให้ มี โ อกาสน้ าหนั ก เกิ น (สถาบั น วิ จั ย ประชากรและ สั ง คม มหาวิ ทยาลั ยมหิ ด ล, 2557) โดยพบว่ า สถานการณ์ ข องเด็ ก วั ย เรี ย น มี ภ าวะอ้ ว นเพิ่ ม ขึ้ น อย่างรวดเร็ว ถึงร้อยละ 15.5 (กรมอนามัย , 2556) อี ก ทั้ ง รายงานผลการทดสอบทางการศึ ก ษา ระดับชาติ O-NET ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทั่ว ประเทศ ปีการศึกษา 2555-2557 ในวิชาสุ ข ศึกษาและพลศึกษา พบว่า คุณภาพด้านการเรียน วิชาพลศึกษาไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ผู้ วิ จั ย ซึ่ ง เป็ น ครู ส อนวิ ช าพลศึ ก ษา ของ โรงเรียนแห่ งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้สังเกต พบว่ า นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ซึ่ ง อายุ ระหว่าง 11-12 ปี มีแนวโน้มในการออกกาลั งกาย ลดลง ส่วนหนึ่งมีภาวะอ้วนน้าหนักเกินเกณฑ์ บาง คนมีสมรรถภาพทางกายต่ากว่าเกณฑ์ นักเรียนให้ ความสนใจในการออกกาลังกายโดยเฉพาะเล่นกีฬา น้อยลง และพัฒนาการของนักเรียนบางคน อาจไม่ เป็นไปตามวัย ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะ ศึกษาถึงพัฒนาการด้ านร่างกาย จิตใจ สังคม และ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก เรี ย นเหล่ า นี้ ว่ า เป็ น อย่ า งไร มี ความสัมพันธ์กันหรือไม่ อีกทั้งมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผล ต่อประเด็นดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับ นาไปประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิช า พลศึกษา เพื่อช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่ างกาย ปั ญ ญา จิ ต ใจ และสั ง คม ให้ แ ก่ เ ด็ ก วั ย นี้ ไ ด้ ต รง ประเด็น ตลอดจนเพื่อประสิทธิภาพของเด็ก ครู และ การจัดการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียนวิชาพลศึกษา

43 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม ที่ เ ป็ น ปั ญ หาและผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าพล ศึกษา 3. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมและ ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ น ประถมศึกษาวิชาพลศึกษา การทบทวนวรรณกรรม พั ฒ นาการในวั ย เด็ ก แบ่ ง เป็ น 4 ด้ า น อั น ได้ แ ก่ พั ฒ นาการด้ า นร่ า งกาย พั ฒ นาการด้ า น สติ ปั ญ ญา พั ฒ นาการด้ า นจิ ต ใจอารมณ์ และ พัฒนาการด้านสังคม พัฒนาการในวัยนี้ นับว่า เป็น ช่วงที่สาคัญยิ่งของพัฒนาการในช่วงชีวิตมนุษย์ (คช ภักดี, 2551) ซึ่งเด็กในช่วงอายุ 11-12 ปี นี้ เป็นช่วง ที่ วั ย ส าคั ญ เพราะเป็ น วั ย ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ชัดเจนในทุกด้าน จากวัยเด็กตอนปลายเข้าสู่วัยรุ่น โดยด้านร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ด้านจิตใจอารมณ์จะมีความกังวลและเครียดในการ ทาให้ตนเองเป็นที่ยอมรับของเพื่อนๆ ด้านสังคมก็มี ความเปลี่ยนแปลงจากสังคมเด็กเข้าสู่วัยรุ่น (คทวณิช , 2546) ซึ่งถ้ามีการส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กครบ ทุก ด้า นอย่ างเหมาะสม ก็จ ะเป็ นพื้ น ฐานส าคัญ ยิ่ ง สาหรับการมีพัฒนาการที่ดีในช่วงวัยต่อ ๆ ไป และ เนื่ อ งจากกิ จ กรรมในวิ ช าพลศึ ก ษา เน้ น สาระการ พัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งจะช่วยให้ เด็กได้มีพัฒนาการในแต่ละด้านสมบูรณ์ ตามวัย อนึ่ง การจัดการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา จึงต้องวัดความสาเร็จ หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียน ทั้งด้านความรู้ (K) การปฏิบัติ(P) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์หรือเจตคติ (A) ให้ครบทุก ด้าน ซึ่งสามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย น และแบบทดสอบการปฏิ บั ติ โดย สมรรถภาพทางกาย หรือความสามารถของร่างกาย ในการปฏิบัติกิจกรรมต่ าง ๆ ในชีวิตประจาวัน แบ่ง ได้ 2 ประเภทคือ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

1. สมรรถภาพทางกายขั้ น พื้ น ฐาน ได้ แ ก่ ความอดทนของระบบไหลเวียนเลื อด ความอดทน ของกล้ ามเนื้อ ความแข็งแรงของกล้ ามเนื้อ ความ อ่อนตัวและส่วนประกอบในร่างกาย 2. สมรรถภาพทางกายที่มีทักษะที่ดี ได้แก่ ความอดทนของระบบเลือดและหัวใจ ความอดทน กรอบแนวความคิดของการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคล -เพศ -ปีการศึกษา -ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) -เจตคติต่อวิชาพลศึกษา

และความแข็ ง แรงของกล้ า มเนื้ อ ความอ่ อ นตั ว ส่วนประกอบของร่างกาย ความคล่องแคล่ วว่องไว การทรงตัวที่สมดุล การทางานประสานกันของระบบ ประสาทและกล้ามเนื้อ กาลั ง ปฏิกิริยาตอบสนอง และความเร็ว โดยสามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือและ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยวิธีต่าง ๆ

-พฤติกรรม -สมรรถภาพทางกาย

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

นิยามศัพท์เฉพาะ 1. พัฒนาการวัยเด็กตอนปลาย หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องเป็นลาดับขั้น ที่เป็นไปตามธรรมชาติ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ของวัยเด็กนักเรียน ที่มีอายุระหว่าง 1112 ปี 2. พั ฒ น า ก า ร ท า ง ก า ย ห ม า ย ถึ ง ความสามารถของร่างกายในการใช้กล้ ามเนื้อและ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 3. พั ฒ นาการจิ ต ใจ สั ง คม หมายถึ ง ความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์ และ แสดงความรู้สึก ซึ่งในงานวิจัยนี้ ได้จากการทาแบบ ประเมินพฤติกรรมเด็ก สาหรับประเมินตนเอง SDQ (Strength and Difficulties Questionnaire) 4. การสอนวิชาพลศึกษา หมายถึง การจัด กิ จ กรรมที่ ใ ช้ วิ ธี ส อนแบบอธิ บ าย สาธิ ต และให้ นักเรียนฝึกปฏิบัติ เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรม

การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกมและ กี ฬ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย จิตใจ และสังคม 5 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาพลศึกษา หมายถึง ความสาเร็จของผู้เรียนทั้งในด้านความรู้ (K) การปฏิบัติ (P) ทักษะและประสิทธิภาพของผู้เรียน ที่ เกิดจากการเรียนรู้ การฝึกอบรม หรือการได้รับสั่ ง สอน ซึ่งสามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 6. เจตคติ ที่ มี ต่ อ การเรี ย นวิ ช าพลศึ ก ษา หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการ เรียนวิชาพลศึกษา ซึ่งได้จากการตอบแบบวัดเจตคติ ที่มีต่อการเรียนวิชาพลศึกษา 7. สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ หมายถึง การมีร่างกายที่แข็งแรง มีความสามารถ ในการทา กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ในชี วิ ต ประจ าวั น ได้ อ ย่ างมี


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประสิทธิภาพและไม่เหนื่อยล้าง่าย โดยการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย 5 รายการ วิธีการดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ภาคตั ด ขวาง (Cross-sectional descriptive study) ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ของโรงเรียน แห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จานวน 3 ห้องเรียน รวม 112 คน การเลือกตีวอย่างโดยเลือกตามความ ประสงค์หรือเกณฑ์ (purposive sampling) โดย ก าหนดเกณฑ์ ก ารคั ด เข้ า อั น ได้ แ ก่ 1) ต้ อ งผ่ า น การศึ ก ษาในชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 ปี ก ารศึ ก ษา 2558 ของโรงเรียนแห่งนี้ 2) ต้องไม่ใช่ผู้ที่ย้ายเข้ามา เรียนช่วงกลางเทอม หรือเป็นนักเรียนเข้าใหม่ และ 3) ต้องไม่ใช่นักเรียนที่เรียนซ้าชั้น รวมกลุ่มตัวอย่าง จานวน 90 คน ก่อนดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยชี้แจงรายละเอียด ต่าง ๆ ให้แก่นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ผู้อานวยการ หั วหน้ ากลุ่ มสาระฯ และครู ป ระจ าชั้ น ซึ่ งนั กเรี ยน สามารถถอนตัว หรือยกเลิกการเข้าร่วมการวิจัยได้ทุก เวลา โดยไม่ เ กิ ด ผลกระทบและความเสี ย หายแก่ นักเรียน และข้อมูลจะถูกเก็บเป็นความลับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1) แบบสอบถามข้อมูล ทั่ว ไปของนักเรีย น ได้จากบันทึกของนักเรียน 2) แบบประเมิ น พั ฒ นาการของนั ก เรี ย น ประกอบด้วย การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย ใช้ ค่าดัชนีมวลกาย (Body Main Index, BMI) และโดย ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตาม แนวทางที่ ก รมพลศึ ก ษาท าการวิ จั ย ไว้ (สมาหิ โ ต, 2555)

45 การประเมินพัฒนาการด้านจิ ตใจ และ สังคม ใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก สาหรับประเมิน ตนเอง ของส านักพัฒนาสุ ขภาพจิต กรมสุ ขภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุข ที่พัฒนาจาก The Strengths and Difficulties Questionnaires (SDQ) 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประกอบด้วย การประเมิ น ด้ า นคว ามรู้ ( K) ใช้ แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ค ว า ม รู้ วิ ช า พ ล ศึ ก ษ า ชั้ น ประถมศึกษา ปีที่ 6 โดยใช้ข้อสอบกลางปีรายวิชาสุข ศึกษาและพลศึกษา ของโรงเรียนแห่งนั้น การประเมิ น ด้ า นเจตคติ ( A) ใช้ แบบสอบถามวัดเจตคติที่มีต่อการเรียนวิชาพลศึกษา ด้านความรู้ สึ ก ตามแนวคิดของ รื่ นณรงค์ (2553) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .867 การประเมิ น ด้ า นการปฏิ บั ติ (P) ใช้ คะแนนทดสอบการปฏิบัติวิชาพลศึกษา ซึ่งผู้วิจัยเป็น ผู้วัดผลการปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ดังนี้ 1) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ใช้ ใ นการบรรยายข้ อ มู ล พื้ น ฐานของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง ได้ แ ก่ เพศ พั ฒ นาการ สมรรถภาพทางกาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา 2) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic) ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ได้แก่ การทดสอบ ค่า T-test, ANOVA, Correlation coefficient ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศชาย 49 คน หญิง 41 คน ค่า ดัช นี มวลกาย (BMI) ของกลุ่ มตั ว อย่ างส่ ว น ใหญ่ อยู่ ในเกณฑ์น้าหนัก ปกติมากที่สุ ด รองลงมา คือ น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ และเป็นโรคอ้วน และมีคน ในครอบครัวอ้วนลงพุง ด้านเจตคติต่อการเรียนวิชา


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

พลศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่มีเจตคติด้านความรู้สึกต่ อ การเรียนวิชาพลศึกษา ทางบวก รองลงมา คือ ปาน กลาง สมรรถภาพทางกาย และการเปรียบเทียบ สมรรถภาพทางกาย ใ น ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9 นั ก เ รี ย น ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง มีค่าคะแนน สมรรถภาพทางกาย เฉลี่ย 15.44 ดีกว่าปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 14.19 อย่างมีนั ยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 ส่วนผลการทดสอบสมรรถภาพทาง กายของทั้งนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง พบว่ า นักเรียนที่ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไม่ผ่านเกณฑ์ ในปีการศึกษา 2559 มีจานวนลดลง เมื่อเทียบในปี 2558 การวิเคราะห์ผลการทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย จาแนกรายด้าน สรุปได้ดังนี้ (ตารางที่ 1) การนั่งงอตัวข้างหน้า ในปีการศึกษา 2559 มีพัฒนาการด้านความอ่อนตัวเฉลี่ย 3.61 ซม. ดีกว่า ปี ก ารศึ ก ษา 2558 ที่ มี ค่ า เฉลี่ ย 2.14 ซม. อย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.05

การวิ่งระยะไกล 1.2 ก.ม. ในปีก ารศึกษา 2559 มีพัฒ นาการด้านความเร็ว เฉลี่ยเท่ากั บ 9.24 นาที ดีก ว่า ปีการศึก ษา 2558 ที่มี ค่าเฉลี่ ย 10.27 นาที อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 การลุก – นั่ง 60 วินาที ในปีการศึกษา 2559 มี พั ฒ นาการด้ า นความแข็ ง แรงและความ อดทนของกล้ า มเนื้ อ ท้ อ ง มี จ านวนครั้ ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เฉลี่ ย 30.82 ครั้ ง ดี ก ว่ า ปี ก ารศึ ก ษา 2558 ที่ มี จานวนครั้งเฉลี่ย 27.2 ครั้ง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ < .001 การวิ่ ง อ้ อ มหลั ก ในปี ก ารศึ ก ษา 2559 มี พัฒนาการด้านความคล่องแคล่วเฉลี่ยเท่ากับ 14.99 วินาที ดีกว่า ปีการศึกษา 2558 ที่มีค่าเฉลี่ย 18.52 วินาที อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ <.001 การดันพื้น 30 วินาที ในปีการศึกษา 2559 มีพัฒ นาการด้ านความแข็ง แรงของกล้ า มเนื้ อแขน เฉลี่ย 19.09 ครั้ง ไม่แตกต่างจากปีการศึกษา 2558 ที่มีจานวนครั้งเฉลี่ย 19.98 ครั้ง

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกาย ปีการศึกษา 2558 และ 2559 จาแนกรายด้าน สมรรถภาพทางกาย การนั่งงอตัวข้างหน้า การวิ่งระยะไกล 1.2 ก.ม. การลุก – นั่ง 60 วินาที การวิ่งอ้อมหลัก การดันพื้น 30 วินาที รวม

ปีการศึกษา 2558 S.D. 2.14 6.02 10.27 3.01 27.2 8.75 18.52 1.63 19.98 6.01 14.19 2.74

ปีการศึกษา 2559 S.D. 3.61 6.21 9.24 2.39 30.82 8.31 14.99 1.31 19.09 5.12 15.44 2.88

t

p-value

2.451 -3.441 4.561 -20.481 -1.121 4.858

0.016 0.001 0.000 0.000 0.265 0.000


47

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

เพื่อน

พฤติกรรมและสัมพันธภาพระหว่าง

นักเรียนหญิงมีกลุ่มเสี่ยง มากกว่านักเรียน ชาย ส่วนพฤติกรรม ด้านความประพฤติ/เกเร อยู่ไม่ นิ่ง/สมาธิสั้นความสัมพันธ์กับเพื่อน นักเรียนชายมี กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา มากกว่า นักเรียนหญิง และรวม พฤติกรรมที่เป็นปัญหา นักเรียนชายมีกลุ่มเสี่ยง/มี ปั ญ หา มากกว่ า นั ก เรี ย นหญิ ง เมื่ อ พิ จ ารณา พฤติกรรมรายด้านรวมทั้งนักเรียนชายและนักเรียน หญิง พบว่า ความสั มพันธ์กับเพื่ อน มีกลุ่ มเสี่ ยง/มี

ปัญหา รองลงมาคือ เกเร/ความประพฤติ (ตารางที่ 2) นักเรียนชายมีกลุ่ มเสี่ ยง/มีปั ญหามากกว่ า นั ก เรี ย นหญิ ง ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น ด้ า น สัมพันธภาพทางสังคม ไม่มีจุดแข็ง รวมพฤติกรรมที่ เป็นปัญหานักเรียนชายมีกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา มากกว่า นั ก เรี ย นหญิ ง เมื่ อ พิ จ ารณาพฤติ ก รรมรายด้ า น ความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น มี ก ลุ่ ม เสี่ ย ง/มี ปั ญ หา รองลงมา คือ เกเร/ความประพฤติ (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 พฤติกรรมและสัมพันธภาพระหว่างเพื่อน (SDQ) ระหว่างเพศหญิงและชาย ผลการประเมินพฤติกรรม ด้านอารมณ์ - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา เกเร/ความประพฤติ - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา อยู่ไม่นิ่ง/สมาธิสั้น - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ความสัมพันธ์กับเพื่อน - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา รวมพฤติกรรมที่เป็นปัญหา - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา สัมพันธภาพทางสังคม - กลุ่มปกติ กลุ่มไม่มีจุดแข็ง

นักเรียนชาย (n=49) จานวน ร้อยละ

นักเรียนหญิง (n=41) จานวน ร้อยละ

รวม (n=90) จานวน

ร้อยละ

42 7

85.7 14.3

31 10

75.6 24.4

73 17

81.1 18.9

33 16

67.3 32.7

38 3

92.7 7.3

71 19

78.9 21.1

42 7

85.7 14.3

40 1

97.6 2.4

82 8

91.1 8.9

33 16

67.3 32.7

31 10

75.6 24.4

64 26

71.1 28.9

35 14

71.4 28.6

33 8

80.5 19.5

68 22

75.6 24.4

44 5

89.8 10.2

40 1

97.6 2.4

84 6

93.3 6.7


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนหญิง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปี การศึ ก ษา 2558 และ 2559 อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี (3.5) ร้อยละ 24.4 และ 7.3 ตามลาดับ และอยู่ในเกณฑ์ดี มาก (4) ร้อ ยละ 75.6 และ 90.2 ตามล าดั บ ซึ่ง มี จานวนสูงกว่านักเรียนชาย ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนชาย พบว่า อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (3) ร้อยละ 28.6 และ 18.4 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ (2.5) ร้อยละ 18.4 และ 8.2 มีจานวนสูงกว่านักเรียนหญิง ตัวแปรที่มีผลต่อสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายของเพศชายและหญิงมี ความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ

≤.05 โดยเพศหญิ งได้คะแนนสมรรถภาพทางกาย เฉลี่ ย 16.15 สู ง กว่ า เพศชาย ซึ่ ง ได้ ค ะแนนเฉลี่ ย 14.86 และเมื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของ ดัชนีมวลกาย แต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกัน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ≤0.001 เมื่อพิจารณาราย คู่ พบว่า สมรรถภาพทางกายของดัชนีมวลกายกลุ่ม ต่ากว่าเกณฑ์ ดีกว่าดัชนีมวลกายกลุ่มสูงกว่าเกณฑ์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ร ะดับ ≤0.001 และ สมรรถภาพทางกายของดัชนีมวลกายกลุ่มปกติ ส่วน ปัจจัยเรื่องเจตคติต่อการเรียนวิชาพลศึกษาไม่ส่งผล ต่อสมรรถภาพทางกาย (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความแตกต่างของสมรรถภาพทางกาย จาแนกตามลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนบุคล เพศ ชาย หญิง ดัชนีมวลกาย คู่ที่ 1 ต่ากว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์ คู่ที่ 2 ปกติ สูงกว่าเกณฑ์ เจตคติต่อการเรียนวิชาพลศึกษา เจตคติบวก เจตคติปานกลาง

Mean

S.D.

t

P-value

14.86 16.15

2.73 2.93

-2.158

0.034

16.28 13.00 16.00 13.00

2.54 2.69 2.21 2.69

5.069

0.000

3.077

0.004

15.45 15.33

2.90 2.87

-0.121

0.904

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาพลศึกษา และสมรรถภาพทางกาย พฤติกรรมของนักเรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนวิ ชาพลศึ กษา ของนั กเรียนที่ เป็นกลุ่ มตัวอย่ าง อย่างมีนั ยส าคัญทางสถิ ติที่ระดั บ ≤0.05 ในประเด็ น คะแนนรวมพฤติ กรรมที่ เป็ นปั ญหา (SDQ_T) และ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง/สมาธิสั้น (SDQ_3) พฤติกรรมเกเร/

ความประพฤติ (SDQ_2) มี ความสั มพั นธ์ ทางลบกั บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ ≤.05 ปัจจัยด้านสมรรถภาพทางกายมี ความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมด้านความสัมพันธ์ กับเพื่อน (SDQ_4) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ≤.05 และสมรรถภาพทางกายไม่มีความสัมพันธ์กับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษาอย่างมีนัยสาคัญ (ตารางที่4)


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

49

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา SDQ_T SDQ_S SDQ_1 SDQ_2 SDQ_T 1.000 SDQ_S 0.111 1.000 SDQ_1 .711* .217 1.000 SDQ_2 .557* -0.094 0.046 1.000 SDQ_3 .767* -0.030 .460 .266 SDQ_4 .693* 0.167 .333 .314 GRADE -.290* -0.082 -0.133 -.225 BODY -0.117* -0.128 -0.140 0.009 หมายเหตุ: * p≤0.05 SDQ_T = คะแนนรวมพฤติกรรมที่เป็นปัญหา (รวม 4 ด้าน) SDQ_S = คะแนนพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม SDQ_1 = คะแนนพฤติกรรมด้านอารมณ์ SDQ_2 = คะแนนพฤติกรรมเกเร/ ความประพฤติ SDQ_3 = คะแนนพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง/ สมาธิสั้น SDQ_4 = คะแนนพฤติกรรมด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน GRADE = ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา BODY = ผลรวมสมรรถภาพทางกาย สรุปและอภิปรายผล ข้อมูลทั่วไปของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศชาย 49 คน เพศหญิง 41 คน ทั้ งสองเพศมี ค่ าดั ช นี มวลกาย (BMI) อยู่ ใ น เกณฑ์น้าหนักปกติมากที่สุ ด รองลงมาคือน้าหนักต่า กว่าเกณฑ์กับเป็นโรคอ้วน และเริ่มมีน้าหนักเกินเกณฑ์ จนเป็นโรคอ้วน จานวน 24 คน อาจเพราะขาดการออก กาลั งกาย และมี ภาวะโภชนาการที่ไม่ เหมาะสม คื อ นอกจากอาหารมื้ อหลั กแล้ ว อาจทานอาหารที่ ไม่ มี ประโยชน์ ด้ ว ย เช่ น ดื่ มน้ าอั ดลม กิ นขนมขบเคี้ ยว

SDQ_3

SDQ_4

GRADE

BODY

1.000 .350 -.446* 0.025

1.000 0.005 -.239*

1.000 0.195

1.000

บะหมี่กึ่งส าเร็จรูป เป็นต้น นอกจากนั้น การมีคนใน ครอบครัวอ้วนลงพุง อาจมีโอกาสเป็นเด็กอ้วนได้ ดังผล การศึกษา ของ พึ่งโพธิ์สพ (2551) ที่พบว่า เด็กที่มีพ่อ หรือแม่คนใดคนหนึ่ง ที่มีน้าหนักเกินจะมีโอกาสเป็น เด็กอ้วนเพิ่มมากขึ้น 4-5 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็ก ปกติ และจะมีโอกาสเพิ่มขึ้นเป็น 13 เท่า ถ้าทั้งพ่อและ แม่มีน้าหนักเกิน เจตคติต่อการเรียนวิชาพลศึกษา นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ ทั้ ง เพศชายและเพศ หญิ ง มี ค วามรู้ สึ ก ต่ อ การเรี ย นวิ ช าพลศึ ก ษาใน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ทางบวกมากถึงร้อยละ 90 และมีความรู้สึกปาน กลางเพียง ร้อยละ 10.0 สอดคล้องกับผลการวิจัย ของ สุ ภาวิมล (2551) ที่พบว่า ความพึงพอใจของ นั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ การเรี ย นการสอนวิ ช าพลศึ ก ษา ระหว่างนักเรียนชายกับนักเรียนหญิงไม่แตกต่างกัน อาจเป็นเพราะการได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมพร้อม กัน นักเรียนชายส่ ว นใหญ่มักมีทั กษะด้านกีฬา จึ ง ช่วยสอนทักษะนี้ให้นักเรียนหญิงได้ และผลการวิจัย ของ รื่นณรงค์ (2553) ที่พบว่า นักเรียนที่มีเจตคติ ทางบวก จะมีนิสัยทางการเรียนวิชาพลศึกษาดี และ มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะศึ ก ษาหาความรู้ ใ ห้ ป ระสบ ความสาเร็จ ทาให้การเรียนรู้ในวิชานี้ มีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเป็นเพราะธรรมชาติของเด็ก ที่ชอบเรียนแบบ ลงมือปฏิบัติ และอยู่นอกห้องเรียนมากกว่าการเรียน อยู่แต่ในห้องเรียน พั ฒ นาการของนั ก เรี ย น ด้ า นร่ า งกาย จิตใจ สังคม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพล ศึ ก ษาของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6: กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา พัฒ นาการด้า นร่ า งกาย นั กเรี ยนหญิ ง มี ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายสู ง กว่ า นั ก เรี ย นชายเล็ ก น้ อ ย อาจเป็ น เพราะการ เจริญเติบโตตามพัฒนาการ ดังที่ โค้วตระกูล (2545) อธิบายว่า วัยเด็กตอนปลาย เด็กหญิงจะโตเร็วกว่า เด็กชาย ประมาณ 2 ปี นักเรียนหญิงจึงมีค่าเฉลี่ ย ของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายดี ก ว่ า นักเรียนชาย อย่างไรก็ดี ช่วงอายุ 6-12 ปี เป็นวัยที่มี การพัฒนาการที่สาคัญ ๆ และมีความพร้อมมากขึ้น (ศิริประเสริฐ , 2543) รวมทั้ง สามารถใช้กล้ามเนื้อ มั ด ใหญ่ แ ละการใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส รั บ รู้ ท างาน ประสานกันได้ดี (คชภักดี , 2551) จึงทาให้ผลการ ทดสอบสมรรถภาพทางกายแตกต่างกันไม่มาก ดัง ผลงานวิ จั ย ของ แก้ วชื่ น ชั ย (2557) ที่ ศึ ก ษา สมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย ปีการศึกษา 2557 จ านวน 50 คน แล้ ว พบว่ า นั ก เรี ย นชั้ น

ประถมศึกษาปีที่ 6 มีส มรรถภาพทางกายอยู่ใน เกณฑ์ดี ร้อยละ 44.00 และอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 38.56 พั ฒ นาการด้ า นจิ ต ใจ อารมณ์ พบว่ า นั ก เรี ย นหญิ ง มี ก ลุ่ ม เสี่ ย งด้ า นอารมณ์ มากกว่ า นักเรียนชาย ซึ่งอาจเป็นเพราะความเครียดของการ เปลี่ยนแปลงทางร่างกายเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยรุ่น เมื่อ ระดับฮอร์โมนมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนร่างกายมี การเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ทาให้ต้องปรับตัวมากกว่า เพศชาย จึงส่ งผลต่ออารมณ์ (คชภักดี ,2551) ส่ ว น นั ก เรี ย นชายมี ก ลุ่ ม เสี่ ย งหรื อ มี ปั ญ หาด้ า นความ ประพฤติเกเร อยู่ไม่นิ่งสมาธิสั้น รวมถึงพฤติกรรมที่ เป็ น ปั ญ หามากกว่ า นั ก เรี ย นหญิ ง นั้ น ทฤษฎี พัฒนาการด้านสังคมของ อีริคสัน (Erikson, 1960 อ้างถึงใน ศิริวรรณบุศย์, 2556) อธิบายว่า วัยนี้อยู่ใน ขั้นพัฒนาความขยันหมั่นเพียรหรือความรู้ สึกด้อยใน วัยเรียน เด็กจะเริ่มฝึกทักษะในการเรียนและทักษะ ทางสั งคม ถ้าทาส าเร็จก็จะเกิดความภาคภูมิใจใน ตนเอง ถ้าทาไม่สาเร็จจะเกิดความรู้สึกว่าตนเองทา ไม่ ไ ด้ เ หมื อ นคนอื่ น จะรู้ สึ ก ด้ อ ย รู้ สึ ก ตนเองไม่ มี ความสามารถ ทาให้ขาดความมั่นใจในตนเอง พัฒนาการด้านสังคม พบว่า นักเรียนชายมี กลุ่มเสี่ยงหรือมีปัญหา ในด้านสัมพันธภาพกับเพื่อน และมีจานวนกลุ่มไม่มีจุดแข็งในด้านสัมพันธภาพทาง สังคม มากกว่านักเรียนหญิง อาจเป็นเพราะนักเรียน ชายชอบรวมกลุ่ ม และท ากิ จ กรรมที่ ท้ า ทาย นอกจากนี้ ปั จ จั ย เรื่ อ งผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นที่ ส่ ง ผลต่ อ สั ม พั น ธภาพทางสั ง คม อั น เนื่ อ งมาจาก ธรรมชาติของนักเรียนชายวัยนี้ จึงไม่ค่อยสนใจเรียน สอดคล้องกับการวิจัยของ พงษ์เภตรา (2553) ที่ได้ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ สั ม พั น ธภาพกั บ เพื่ อ นของ นักเรียนช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนสารสาสน์เอกตรา เขต ยานนาวา กรุ ง เทพมหานคร ปี ก ารศึ ก ษา 2552 จานวน 321 คน ที่พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สั ม พัน ธภาพกับ ผู้ ป กครองและครู มีค วามสั มพั น ธ์


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ทางบวกกับสัมพันธภาพกับเพื่อนของนักเรียน และ ปัจจัยด้านอัตมโนทัศน์ ทัศนคติต่อการคบเพื่อน ส่วน ปั จ จั ย ด้ า นสุ ข ภาพจิ ต มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างลบกั บ สั ม พั น ธภาพกั บ เพื่ อ นของนั ก เรี ย น อย่ า งไรก็ ดี พฤติ ก รรมด้ า นลบในปั จ จุ บั น อาจส่ ง ผลให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมด้ า นลบอื่ น ๆ ตามมาในอนาคตได้ ถ้ า นักเรียนมีพฤติกรรมความสัมพันธ์กับเพื่อนในระดับมี ปัญหา ก็อาจส่งผลให้มีพฤติกรรมเกเรระดับมีปัญหา ตามมาในอนาคต (ชนะบารุง , 2555) ซึ่งประเด็น ปัญหาพฤติกรรมเด็กนั้น โภชนจันทร์ (2559) พบว่า ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) ปัญหา พฤติกรรมด้านการรู้คิด 2) ปัญหาพฤติกรรมซน อยู่ ไม่นิ่ง และหุนหันพลันแล่น 3) ปัญหาพฤติกรรมด้าน ความประพฤติที่ผิดปกติ 4) ปัญหาพฤติกรรมด้าน สังคม และ 5) ปัญหาพฤติกรรมดื้อดึงและต่อต้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา พบว่า นักเรียนหญิงมีผลสัมฤทธิ์วิชาพลศึกษาดีกว่า นักเรียนชาย สอดคล้องกับทฤษฎีสติปัญญาของ เพีย เจท์ (Piaget, 1968 อ้างถึงใน ศิริวรรณบุศย์, 2556) ที่ว่า เด็กวัยนี้อยู่ขั้นที่ 3 คิดเหตุผลเชิงรูปธรรม ซึ่ง คชภักดี (2551) อธิบายว่า เด็กวัยนี้มีความสามารถ ด้านความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและความสัมพันธ์ ระหว่า งตนเองกับ ปรากฏการณ์ ต่าง ๆ จึง ปรั บตั ว และสร้ า งทั ก ษะใหม่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากความเข้ า ใจและ ทั ก ษะเดิ ม เพื่ อ น ามาใช้ ใ นการแก้ ปั ญ หา รวมทั้ ง เด็กหญิงในวัยนี้ จะมีพัฒนาการเร็วกว่าเด็กชาย จึงมี วุฒิภาวะทางสติปัญญาดีกว่า สอดคล้องกับงานวิ จัย ของ แสงจันทร์ (2556) ที่ศึกษาอิทธิพลของโอกาส ทางการศึกษาของครอบครัวต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรีย น ความฉลาดทางอารมณ์ แรงจู งใจใฝ่ สั มฤทธิ์ และนิสัยในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ซึ่งพบว่า เพศชายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า กว่าเพศหญิง นอกจากนั้น ผลงานวิจั ยของ ศักดิ์ศิริ ผล (2556) ก็พบว่า เด็กที่มีความบกพร่องทางการ

51 เรียนรู้ มีสมาธิสั้น มีลักษณะซนและขาดสมาธิ เป็น เพศชายมากกว่าเพศหญิง อนึ่ง การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ รู้คิดนั้น งานวิจัยของ เดวิส ซี.แอล. (Davis, 2012) ได้ ศึ ก ษาเรื่ อ งการออกก าลั ง กายเพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพกระบวนการรู้คิดในเด็กที่มีน้าหนักเกิน ที่ มี อ ายุ ร ะหว่ า ง 7-11 ปี จ านวน 171 คน โดยใช้ โปรแกรมการออกกาลังกายเป็น เวลา 20 หรือ 40 นาทีต่อวัน เก็บข้อมูลโดยแบบประเมินความรู้ความ เข้ า ใจและผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น โดยใช้ เ ครื่ อ ง สแกนสมอง (FMRI) พบว่า การออกกาลังกายส่งผล ต่อ กระบวนการรู้คิ ด และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น และส่งเสริมสภาพจิตใจ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญใน การพั ฒ นาความรู้ รวมทั้ ง ช่ ว ยลดความเสี่ ย งต่ อ สุขภาพ เช่น การเกิดโรคอ้วนอีกด้วย พัฒนาการด้า นจิตใจและอารมณ์ กับ การเรียนวิชาพลศึกษา พฤติกรรมที่เป็นปัญหา พฤติกรรมอยู่ไม่ นิ่งสมาธิสั้น พฤติกรรมเกเร มีความสัมพันธ์ทางลบ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา กล่าวได้ว่า พฤติ ก รรมเหล่ า นี้ จะส่ ง ผลต่ อ คะแนนในวิ ช าพล ศึกษา คือได้คะแนนไม่ดี เพราะนอกจากจะมีการเก็บ คะแนนโดยการปฏิบัติแล้ว ยังมีคะแนนในการสอบ ภาคทฤษฎี ที่ เ ป็ นเนื้ อ หาของวิ ช าพลศึ ก ษาอี ก ด้ ว ย ดังนั้น หากครูต้องการปรับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของนั ก เรี ย น ครู ต้ อ งเพิ่ ม กิ จ กรรมที่ เ หมาะสมกั บ พัฒนาการให้ตรงตามวัย และสร้างความสนใจให้กับ นักเรียน ส่วนสมรรถภาพทางกายมีความสัมพันธ์ทาง ลบกับสัมพันธภาพกับเพื่อน อธิบายได้ว่า นักเรียนที่ มีสมรรถภาพทางกายต่า จะมีความสัมพันธ์กับเพื่อน ดี โดยกลุ่ มนักเรียนหญิงที่เลือกทากิจกรรมร่วมกับ เพื่อน ซึ่งใช้การเคลื่อนไหวร่างกายน้อย พัฒนาการด้ า นสมรรถภาพทางกาย กั บ การเรียนวิชาพลศึกษา


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

พบว่า สมรรถภาพทางกายกับการเรียนวิช า พลศึกษาไม่มีค วามแตกต่างกันนี้ ไม่ส อดคล้ องกั บ งานวิ จั ย ของ บุ ญ มา (2552) ที่ ศึ ก ษารู ป แบบการ เรียนการสอนวิชาพลศึกษาโดยใช้หลักการเรียนรู้ของ สมองเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 70 คน พบว่า กลุ่มทดลองมีพัฒนาการการ เรียนรู้ สัมพันธ์กับสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับ ทักษะ ดีกว่าก่อนทดลอง เช่นเดียวกับ การวิจัยของ เหมาเพชร (2553) ที่ศึกษารูปแบบการสอนพลศึกษา โดยใช้ ท ฤษฎี พ หุ ปั ญ ญาเป็ น ฐาน ของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง มีผ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นในด้านเจตคติและ ทักษะการเคลื่อนไหว นอกจากนั้น งานวิจัยของ แก้ว ฝ่ า ย (2556) ที่ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนั ก เรี ย นโรงเรี ย นบ้ า นห้ ว ยชั น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 118 คน พบว่า ปัจจัยด้านนักเรียน ด้าน แ ร ง จู ง ใ จ ใ ฝ่ สั ม ฤ ท ธิ์ เ จ ต ค ติ ต่ อ ก า ร เ รี ย น มี ความสั ม พั น ธ์ กั น ส่ ว นปั จ จั ย ด้ า นครอบครั ว การ ส่งเสริมการเรียนของผู้ปกครอง มีความสัมพันธ์กับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน รวมทั้งงานวิจัย ของ ศรี ส มุ ท ร ( 2557) ที่ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าพลศึ ก ษาและการ ควบคุมอารมณ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยจัดการสอนแบบร่วมมือเทคนิค Jigsaw กับการ จัดการเรียนรู้แบบปกติ จานวน 2 ห้อง ๆ ละ 20 คน พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน การควบคุมอารมณ์และความพึงพอใจ สูงกว่า ในกลุ่มปกติ และ ยอดสาลี (2559) ได้ศึกษาปัจจัยที่ ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นใน สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 พบว่า ปัจจัยด้านครูผู้สอน มี ผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านตัวนักเรียน และน้อยที่สุ ด คือ ผู้บริหาร

ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถภาพทางกาย ผลการศึกษา พบว่า สมรรถภาพทางกายของ เพศชายและหญิ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นัยสาคัญ ส่วนเจตคติต่อการเรียนวิชาพลศึกษา ไม่ ส่งผลต่อสมรรถภาพทางกาย รวมทั้งปัจจัยที่ส่งผล ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษา คือ ปัจจัย ในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน สอดคล้องกับ งานวิ จั ย ของ โกลเล เค (Golle, 2015) ที่ ทาการศึกษาสมรรถภาพทางกายของเด็กเยอรมัน อายุ 9-12 ปี พบว่ า เพ ศ และอา ยุ ส่ ง ผลต่ อ พั ฒ นาการสมรรถภาพทางกายของเด็ ก และยั ง สอดคล้ องกับงานวิ จัยของ สะอี ดี (2554) ที่ ศึกษา การน าเสนอโปรแกรมพลศึ ก ษาในโรงเรี ย น ประถมศึกษาของ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่า การ สอนพลศึกษาควรจัดหลักสูตรและกิจกรรมทางพล ศึ ก ษา ให้ เ หมาะสมกั บ นั ก เรี ย นแต่ ล ะช่ ว งวั ย เช่ น เดี ย วกั บ ผลการวิ จั ย ของ หยกอุ บ ล (2555) ที่ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา พบว่ า โรงเรี ย น ครอบครั ว และตั ว นักเรียน มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน โดยปัจจัยที่มีอิทธิพล ทางตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ 1) เจตคติ 2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และ 3) การทาการบ้านของ นัก เรี ยน ส่ ว นปัจ จัย ที่มี อิท ธิพ ลทางอ้อ ม ได้ แก่ 1) คุ ณ ภาพการสอนของครู 2) ความเป็ น ผู้ น าด้ า น วิชาการของผู้บริหาร และ3) ความสัมพันธ์ระหว่าง ครูกับนักเรียน ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 1. ผู้ บ ริห ารและครู ควรประเมิ น ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนตลอดจนประเมินผลพัฒนาการ ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมของนักเรียน ก่อนที่จะ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

เริ่มจัดการเรียนการสอนในภาคเรียน ที่ 1 ของทุกชั้น ปี เพื่อนาผลการประเมินไปใช้ให้ เป็นประโยชน์ใน การช่วยเหลื อพัฒ นานักเรียน และใช้ปรับปรุงการ เรีย นการสอนให้ เหมาะสมแก่นัก เรีย นได้ อย่า งทั น กาล 2. ครูควรให้ความสาคัญและส่งเสริมการ เรียนการสอนวิชาพลศึกษา ทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

53 เพราะมีความสาคัญต่อพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ต่อนักเรียนโดยตรง 3. นักเรียนควรสนใจและให้ความสาคัญ ในการเรียนวิชาพลศึกษาทั้งทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพราะมีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อพัฒ นาการ ของนักเรียนประถมศึกษาโดยตรง ตลอดจนจะได้นา สาระของวิชานี้ ไปใช้ในชีวิตประจาวันต่อไป


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

References Boonma, Chitinthree. (2552). A Physical Education Instructional Model Based on BrainBased Learning Approach to Enhance Learning Development and SkillRelated Physical Fitness of First Grade Students. Doctor of Philosophy Program in Physical Education, Chulalongkorn University. Chanabamrung. Sarawut. (2555). The Development of a Student Behavior and Academic Achievement tendency prediction system. Master of Information Science in Information Technology. Nakhon Ratchasima: Suranaree University. Davis, C.L. (2012). Exercise Improves Executive Function and Achievement and Alters Brain Activation in Overweight Children: A Randomized, Controlled Trial. Health Psychology. 30(1), 91-98. Department of Health. (2556). Annual Report 2555. Bureau of Health Promotion. Department of Health. Golle, K. (2015). Physical Fitness Percentiles of German Children Aged 9-12 Years: Findings from a Longitudinal Study. Institute for Population and Social Research, Mahidol University. (2557). Thai Health Report “Self-Managing Communities: Foundation of National Reform”. Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Research, Mahidol University. Kaewfai, Pornpun. (2556). Factors Affecting Student Achievement of Banhouychun School Lunder The Srakaeo Primary Educational Service Area Office 2. Master of Education (Educational Administration), Burapha University. Kaewchuenchai, Thawatchai. (2557). Classroom Report “Study of Physical Fitness of Primary Grades 6 Students at Assumption College Sriracha, Chonburi Province”. Learning Area of Health and Physical Education, Chonburi Katawanich, Termsak. (2546). General Psychology. Bangkok: SE-Education. Koltrakul, S. (2550). Educational Psychology. (7th). Bangkok: Chulalongkorn University press. Kotchabhakdi, Nittaya. (2551). Development and Child behavior. Bangkok: HolisticPublishing. Maopech. Kultida. (2553). The Development of a Physical Education Instructional Model Based on Theory of Multiple Intelligences to Improve Physical


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

55

Education Learning Achievement of Elementary School Students. Doctor of Philosophy Program in Physical Education, Chulalongkorn University. Nattiyaporn Yokubon. (2555). Factors Affecting the Academic Achievement of Sciences Subject of Students in Grade 6 at The Demonstration School under The Jurisdiction of The Office of Higher Education Commission, The Ministry of Education. Journal of Education and Social Development, 8(1), 85-102. Peungposop, Narisara. (2551). Study of Risk Factors Affecting Overnutrition Among School Children in Bangkok. Doctor of Philosophy Program in Demography, Chulalongkorn University. Pochanajun, Thityada. (2559). A Development of Behavior Problem Scale for the Elementary School Children in Bangkok. SDU Research Journal. 13(1), 91-111. Pongpetra, Sumeth. (2553). Factors Affecting on Interpersonal Relationship with Friends of the Fourth Level, Secondary Grades 4-6 Students at Sarasas Ektra School in Yannawa District. Bangkok. Master of Education (Educational Psychology). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. Ruennarong, Sarun. (2553). Factors Affecting on Attitude towards Physical Education Learning of the Second Level, Primary Grades 4-6 Students at Kasetsart University Laboratory School, Center for Educational Research and Development in Jatujak District, Bangkok, Master of Education (Educational Psychology). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. Saidi, Asri. (2554). A Propose of the Elementary School Physical Education Program in Three Southern Border Province. Master of Education (Health and Physical Education). Bangkok: Chulalongkorn University Samahito, Supitr. (2555). Construction of Health-Related Physical Fitness Tests and Norms for Thai Children of Age 7-18 Years: The Department of Physical Education. Bangkok. Sapachanya printing Saksiriphol, Daranee. (2556). The Study to Identification of Attention of Deficit Hyperactivity Disorders in Children with Learning Disabilities. Master of Education (Special Education). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University Seangjan, Benjamaporn. (2556). Assessing Effects of Family Educational Opportunity on Achievement, Emotional Intelligence, Academic Aspiration and Learning Habits of 6th Grade Students in NakornLuang, Ayuthaya Province.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Master of Education (Educational Measurement and Evaluation), Sukhothai Thammathirat Open University. Sirivunnabood, Panthip. (2556). Psychosocial Development. Bangkok: Chulalongkorn University. Srisamoot, Weerasak. (2557). A Comparison of Physical Education Learning Achievements on “Football Basic Skills� and of Emotional Controls among Prathom Suksa 6- Students through Jigsaw Cooperative Learning Management versus Traditional Learning. Nakhon Phanom University Journal, Vol.4 (3). 114-123 Siriprasert, Jirakorn. (2543). Skills and Teaching Techniques for Physical Education in Primary Educational. Bangkok, Chulalongkorn University. Suphavimon, Teera. (2551). Satisfaction of Secondary Students in the Schools Under the Local Administration of Angthong Province Towards the Teaching approaches of Health and Physical Education in Academic Year 2007. Master of Education (Physical Education). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. Yodsalee, Chanida. (2559). Factors Affecting Learning Achievement of Students in Schools under Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2. Master of Education Program in Educational Administration, Phetchaburi Rajabhat University.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

57

การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการออมระหว่างบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลธัญบุรีและพนักงานบริษัทเอกชนในเขตจังหวัดปทุมธานี

จุฑาทิพย์ สองเมือง1 อภิรดา สุทธิสานนท์2 สุภาพร คูพิมาย3 สุภิญญา อนุกานนท์4

บทคัดย่อ การวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บรู ป แบบการออมระหว่ า งข้ า ราชการกั บ พนั ก งาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและพนักงานบริษัทเอกชนในเขตจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และพนักงานบริษัทเอกชนในเขต จังหวัดปทุมธานี จานวน 390 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผล การศึกษาพบว่า ปัจจัยการออม และรูปแบบการออมระหว่างข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญ บุ รี และพนั กงานบริษัทเอกชน แตกต่ างกัน อย่า งมีนั ยส าคัญ ทางสถิติที่ระดั บ .05 รายได้ การโฆษณาและสิ่งจูงใจ เป็นตัวแปรที่มีผลต่อรูปแบบการออมร้อยละ 35.70 คาสาคัญ: ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานเอกชน รูปแบบการออม

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาบัญชี) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 e-mail : chutatip_s@rmutt.ac.th 2 รองศาสตราจารย์ (สาขาการเงิน) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 e-mail : rabbit_10@windowslive.com 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาระบบสารสนเทศ) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 e-mail : skupimai@yahoo.com 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาเศรษฐศาสตร์) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 e-mail : a_supinya9610@hotmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

A Comparative

Study of Saving Patterns between Personnel of Rajamungala University of Technology Thanyaburi and Employees of Private Companies in Phatumthani Province Chutatip Songmuang1 Apirada Suthisanonth2 Supaporn Kupimai3 Supinya Anukanon4

Abstract The research aimed to do a comparative study of savings patterns between officials and public employees of Rajamangala University of Technology Thanyaburi and employees of private companies in Pathum Thani province. Questionnaire was a tool for data collection from 390 individuals. The study revealed that saving factors and savings patterns were different between the two groups of individuals at the significant level of .05. It was also demonstrated that the overall saving pattern was influenced by average monthly income, motivation and advertisement for 0.35.70% Keywords: Government officials, university employees, private employees, saving patterns

1

Assistant professor, (Accounting) Faculty of Business Administration, Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Moo 1, Rangsit-Nakorn Nayok Road Thanyaburi District, Pathum Thani Province 12110 e-mail : chutatip_s@rmutt.ac.th 2 Associate professor, (Finance) Faculty of Business Administration, Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Moo 1, Rangsit-Nakorn Nayok Road Thanyaburi District, Pathum Thani Province 12110 e-mail :rabbit_10@windowslive.com 3 Assistant professor, (Computer) Faculty of Business Administration, Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Moo 1, Rangsit-Nakorn Nayok Road Thanyaburi District, Pathum Thani Province 12110 e-mail : skupimai@yahoo.com 4 Assistant professor, (Economics) Faculty of Business Administration, Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39บทน Moo า1, Rangsit-Nakorn Nayok Road Thanyaburi District, Pathum Thani Province 12110 e-mail : a_supinya9610@hotmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

สถานการณ์เศรษฐกิจโลกชะลอตัว และ สถานการณ์การเมืองภายในประเทศ ส่ งผลให้ เศรษฐกิจภายในประเทศเกิดการชะลอตัว ส่งผล ให้โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจหลายๆ โครงการมี การหยุดชะงัก อีกทั้งภาคเอกชนขาดความมั่นใจ ในการลงทุนส่งผลกระทบต่อรายได้โดยรวมของ ประชาชน ในขณะเดี ย วกั น ค่ า ครองชี พ ของ ประชาชนเพิ่ มมากขึ้ น จากหลายๆ ปั จ จัย เช่ น การเพิ่มค่ าแรงขั้น ต่า ราคาน้ ามั น ที่สู งขึ้น การ ลอยตัวของแก๊สหุงต้ม เป็นต้น เป็นเหตุให้ราคา สิ น ค้า ต่างขยั บ ตัว เพิ่มสู งขึ้น ทาให้ ประชาชนมี รายจ่ า ยเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ตามไปด้ว ยในขณะที่ รายได้ ยังคงเดิม ซึ่งหากรายจ่ายยังคงเพิ่ มสูงขึ้นเรื่อยๆ วัน ข้างหน้ ารายได้ อาจไม่เพี ย งพอต่อ ค่าใช้จ่า ย ดังนั้นในขณะที่ส่วนของรายได้หักค่าใช้จ่ายยังคง เหลืออยู่ หลายๆ คนจึงมองเห็นความสาคัญของ การเก็ บ ออม เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการใช้ จ่ า ยใน อนาคตหรือเป็นการเตรียมพร้อมต่อเหตุฉุกเฉินที่ อาจเกิดขึ้น ได้ การออมนอกจากจะมีประโยชน์ ต่ อ ตั ว ผู้ อ อมเองแล้ ว ยั ง มี ป ระโยชน์ ต่ อ ระบบ เศรษฐกิจของประเทศโดยรวม กล่าวคือเมื่อมีการ ออมในประเทศมากขึ้ น ก็ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ระบบ เงินทุนที่มั่นคง การสะสมทุนเพื่อการลงทุนของ กิ จ การต่ า งๆ สามารถที่ จ ะใช้ แ หล่ ง เงิ น ทุ น ใน ประเทศ โดยไม่ ต้ อ งพึ่ ง พาแหล่ ง เงิ น ทุ น จาก ต่างประเทศที่อัตราดอกเบี้ยสูงกว่าและอาจเสี่ยง ต่ออัตราแลกเปลี่ ยนที่ผั นผวน การออมจึงเป็น ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ส นั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การลงทุ น การ พั ฒ นาประเทศ และความมี เ สถี ย รภาพทาง เศรษฐกิจของประเทศ และเมื่อพิจ ารณาในเชิง บุคคลการที่บุคคลหนึ่งมีรายรับมากกว่ารายจ่าย หากเก็บไว้กับตนเองโดยไม่ลงทุนใดๆ นอกจาก จะไม่ เ กิ ด รายได้ แ ล้ ว ค่ า ของเงิ น ยั ง ลดลง ตลอดเวลาตามภาวะเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้น

59 เรื่ อยๆ จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ าวผู้ ที่มี เ งิน เหลื อจาก ค่าใช้จ่ายจึงมองหาทางเลือกที่จะเก็บออมในรูป แบต่างๆ เช่น การฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งจะได้ผลตอบแทนในรูปแบบของดอกเบี้ย การ ประกันชีวิตเป็นการออมเพื่อลดความเสี่ยงจาก การ สู ญ เ สี ย เ นื่ อ งจา กอุ บั ติ เ หตุ หรื อ กา ร รักษาพยาบาลเนื่องจากการเจ็บป่วย และการ ลงทุนในหลักทรัพย์และทรัพย์สิ นอื่นๆ เป็นต้น (กีรติวานิชย์, 2549) การออมเงิ น เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ในภ าว ะ เศรษฐกิจปัจจุบันสาหรับในทุกสาขาอาชีพ เพื่อ สะสมไว้ ใช้ จ่ า ยในยามฉุ ก เฉิ น หรื อ เกษี ย ณอายุ การเก็บ ออมของแต่ล ะบุ คคลมี การเก็บ ออมใน ลักษณะและปริมาณที่แตกต่างกันตามปริมาณ ของรายได้ในแต่ละเดือน อีกทั้งรูปแบบของการ ออมไม่เพีย งแต่ใช้การฝากธนาคารเท่านั้นยัง มี การลงทุนในรูปแบบอื่นๆ ที่ให้ผลตอบแทนที่สูง กว่า แต่ก็ตามมาด้วยปัจจัยของความเสี่ยงในการ ลงทุน ในการวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาเปรียบเทียบการ ออมของประชากร 3 กลุ่ ม ได้ แ ก่ ข้ า ราชการ พ นั ก ง า น ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ล ะ พ นั ก ง า น บริษัทเอกชน ในประเด็นของ พฤติกรรมการออม ปัจจัยการออม และรูปแบบการออมว่ามีความ เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร บุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี ประกอบด้วยบุคลากรสองประเภท ได้ แ ก่ ข้ า ราชการ และพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ข้ า ราช การเป็ น บุ ค ลากรที่ เ ข้ า ท างานกั บ มหาวิทยาลัยก่อนปี 2535 หลังจากนั้นบุคลากรที่ เข้าทางานกับมหาวิทยาลั ยจะเรียกว่าพนักงาน ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ พ นั ก ง า น มหาวิ ท ยาลั ย มี ค วามแตกต่ า งกั น ในเรื่ อ งของ สวั ส ดิ ก าร ตั ว อย่ า งเช่ น การรั ก ษาพยาบาล ข้าราชการสามารถเบิกค่าใช้จ่ายโดยตรงจากรัฐ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

และเมื่อเกษียณอายุจะได้รับบาเหน็จบานาญจาก รั ฐ ใ น ขณ ะที่ พ นั ก ง าน มห า วิ ท ยา ลั ยก า ร รั ก ษาพยาบาลใช้ ส วั ส ดิ ก ารของประกั น สั ง คม และได้รับสวัสดิการประกันสังคมเมื่อเกษียณอายุ เป็ น ต้ น พนั ก งานเอกชนเป็ น พนั ก งานของ บริ ษั ทเอกชนจะมีส วั ส ดิก ารคล้ า ยกับ พนัก งาน มหาวิทยาลัย ซึ่งใช้สวัสดิการประกันสังคมในการ รักษาพยาบาล และได้รับสวัสดิการประกันสังคม เมื่อเกษียณอายุ ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง ต้ อ งการศึ ก ษาถึ ง การ เปรียบเทียบรูปแบบการออมของข้าราชการและ พนักงานของมหาวิทยาลัยแทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี และพนักงานบริษัทเอกชนในเขตจังหวัด ปทุมธานี เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิด การออม วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการออมของ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี และพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนใน จังหวัดปทุมธานี 2 . เ พื่ อ ศึ ก ษ า ปั จ จั ย ก า ร อ อ ม ข อ ง ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี และพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนใน จังหวัดปทุมธานี 3. เพื่ อ ศึ ก ษารู ป แบบก ารออมขอ ง ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี และพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนใน จังหวัดปทุมธานี 4. เพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการออมของ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี และพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนใน จังหวัดปทุมธานี

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประโยชน์ ต่ อ ข้ า ราชการ พนั ก งาน มหาวิ ท ยาลั ย และพนั ก งานเอกชนในการวาง แผนการออม 2. ประโยชน์ ต่ อ ข้ า ราชการ พนั ก งาน มหาวิทยาลัย และพนักงานเอกชนในการใช้จ่าย อย่างประหยัดเพื่อที่จะมีเหลือไว้เก็บออม สมมติฐานการวิจัย 1. สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออม 2. สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ต่างกันมีปัจจัยการออมแตกต่างกัน 3. สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ต่างกันมีรูปแบการออมแตกต่างกัน 4. ปั จจั ยการออมมี อิ ทธิ พลต่ อรู ปแบการ ออม ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากร ที่ ใ ช้ ศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป็ น ข้ า ราชการ พนั ก งาน มหาวิท ยาลั ย ของมหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าช มงคลธั ญ บุ รี และพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนใน จังหวัดปทุมธานี 2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือตัวแปรอิสระได้แก่สถานภาพทั่วไป และตั ว แปรตาม ได้ แ ก่ พ ฤติ ก รรมการออม ปัจจัยการออม และรูปแบบการออม 3. พื้ น ที่ ที่ ใ ช้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล การวิ จั ย ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี แ ละ บริ ษั ท เอกชนที่ มี ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี


61

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

กรอบแนวความคิดในการวิจัย

สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม 1. เพศ 2. อายุ 3. วุฒิการศึกษา 4. สถานภาพสมรส 5. รายได้ 6. อาชีพ 7. อายุงาน

พฤติกรรมการออม 1. วัตถุประสงค์ของการออม 2. การได้รับข้อมูลข่าวสาร 3. รูปแบบของการออม 4. ระยะเวลาในการออม 5. ปริมาณการออม 6. กลยุทธ์ในการออม 7. การออมเมื่อมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

ปัจจัยการออม 1. ปัจจัยด้านผลตอบแทน 2. ปัจจัยด้านรายได้ 3. ปัจจัยด้านความเสี่ยง 4. ปัจจัยด้านโฆษณาและจูงใจ

รูปแบบการออม 1. วัตถุประสงค์ของการออม 2. รูปแบบของการออม 3. ลักษณะของการออม ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย แนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การออมหมายถึง การเก็บ เงิน ที่ส ามารถใช้ จ่ายได้ในปัจจุบันไว้เพื่อใช้จ่ายในอนาคต เช่น การ ออมเงิ น หรื อ ลงทุ น ผ่ า นสถาบั น การเงิ น ประเภท ต่างๆ เงินส่วนนั้นจะถูกนาไปให้บุคคลอื่นกู้ยืมเพื่อ ลงทุนในกิจกรรมต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจ ผู้กู้ยืม จะต้องจ่ายดอกเบี้ยเพื่อเป็นค่าตอบแทนในการนา เงินก้อนนี้ไปใช้จ่าย ส่วนผู้ออมเงินจะได้รับดอกเบี้ย เป็นค่าตอบแทนจากการเสียสละเงินไปให้ผู้อื่นใช้

ในปัจจุบัน ดอกเบี้ยที่ได้รับจะเป็นดอกเบี้ยทบต้น ซึ่งคิดยอดเงินที่เพิ่มขึ้นในบัญชีในทุกๆ ช่วงเวลาที่ กาหนด ซึ่งดอกเบี้ยทบต้นนี้จะทาให้เงินออมเกิด ดอกเกิ ด ผล และยิ่ ง ออมเร็ ว เท่ า ไรก็ จ ะยิ่ ง ได้ ผลประโยชน์จากดอกเบี้ยทบต้นมากเท่านั้น อย่ า งไรก็ ต าม ในปั จ จุ บั น มี ท างเลื อ ก สาหรับสร้างผลตอบแทนจากการออมหลากหลาย มากขึ้น ทั้งการลงทุนในพันธบัตร หุ้น กองทุนรวม อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ควบคู่กันอยู่เสมอในการลงทุนคือ ความเสี่ยง การ ลงทุน ที่ มีแ นวโน้ ม จะเกิ ด ความเสี่ ย งสู งก็ มั กจะมี อัตราผลตอบแทนสูง เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ลงทุน เข้ามาลงทุน ในทางปฏิบัติ การออมและการลงทุนเป็น สิ่งที่ใกล้ เคีย งกัน มากเพราะต่า งเป็ น การเสีย สละ ประโยชน์ ที่ พึง ได้ รั บ ในปั จ จุ บั น เพื่ อ เป้ า หมายใน อนาคต ทั้งนี้เมื่อมีผู้ออมเงิน ธนาคารหรือสถาบัน การเงิ น ก็ จ ะน าเงิ น นั้ น ไปลงทุ น ในรู ป แบบต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลตอบแทนสู ง สุ ด (ผู้ อ อมเงิ น จึ ง เปรี ย บเสมื อนมีบ ทบาทเป็ น ผู้ ให้ กู้ เ งิ น ในขณะที่ ธนาคารเป็ น ผู้ กู้) ธนาคารจะน าเงิน บางส่ ว นของ ผลตอบแทนจากการน าเงิ น ไปลงทุน มาจ่ า ยเป็ น ด อก เ บี้ ย ให้ กั บ ผู้ อ อมซึ่ งเ ป็ น ส่ ว น น้ อ ย จ า ก ผลตอบแทนของการลงทุนของของสถาบันการเงิน ดังนั้น เมื่อผู้ออมต้องการรายได้ที่มากขึ้น จึงเลื อก ลงทุนในรูปแบบต่างๆ โดยทั่วไปแล้วทางเลือกใน การลงทุนมีวิธีการดังนี้ 1. ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สิน อื่นๆ เช่น บ้าน ที่ดิน ทองคา เพชรนิลจินดา เป็น ต้น 2. ลงทุนในธุร กิจ เช่น ลงทุนด้วยตนเอง หรือร่วมกับญาติมิตร 3. ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์หรือสถาบัน การเงิน เช่น หุ้น พันธบัตร หุ้นกู้ เป็นต้น จึ ง ถื อ ได้ ว่ า การออมและการลงทุ น เป็ น เรื่ องเดี ย วกั น โดยมีความเสี่ ย งเข้า มาเป็ น ตั ว แปร การจั ด สรรเงิ น ออมหรื อ เงิ น ลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ประเภทต่างๆ จึงต้องคานึงถึงความปลอดภัยของ เงินลงทุนมากที่สุด แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคานึงถึง ผลตอบแทนที่ได้รับ ดังจะเห็นได้จากปิรามิตรการ ลงทุนที่กาหนดให้สัดส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ที่มี ความเสี่ย งต่ามากกว่ า สิน ทรัพย์ ที่มีความเสี่ ยงสู ง (เซ็นนันท์, 2547) นิยามศัพท์เฉพาะ ข้าราชการ หมายถึง ข้าราชการพลเรือนใน สังกัดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในที่นี้ได้แก่ บุคคล

ที่ รั บ ราชการสั ง กั ด มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าช มงคลธัญบุรี พนักงานมหาวิทยาลัย หมายถึง บุคคลซึ่ ง ได้ รั บ การจ้ า งตามสั ญ ญาจ้ า งให้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ราชการในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือ ค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงิน รายได้ของสถาบันอุดมศึกษาในที่นี้ได้แก่ บุคคลที่ ได้ รั บ การว่ า จ้ า งเป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พนั ก งานเอกชน หมายถึ ง พนั ก งานของ บริษัทเอกชนที่มีที่ตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี การออม หมายถึ ง การเก็ บ เงิ น ส่ ว นที่ สามารถนาไปใช้จ่ายในปัจจุบันไว้ใช้จ่ายในอนาคต พฤติกรรมการออม หมายถึง การตัดสินใจ ออมเงิ น เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ต้ อ งการ โดยมี การศึ ก ษาข้ อ มู ล น ามาเปรี ย บเที ย บเพื่ อ เลื อ ก รูปแบบของการออม ระยะเวลาในการออม การ สร้างกลยุทธ์ในการออมได้เกิดจาก การพิจารณาถึง ผลตอบแทนในการออม และความเสี่ ยง อีกทั้งมี การพิจารณาหากรายได้เพิ่มขึ้นจะใช้เงินอย่างไร ปัจจั ยการออม หมายถึง ปัจ จัยที่ส่งผลต่ อ การเลื อ กรู ป แบบการออม ได้ แ ก่ ปั จ จั ย ด้ า น ผลตอบแทน ปั จ จั ย ด้ า นรายได้ ปั จ จั ย ด้ า นความ เสี่ยง และและปัจจัยที่เกิดจากการโฆษณาและเหตุ จูงใจ รูปแบบการออม หมายถึงวิธีต่างๆ ของการ เก็บออมโดยพิจาณาถึง วัตถุประสงค์ ของการออม รูปแบบที่ใช้ออมเงิน เช่นการฝากธนาคาร การซื้อ สลากออมสิน การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ เป็น ต้ น และลั กษณะของการออมเงิน เช่ น การออม โดยพิจารณาถึงผลตอบแทนและความเสี่ยง วิธีการ ออมเมื่อมีรายได้เพิ่มมากขึ้น และการสร้างวินัยใน การออม


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วิธีการดาเนินการวิจัย 1.ประชากรในการวิ จั ย นี้ ประกอบด้ ว ย ข้าราชการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จานวน 811 คนพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี จานวน 237 คน (มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี , 2557) และพนักงาน บริษัทเอกชนที่มีที่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดปทุมธานี ซึ่ง ไม่ทราบจานวนประชากร 2.การหาขนาดของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง กลุ่ ม ตั ว อย่ า งของการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ท่ า กั บ 390 คน จาแนกเป็น 3 กลุ่ม (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง ข้าราชการ 130 พนักงานมหาวิทยาลัย 130 พนักงานบริษัทเอกชน 130 รวม 390 3. เครื่องมือในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็น การวิ จั ย เชิ ง ส ารวจ โดยใช้ แ บบสอบถามเป็ น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. สถิติ ที่ใช้ ในการวิ เ คราะห์ ข้อมูล ได้ แก่ ค่ า ความถี่ ค่ า ร้ อ ยละค่ า เฉลี่ ย และค่ า เบี่ ย งเบน มาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานได้แก่chi-square, t-test, One-Way ANOVA, LSD และ Stepwise Multiple Linear Regression ผลการวิจัย สถานภาพทั่ ว ไปของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เพศหญิ ง มี อ ายุ อ ยู่ ระหว่ า ง 30 ปี ไม่ เ กิ น 40 ปี มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ปริญญาตรีมีสถานภาพโสด มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาทมีอาชีพรับราชการ พนักงาน มหาวิ ทยาลั ย และพนั ก งานเอกชน ในจ านวนที่ เท่ากันและส่วนใหญ่มีอายุการทางานมากกว่า 8 ปี

63 พฤติกรรมการออมพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการออมเพื่ อ ใช้ จ่ า ยกรณี ฉุกเฉิน มีการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการออมโดยทาง สื่อโทรทัศน์มี รูปแบบในการออมโดยโดยการฝาก ธนาคารมีการออมระยะยาวมีการออม 1-3 % ของ รายได้ มีกลยุทธ์การออมโดยหวังผลตอบแทนต่า แต่มั่น คง เช่น การฝากเงินธนาคาร ซื้ อพัน ธบัต ร รัฐบาล และรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติ จะมีการ ใช้จ่ายบางส่วนเก็บออมบางส่วน ปัจจัยการออมโดยภาพรวม มีความสาคัญ อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 ปั จ จั ย ก า ร อ อ ม ร า ย ด้ า น พ บ ว่ า ด้ า น ผลตอบแทน ด้า นรายได้ด้านความเสี่ยงและด้า น การโฆษณาและสิ่งจูงใจโดยรวม มีความสาคัญอยู่ ในระดับมาก ด้านผลตอบแทน ข้อที่มีความสาคัญ 3 ลาดับ แรกได้แก่ เป้าหมายในการออมมีผลต่อการเลือก รู ป แบบการออม อั ต ราผลตอบแทนเป็ น เหตุ ผ ล หลั ก ในการเลื อ กรู ป แบบการออม และอั ต รา ดอกเบี้ยมีผลต่อการเลือกรูปแบบการออม โดยมี ความสาคัญอยู่ในระดับมาก ด้านรายได้ ข้อที่มีความสาคัญ 3 ลาดับแรก ได้แก่ ความสม่าเสมอของรายได้มีมีผลต่อการออม ค่าครองชีพที่สูงขึ้นมีผลต่อการออม และรายได้ที่ เพิ่มขึ้นจากเงินเดือนประจามีผลต่อการออม โดยมี มีความสาคัญอยู่ในระดับมาก ด้านความเสี่ยง ข้อที่มีความสาคัญ 3 ลาดับ แรกได้แก่ ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจมีผล ต่อการออม ความมั่น คงของสถาบันการเงินมีผ ล ต่อการออม และความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยในยุค ปัจจุบั นมีผลต่อการออม โดยมีความสาคัญ อยู่ใน ระดับมาก ด้ า น ก า ร โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ สิ่ ง จู ง ใ จ ข้ อ ที่ มี ความสาคัญ 3 ลาดับแรกได้แก่ การจูงใจด้านภาษี มีผลต่อการออม บ้าน รถ ที่ดิน มีราคาสูงขึ้นมีผล ต่อการออม และนโยบายส่งเสริมของรัฐบาลมีผล ต่อการออม โดยมีความสาคัญอยู่ในระดับมาก


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

รูปแบบการออมโดยภาพรวม มีความสาคัญ อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 รู ป แ บบ การ ออ มร ายด้ าน พบ ว่ า ด้ า น วัตถุประสงค์ของการออม และด้านลั กษณะของ การออม มี ความส าคัญ อยู่ ใ นระดับ มาก ส าหรั บ ด้านรูปแบบในการออมมีความสาคัญอยู่ในระดับ ปานกลาง ด้ า นวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการออม ข้ อ ที่ มี ความสาคัญ 3 ลาดับแรกได้แก่ เพื่อใช้จ่ายในกรณี ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ใช้ จ่ า ยเวลาเกษี ย ณอายุ และเพื่ อ สารองเวลาเจ็บป่วย โดยมีความสาคัญอยู่ในระดับ มากที่สุด ด้านรูปแบบในการออม ข้อที่มีความสาคัญ 3 ลาดับแรกได้แก่ ฝากธนาคาร มีความสาคัญอยู่ใน ระดับมาก และสหกรณ์ออมทรัพย์ มีความสาคัญ อยู่ในระดับมาก และประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ มีความสาคัญอยู่ในระดับปานกลาง ด้านลักษณะของการออม ข้อที่มีความสาคัญ 3 ลาดับแรกได้แก่ การออมที่ได้ผลตอบแทนต่าแต่ มั่นคง ถ้ามีรายได้เพิ่มมากขึ้นจะออมมากขึ้น และ การก าหนดเงิ น ออมไว้ แน่ น อนทุ ก เดือ น โดยมี มี ความสาคัญอยู่ในระดับมาก พฤติ กรรมการออมจ าแนกตามสถานภาพ ทั่วไปด้านอาชีพ ข้าราชการส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่าย ในยามเกษี ย ณอายุ มี การรั บ รู้ ข้อ มูล เกี่ ยวกับ การ ออมจากสื่อโทรทัศน์มีรูปแบบในการออมโดยการ ฝากธนาคารมีระยะเวลาในการออมระยะยาว มีกล ยุทธ์ในการออม คือ ผลตอบแทนต่าแต่มั่นคง และเมื่อมีรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติจะใช้จ่าย บางส่วนเก็บออมบางส่วน พ นั ก ง า น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส่ ว น ใ ห ญ่ มี วัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่ายในยามเกษียณอายุมีการ รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการออมจากสื่อ อินเทอร์เน็ต มี

รู ป แบบในการออมโ ดยการฝากธนาคารมี ระยะเวลาในการออมระยะยาวมี กลยุทธ์ ในการ ออม คือ ผลตอบแทนต่าแต่มั่นคงและเมื่อมีรายได้ เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติจะใช้จ่ายบางส่วนเก็บออม บางส่วน พ นั ก ง า น บ ริ ษั ท เ อ ก ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ มี วัตถุประสงค์การออมเพื่อใช้จ่ายกรณีฉุกเฉินมีการ รั บ รู้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การออมจากสื่ อ โทรทั ศ น์ มี รู ป แบบในการออมโ ดยการฝากธนาคารมี ระยะเวลาในการออมปานกลาง มีกลยุทธ์ในการ ออม คือ ตอบแทนต่าแต่มั่ นคงและเมื่อ มีร ายได้ เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติจะใช้จ่ายบางส่วนเก็บออม บางส่วน การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ 1 สถานภาพทั่ว ไปของผู้ ตอบ แบบสอบถามมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ พฤติ ก รรมการ ออม การทดสอบสมมติ ฐ านใช้ ก ารทดสอบค่ า ความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สถิติ เพียร์สัน ไคสแควร์ (Pearson Chi-Square) ใช้ระดับความ เชื่อมั่นที่ 95% จะยอมรับสมมติฐาน ก็ต่อเมื่อ P มี ค่าน้อยกว่า 0.05 ผลการทดสอบสมติฐาน (ตารางที่ 2) เพศ อายุ และรายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นมี ความสัมพันธ์กับปริมาณการออม อย่างมีนัยสาคัญ ที่ ร ะดั บ .05 โดยที่ เพศชายมี อั ต ราการออม มากกว่ าเพศหญิง กลุ่ ม ผู้ มี อายุ มากและมี ร ายได้ มากมีอัตราการออมมากกว่ากลุ่มผู้มีอายุน้อยและมี รายได้น้อย วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา และรายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นมี ความสัมพันธ์กับกลยุทธ์การออม อย่างมีนัยสาคัญ ที่ระดับ .05 โดยที่ ทุกวุฒิ การศึกษาและทุกกลุ่ ม รายได้ มีก ลยุทธ์ คื อ การออมผลตอบแทนต่าแต่ มั่นคง

^


65

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพทั่วไปกับพฤติกรรมการออม สถานภาพทั่วไป เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ อายุงาน

พฤติกรรมการออม กลยุทธ์ในการออม การออมเมื่อมีรายได้เพิ่ม 0.302 0.109 0.631 0.933 0.000 0.237 0.237 0.721 0.008 0.753 0.079 0.616 0.090 0.204

ปริมาณการออม 0.027 0.000 0.062 0.919 0.000 0.058 0.107

สมมติฐานที่ 2 สถานภาพทั่ วไปที่ต่างกันมีปัจจัย การออมแตกต่างกัน

ผลการทดสอบสมติ ฐ านพบว่ า อาชี พ ที่ ต่ า งกั น มี ปั จ จั ย การออมแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นัยสาคัญที่ระดับ .05 (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพทั่วไปกับปัจจัยการออม เพศ

สถานภาพทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ อายุงาน

สถิติที่ใช้

Independent Samples t-test One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA

สมมติ ฐานที่ 3 สถานภาพทั่ว ไปของผู้ ตอบ แบบสอบถามที่ต่างกันมีรูปแบบการออมแตกต่าง กัน

ค่าสถิติ (P) 0.503

ผลการทดสอบ (H0) ยอมรับ

0.287 0.263 0.155 0.275 0.036 0.426

ยอมรับ ยอมรับ ยอมรับ ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ

ผลการทดสอบสมติฐานพบว่า วุฒิการศึกษา และอาชีพที่ต่างกันมีรูปแบบการออมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (ตารางที่ 4)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพทั่วไปกับรูปแบบการออม สถานภาพทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ อายุงาน

สถิติที่ใช้

Independent Samples t-test One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA One-way ANOVA

สมมติฐานที่ 4 ปัจจั ยการออมมีอิทธิพลต่อ รูปแบบการออม ผลการทดสอบสมติฐานพบว่า ปัจจัยการออม โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับรูปแบบการ

ค่าสถิติ (P) 0.324

ผลการทดสอบ (H0) ยอมรับ

0.311 0.000 0.341 0.516 0.024 0.611

ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ ยอมรับ ปฏิเสธ ยอมรับ

ออมโดยภาพรวมอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 โดยมี ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) เท่ากับ 0.587 และสามารถทานายค่าสมการของการวิเคราะห์ ได้ เท่ากับร้อยละ 34.30 (ตารางที่ 5 และ 6)

ตารางที่ 5 อิทธิพลของปัจจัยการออมโดยภาพรวมต่อรูปแบบการออมโดยภาพรวม ตัวแปรทานาย ปัจจัยการออม โดยภาพรวม

R

R Square

0.587

0.345

Adjust R Square 0.343

Std. Error of the Estimate 0.457

ตารางที่ 6 สัมประสิทธิ์การถดถอย ระหว่างปัจจัยการออมโดยภาพรวมและรูปแบบการออมโดยภาพรวม ตัวแปรทานาย (Constant) ปัจจัยการออมโดยภาพรวม

Unstandardized Coefficients B SE 1.204 0.161 0.580 0.041

ปั จ จั ย การออมรายด้ า นได้ แ ก่ ปั จ จั ย ด้ า น รายได้ และปั จ จั ยด้านการโฆษณาและสิ่ งจูงใจมี

Standardized Coefficients Beta 0.587

t

P

7.495 14.282

0.000* 0.000*

ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง บวกกั บ รู ป แบบการออมโดย ภาพรวมอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ ≤.05 โดยมีค่า


67

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุ (R) เท่ากับ 0.600 และ สามารถท านายค่ า สมการของการวิ เ คราะห์ ไ ด้

เท่ากับร้อยละ 35.70 (ตารางที่ 7 และ 8)

ตารางที่ 7 อิทธิพลของปัจจัยการออมรายด้านต่อรูปแบบการออมโดยภาพรวม ตัวแปรทานาย

R

R Square

รายได้ การโฆษณาและสิ่งจูงใจ

0.600

0.360

Adjust R Square 0.357

Std. Error of the Estimate 0.452

ตารางที่ 8 สัมประสิทธิ์การถดถอย ระหว่างปัจจัยการออมรายด้านและรูปแบบการออมโดยภาพรวม ตัวแปรทานาย (Constant) รายได้ การโฆษณาและสิ่งจูงใจ

Unstandardized Coefficients B Str.Error 1.482 0.153 0.181 0.039 0.341 0.032

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นว่า การออมเป็น สิ่ ง ที่ ดี ส าหรั บ การด าเนิ น ชี วิ ต การออมสามารถ ป้องกันความเสี่ยงในเรื่องการเงินได้ การออมเป็น สิ่ ง ที่ ดี ใ นอนาคตของครอบครั ว การออมคือ การ ประหยัดเงินไว้ใช้ในภายภาคหน้าเป็นสิ่งที่ดีที่ทุก คนควรท า การออมมี ค วามจ าเป็ น อย่ า งยิ่ ง เนื่ อ งจากสวั ส ดิ ก ารของรั ฐ และมหาวิ ท ยาลั ย ใน อนาคตอาจไม่เอื้อต่อข้าราชการที่มีรายได้น้อยใน ขณะที่ค่าใช้จ่ายตามกลไกทางเศรษฐกิจกับสูงขึ้น เรื่อยๆ มิได้สอดคล้องกับความเป็นจริงของรายได้ การออมจะเห็น คุณค่าและประโยชน์ เมื่อถึงเวลา จาเป็น หากมีรายได้มากก็ควรออมมากใช้จ่ายปาน กลาง มีรายได้น้อยออมน้อยใช้จ่ายน้อย มีรายได้ คงที่ ควรออมสม่าเสมอ ใช้จ่ ายน้ อย ซึ่ งการออม

Standardized Coefficients Beta 0.212 0.476

t

P

9.691 4.683 10.524

0.000* 0.000* 0.000*

ขึ้นอยู่กับรายรับและรายจ่ายของรายได้บุคคล เมื่อ รายได้หักค่าใช้จ่ายแล้วที่เหลือก็จะมาพิจารณาใน การออม การออมเป็ นการสร้า งวินั ย ทางการเงิน การออมในวัน นี้ และวั น ต่อๆ ไป อย่า งมีร ะเบี ย บ วินัย จะทาให้เรามีไว้ใช้ในวันข้างหน้า การออมที ละน้อยๆ แล้วค่อยๆ เพิ่มวันหน้าจะมีเงินมาก การ ออมไม่จากัดวันและเวลา สามารถออมได้ทุกเมื่อ การลดค่าใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือยก็เป็นการออมได้ กู้ซื้อ บ้านให้เช่าเก็บค่าเช่าส่งธนาคาร ผ่อนเสร็จแล้วจะ ได้เป็นเจ้าของบ้าน ถือเป็นการลงทุนและการออม ที่สร้างมูลค่าเพิ่มอีกระดับหนึ่ง การประกันชีวิต มี ดอกเบี้ ย ให้ ลดหย่ อ นภาษี ไ ด้ คุ้ ม ครองประกั น ยาวนาน ทางมหาวิ ท ยาลั ย ควรเร่ ง ให้ มี ก องทุ น สารองเลี้ยงชีพ และผลักดันให้สามารถมีการออม ส่วนนี้หักจากเงินเดือนได้ 5-10%


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ผู้ ต อบแบบสอบถามเห็ น ว่ า แบบสอบถาม เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และเป็นแรงกระตุ้นให้ เกิดการออมจากการที่อ่านแบบสอบถามนี้เพราะ การออมก็เหมือนการวางแผนชีวิต และครอบครัว ยั น ปลายทางของชี วิ ต เรา สั ง คมไทยควรมี ก าร กระตุ้ น การออมให้ ม ากกว่ า นี้ และควรมี ก ารท า ส ารวจในแต่ ล ะปี เพื่ อ ประมาณการออมของ สังคมไทย แต่ละปีต่อปี สังคมไทยควรสร้างวินัยใน การออมให้มากเพื่อชีวิตที่ดีหลัง เกษียณอายุ อย่าง น้อย 10-15% ของรายได้ คนไทยส่วนใหญ่ยังให้ ความสาคัญกับการออมน้อยเกิดปัญหาหลังเกษียณ หรื อ เมื่ อ ยามแก่ ช รา ซึ่ ง อี ก 5-10 ปี ข้ า งหน้ า ผู้ สู ง อายุ จ ะมี เ พิ่ ม มากขึ้ น และส่ ง ผลกระทบต่ อ สังคมแต่ถ้าหากมีการออมและวางแผนล่วงหน้าไว้ ก็ จ ะท าให้ ชี วิ ต บั้ น ปลายอยู่ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง สรุปและอภิปรายผลการวิจัย การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการออมของ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี แ ละพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนในเขต จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี พบว่ า ปั จ จั ย ด้ า นรายได้ และ ปัจจัยด้านการโฆษณาและสิ่งจูงใจเป็นตัวแปรที่ มี ผลต่ อรู ป แบบการออมโดยรวม และยั ง พบอี ก ว่ า ปริมาณการออมมีความสัมพันธ์กับเพศ อายุ และ รายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ยิวคิม (2555) ที่ศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมการ ออมของบุ คลากรมห าวิ ท ยาลั ย รามค าแห ง กรณีศึกษาบุคลากรคณะรั ฐศาสตร์ พบว่า อายุ มี ผลต่ อ พฤติ ก รรมการออม และสอดคล้ อ งกั บ งานวิจัยของ อินพรม (2553) ที่ศึกษาปัจจัยที่มีผล ต่ อ การออมของพนั ก งานในเขตอุ ส าหกรรม ภาคเหนือจังหวัดลาพูน พบว่ารายได้รวมต่อมีผลต่อ การออม ดังนั้นจึงพออนุมานได้ว่าบุคคลที่มีรายได้ มากมีการเก็บออมในอัตราส่วนที่มากกว่าผู้มีรายได้ น้อย เพราะผู้มีรายได้น้อยจะต้องนาเงินมาใช้จ่ายใน สิ่งให้เพียงพอเสียก่อน ที่เหลือจึงจะมีการเก็บออม ส่วนผู้ ที่มีร ายได้มากเมื่อเหลือจากการใช้จ่า ยแล้ ว

เงินส่วนนั้นสามารถเก็บออมทั้งหมด จากการศึกษา พบว่าข้าราชการและพนักงานบริษัทเอกชนมีการ เก็บออมในอัต รา 1-3% ของรายได้ เฉลี่ยต่ อเดื อน พนั ก งานราชการมี ก ารเก็ บ ออมในอั ต รา 3-5 % ของรายได้เฉลี่ยต่อเดือน สอดคล้องกับงานวิจัยของ โกมลเพ็ชร์ (2554) ที่ศึกษาพฤติกรรมการออมเงิน ของบุ ค ลากรในวิ ท ยาลั ย นครราชสี ม า พบว่ า บุคลากรมีเงินออมร้อยละ 0.01-10 ของรายได้ ซึ่ง ความส าคั ญ ของรายได้ ที่ มี ผ ลต่ อ การออมได้ แ ก่ ความสม่าเสมอของรายได้ ค่าครองชีพที่สูงขึ้น และ การมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น จากเงิ น เดื อ นประจ า การที่ ข้าราชการมีอัตราส่วนออมน้อยอาจเป็นเพราะว่า สวั ส ดิการของข้า ราชการดี อยู่แล้ ว มีเ งิน บ าเหน็ จ บานาญในยามเกษียณ มีสวัสดิการรักษาพยาบาลที่ ดี แต่ส าหรั บพนักงานเอกชนอาจเป็น ด้วยสภาวะ เศรษฐกิจที่ถดถอยและอัตราส่วนเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ ทาให้ รายจ่า ยเพิ่มมากขึ้น จึงเหลือให้ เก็บ ออมน้ อย ในขณะเดี ย วกัน พนั กงานมหาวิ ทยาลั ย เนื่ อ งจากมี ส วั ส ดิ ก ารน้ อ ยกว่ า ข้ า ราชการจึ ง มี เงินเดือนมากกว่าข้าราชการจึงสามารถเก็บออมได้ มากกว่า นอกจากปั จ จั ย เรื่ อ งรายได้ แ ล้ ว การการ โฆษณาและสิ่ ง จู ง ใจก็ เ ป็ น ตั ว แปรหนึ่ ง ที่ มี ผ ลต่ อ รูปแบบซึ่งความสาคัญของการโฆษณาและสิ่งจูงใจ ที่มีผ ลต่ อการออมได้แก่ การจูงใจด้ านภาษี ราคา ของบ้ า น รถ ที่ ดิ น มี ร าคาสู ง ขึ้ น และนโยบาย ส่ ง เสริ ม ของรั ฐ บาล ข้ า ราชการและพนั ก งาน บริษัทเอกชนได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการออมจากสื่อ โทรทัศน์เป็นส่วนใหญ่ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ โกมลเพ็ช ร์ (2554) ที่พบว่ า บุคลากรในวิ ทยาลั ย นครราชสี ม าได้ รั บ ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การออมใน รูป แบบต่ างๆจากทางโทรทัศน์ แม้ว่า โทรทัศน์ จ ะ เป็นสื่อที่สามารถสื่อสารเข้าถึงกลุ่มผู้รับข่าวได้อย่าง กว้างขวาง แต่ทว่าสื่อโทรทัศน์ยังมีข้อจากัดในเรื่อง งบโฆษณา เวลาในการออกอากาศ และความ ต่อเนื่องในการออกอากาศ อินเทอร์เน็ตจึงเป็นสื่อที่ ได้ รั บ ความส าคั ญ รองลงมา นอกจากนั้ น สื่ อ หนังสือพิมพ์ป้ายโฆษณาแผ่นพับโฆษณาจุดตั้งโต๊ะ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประชาสัมพันธ์ และสื่ออื่นๆ เช่น จากหน่วยงาน การติดต่อโดยตรงจากธนาคาร จากหนังสือเกี่ยวกับ การออม บริ ษั ท ประกั น สั ง คมออนไลน์ วิ ท ยุ หน้ าจอ ATM และจากเพื่อน ก็มีความส าคัญใน อัตราส่วนที่ใกล้เคียงกัน ในด้านพฤติกรรมการออมข้าราชการ และ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย มี พ ฤติ ก รรมการออมที่ คล้ายกันคือ มีวัตถุประสงค์การออมเพื่อใช้จ่ายใน ยามเกษี ย ณอายุ ส่ ว นพนั ก งานบริ ษั ท เอกชนมี วัตถุประสงค์การออมเพื่อ เพื่อใช้จ่ายกรณีฉุกเฉินซึ่ง สอดคล้ องกับ งานวิจั ยของ กัมพลาวลี (2552) ที่ ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการออมและรูปแบบ การออมระหว่ า งพนั ก งานสถาบั น การเงิ น และ ข้าราชการ พบว่า วัตถุประสงค์ในการออมเงินของ กลุ่มสถาบันการเงินและข้าราชการจะเพื่อใช้จ่ายใน ยามฉุ ก เฉิ น และเก็ บ ใช้ จ่ า ยในยามชราเป็ น หลั ก ส าหรั บ ระยะเวลาในการออม ข้ า ราชการและ พนักงานมหาวิทยาลัย มีการออมระยะยาว 5 ปีขึ้น ไป พนั ก งานบริ ษั ท เอกชนมี ก ารออมระยะปาน กลาง 1-5 ปี สอดคล้องกับงานวิจัยของ กัมพลาวลี (2552) ที่พบว่าด้านระยะเวลาในการเก็บออมและ การลงทุนทางการเงิน พนักงานสถาบันการเงินส่วน ใหญ่ เ ก็ บ ออมและลงทุ น มาแล้ ว 2-5 ปี ส่ ว น พนั ก งานราชการส่ ว นใหญ่ เ ก็ บ ออมและลงทุ น มาแล้ว 5-10 ปี ทั้งสามกลุ่มอาชีพมีรูปแบบในการ ออมโดยการฝากธนาคารมีกลยุทธ์ในการออมโดย เลื อ กผลตอบแทนต่ าแต่ มั่ น คง และเมื่ อ มี ร ายได้ เพิ่มขึ้นจากรายได้ปกติจะใช้จ่ายบางส่วนเก็บออม บางส่วน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ โกมลเพ็ชร์ (2554) ที่พบว่าบุ คลากรในวิทยาลั ยนครราชสีมา ออมเงินในรูปของบัญชีเงินฝากกับสถาบันการเงิน (ทั้งออมทรัพย์และฝากประจา) จากพฤติกรรมการออมข้างต้น ทั้งสามกลุ่ ม อาชี พ เลื อ กการออมโดยการฝากธนาคาร อาจ เป็ น ได้ ว่าการฝากธนาคารมีส ภาพคล่ องมากกว่ า สามารถถอนเงินได้ตลอดเวลา ที่สาคัญรองลงมาคือ

69 การเป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ซึ่งนอกจากจะได้ ดอกเบี้ ย แล้ ว ยั ง ได้สิ ท ธิพิ เ ศษในการกู้ เ งิน อี กด้ ว ย การออมเงินด้วยการประกันชีวิติแบบสะสมทรัพย์ ก็ ได้ รั บ ความสนใจรองลงมา ส าหรั บ การออมใน รู ป แบบอื่ น ยั ง ได้ รั บ ความสนใจน้ อยด้ ว ยว่า อาจมี สภาพคล่องน้อยหรือมีความเสี่ยงมากขึ้น ข้อเสนอแนะ การออมเป็นสิ่งที่ จาเป็นสาหรับบุคลากร ในทุกส่วน การเก็บออมช่วยเป็นเกราะป้องกันจาก ความเสี่ ย งทางการเงิ น ได้ ดี มี เ งิน ส ารองไว้ ใช้ ใ น กรณีฉุกเฉิน มีเงินไว้ใช้จ่ายในยามเกษียณอายุ การ ส ารองค่าใช้จ่ ายในยามเจ็ บ ป่ ว ย ช่ว ยเป็ น เกราะ ป้องกันจากการเป็นหนี้นอกระบบ การออมยังช่วย ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ความต้องการในหลายด้าน เช่น การสร้ างครอบครั วให้ มั่น คง การศึกษาของ บุตร การท่องเที่ยว การลงทุน เมื่อเก็บออมถึงเวลา หนึ่งแล้วครอบครัวมีความมั่งคั่งก็สามารถใช้จ่ายได้ อย่ า งอิ ส ระสร้ า งรายได้ห มุน เวี ย นให้ แ ก่ป ระเทศ ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวม อีกทั้งเป็นแบบอย่างที่ ดีต่อนักศึกษา การออมส่วนใหญ่ยังเป็นการฝากเงิน ธนาคารซึ่ ง ได้ ด อกเบี้ ย ต่ า ซึ่ ง รู ป แบบการออมมี หลายประเภทหน่วยงานควรให้ความรู้แก่บุคลากร ทั้งการออมและแปลงการออมเป็นการลงทุนซึ่งได้ ผลตอบแทนมากกว่า ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาทัศนคติและพฤติกรรม ของบุ ค ลากรมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ธัญบุรีต่อการออมและการลงทุน 2. ควรศึกษาพฤติกรรมการออมและ การลงทุนรูปแบบอื่นๆ ที่ประสบความสาเร็จ เช่น การออมและการลงทุนในที่ที่ดิน อสังหาริมทรัพย์ และการลงทุนในตลาดหุ้น


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

References Inprom, Anon. (2553). Factors affecting savings of employees in the Northern Region Industrial Estate, Lamphun Province.Master of business Administrationof Chiang Mai University. Kamplawali, Thaniya. (2552). Comparison of Savings Behaviors and Savings Patterns among Employees of Financial Institutions and Government Officials. Master of Arts (Business Economics) of Thammasat University. Kirativanich, Thanaiwong. (2549). Personal Finance (Money Valuable) for Vocational Education. Bangkok: Thailand Securities Institute. Komonphes, Jaidiaw. (2554).Saving Behavior of Staffs in Nakhon RatchasimaCollege. Master of Economics of Chiang Mai University. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (2557). Number of personnelclassified by type of personnel. [online], Available from: http://mis.rmutt.ac.th/hr_report/1-12.pdf (1/3/257) Sennun, Anisa. (2547). Money of Valuables. Bangkok: The Stock Exchange of Thailand. Yewkhim, Kidsadee. (2555). The Attitudes and Savings Behaviors of Ramkhamheang University Personnel: a case study of personnel at the faculty of political science. Master of business administration of Ramkhamheang University.


71

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ความสุขของแรงงานไทยและพม่า: กรณีศึกษาในโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูป อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล1 อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กลุ 2

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุข ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขของแรงงานไทยและ พม่า แนวทางและปัจจัยความสาเร็จของการดาเนินงานสร้างความสุข ในโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปแห่ง หนึ่งใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยแบบสอบถามพนักงาน จานวน 404 คน เป็น แรงงานไทยจ านวน 248 คน และแรงงานพม่า จานวน 156 คน เก็บ รวบรวมข้อมูลเชิ ง คุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกคณะทางานสร้างสุขในองค์กร จานวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า แรงงาน ทั้งชาวไทยและพม่า มีค วามสุ ข โดยภาพรวมอยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด โดยแรงงานชาวพม่ า มี ความสุ ขใน ภาพรวมสูงกว่าแรงงานชาวไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของแรงงานไทยและพม่า ได้แก่ ความผูกพันต่อ องค์กร ความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้างสุขในองค์กร และสัญชาติ ด้ านแนวทางในการดาเนินงานสร้า ง ความสุขในองค์กร มีการประกาศเป็นนโยบายองค์กร จัดตั้งคณะทางาน มีการวางแผน ประเมินผล และ ปรับปรุงงาน ปัจจัยเงื่อนไขความสาเร็จของการดาเนินงานคือ การสนับสนุนด้านนโยบายและงบประมาณ จิตอาสาของคณะทางาน การมีส่วนร่วมของแรงงาน และการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสม คาสาคัญ: ความสุขของแรงงาน แรงงานพม่า องค์กรแห่งความสุข ความผูกพันต่อองค์กร

1

รองผูอ้ านวยการ และอาจารย์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 หมู่ที่ 5 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: athiwat_1@yahoo.com 2 รองศาสตราจารย์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 หมู่ที่ 5 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: uthaithip.rak@mahidol.ac.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

The Happiness of Thai and Myanmar Workers: A Case Study in a Garment Factory

Athiwat Jiawiwatkul1 Uthaithip Jiawiwatkul2

Abstract This research aimed to study the happiness, and factors affecting it among Thai and Myanmar workers, in order to specify guidelines and success factors of happy workplace in a garment factory. The mixed-method research was used. Quantitative data were collected by questionnaire from 404 employees in the garment factory, of which 248 were Thai workers and 156 were Myanmar workers. Qualitative data were collected by in-depth interview with 5 key informants from the happy workplace committee of the factory. Results of the study revealed that both Thai and Myanmar workers had all eight dimensions of happiness at the highest level. Myanmar workers had the overall happiness higher than Thai workers. The factors affecting happiness at work of Thai and Myanmar workers were organization commitment, satisfaction with happy organization activities and nationality. Guidelines for happiness promotion in workplace were the formulation of workplace happiness policy, workplace committee, planning, evaluation and improvement. Success factors of happy workplace were policy and budget support, public mind of the committee, worker’s participation and appropriate activity design. Keywords: Happiness of workers, Myanmar workers, happy workplace, organization commitment

1

Deputy Director and Lecturer, National Institute for Child and Family Development, Mahidol University. 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Phuttamonthon, Nakhon Pathom 73170, Thailand. e-mail: athiwat_1@yahoo.com 1 Associate Professor, Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Phuttamonthon, Nakhon Pathom 73170, Thailand. e-mail: uthaithip.rak@mahidol.ac.th


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

ประชากรวั ย แรงงานเป็ น ประชากรกลุ่ ม สาคัญในภาคเศรษฐกิจของประเทศไทย และเป็น กาลังสาคัญของครัวเรือน โดยในปี พ.ศ. 2560 พบว่ า ประชากรอายุ ตั้ ง แต่ 15 ปี ขึ้ น ไป ที่ เ ป็ น กาลังแรงงานของประเทศ มีการประกอบอาชีพ ต่ า งๆ จ านวน 37,443,200 คน ซึ่ ง เป็ น ประชากรที่ทางานอยู่ในหน่วยงาน องค์กร สถาน ประกอบการภาครั ฐ และภาคเอกชน จ านวน 20,119,700 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 53.7 ของ กาลั งแรงงานทั้งหมด (คานวณจากข้อมูล การ ส ารวจภาวะการท างานของประชากร ทั่ ว ราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 1 มกราคม - มีนาคม พ.ศ. 2560) (สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2560) ในจานวน นี้ประชากรวัยแรงงานจานวนหนึ่ง ทางานอยู่ใน อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม ซึ่ ง เป็ น อุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ โดยเป็นหนึ่งในธุรกิจที่สร้างรายได้ เป็ น อั น ดับ ต้ น ๆ โดยมีมูล ค่า การส่ งออกคิด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 3 . 4 ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ล ร ว ม ภา ย ในป ร ะเ ทศ มี ก า ร ส่ งออกสิ่ งทอแล ะ เครื่องนุ่งห่มประมาณ 150,000 บาทต่อปี เป็น ธุรกิจที่มีการจ้ างงานสูง ก่อให้ เกิดการกระจาย รายได้ต่อประชากร ทั้งที่เป็นแรงงานมีฝีมือและ แรงงานไร้ฝีมือ ในปี พ.ศ. 2554 มีการจ้างงาน ร้อยละ 19 ของการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม การผลิ ต ทั้ ง หมดของไทย จ านวนโรงงานมี ประมาณ 4,500 แห่ง ซึ่งมากกว่าร้อยละห้าสิบ เป็น โรงงานผลิต เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม และมี จ านวนแรงงานในอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ เครื่ องนุ่ งห่ มทั้งสิ้ น 1,022,880 คน อยู่ ในกลุ่ ม เครื่องนุ่งห่มประมาณ 795,880 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 77.8 ของจานวนแรงงานในอุตสาหกรรม

73 สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (จันทระ, 2555) การ ส่งออกเครื่องนุ่งห่มของไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมไปถึ ง ประเทศเพื่ อ นบ้ า นของไทย ได้ แ ก่ เวี ย ดนาม พม่ า และ อิ น โดนี เ ซี ย ที่ มี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ด้ ว ยเช่ น กั น และจากการที่ ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม มี ก าร ขยายตัวที่เพิ่มขึ้นนี้เอง ความต้องการแรงงานจึง มี แ น ว โ น้ ม ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ต า ม ด้ ว ย ใ น ข ณ ะ ที่ ผู้ประกอบการในปัจจุบันกาลังประสบกับปัญหา การขาดแคลนแรงงานทั้งใน ระดับผู้ปฏิบัติและ ระดับการจัด การ เนื่องจากแรงงานไทยเปลี่ย น อาชีพ ค่านิยมของ คนรุ่นใหม่ที่ไม่ต้องการทางาน ในระดับผู้ปฏิบัติ รวมทั้งการขาดความเข้าใจใน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (สานักงาน ส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม, 2559) ซึ่งในปัจจุบันแรงงานที่อยู่ในอุตสาหกรรม นี้ มี ทั้ ง แรงงานไทย และแรงงานข้ า มชาติ นอกจากการขาดแคลนแรงงานแล้ว แรงงานส่วน ใหญ่ ยั ง ต้ อ งท างานล่ ว งเวลาเพื่ อ ให้ มี ร ายได้ เพิ่มขึ้น โดยการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้า บ่อยครั้ง ต้องเร่ งการผลิ ตและหลี กเลี่ ยงไม่ได้ ที่ จะต้ อ งให้ พ นั ก งานท างานล่ ว งเวลาเกิ น กว่ า ที่ จรรยาบรรณทางการค้ า ของธุ ร กิ จ ที่ ก าหนดไว้ (สุทธาเวศ และ ยะวิเชียร, 2551) ทาให้ขาด ความสมดุ ล ระหว่ า งการท างานกั บ ชี วิ ต พบ ปั ญ ห า ค ว า ม เ ค รี ย ด ขอ ง แร งง า น ดั งเ ช่ น การศึกษาของ หมีรักษา (2552) ในกลุ่มพนักงาน ที่ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้า ขนาดย่อม พบว่า พนักงานมีระดับความเครียด สูงกว่าปกติ โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับ การท างาน รวมถึง สั มพั น ธภาพในที่ทางาน หรือการศึกษาของ บัวเพ็ชร์ กลัมพากร และ ละ กาปั่ น (2555) ในกลุ่ มพนั กงานโรงงานตั ด เย็ บ เ สื้ อ ผ้ า ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ พ บ ว่ า พ นั ก ง า น มี


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ความเครียดทางจิตใจ จนเกิดอาการเจ็บป่วยทาง กาย ภาวะวิ ตกกั งวล และภาวะซึ ม เศร้ าอยู่ ใ น ระดับเสี่ยงและสูง ในขณะที่มีความพึงพอใจใน งานอยู่ ในระดับ ต่า จะเห็น ได้ว่าแรงงานเหล่านี้ ส่วนหนึ่งประสบกับปัญหาด้านสุขภาพและสังคม ไม่ มี ค ว าม สุ ข ในชี วิ ต ในการท างาน ซึ่ ง สถานการณ์เหล่านี้ เกิดขึ้นกับทั้งแรงงานที่เป็ น ชาวไทยและแรงงานข้ามชาติ ที่เข้ามาทางานใน สถานประกอบการ ดังการศึกษาของ อึ้งศรีวงษ์ (2557) ที่ พ บว่ า คุ ณ ภาพชี วิ ต การท างานของ แรงงานข้ า มชาติ ช าวพม่ า ที่ ท างานในจั ง หวั ด สมุทรสาคร อยู่ในระดับปานกลาง โดยได้รับการ ดาเนินการด้านการจัดการแรงงานในระดับปาน กลาง ซึ่งการจัดการแรงงานนี้มีความสัมพันธ์กับ คุณ ภาพชี วิ ต ของแรงงาน สถานการณ์ ปั ญ หา ความทุกข์ และความสุขของแรงงานที่ทางานใน สถานประกอบการต่า ง ๆ จึ งมีความส าคั ญ เพร าะ จะมี ผล ต่ อ เ นื่ อ งต่ อ ทั้ ง ตั ว แ รง งา น ครอบครัว ตลอดจนกระทบต่อประสิทธิผลในการ ทางานและประสิทธิผลขององค์กร ซึ่งจะส่งผล ต่ อ สั ง ค ม โ ด ย ร ว ม แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ต า ม ม า การศึ ก ษาที่ ผ่ า นมา พบว่ า ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความสุ ข ของแรงงาน จะประกอบด้ ว ยหลาย ปั จ จั ย ทั้ ง ปั จ จั ย ระดั บ บุ ค คลและปั จ จั ย ระดั บ องค์กร อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการศึกษาปัจจัย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความสุ ข ของพนั ก งานในสถาน ประกอบการอยู่บ้างแล้ว แต่การศึกษาดังกล่าว มักจะศึกษาในกลุ่มแรงงานชาวไทยเท่านั้น และ เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม เป็ น อุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาแรงงานข้ามชาติ ดังนั้น การให้ความสาคัญกับคุณภาพชีวิตและความสุข ของพนั ก งานที่ เ ป็ น แรงงานข้ า มชาติ จึ ง มี ความสาคัญไม่น้อยไปกว่ากัน การศึกษานี้ จึงมุ่ง ศึ ก ษาทั้ ง ความสุ ข ของพนั ก งานที่ เ ป็ น ชาวไทย

และพนักงานที่เป็นแรงงานจากประเทศพม่า ซึ่ง เ ป็ น แ ร ง ง า น ข้ า ม ช า ติ ที่ เ ข้ า ม า ท า ง า น ใ น อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และศึกษา ปัจ จัย ที่มีผลต่อความสุ ขของแรงงาน ตลอดจน แนวทางและปั จ จั ย ความส าเร็ จ ในการสร้ า ง ความสุ ข แก่ แ รงงานในองค์ ก ร โดยศึ ก ษาจาก องค์กรกรณีศึกษาโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปที่มี บริบทของการทางานร่วมกันของแรงงานทั้ งไทย และพม่า และเป็นองค์กรที่มีการดาเนินงานด้าน การส่ งเสริมความสุขของพนักงานในองค์กร อัน จะทาให้ได้ข้อค้นพบที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไป เป็นแนวทางในการพัฒนาความสุขของคนทางาน ทั้ ง ชาวไทยและพม่ า ซึ่ ง จะช่ ว ยป้ อ งกั น แก้ ไ ข ปั ญ หาการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะเมื่ อ สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาร์ มีนโยบายใน การเปิ ดประเทศ การย้ายถิ่นกลับ ของแรงงาน อาจทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนที่มากขึ้นอีก การสร้ างความสุ ขให้ พ นั กงาน จึ งเป็ น แนวทาง หนึ่งที่จะรักษาแรงงานไว้ได้ อันจะส่งผลต่อเนื่อง ต่อเศรษฐกิจของประเทศ การจ้างงาน ตลอดจน เกิดองค์กรและสังคมสุ ขภาวะในการอยู่ร่วมกัน ระหว่างแรงงานไทยและแรงงานพม่า ซึ่งถือว่า ทุกคน ทุกสัญชาติ ล้ ว นเป็ น พลเมืองโลกที่ต้อง ได้รับการปฏิบัติโดยมีศักดิ์และศรีเช่นเดียวกัน วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับ ความสุ ขของแรงงาน ชาวไทยและพม่าในโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูป แห่งหนึ่ง 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุข ในการท างานของแรงงานไทยและพม่ า ใน โรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปแห่งหนึ่ง 3 . เ พื่ อ ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง แ ล ะ ปั จ จั ย ความสาเร็จของการดาเนินงานสร้างความสุขแก่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

แรงงานไทยและพม่ า ของโรงงานผลิ ต เสื้ อ ผ้ า สาเร็จรูป ทฤษฎีและกรอบแนวความคิดในการวิจัย แนวคิ ด ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ องค์ ก รสุข ภาวะ และองค์กรแห่งความสุข องค์กรสุขภาวะ (Healthy Workplace) เป็นแนวทางการพัฒนาองค์กรที่กาลังได้รับความ สนใจจากองค์กรทั่วโลก โดยองค์กรอนามัยโลก (WHO)เป็นองค์กรหนึ่ง ที่ตระหนักถึงความสาคัญ ของสุขภาวะของประชากรวัยแรงงาน และการ สร้างสุขภาวะในองค์กร สถานประกอบการ ได้ สร้างแนวคิดองค์กรสุขภาวะ หรือ สถานที่ทางาน น่าอยู่ โดยใช้คาว่า Healthy Workplace ซึ่ง หมายถึง สถานที่ที่ซึ่งผู้ทางานและหั ว หน้างาน ทางานร่ ว มกั น โดยมี ด าเนิ น งานปรั บ ปรุ ง อย่ า ง ต่อเนื่ องเพื่อปกป้ องและส่ งเสริ มสุ ขภาพ ความ ปลอดภัย และความเป็นอยู่ของผู้ทางานทั้งหมด อย่ า งยั่ ง ยื น โดยมี อ งค์ ป ระกอบอยู่ 4 มิ ติ คื อ องค์ประกอบทางกาย ทางจิต ทางสังคม และ ทางปัญญา องค์การอนามัยโลก ได้ให้เหตุผลที่ ควรพั ฒ นาองค์ ก รให้ เ ป็ น องค์ ก รสุ ข ภาวะไว้ 4 ประการ คื อ (1) เพื่ อ สร้ า งจริ ย ธรรมในการ บริ ห ารงานและส่ งเสริ ม สิ ทธิพนั กงาน (2) เพื่อ ส่งเสริมความสาเร็จขององค์กร เนื่องจากในระยะ ยาวความสาเร็จและความสามารถในการแข่งขัน ขององค์ ก รขึ้ น อยู่ กั บ ปั จ จั ย ด้ า นสุ ข ภาพ และ ความปลอดภั ย ของพนั ก งาน (3) กฎหมาย กาหนดให้ต้องดาเนินการ ซึ่งประเทศส่วนใหญ่มี กฎหมายเพื่อปกป้อง สิทธิ เสรีภาพของพนัก งาน และ (4) องค์กรสุขภาวะเป็ นกรอบการบริห าร ทรัพยากรบุคคลระดับโลก เนื่องจากทั้งองค์การ อนามัยโลก (WHO) และองค์กรแรงงานระหว่าง ประเทศ (ILO) ต่างเห็นว่า แรงงานทั่วโลกยังมี

75 ปัญหาเรื่ องสุ ขภาพ ความปลอดภัย และความ เป็นอยู่ที่ดี ดังนั้นจึงพยายามส่งเสริมเงื่อนไขใน การทางานที่ดีให้แก่แรงงาน (Burton, 2010; วุฑฒิวัตรชัยแก้ว, 2559) ในประเทศไทยสานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้ างเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) เป็ น องค์ ก รที่ มี บทบาทส าคัญ ในการส่ งเสริ มคุ ณภาพชีวิ ตของ คนท างาน ภายใต้ แนวคิดองค์ กรแห่ ง ความสุ ข (Happy Workplace) ซึ่งเป็นแนวคิดการบริหาร องค์ ก รที่ เ หมาะสมกั บ ยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ ช่ ว ยสร้ า ง สมดุล ระหว่างการมุ่งเน้นผลงาน และความสุ ข ของพนั ก งาน ส านัก สนั บ สนุน สุ ข ภาวะองค์ ก ร สสส. (วสั น ต์ ธ นารั ต น์ และวุ ฑ ฒิ วั ต รชั ย แก้ ว , 2559) ได้นาเสนอแนวคิดในการสร้างองค์กรแห่ง ความสุข (happy workplace) หรือที่ทางาน แห่งความสุข ซึ่งจะต้ องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง ได้แก่ คนทางานมีความสุข (Happy People) ที่ ทางานน่าอยู่ (Happy Home) และชุมชน สมานฉันท์ (Happy Teamwork)โดยดาเนินการ ตามแนวทางสร้ า งความสุ ข ของคนท างาน 8 ประการ หรือ Happy 8 ได้แก่ (1) สุขภาพดี (Happy Body) การเป็นผู้ที่มีสุขภาพดี ดูแล ตนเองไม่ ใ ห้ เ ป็ น ภาระของผู้ อื่ น (2) น้ าใจดี (Happy Heart) เป็นผู้ที่มีนาใจช่วยเหลือผู้อื่น (3) ผ่อนคลายดี (Happy Relax) เป็นผู้ที่สามารถ จัดการกับอารมณ์ของตนเอง (4) ใฝ่รู้ดี (Happy Brain) เป็นผู้รักการเรียนรู้และเป็นมืออาชีพใน งานของตนเอง (5) จิตวิญญานดี (Happy Soul) เป็นผู้มีคุณธรรมและความกตัญญู (6) การเงินดี (Happy Money) เป็นผู้ใช้เงินเป็น(7) ครอบครัว ดี (Happy Family)เป็นผู้ที่รักและดูแลครอบครัว ตนเองได้ และ (8) สังคมดี (Happy Society) เป็นผู้ที่รักและดูแลองค์กรและสังคมของตนเอง ได้


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขในองค์กร ปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่ อายุ เป็นลักษณะ ส่วนบุคคลประการหนึ่งที่สัมพันธ์กับความสุขใน การทางาน โดยการศึกษาของ รอดเที่ยง (2550) พบว่ า อายุ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ความสุ ข ในการ ทางาน โดยกลุ่มอายุ 21-30 ปี มีค่าคะแนนเฉลี่ย ความสุขในการทางานต่าที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่ม อื่นๆ และกลุ่มอายุที่ได้คะแนนเฉลี่ยความสุขสูง ที่ สุ ด คื อ กลุ่ ม อายุ 41-50 ปี ด้ า นเพศ มี ผ ล การศึ ก ษาที่ พ บว่ า ความสุ ข ในการท างานของ ผู้ ช ายผู้ ห ญิ ง ในภาพรวมไม่ แ ตกต่ า งกั น แต่ ความสุขรายด้านในด้านสุ ขภาพดี ผ่ อนคลายดี และใฝ่ รู้ ดี ผู้ ช ายจะมี ค วามสุ ข มากกว่ า ผู้ ห ญิ ง (จิตต์ธีรภาพ, 2554) ด้านสถานภาพสมรส มี ความสั มพัน ธ์กับ ความสุขในการทางานเช่น กัน โดยบุคลากรที่สมรสแล้ ว จะมีความสุขมากกว่า สภาพสมรสอื่น ๆ (รอดเที่ยง, 2550) ระดับ การศึ ก ษา เป็ น อี ก ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดย การศึกษาปัจจัยด้านระดับการศึกษาที่สัมพันธ์กับ ความสุ ข ในการท างานของ ฟ้ าภิ ญ โญ (2552) พบว่ า พนั ก งานที่ มี ก ารศึ ก ษาสู ง กว่ า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี มี ค่ า เฉลี่ ย ระดั บ ความสุ ข ในการ ท างานสู ง กว่ า บุ ค ลากรที่ มี ก ารศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาและอาชี ว ศึ ก ษา สอดคล้ อ งกั บ การศึกษาของ แสวงผล (2554) ที่พบว่าบุคลากร ที่มีร ะดับการศึกษาต่างกัน จะมีความสุขในการ ท างานแตกต่ า งกั น ส าหรั บ ในด้ า นรายได้ การศึกษาของ อินต๊ะโดด (2550) พบว่ารายได้มี ความสั ม พั นธ์ กั บ ความสุ ข ในการท างาน ด้ า น ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น พ บ ว่ า มี ความสัมพันธ์ทางบวกกับความสุขในการทางาน โดยพนั กงานที่มีระยะเวลาการทางานมากกว่า กว่าจะมีความสุขในการทางานมากกว่าพนักงาน

ที่มี ระยะเวลาการทางานน้อยกว่า (รอดเที่ย ง , 2550) นอกจากปัจจัยด้านบุคคลข้างต้นแล้ว ปัจจัยด้านองค์กร ได้แก่ ความผูกพันต่อองค์กร และความพึงพอใจต่อการดาเนิน กิจกรรมสร้าง ความสุ ข ในองค์ ก ร ก็ เ ป็ น ปั จ จั ย อี ก ด้ า นหนึ่ ง ที่ เกี่ยวข้องกับความสุขของแรงงาน ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร หมายถึ ง การที่ บุ ค คลนั้ น มี ค วามรู้ สึ ก ที่ ย อมรั บ เป้ า หมายของ องค์กร มีทัศนคติที่ดี มีความรู้สึกสานึกเป็นเป็น พวกเดียวกันต่อองค์กร มีความจงรักภักดีโดยไม่ คิดจะลาออกไปจากองค์กรและมีความยินดีที่จะ ทุ่มเทกาลั งกายและกาลั งใจในการทางานหรื อ การกระท าอั น ที่ จ ะก่ อ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ องค์ ก ร ตามแนวคิดของ Porter และคณะ (1974) และ Steers และ Porter (อ้างถึงใน ว่องประชานุกูล, 2548) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบย่อยคือ (1) การยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร (2) การทุ่มเทแรงกายแรงใจในการปฏิบัติงาน และ (3) ความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิกของ องค์ ก ร การศึ ก ษาความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รที่ มี ความสั มพันธ์กับความสุขในการทางานในกลุ่ ม พนักงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหาร จิตต์ธีร ภาพ (2554) และการศึกษาในโรงงานผลิตเสื้อผ้า สาเร็จรูป ของ ใจเกรียงไกร, เจี่ยวิวรรธน์กุล, เจี่ย วิว รรธน์ กุล และ วิเศษศิลปานนท์ (2558) พบ เหมือนกันว่า ความผูกพันต่อองค์กรกับความสุข ในการท างานของพนั ก งาน มี ค วามสั ม พั น ธ์ ทางบวกต่อกัน กิจกรรมสร้างความสุขในองค์กร องค์กร สถานประกอบการต่ า งๆ ในประเทศไทย ได้ ส่งเสริมให้มีการดาเนินกิจกรรมสร้างความสุขใน องค์กรของตนตามแนวทางความสุขแปดประการ ของ สสส. โดยมุ่งหมายให้พนักงานมีความสุขใน


77

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

การทางาน ซึ่งผลการศึกษาของ เหล่าเท้ง และ เจษฎาลักษณ์ (2557) พบว่ากิจกรรมสร้างสุขใน องค์กรที่จัดให้แก่พนักงาน มีอิทธิพลทางบวกต่อ ความสุขในการทางาน เช่นเดียวกันงานวิจัยของ ทองคา (2554) ที่พบว่าการส่งเสริมพนักงานให้ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมสร้ า งสุ ข ภายในองค์ ก ร อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอจะท าให้ พ นั ก งานเกิ ด ความสุขในการทางานและทาให้เกิดความสุขใน องค์กร กรอบแนวความคิดในการวิจัย จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ เกี่ย วข้องกับความสุ ขของแรงงานไทยและพม่า ตัวแปรอิสระ

ข้างต้นรวมทั้งประสบการณ์ข องผู้วิจัยได้นามาสู่ การพัฒนากรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลและปั จ จั ย ด้า นองค์ กร ที่ เป็นตัวแปรอิสระ กับความสุขในการทางานของ แรงงานที่เป็นตัวแปรตาม ดังแสดงไว้ในภาพที่ 1 นอกจากนี้ ก ารศึ กษาแนวทางการสร้ า งองค์ ก ร แห่ งความสุ ขและปัจ จัย ของความส าเร็จ ในการ สร้างองค์กรแห่งความสุ ข ที่จะนาไปสู่การสร้าง ความสุขในการทางานให้แก่แรงงาน จะใช้กรอบ ตามแนวคิดความสุขในการทางานแปดประการ ของ สสส. ตัวแปรตาม

ตัวแปรส่วนบุคคล  เพศ  อายุ  สัญชาติ  สถานภาพสมรส  ระดับการศึกษา  รายได้ต่อเดือน  ระยะเวลาปฏิบัติงานในองค์กร ตัวแปรด้านองค์กร  ความผูกพันต่อองค์กร  ความพึงพอใจในกิจกรรมสร้างความสุขใน องค์กร ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย

ความสุขของแรงงาน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

วิธีการดาเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู้ วิ จั ย ใช้ ก ารวิ จั ย แบบ ผสมผสาน (mixed method research) ใน รูปแบบการอรรถาธิบายเชิงติดตาม (follow-up explanations model) ซึ่งเป็นรูปแบบย่อยหนึ่ง ของ explanatory design หรื อ เรี ย กว่ า explanatory sequential design (Creswell & Plano Clark, 2007) เป็นการวิจัยที่แบ่งเป็น สองขั้นตอน ขั้นตอนแรก ใช้การศึกษาเชิงปริมาณเพื่อ ตอบวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารวิ จั ย ข้ อ ที่ 1 และข้ อ ที่ 2 ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ พนั ก งานใน สายการผลิตในโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูปแห่ง หนึ่งเป็นพนักงานสัญชาติไทย จานวน 314 คน และพนั ก งานสั ญ ชาติ พ ม่ า จ านวน 208 คน (ข้อมูลจากฝ่ายทรัพ ยากรบุคคล ขององค์กร ณ เดือนธันวาคม 2559) รวมจานวน 522 คน เก็บ ข้ อ มู ล จ า ก ป ร ะ ช า ก ร ทั้ ง ห ม ด โ ด ย จั ด ส่ ง แบบสอบถามให้ แ ก่ พ นั ก งาน และนั ด หมาย กลั บ ไปเก็ บ แบบสอบถามกลั บ คื น ภายใน ร ะ ย ะ เ ว ล า ส อ ง สั ป ด า ห์ ซึ่ ง ผู้ วิ จั ย ไ ด้ แบบสอบถามคืนมาจานวน 404 คน คิดเป็นร้อย ละ 77.39 ขั้น ตอนที่ ส อง ใช้ก ารศึ ก ษาเชิ ง คุณ ภาพ เพื่อช่วยในการอธิบายผลให้กระจ่างขึ้นและตอบ วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 3 โดยเก็บข้อมูลด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง ที่เลือกมา อย่ า งเจาะจง คื อ ผู้ บ ริ ห าร หั ว หน้ า งาน และ คณะทางานที่มีบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างสุขในองค์กร จานวน 5 คน เครื่ อ งมื อ แบบสอบถามที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ ข้อมูลเชิงปริมาณ มีทั้งฉบับที่เป็นภาษาไทย และ ฉบับที่แปลเป็นภาษาพม่า ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมา

ภายใต้ แ นวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วน บุ คคลทั่ ว ไป ประกอบด้ว ย ข้ อค าถามเกี่ย วกั บ เพศ อายุ สั ญ ชาติ สถานภาพสมรส ระดั บ การศึกษา ระยะเวลาปฏิบัติงานในองค์กร และ รายได้ต่อเดือน ส่ ว นที่ 2 แบบวัด ความผู ก พัน ต่อ องค์ก ร ผู้วิจัยได้ประยุกต์มาจากแบบวัดของ เจี่ยวิวรรธน์ กุล (2553) ตามแนวคิดของ Porter และคณะ (1974) และ Steers และ Porter (1979 อ้างถึง ใน ว่องประชานุกูล , 2548) ประกอบด้วยข้อ คาถามจานวน 10 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.925 ส่วนที่ 3 แบบวัดความสุขของพนักงานใน องค์กร ผู้วิจัยประยุกต์มาจากแบบวัดความสุขใน องค์ ก ร ระดั บ บุ ค คลของโครงการพั ฒ นาและ ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนสุขภาวะ องค์กร มหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้การสนับสนุน ทุนของสานักสนับสนุนสุขภาวะองค์กรสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (เจี่ยวิวรรธน์กุล และคณะ, 2559) ประกอบด้วย ข้ อ ค าถามเกี่ ย วกั บ ความสุ ข ทั้ ง แปดด้ า น รวม จ านวน 32 ข้อ ข้อ มี ค่า ความเชื่อ มั่น เท่า กั บ 0.955 ส่ ว นที่ 4 แบบวั ด คว ามพึ ง พอใจต่ อ กิจกรรมสร้างความสุขในองค์กร ผู้วิจัยประยุกต์ มาจากแบบวัดความสุขในองค์กร ระดับองค์กร ของโครงการพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม การจั ด การ ค ว า ม รู้ เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น สุ ข ภ า ว ะ อ ง ค์ ก ร มหาวิทยาลัยมหิดลภายใต้การสนับสนุนทุนของ สานักสนับสนุนสุขภาวะองค์กรสานักงานกองทุน สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) (เจี่ ย วิวรรธน์กุล และคณะ, 2559) ประกอบด้วย ข้อ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

คาถามจานวน 25 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.979 การแปลผลของทั้งความผูกพันต่อองค์กร ความสุ ข ของพนั ก งานในองค์ ก ร และความพึ ง พอใจต่อกิจกรรมการสร้างความสุขในองค์กร ใช้ เกณฑ์ ข องระดั บ คะแนนเฉลี่ ย ที่ น ามาคิ ด เป็ น คะแนนร้อยละ โดยค่าคะแนนร้อยละ 0.00 – 24.99 หมายถึง ระดับน้อยมาก คะแนนร้อยละ 25.00 - 49.99 หมายถึง ระดับน้อย คะแนน ร้อยละ 50.00 – 74.99 หมายถึง ระดับมาก และคะแนนร้อยละ 75.00 – 100 หมายถึง ระดับมากที่สุด การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิง พรรณนา คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติการ วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า ร ถ ด ถ อ ย เ ชิ ง พ หุ ( Multiple Regression Analysis) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย 1) ตัวแปรส่วนบุคคลของแรงงาน ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของแรงงาน หรือ พนั ก งานในโรงงานผลิ ต เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ใน การศึกษาครั้งนี้ จากแรงงานที่ตอบแบบสอบถาม จานวน 404 คน (ร้อยละ 77.4) พบว่า เป็นเพศ หญิ ง ร้ อ ยละ 86.1 เพศชาย ร้ อ ยละ 13.9 พนักงานมีอายุระหว่าง 18 - 50 ปี โดยมีอายุ เฉลี่ย เท่ากับ 29.99 ปี ส่ว นเบี่ย งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 7.07 ปี มีระดับการศึกษา ส่วนใหญ่จบ การศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ร้ อ ยละ 38.2 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

79 หรือเทียบเท่า ร้อยละ 30.3 และระดับประถม ศึ ก ษา ร้ อ ยละ 21.8 ตามล าดั บ พนั ก งานมี ระยะเวลาเฉลี่ยที่ ปฏิบัติงานเท่ากัน 4.4 ปี หรือ 52.31 เดื อน (ส่ ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ ากั บ 39.16 เดือน) สถานภาพสมรส ส่วนใหญ่ สมรส แล้ ว ร้อยละ 54.3 รองลงมา คือ โสด ร้อยละ 39.1 พนักงานมีสัญชาติไทย ร้อยละ 61.4 และ พม่ า ร้ อ ยละ 38.6 รายได้ ที่ ทั้ ง หมดต่ อ เดื อ น (รวมค่าทางานล่วงเวลา) อยู่ระหว่าง 6,000 – 37,000 บาท เฉลี่ ยเท่า กับ 10,890 บาท (ส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2,301.38 บาท) 2) ตัวแปรด้านองค์กร แรงงานทั้งชาวไทยและพม่า และรวมทั้ง สองกลุ่ ม มี ค วามผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รทั้ ง ภาพรวม และรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีความ ผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รในภาพรวม คะแนนเฉลี่ ย เท่ากับ 4.07 คิดเป็นคะแนนร้อยละ 81.37 ด้าน การยอมรั บ เป้ า หมายและค่ า นิ ย มขององค์ ก ร คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.20 คิดเป็นคะแนนร้อย ละ 84.08 ด้านการทุ่มเทแรงกายแรงใจในการ ปฏิบัติงาน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.07 คิดเป็น คะแนนร้อยละ 81.49 และด้านความต้องการที่ จะรั กษาความเป็ น สมาชิกขององค์ กร คะแนน เฉลี่ย เท่ากับ 4.12 คิดเป็นคะแนนร้อยละ 82.31 สาหรับความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้างความสุข ในองค์ ก ร พบว่ า แรงงานชาวไทย มี ค วามพึ ง พอใจ อยู่ในระดับมาก ส่วนแรงงานชาวพม่า มี ความพอใจ อยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด เมื่ อ รวม แรงงานทั้ ง ชาวไทยและพม่ า พบว่ า ความพึ ง พอใจต่อกิจกรรมสร้างความสุขในองค์กร อยู่ใน ระดับมากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 3.81 คิด เป็นคะแนนร้อยละ 76.17) (ตารางที่ 1)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ และผลประเมินปัจจัยด้านองค์กร ตัวแปร ความผูกพันต่อ องค์กร

 ยอมรับเป้าหมาย และค่านิยมของ องค์กร  ทุ่มเทแรงงานกาย แรงใจในการทางาน  ต้องการรักษาความ เป็นสมาชิกองค์กร

ความพึงพอใจต่อ กิจกรรมสร้าง ความสุขในองค์กร

พม่า

แรงงานชาวไทย (248 คน) คะแนน คะแนน ผล เฉลี่ย ร้อยละ ประเมิน 3.97 79.40 มากที่สุด

แรงงานชาวพม่า (156 คน) คะแนน คะแนน ผล เฉลี่ย ร้อยละ ประเมิน 4.35 86.94 มากที่สุด

รวม (404 คน) คะแนน คะแนน ผล เฉลี่ย ร้อยละ ประเมิน 4.07 81.37 มากที่สุด

3.95

78.98

มากที่สุด

4.26

85.17

มากที่สุด

4.20

84.08

มากที่สุด

4.06

81.21

มากที่สุด

4.43

88.63

มากที่สุด

4.07

81.49

มากที่สุด

3.90

78.00

มากที่สุด

4.35

87.02

มากที่สุด

4.12

82.31

มากที่สุด

3.64

72.85

มาก

4.07

81.45

มากที่สุด

3.81

76.17

มากที่สุด

3) ระดับความสุขของแรงงานไทยและ

ผลการศึกษาระดับความสุขของพนักงาน หรือแรงงาน พบว่า แรงงานทั้งชาวไทยและพม่า มีความสุ ขในภาพรวมทั้งแปดด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.03 คิดเป็น คะแนนร้อยละ 80.61) สาหรับความสุขรายด้าน ส่วนใหญ่มีความสุขระดับมากที่สุ ด ยกเว้นด้าน สุ ขภาพดี ที่อยู่ ใ นระดับ มาก เมื่อพิจารณาตาม สั ญ ชาติ พบว่ า แรงงานชาวพม่ า มี ค วามสุ ข

ภาพรวมทั้ ง แปดด้ า น อยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด (คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 คิดเป็นคะแนนร้อย ละ 85.28) สาหรับความสุขรายด้าน มีความสุข อยู่ในระดับมากที่สุดในทุกด้าน ส่วนแรงงานชาว ไทย มีความสุขภาพรวมทั้งแปดด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุด (คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 3.88 คิดเป็น คะแนนร้อยละ 77.67) ส่วนใหญ่มีความสุขราย ด้านอยู่ในระดับมากที่สุ ด ยกเว้นด้า นสุขภาพดี และด้านการเงินดี ที่อยู่ในระดับมาก (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ และระดับความสุขของแรงงาน จาแนกความสุขรายด้าน

แรงงานชาวไทย (248 คน) ความสุขรายด้าน คะแนน คะแนน ระดับ เฉลี่ย ร้อยละ ความสุข สุขภาพดี (Body) 3.67 73.35 มาก น้าใจดี (Heart) 3.81 76.11 มากที่สุด ผ่อนคลายดี (Relax) 3.86 77.28 มากที่สุด ใฝ่รู้ดี (Brain) 3.99 79.84 มากที่สุด สุขสงบดี (Soul) 4.27 85.40 มากที่สุด การเงินดี (Money) 3.66 73.10 มาก ครอบครัวดี (Family) 4.06 81.13 มากที่สุด สังคมดี (Society) 3.76 75.12 มากที่สุด ภาพรวม (Happy8) 3.88 77.67 มากที่สุด

แรงงานชาวพม่า (156 คน) คะแนน คะแนน ระดับ เฉลี่ย ร้อยละ ความสุข 3.81 76.12 มากที่สุด 4.28 85.61 มากที่สุด 4.26 85.29 มากที่สุด 4.31 86.25 มากที่สุด 4.59 91.79 มากที่สุด 4.14 82.82 มากที่สุด 4.54 90.90 มากที่สุด 4.17 83.49 มากที่สุด 4.26 85.28 มากที่สุด

รวม (404 คน) คะแนน คะแนน ระดับ เฉลี่ย ร้อยละ ความสุข 3.72 74.42 มาก 3.99 79.78 มากที่สุด 4.02 80.37 มากที่สุด 4.12 82.31 มากที่สุด 4.39 87.87 มากที่สุด 3.84 76.86 มากที่สุด 4.25 84.90 มากที่สุด 3.92 78.35 มากที่สุด 4.03 80.61 มากที่สุด


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

81

4) ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความสุขในการทางานของแรงงานไทยและพม่า ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความสุขในการทางานของแรงงานไทยและ พม่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง b S.E. Beta t p-value Constant 24.068 4.315 5.578 0.000 ความผูกพันต่อองค์กร 6.007 0.640 0.418 9.391 0.000 ความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้างสุขในองค์กร 7.758 0.791 0.439 9.811 0.000 อายุ 0.045 0.071 0.025 0.638 0.524 เพศหญิง -1.659 1.184 -0.046 -1.402 0.162 สัญชาติไทย -2.702 0.874 -0.106 -3.090 0.002 สถานภาพสมรส (กลุ่มอ้างอิง=หม้าย/หย่า/แยก) โสด -0.326 1.677 -0.013 -0.194 0.846 สมรส -0.173 1.592 -0.007 -0.109 0.914 ระดับการศึกษา (กลุ่มอ้างอิง=ปริญญาตรีขึ้นไป) ประถมศึกษา 0.623 1.486 0.020 0.419 0.676 มัธยมศึกษาตอนต้น -0.089 1.384 -0.003 -0.064 0.949 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1.320 1.426 0.048 0.926 0.355 รายได้ต่อเดือน 0.000 0.000 0.056 1.582 0.115 ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน 0.000 0.013 0.000 -0.010 0.992 R = 0.81, R square = 0.666, Adjust R square = 0.654

ตารางที่ 3 พบว่ า ตั ว แปรอิ ส ระ ที่ เกี่ยวข้องสามารถร่วมกันทานายความสุขในการ ทางานของแรงงานไทยและพม่า คิดเป็นร้อยละ 65.40 สาหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการ ท างานของแรงงานไทยและพม่ า อย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติ ประกอบด้วย ความผูกพันต่อ องค์กร (β = 0.418, p < 0.001) โดยแรงงานที่ มีระดับความผูกพันต่อองค์กรสูง จะมีความสุขใน การทางานมากกว่าแรงงานที่มีความผู กพัน ต่ อ องค์กรต่า ความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้างสุขใน องค์กร (β = 0.439, p < 0.001) แรงงานที่มี ระดั บ ความพึ ง พอใจต่ อ กิ จ กรรมสร้ า งสุ ข ใน

องค์กรสู ง จะมี ความสุ ขในการทางานมากกว่ า แรงงานที่มีระดับความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้าง สุขในองค์กรต่า และสัญชาติ (β = -0.106, p < 0.01) โดยแรงงานชาวพม่าจะมีความสุขในการ ทางานมากกว่าแรงงานชาวไทย ซึ่ง และผล การวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขในการ ทางานของแรงงานไทยและพม่า 5) แนวทางและตัวแปรความสาเร็จ ของการดาเนินงานสร้ างความสุขแก่แรงงาน ไทยและพม่าในโรงงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร และคณะทางานที่


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

มี บ ทบาทหน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งสุ ข ใน องค์กร สรุปผลที่สาคัญ ดังนี้ การด าเนิ น งานสร้ า งความสุ ข แก่ แรงงาน โรงงานมี ก ารประกาศนโยบายอย่ า ง เป็ น ทางการและจั ด ตั้ ง คณะท างานส่ ง เสริ ม ความสุ ข แก่ พ นั ก งาน เพื่ อ ด าเนิ น งานและ กิจ กรรมด้ า นการส่ งเสริ ม ความสุ ข ต่า ง ๆ ตาม แนวคิ ด ความสุ ขแปดประการแก่ พนั ก งานของ องค์กรทั้งพนักงานชาวไทยและชาวพม่า มีการ สนับสนุนงบประมาณอย่างเหมาะสม มีการวาง แผนการทางาน มีการประเมินการทางานของ คณะทางาน และส ารวจความสุ ขของพนั กงาน ด้วยเครื่องมือวัดความสุขระดับบุคคล และระดับ องค์ ก ร เพื่ อ น ามาปรั บ ปรุ ง พั ฒ นากิ จ กรรมให้ เหมาะสม และตอบสนองต่ อความต้องการสร้าง สุ ข ของพนั ก งาน ซึ่ ง ผลการด าเนิ น งานสร้ า ง ความสุ ขในองค์กร พบว่า การดาเนินงานสร้าง คว ามสุ ข ในองค์ ก รที่ ป ร ะสบความส าเร็ จ โดยเฉพาะด้ า นน้ าใจดี แ ละสั ง คมดี พบว่ า พนั ก งานมี ก ารช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น และ ช่ ว ยเหลื อ สั ง คมมากขึ้ น มี ก ารท ากิ จ กรรมจิ ต อาสา การร่ ว มกั น ปลู ก ต้ น ไม้ ใ ห้ กับ ชุ ม ชน การ ทาสีวัดและโรงเรียน การร่วมกันขุดอกคลองกับ ชาวบ้านในพื้นที่ใกล้เคียง กิจกรรมต่าง ๆ ช่วยให้ พนั กงานมีความสุ ขมากขึ้น มีการเปลี่ ยนแปลง พฤติ กรรมของพนั ก งานในทางที่ ดี มี ค วามรั ก ความสามัคคีภายในองค์กรมากขึ้น ปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินงาน สร้างความสุขแก่แรงงานในโรงงาน ปัจจัยที่จะช่วยให้การดาเนินงานสร้าง ความสุขในองค์กรประสบความสาเร็จ ประกอบ ไปด้ว ย 4 ด้า น คื อ (1) การสนั บสนุ นด้า น นโยบายและงบประมาณของผู้บริหาร (2) ความ

ร่ว มมือร่วมใจ การมีจิตอาสาของคณะทางาน (3) การมีส่ว นร่วมจากพนักงาน และ (4) การ ออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการ ในการดาเนินงานสร้างความสุขในองค์กร สรุปและอภิปรายผล การศึ ก ษา พบว่ า ระดั บ ความสุ ข ของ แรงงานทั้งชาวไทยและพม่า มีความสุขทั้งแปด ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด และแรงงานชาวพม่า มีความสุขในการทางานมากกว่าแรงงานชาวไทย อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ อาจเป็นเพราะว่า เมื่อ มาท างานในประเทศไทย ได้ รั บ ค่ า ตอบแทน สวั ส ดิ ก าร และสิ่ ง อ านวยความสะดวกในการ ทางานและการดาเนิ นชีวิตดีกว่าในประเทศของ ตนเอง จึงทาให้รู้สึ กว่ามีความสุขในการทางาน มาก นอกจากนี้ ทางโรงงานยังมีกิจกรรมส่งเสริม ความสุขในการทางานที่จัดให้แก่ทั้งแรงงานไทย และพม่าเหมือนกัน ทาให้แรงงานพม่าได้มีส่วน ร่วมในกิจกรรม และก่อให้เกิดความรู้สึกในการ ได้ รับ การปฏิ บัติ ที่เ ท่ า เทีย มกัน ซึ่ งจะส่ ง ผลต่ อ ความสุขของแรงงาน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา ของนกน้ อ ย และบริ พั น ธ์ (2557) ที่ ศึ ก ษา คุณภาพชีวิตการทางานของแรงงานข้ามชาติที่ ทางานในสถานประกอบการจังหวัดสงขลา และ พบว่าระดับคุณภาพชีวิตการทางานในภาพรวม ของแรงงานข้ามชาติ อยู่ในระดับสูง และแรงงาน ข้ามชาติที่ได้รับใบอนุญาตทางานมีระดับคุณภาพ ชีวิตการทางานสูงกว่าแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้รับ ใบอนุญาตทางาน และผลการศึกษาในครั้ งนี้ยัง สอดคล้องกับการศึกษาของสมิธ บัวเพ็ชร์ และ อิ ส ระมาลั ย (2559) ที่ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความสุ ข ในการท างานของแรงงานต่า งด้า วใน โรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มตัวอย่าง 140 คน เป็น แรงงานพม่าและกัมพูช ากลุ่มละ 70 คน พบว่า


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ครึ่ ง หนึ่ ง ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง (ร้ อ ยละ 51.40) มี ความสุขในการทางานอย่างยิ่ง (ค่าเฉลี่ย 67.68 ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน 11.40) และการ สนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตการทางาน ร่วมกันทานายความสุขในการทางานได้ร้อยละ 41 การสนั บ สนุ น ทางสั ง คมอธิ บ ายความ แปรปรวนได้ดีที่สุด (β = 0.37, p < 0.001) เมื่ อ พิ จ ารณาความสุ ข รายด้ า น ใน การศึกษานี้ พบว่า แรงงานทั้งชาวไทยและพม่า มี ค วามสุ ข ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณดี อยู่ ใ นระดั บ มาก ที่สุด (ร้ อยละ 85.40 และ 91.79 ตามลาดับ ) เป็นผลส่วนหนึ่งจากกิจกรรมของทางโรงงานที่ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาด้านจิตใจของแรงงาน และสอดคล้องกับการศึกษาของ แซ่อึ้ง , เจี่ย วิ ว รรธน์ กุ ล และ ยศธร (2560) ที่ ศึ ก ษาเรื่ อ ง คุณภาพชีวิตการทางานและพัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ของตั ว แทนระดั บ ผู้ บ ริ ห าร: กรณี ศึ กษาบริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต แห่ ง หนึ่ ง พบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งมี คุณภาพชีวิตการทางานในด้านจิตวิญญาณดี อยู่ ในระดับที่ดีมาก สูงถึงร้อยละ 71.1 สาหรับปัจจัยส่วนบุคคลอื่นๆ นอกจาก สัญชาติ ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับความสุขใน การท างานอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ อั น เนื่ อ งจาก แรงงานส่ ว นใหญ่ ใ นโรงงานนี้ เป็ น แรงงานใน ระดับปฏิบัติการซึ่งจากข้อมูลพบว่าส่วนใหญ่จะมี ปัจจัยส่วนบุคคลดังกล่าวอยู่ในระดับใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังเป็นผลมาจากการที่โรงงานแห่งนี้มี การส่งเสริมการทากิจกรรมการสร้างความสุขใน องค์กรอย่างจริงจังต่อเนื่อง โดยมีการออกแบบ กิจกรรมที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ ของพนักงาน ทาให้พนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ต่างกัน ได้เข้าร่ว มกิจกรรมสร้ างสุขขององค์กร อย่ างเต็มที่ไม่แตกต่างกัน ส่งผลต่อความสุ ขใน การทางานที่ไม่แตกต่างกัน

83 ปั จ จั ย ด้ า นความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร ส่งผลต่อความสุขในการทางานของแรงงานไทย และพม่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เนื่องมาจาก บุคคลที่มีความผู กพันต่อองค์กรจะมี ความรู้สึ ก เห็ นด้ว ยกับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กรที่ สอดคล้ อ งเป็ น ไปในแนวทางเดี ย วกั น จะใช้ ความสามารถและความพยายามอย่ า งเต็ ม ที่ เพื่ อ ให้ ง านขององค์ ก รประสบความส าเร็ จ (Phengnaren, 2004) ซึ่งเมื่อบุคคลมีความรู้สึก และมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ องค์ ก รก็ จ ะส่ ง ผลให้ มี ความสุขในการทางาน สอดคล้องกับการศึกษา ของ ใจเกรียงไกร, เจี่ยวิวรรธน์กุล, เจี่ยวิวรรธน์ กุล และ วิเศษศิลปานนท์ (2558) ที่ศึกษาปัจจัย ที่สั มพันธ์กับความสุ ขของพนักงาน กรณีศึกษา โรงงานผลิ ต เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป แห่ ง หนึ่ ง โดยใช้ กรอบแนวคิ ด ความสุ ข ในก ารท างานของ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผลการวิ จั ย พบว่ า พนั ก งานที่ มี ร ะดั บ ความผูกพันต่อองค์กรแตกต่างกันจะมีความสุข ในการทางานโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ความพึงพอใจต่อกิจกรรมสร้างสุขใน องค์กร มีผ ลต่อความสุ ขในการทางาน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ โดยแรงงานที่มีความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมสร้างสุขในองค์กรมาก จะมีความสุข ในการทางานมากกว่าแรงงานที่มีระดับความพึง พอใจต่อกิจกรรมสร้างสุขในองค์กรน้อย แสดง ให้ เ ห็ น ว่ า การส่ ง เสริ ม การท ากิ จ กรรมสร้ า ง ความสุขในองค์กรของโรงงาน ได้ทาให้พนักงาน พึงพอใจและมีความสุ ขตามที่โรงงานได้มีความ ตั้งใจโดยประกาศเป็นนโยบายไว้และมีการจัดตั้ง คณะทางานรับผิดชอบอย่างชัดเจน และแรงงาน ให้ ความร่ว มมือ ในการดาเนิน กิ จกรรม โดยผล จากการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพยั ง พบว่ า


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ผู้บริหารขององค์กรและคณะทางาน มีมุมมองว่า ความสุขในการทางานของแรงงานมีความสาคัญ ต่อองค์กรเป็นอย่างมาก ทั้งที่ส่งผลต่อความสุข ของตัวพนักงานเอง และความสุขในการทางานที่ ส่ ง ผลต่อ องค์ก ร โรงงานจึ ง ถือ ว่ า ความสุ ข ของ พนั กงานเป็ น สิ่ งส าคั ญที่อ งค์ก รได้ถื อปฏิ บัติม า โดยตลอด ทั้งในเรื่องของสร้างบรรยากาศ การ ส่งเสริมให้คนในโรงงานทางานอย่างมีความสุข มี การพั ฒ นาด้ า นจิ ต ใจร่ ว มกั น มาโดยตลอด ซึ่ ง สอดคล้องกับการศึกษาการพัฒนาตัวชี้วัดองค์กร แห่ ง ความสุ ข ที่มีแ นวปฏิบั ติ ที่ดีใ นประเทศไทย ของ Poopan and Jiawiwatkul (2017) ที่ พบว่าองค์กรแห่ งความสุ ข ควรมีองค์ป ระกอบ ด้ า นปั จ จั ย น าเข้ า โดยมี น โนบายสร้ า งสุ ข ใน องค์กร มีแผนกิจกรรมสร้างสุขในองค์กรที่ชัดเจน มีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ และมีการมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก คนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง จะน าไปสู่ กระบวนการและผลลัพธ์ของความสุขในองค์กรที่ ดีตามมา ทั้งนี้ในด้านกระบวนการ (process) พบว่า ทางโรงงานได้มี กระบวนการด าเนิ น งาน สอดคล้ อ งตามหลั ก การการสร้ า งความสุ ข ใน องค์กร 6 Ds (เจี่ยวิวรรธน์กุล, 2559) ได้แก่ (1) Detection คื อ กระบวนการเฝ้ าระวั ง และ ตรวจจั บ ปั ญ หา/ความทุ ก ข์ ข องพนั ก งาน (2) Deliberation คือ กระบวนการวิเคราะห์ปัญหา/ ความทุ ก ข์ ข องพนั ก งานอย่ า งใคร่ ค รวญ (3) Decision คือ กระบวนการจัดลาดับความสาคัญ ของปั ญ หาและตั ด สิ น ใจคั ด เลื อ กปั ญ หาที่ จ ะ ดาเนินการแก้ไข (4) Design คือ กระบวนการ ออกแบบกิ จ กรรมสร้ า งสุ ข ในองค์ ก ร หรื อ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา (5) DIY (Do It Yourself) คือ กระบวนการลงมือทาหรือปฏิบัติ ตามกิจกรรมสร้างสุขในองค์กร หรือแนวทางที่ได้ ออกแบบไว้ และ (6) Decode คือ กระบวนการ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล กิ จ ก ร ร ม นอกจากนี้ ผลการวิจัยจากข้อมูลเชิงคุณภาพ ยัง พบว่าการดาเนินงานสร้างความสุขในโรงงาน มี ผลโดยอ้ อ มท าให้ บ ริ ษั ท เป็ น ที่ รู้ จั ก ต่ อ ชุ ม ชน ใกล้เคียง ช่วยสร้างความสัมพันธ์และภาพลักษณ์ ที่ ดี ใ ห้ กั บ บริ ษั ท และส่ ง ผลในทางที่ ดี ต่ อ ผล ประกอบการของบริษัททั้งด้านการผลิตและการ จาหน่าย เป็นการยืนยันถึงความสาคัญของการ ดาเนินงานสร้างสุขในองค์กร ว่าก่อให้เกิดผลดีต่อ ทั้งพนักงาน องค์กร และชุมชนสังคม ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1.1 โรงงาน สถานประกอบการ ควร จะด าเนิ น กิ จ กรรมสร้ า งสุ ข ในองค์ ก รอย่ า ง ต่อเนื่ อง ส่ งเสริมการมีส่ วนร่ว มของแรงงานทั้ง แรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติในองค์กร มีการ ออกแบบกิจกรรมให้หลากหลาย สอดคล้องกับ ความต้ อ งการ และมี ก ารประเมิ น ติ ด ตามผล พัฒ นางานให้ เหมาะสมกับ สถานการณ์ เพื่อให้ พนักงานมีความสุขในการทางาน 1.2 โรงงาน สถานประกอบการควร ส่ ง เสริ ม การสร้ า งความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รของ แรงงานทั้ ง แรงงานไทยและแรงงานข้ า มชาติ เช่น การเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นและความสามารถในกิจกรรมของ องค์กรเพื่อให้พนักงานมีความรู้สึกว่าตนเองเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก ร หรื อ ส่ ง เสริ ม ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น จั ด กิ จ กรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์ หรือจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับค่านิยมหรือนโยบายขององค์กร 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาว เพื่ อ ประเมิ น ผลความสุ ข ในการท างานของ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

พนักงาน และผลการดาเนินกิจกรรมสร้างสุขใน องค์กรอย่ างยั่ งยื น และหาความสั มพันธ์กับ ผล ประกอบการหรือผลิตภาพ (productivity) ของ องค์กร

85 2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความสุข ในการทางานในองค์ก รประเภทต่างๆ ทั้ งภาค บริ ก าร และภาคการผลิ ต รวมถึ ง หน่ ว ยงาน ภาครั ฐ ตลอดจนการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง เครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนงานสร้างสุขในองค์กร

References Buapetch, Aporntip, Kalampakorn, Surintorn and Lagampan, Sunee. (2555). Psychosocial Work Environment Factors Relating to Psychological Health Problems and Job Satisfaction of Thai Workers in large-sized Garment Factories. Journal of Public Health, Prince of Songkla University (Hat Yai Campus). Volume 42 No. 1 (January-April 2012): 5-17. (in Thai). Burton, Joan. (2010). WHO Healthy Workplace Framework and Model: Background and Supporting Literature and Practices. Geneva: World Health Organization. Chantara, Thasapornchnok. (2555). The Future of Thai Textile Industry. Bureau of Industrial Economics Research, Office of Industrial Economics. Retrieved December, 1 2017, from http: / / www. oie. go. th/ sites/ default/ files/ attachments/ article/ TextileIndustryintheFuture.pdf. (in Thai). Creswell, John W. and Plano Clark, Vicki L. (2007). Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks, California: Sage Publication. Fapinyo, Chutimon. (2552). Happiness at Work of Employee at Quality Ceramic Company Limited, Lampang Province. Master’s Thesis, Graduate School, Chiang Mai University. Chiang Mai. (in Thai). Intadod, Sukanya. (2550). The Relationships between Organizational Citizenship Behavior,Organizational Participation Needs and Happiness at Work: A Case Study of Textile Industries in the Upper Northern Region. Master’s Thesis, Faculty of Education, Ramkhamhaeng University. Bangkok. (in Thai). Jaikriangkrai, Nanthanat ,Jiawiwatkul, Athiwat, Jiawiwatkul, Uthaithip and Visetsinlapanon, Porntida. (2558). Factors Related to Worker Happiness: A Case Study of Garment Factory. Oral presented at The 10th National Conference on Management for Reform, Dhurakij Pundit University, Thailand, 27 March 2015. (in Thai).


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Jiawiwatkul, Athiwat. (2553). A New Paradigm of Teachers' Sense of Community: Development of a Multilevel Causal Model and a Multi-Case Study. Doctoral Dissertation. Faculty of Education, Chulalongkorn University. Bangkok. (in Thai). Jiawiwatkul, Athiwat. (2559). Happy Workplace Concept. Training Materials for Happy Workplace Academic. Nakhon Pathom: Project of Development and Promotion of Knowledge Management to Support Healthy Organization. Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. Jiawiwatkul, Uthaithip, et al. (2559). Satisfaction Scale of Happy 8 Menu Activities in Workplace: Individual and Organization Level. Nakhon Pathom: Project of Development and Promotion of Knowledge Management to Support Healthy Organization. Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. Jitteerapap, Naphat. (2554). Demographic Background, Happy Workplace, and Organizational Commitment: A Case Study of Food Industrial Factory. Master’s Thesis, Faculty of Liberal Art, Thammasat University. Bangkok. (in Thai). Laoteng, Sasithorn and Jadesadalug, Viroj. (2557). The Influence of Happiness Activities in the Organization by Happy-8 Model toward Happiness at Work, Productivity of Work and Intention to Resign of Workers in a Private Company. Veridian E-Journal Silpakorn University. Volume 7 No.2: Humanities, Social Sciences and Arts (MayAugust, 2014): 988-1006. Liewpairoj, Karadee and Thamsatitdej, Poomporn. (2555). Small and Medium Enterprises Promotion Action Plan for Textile and Garment Industry. Bangkok: Office of Small and Medium Enterprises Promotion. Retrieved December, 1 2017, from http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER2/DRAWER039/GENERAL/DATA0000/ 00000020.PDF. Karnchnat, Jiawiwatkul, Athiwat and Yossatorn, Dalapat. (2560). The Quality of Work-Life and Adult Development for Executive Representatives: A Case Study of a Life Insurance Company. Journal of Sahasat. Volume 17 No. 1 (January-July 2017): 254-273. Meerugsa, Thanavan. (2552). Factors Related to Stress of Garment Workers in Small Enterprises. Master’s Thesis, Graduate School, Mahidol University. Bangkok. National Statistical Office. (2560). The Labor Force Survey, Whole Kingdom Quarter 1 January - March 2017. National Statistical Office, Ministry of Digital Economy and Society. Retrieved December, 1 2017, from http://service.nso.go.th/nso/nso_center/.../2560/.../00_S-lfs-q_2560_100_000000_00100.xls.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

87

Noknoi, Chetsada and Boripunt, Wannaporn. (2557). Quality of Work Life of Migrant Workers Working in Songkhla Province. Parichart Journal, Thaksin University. Volume 27 No. 3: 240-250. Phengnaren, Pimchanok. (2004). Factors Related to the Organization Commitment of Automobile Company Employees. Master’s Thesis, Graduate School, Mahidol University. Nakhon Pathom. Poopan, Siwapron and Jiawiwatkul, Athiwat. (2017). The Development of Indicators of Good Practice Happy Workplace Organizations in Thailand.New Trends and Issues Proceedings on Humanities and Social Sciences. [Online]. 01: 221-227. Retrieved December, 1 2017, from https://doi.org/10.18844/prosoc.v3i1. Porter, Lyman W., Steer, Richard M., Mowday, Richard T. and Boulian, Paul V. (1974). Organizational Commitment, Job Satisfaction, and Turnover among Psychiatric Technicians. Journal of Applied Psychology. Volume 59 No. 5: 603-609. Rodtiang, Napatchon. (2550). Factors Influence on Happiness at Work among Personnel in North-eastern Regional Health Promotion Center, Department of Health, Ministry of Public Health. Master’s Thesis, Graduate School, Mahidol University. Bangkok. Sawaengphol, Narumon. (2554). Factors Affecting Happincess in Personnel Working at Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi (RMUTT). Master’s Independent Study, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. Pathum Thani. Smith, Tippawan, Buapeth, Aporntip and Isaramalai, Sangrun. (2559). Factors Influencing Happiness at Work among Industrial Migrant Workers. Journal of Public Health. Volume 46 No. 2 (May - August 2016): 113-127. Suttawet, Chokchai and Yawichian, Suriya. (2551). Labor Standards and Trade: A Case Study in Thailand. Bangkok: International Institute for Trade and Development. Retrieved December, 5 2017, from http://e-library.itd.or.th/viewer/144491084. Thongkham, Issaree. (2554). Guidelines for Creating Happy Organization of Donkamin Municipality, Tamaka District, Kanchanaburi Province. Master’s Independent Study, College of Local Administration, Khon Kaen University. Khon Kaen. (in Thai). Ungsriwong, Jamrat. (2557). Transnational Burmese Migrant Labours’ Quality of Work Life, Samutsakorn Province. Journal of Humanities and Social Sciences Review, Phetchaburi Rajabhat University. Volume 16 No. 1 (January-June 2014): 85-99. (in Thai).


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Vongprachanukul, Charoen. (2548). The Relationship between School Culture and Teachers Commitment in the Catholic Schools of Ratchaburi Diocese. Master’s Thesis, Graduate School, Nakhon Pathom Rajabhat University. Nakhon Pathom. (in Thai). Wasanthanarat, Chanwit, and Wutthiwatchaikaew, Theertham. (2559). To Build Happy Workplace Together, Revised edition 2559. Bangkok: At Four Print. (in Thai). Wutthiwatchaikaew, Theertham. (2559). Employee Health Is the Basis of the Happy Workplace. Bangkok: At Four Print. (in Thai).


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

89

ตัวแปรทางจิตและสถานการณ์ที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะวิจัยของบุคลากรสายวิชาการใน

สถาบันอุดมศึกษาไทย

ปิยวรรณ บุญเพ็ญ1 ยุทธนา ไชยจูกุล2 ดุษฎี โยเหลา3

บทคัดย่อ บทความนี้มุ่งนาเสนอทัศนะและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “สมรรถนะวิจัย” ที่ได้ถูกนามาประยุกต์และ ศึกษาในประเทศไทย เพื่อชี้ให้เห็นว่าสมรรถนะวิจัยเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมการทางานวิจัยที่ มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบุคลากรสายวิชาการซึ่งเป็นกลุ่มนักวิจัยหลักของประเทศ เชื่อมโยง กับ ผลการศึ กษาและแนวทางการวิ เ คราะห์ ก ารเกิด สมรรถนะวิ จั ย ทั้ งจากตั ว แปรลั กษณะทางจิ ต และ สถานการณ์ที่มีผ ลต่ อสมรรถนะวิ จั ย จากผลการศึกษาในอดี ตที่ผ่ า นมาในประเทศและได้ น าเสนอแนว ทางการวิเคราะห์และค้นหาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการเกิดสมรรถนะวิจัยของบุคลากรสายวิชาการ ในสถาบันอุดมศึกษาไทยในลักษณะสหวิทยาการ คาสาคัญ: สมรรถนะการวิจัย บุคลากรสายวิชาการ สถาบันอุดมศึกษา

1

นักศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 29/9 ลาดพร้าว 41 แยก6-4 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 e-mail: asiatoto@gmail.com 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตจุจักร กรุงเทพฯ 10110 e-mail: yuttanac@swu.ac.th 3 รองศาสตราจารย์ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตจุจักร กรุงเทพฯ 10110 e-mail: dusadee@swu.ac.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018

Psychological and Situational Variables Influencing Research Competency

of Academic Staff at Higher Education Institutes in Thailand

Piyawan Boonpen1 Yutthana Chaijookul2 Dussadee Yolao3

Abstract This article aims to present the views and knowledge about research competency that have been applied and studied in Thailand. Research competency is the key to effective research behavior, especially for academic staff in higher education institutes who are main researchers in the country. The article is based on the results of the studies in the past on causal factors influencing performance research behavior of researchers in Thailand. Guidelines are presented for interdisciplinary approach to study causal factors influencing research competency of academic staff in higher education institutes in Thailand. Keywords: Research competency, academic staff, higher education institute

1

Ph.D. Candidate, Doctor of Philosophy Program in Applied Behavioral Science Research (research base), Srinakharinwirot University 29/9 Ladprao 41 yak 6-4 Chankasem, Jatujak District, Bangkok 10900 e-mail: asiatoto@gmail.com 2 Assistant Professor Behavioral Science Research Institute Srinakharinwirot University 114 Sukumvit 23, Wattana District, Bangkok 10110 e-mail: yuttanac@swu.ac.th 3 Associate Professor Behavioral Science Research Institute Srinakharinwirot University 114 Sukumvit 23, Wattana District, Bangkok 10110 e-mail: dusadee@swu.ac.th


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

สมรรถนะ (Competency) เป็นบุคลิก ลักษณะที่ซ่อนอยู่ในบุคคล เป็นแรงจูงใจหรือแรง ขับภายในที่ผลักดันให้บุคคลสามารถสร้างผลงาน ที่ดีห รื อเป็ น ไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในงานที่ตน รับผิดชอบ (McClelland. 1993) เกิดจากการ หลอมรวมกั น ระหว่ า ง ความรู้ ทั ก ษะ เจตคติ (Parry, 1998) หรือเป็นกลุ่มความสามารถที่มีใน ตัวบุคคลที่จะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมให้บุคคล มุ่งมั่น ที่จะทางานเพื่อให้บรรลุความต้องการใน การทางานและก้าวไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการภายใต้ ปั จ จั ย สภาพแวดล้ อ มขององค์ ก าร (Boyatzis. 1982) ซึ่ ง คุ ณ ลั ก ษณะส่ ว นลึ ก ของบุ ค คลนี้ มี อิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการทางานของบุคคล มี ความสั มพันธ์กับ ผลงานและมีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลของงานโดยตรง (Shermon, 2004; Mitrani, Dalziel & Fitt, 1992 ; Hay Group. 2005) หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า เป็ น บทสรุ ป ของ พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดผลงานที่ดีเลิศ (Excellent Performance) (Schoonover Associates. 2005) แนวความคิ ด เรื่ อ งสมรรถนะมั ก มี ก าร อธิ บ ายด้ ว ยโมเดลภู เ ขาน้ าแข็ ง (Iceberg Model) ซึ่งอธิบ ายว่าความแตกต่างระหว่าง บุคคลเปรียบเทียบได้กับภูเขาน้าแข็ง โดยมีส่วนที่ เห็ น ได้ง่ายและพั ฒ นาได้ง่าย คือส่ ว นที่ล อยอยู่ เหนื อน้ า นั่ น คือองค์ความรู้ และทักษะต่างๆ ที่ บุคคลมีอยู่ และส่วนที่มองเห็นได้ยากซึ่งเป็นส่วน ใหญ่ อ ยู่ ใ ต้ ผิ ว น้ า ได้ แ ก่ แรงจู ง ใจ อุ ป นิ สั ย ภาพลักษณ์ภายใน และบทบาทที่แสดงออกต่อ สังคม ส่วนที่อยู่ใต้น้านี้มีผลต่อพฤติกรรมในการ ทางานของบุคคลอย่างมากและเป็นส่วนที่พัฒนา ได้ ย ากกว่ า และแม้ ส มรรถนะจะเป็ น สิ่ ง ที่ อ ยู่ ภายในตั ว บุ ค คล แต่ ส ามารถแสดงออกใน

91 ลั ก ษณะของพฤติ ก รรมการท างานที่ น ามาสู่ ผลงานและผลลัพธ์ที่องค์การต้องการ สมรรถนะ จึงสามารถนาไปอธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุและ ผลต่อประสิทธิผลขององค์การ ในภาพรวมได้ จึ ง ทาให้ แ นวคิ ด ของการ พั ฒ นาสมรรถนะถู ก น ามาใช้ ใ นองค์ ก ารชั้ น น า หลายแห่ง โดยเชื่อว่าหากบุคลากรขององค์การมี สมรรถนะสู ง ขึ้ น ก็ จ ะส่ ง ผลให้ ก ารปฏิ บั ติ ง าน บรรลุผลสาเร็จตามที่องค์การได้กาหนไว้และก้าว ไปสู่องค์การที่ประสบความสาเร็จได้เช่นเดียวกัน (มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร. 2558) ทั้งนี้ในการนาหลักของสมรรถนะมาใช้ใน องค์ การนั้น ส่ ว นใหญ่พัฒ นาและสร้า งตัว แบบ ของสมรรถนะโดยเริ่มต้นจากการกาหนดกรอบ แนวคิด วิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ ค่านิยม วั ฒ นธรรมขององค์ ก าร รวมถึ ง พฤติ ก รรมที่ องค์การคาดหวัง (Behavior Desirable) หรือที่ ปรารถนา แล้วนามากาหนดเป็นสมรรถนะหลัก ขององค์การ (Organizational Competency) เพื่ อ ให้ ส มรรถนะที่ อ อกแบบนั้ น สามารถ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการขององค์ ก ารได้ โดยตรงและ/หรื อมีความต่างหรื อโดดเด่นกว่ า องค์การคู่แข่ง ซึ่งเห็นได้ชัดว่าสมรรถนะหลักของ องค์การนี้เป็นตัวแปรระดับองค์การ และมีการ ค้นพบว่าสมรรถนะหลักขององค์การเพียงไม่กี่ตัว จะส่ ง ผลกระทบต่ อ องค์ ก ารในภาพรวมได้ (Prahalad และ Grey, 1990) ทั้งนี้ผู้ที่จะเป็นคน ก าหนดสมรรถนะหลั ก ดั ง กล่ า ว คื อ ผู้ น าหรื อ ผู้บ ริห ารขององค์การ (ศรีส มานุวัติ , 2553) จึง แสดงให้เห็นว่าภาวะผู้นาของผู้บริหาร ก็เป็นอีก ตัวแปรสาคัญที่มีผลโดยตรงต่อสมรรถนะหลักใน การทางานขององค์การ สาหรับสมรรถนะอื่น ๆ จะเกิ ด จากการพิ จ ารณาความเหมาะสมตาม ตาแหน่งและงานที่ทาเพื่อเป็นตัวกาหนดแนวทาง


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

หรื อ พฤติ ก รรมที่เ หมาะสมของแต่ ล ะต าแหน่ ง โดยจะมีการกาหนดสมรรถนะของบุคลากร ซึ่ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก ( Core Competency) สมรรถนะตามสายวิ ช าชี พ (Functional Competency) สมรรถนะร่วมของ ต าแหน่ ง ในกลุ่ ม งาน/สายวิ ช าชี พ (Common Functional Competency) และสมรรถนะ เฉพาะต า แหน่ ง ในกลุ่ ม งาน/สายวิ ช าชี พ (Specific Functional Competency) ซึ่งเป็น สิ่งที่องค์การหรือหน่วยงานเป็นผู้กาหนด จา กข้ อ มู ล ข้ า ง ต้ น แ ส ดง ให้ เ ห็ น ว่ า สมรรถนะนั้ น เป็ น ตั ว แปรระดั บ บุ ค คลที่ มี ความสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สถานการณ์ ซึ่ ง มี ตั ว แปรระดั บ องค์ ก ารหรื อ หน่ ว ยงานที่ เ ข้ า มา เกี่ย วข้องในหลายลั กษณะ ดัง นั้ น ในการศึกษา เพื่อทาความเข้าใจปัจจัยเชิงเหตุที่มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องกับสมรรถนะนั้น มิอาจใช้เพียงศาสตร์ ใดศาสตร์หนึ่งในการอธิบาย จาเป็นต้องใช้การบูร ณาการศาสตร์ในลักษณะของสหวิทยาการมาใช้ เพื่ อ อธิ บ าย โดยตั ว แปรระดั บ บุ ค คลอาจใช้ แนวคิ ด หรื อ ทฤษฎี ท างจิ ต วิ ท ยาเพื่ อ ท าความ เข้าใจตัว แปรภายในที่ ซ่อนอยู่ ภ ายในตัว บุคคล และส าหรั บ ตัว แปรสถานการณ์ ร ะดั บ องค์ ก าร หรือหน่วยงานก็จาเป็นต้องใช้ศาสตร์ทางด้านการ บริ ห าร โดยเฉพาะการบริ ห ารจั ดการองค์ก าร หรือพฤติกรรมองค์การ ร่วมกับแนวคิดทางสังคม วิ ท ยาเกี่ ย วกั บ บทบาทและหน้ า ที่ ใ นสั ง คมมา อธิบาย จึงจะสามารถอธิบายสมรรถนะได้อย่าง ลึกซึ้งและครอบคลุม ความสาคัญของ “สมรรถนะ” กับการทางาน วิจัยในสถาบันอุดมศึกษา ส า ห รั บ อ ง ค์ ก า ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ระดับอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัย พบว่าหน้าที่

และพันธกิจหลักสาคัญประการหนึ่ง คือ การทา วิ จั ย เพื่ อ สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละประยุ ก ต์ ใ ช้ อ งค์ ความรู้ใหม่ ๆ สาหรับ พัฒนาการเรียนการสอน หรื อ ขยายฐานความรู้ ใ ห้ สั ง คมและพั ฒ นา ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ของประเทศด้ ว ยองค์ ความรู้ใหม่ ๆ ทาให้ภาระของการวิจัยถูกกาหนด เป็ น มาตรฐานหลั กของบุ คลากรทางการศึกษา (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , 2549) โ ด ย บุ ค ค ล ที่ ถู ก รั บ เ ข้ า ม า ท า ง า น ต้ อ ง มี ความสามารถในการทางานวิจัยได้ทันทีหรือต้อง มีทักษะในการทาวิจัยตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงาน (เกตุ ชรารัตน์ และคณะ. 2558) และพบว่าสมรรถนะ ด้านการเป็นผู้นาทางวิชาการนั้นสามารถเป็นตัว บ่ ง บอกที่ ส าคั ญ เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ความส าเร็ จ และคุ ณ ภาพของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ (อิ น ทรก าแหง และ ทองภั ก ดี . 2548) ดั ง นั้ น การศึ ก ษาถึ ง การท างานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน สถาบันอุดมศึกษา จึงไม่อาจละเลยหรือมองข้าม เรื่องของสมรรถนะและความสามารถในการวิจัย ไป เพราะคุณลักษณะดังกล่าวสามารถนามาใช้ อธิบายและทานายพฤติกรรมการทางานวิจัยที่พึง ประสงค์และสามารถค้นหาและพัฒนาบุคลากร เพื่อขั บเคลื่ อนองค์ การหรือ หน่ว ยงานให้ บรรลุ เป้าประสงค์ต่อไปได้ ในประเทศไทยมีนักวิชาการและนักวิจัยที่ ให้ ค วามสนใจและท าการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สมรรถนะวิ จัย หรื อความสามารถทางด้ านการ วิ จั ย มากมาย ซึ่ ง มี ก ารให้ ค วามหมายของ สมรรถนะวิจัย ไว้แตกต่างกันแต่เป็นในทานอง เดี ย ว กั น อ า ทิ ส ม รร ถ น ะ วิ จั ย ห ม า ย ถึ ง ความสามารถที่แสดงออกอย่างมีประสิทธิภาพ เกี่ยวกับการทาวิจัย (ดิลกโกมล, 2533) หมายถึง ความรู้ความสามารถในการสร้างความรู้ ค้นหา ความจริ ง แสวงหาวิ ธีการ หรือนวัตกรรมและ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

พัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ประบวนการวิจัย ซึ่งผลการวิจัยจะนาไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนา ศักยภาพผู้ เรี ย น ผู้ ส อน และพัฒ นาการจั ดการ เรียนการสอนอย่างเป็นระบบได้ (สนั่นเอื้อเม็งไธ สง, 2553) หมายถึง ความสามารถในการทาวิจัย คื อ ก า ร ตั้ ง ชื่ อ ง า น วิ จั ย ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ การศึ ก ษาค้ น คว้ า เอกสาร การ อ้างอิง เอกสารที่เกี่ย วข้องในการทาวิจั ย ความ เข้าใจในการสรุปผล และแปลผลในการทาวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ อภิ ป รายผล การเขี ย นข้ อ เสนอแนะ (ทาริ น , 2548) ซึ่งโดยภาพรวมแล้ว จะเห็นได้ว่าการให้ ความหมายของสมรรถนะวิจั ย ของนั ก วิช าการ ไทยจะถอดความหมายมาจากกระบวนการใน การท าวิ จั ย ตั้ ง แต่ ต้ น จนจบเพื่ อ มาก าหนดเป็ น นิยามของสมรรถนะวิจัย ซึ่งหากพิจารณาจาก ฐานคิดหรื อแนวคิดเกี่ย วกับ สมรรถนะในหัวข้อ ข้ า ง ต้ น นั้ น จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ส ม ร ร ถ น ะ คื อ พฤติกรรมที่ทาให้เกิดผลงานที่ดีเลิศ จึงมีความ แตกต่างไปจาก ความรู้ ทักษะ และ แรงจูงใจ ใน ระดับปกติของการปฏิบัติงานของคนทั่วไป โดย สมรรถนะกับความรู้ แตกต่างกัน ดังนี้ หากการมี ความรู้ซึ่งสิ่งใดที่เป็นความรู้พื้นฐานที่ไม่สามารถ ท าให้ บุ ค คลมี ผ ลการท างานที่ ดี เ ลิ ศ กว่ า คนอื่ น หรือสามารถทาได้บรรลุเป้าหมายแล้วก็จะไม่ถือ ว่าเป็นสมรรถนะ (ศรีสมานุวัติ , 2553)เช่น นาย ก. มีความรู้เรื่องกระบวนการวิจัยและระเบียบวิธี วิ จั ย จะกล่ า วได้ ว่ า นาย ก. มี ค วามรู้ แต่ ห าก นาย ก.สามารถนาความรู้เรื่องกระบวนการวิจัย และระเบียบวิธีวิจัยไปเสนอขอรับทุนและได้รับ การพิ จ ารณาจั ด สรรทุ น และสามารถบริ ห าร จั ด การให้ ง านวิ จั ย ส าเร็ จ ได้ จะเรี ย กว่ า มี สมรรถนะ ท านองเดี ย วกั น ทั ก ษะที่ ถื อ ว่า เป็ น สมรรถนะจะต้องเป็นในลักษณะของสามารถทา

93 ให้ เกิด ผลงานที่ดีเลิ ศและมี ความส าเร็ จ ชัดเจน หากมี ทั ก ษะในการท างานอย่ า งเดี ย วแต่ ไ ม่ สามารถสร้ างผลงานได้ชั ด เจน ก็ จ ะไม่ ถื อ ว่ า มี สมรรถนะ เช่น นาย ก. สามารถเขียนข้อเสนอ การวิจัยตามหลักการของการวิจัยได้ ถือว่าเป็น ทักษะพื้นฐานของคนที่เป็นบุคลากรสายวิชาการ แต่หาก นาย ก. สามารถเขียนข้อเสนอการวิจัย ตามหลักการและได้รับการพิจารณาให้ทุนทุกครั้ง จะกล่ า วได้ ว่ า นาย ก. มี ส มรรถนะวิ จั ย และ สาหรับแรงจูงใจที่ถือว่าเป็นสมรรถนะ คือ การที่ บุคคลมีแรงจูงใจที่จะลงมือปฏิบัติหรื อกระทาใน เรื่องใดๆ แต่ว่าแรงจูงใจนั้น จะต้องได้รับผลของ การกระท าเป็ น ผลส าเร็ จ ที่ มีค วามชัด เจน เช่ น นาย ก. อยากจะทาวิจัยและได้เขียนข้อเสนอการ วิจัยและเสนอขอทุน อาจกล่าวได้ว่า นาย ก. มี แรงจูงใจ แต่หาก นาย ก. สามารถเขียนข้อเสนอ การวิ จั ย แล้ ว ได้ รั บ การพิ จ ารณาให้ ทุ น แล ะ สามารถทางานวิ จั ย ส าเร็ จ จนได้รั บ รางวัล หรื อ สามารถไปขอต าแหน่ ง ทางวิ ช าการได้ จึ ง จะ เรี ย กว่ า แรงจู ง ใจนั้ น เป็ น สมรรถนะ เป็ น ต้ น กล่ า วโดยสรุ ป คื อ สมรรถนะเป็ น ระดั บ ของ ความสามารถที่ จ ะท าให้ เ กิ ด การปฏิ บั ติ ง านที่ เหนื อ กว่ า หรื อเป็ น เลิ ศ มากกว่ าการปฏิบั ติง าน ตามเกณฑ์ทั่วไป ดังนั้นในการนิยามความหมาย ของค าว่ า สมรรถนะวิ จั ย ควรจะเป็ น การให้ ความหมายในเชิงปฏิบั ติก ารที่ส ามารถวัดและ ประเมินผลได้ โดยต้องมีลักษณะเฉพาะที่แสดง ให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงกว่า เกณฑ์การปฏิบัติงานขั้นต่าโดยทั่วไป ส าหรั บ การศึก ษาเกี่ย วกั บ องค์ ป ระกอบ ของสมรรถนะวิจัยของบุคลากรทางการศึกษาใน ประเทศ ก็มีผลงานมากมายที่ทาการศึกษา เช่น มี เ หลื อ และ สุ ว รรณเขตนิ ค ม (2540) พบว่ า องค์ ป ระกอบของสมรรถนะของครู นั ก วิ จั ย


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

มี7 องค์ป ระกอบ ได้แ ก่ 1) ด้า นคว ามรู้ ความสามารถในระเบีย บวิธ ีว ิจ ัย และการ ด า เ น ิน ก า ร ว ิจ ัย 2 ) ด ้า น ท ัก ษ ะ ใ น ก า ร พัฒนาการเรียนการสอน 3) ด้านจรรยาบรรณ นัก วิจัย 4) ด้า นบุค ลิก ภาพและคุณ ธรรมของ ครู 5) ด้านทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล 6) ด้านความสามารถในการประเมินผลการเรียน และ 7) ด้า นความสามารถในการวิเ คราะห์ และสัง เ คราะห์ค ว ามรู ้แ ละการ ใช้ข ้อ มูล ข่าวสาร การศึกษาของ สินโพธิ์ (2546) พบว่า สมรรถนะในการทาวิจัยในชั้นเรียนของครู มี 2 องค์ประกอบ คือ 1) องค์ประกอบระดับบุคคล ได้แ ก่ จานวนครั้ง ที่เ ข้า อบรม ระยะเวลาที่ใ ช้ ในการศึกษา ประสบการณ์ ลักษณะนิสัยที่เอื้อ ต่อ การทาวิจัย ความรู้ในระเบียบวิธีวิจัย และ 2) องค์ป ระกอบระดับ องค์ก าร ได้แ ก่ การ สนับ สนุน ของผู ้บ ริห าร แหล่ง ศึก ษาค้น คว้า และที่ป รึก ษาหรือ พี่เ ลี้ย งในการวิจัย ครุฑ กะ (2555) พบว่าสมรรถนะที่พึงประสงค์ด้านการ วิจัยของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยประกอบด้ว ย สมรรถนะรายด้า น 8 ด้า น คือ (1) ด้า นการ วิเคราะห์ (2) ด้านการสังเคราะห์ (3) ด้านการ แสวงหาความรู้ (4) ด้านการวิจัย (5) ด้านการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการวิจัย(6) ด้านการใช้ภ าษา (7) ด้า นคุณ ธรรมและจรรยาบรรณของผู้วิจัย และ (8) ด้า นคุณ ลัก ษณะอาจารย์น ัก วิจ ัย นอกจ ากนี ้ แจ่ม แ จ้ง อ รัญ ว ง ศ์ แล ะ ผ ล ประเสริฐ (2556) พบว่า องค์ป ระกอบของ

สมรรถนะด้านการวิจัยที่จาเป็น ของอาจารย์มี 10 องค์ป ระกอบ 75 ตัว แปรสัง เกตได้ โดย สมรรถนะที่ต้องให้ความสาคัญและนาไปทากล ยุท ธ์ใ นการพัฒ นา 3 อัน ดับ แรกได้แ ก่ 1) สามารถเสนอผลงานวิจัยเพื่อ จดสิทธิบัต ร อนุ สิทธิบัตรได้ 2) สามารถเข้าถึงแหล่งทุน และรู้ จุด ประสงค์ข องแหล่ง ทุน 3) สามารถเสนอ ผลงานวิจ ัย ในที ่ป ระชุม ทั ้ง ระดับ ชาติ และ นานาชาติ ในขณะที่ เกตุช รารัต น์ และคณะ (2558) พบว่า สมรรถนะวิจัย ของอาจารย์ใ น มหาวิท ยาลัย จะต้อ งประกอบด้ว ย การมี ความรู้ในการทาวิจัย มีความรู้ด้า นระเบีย บวิธี วิจัย มีค วามรู้ใ นสาขาวิช าอื่น ที่เ กี่ย วข้อ งกับ การวิจัย มีการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ มี การแลกเปลี ่ย นเรีย นรู ้ใ นการอบรม สัม มนา ศึกษาดูงานและประชุมวิชาการอยู่เสมอ มีการ วิจัย ในชั้น เรีย นเพื่อ พัฒ นาการเรีย นการสอน สามารถใช้อ งค์ค วามรู ้ที ่ห ลากหลายในการ ข ย า ย พ ร ม แ ด น ค ว า ม รู ้เ ชิง บูร ณ า ก า ร ใ ห้ กว้า งขวาง มีท ัก ษะการทาวิจ ัย ผลงานวิจ ัย สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในระดับ ชุมชน หรื อ สัง คมได้อ ย่า งเป็น รูป ธรรม มีผ ลงานวิจัย ที่ถือ เป็น ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญาของตนเองและของ มหาวิท ยาลัย มีก ารเผยแพร่ผ ลงานวิจ ัย ให้ กลุ่ม เป้า หมายนาไปใช้ป ระโยชน์ ผลงานวิจัย ได้ร ับ การเผยแพร่ห รือ ตีพิม พ์ใ นเอกสารทาง วิชาการที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และ ต้องมีเจตคติที่ดีต่อการทาวิจัย


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

95

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตาราง 1 สรุปลักษณะของพฤติกรรม ความรู้และทัศนคติของนักวิจัยที่มีทักษะและมีประสิทธิภาพ สมรรถนะหลัก

สมรรถนะที่ 2 คุณลักษณะการเป็นนักวิจัยทีด่ ี Personal effectiveness

     

สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการบริหารงานโครงการวิจัย Research governance and organization

  

สมรรถนะที่ 4 การสร้างการมีส่วนร่วมและคานึงผลกระทบ Engagement influence and impact

 

สมรรถนะที่ 1 ความรู้และความสามารถเชิงปัญญา Knowledge and intellectual abilities

มี ก ารสร้ า งสรรค์ แ ละประยุ ก ต์ ส ร้ า ง นวัตกรรม จากการวิจัย ศึกษาแสวงหาความรู้ เพิ่ ม เติ ม ด้ า นเทคนิ ค ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย ต่ า งๆ มี โอกาสได้ รั บ ทุ น อุ ด หนุ น วิ จั ย จากหน่ ว ยงาน ภายนอก ต้องมีจรรยาบรรณนักวิจัย มีการสร้าง เครือข่ายการวิจัยกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้ง ในและ ต่างประเทศ สาหรับในต่างประเทศ เช่น สถาบัน Vitae Rrealizing the Potential of Researchers (2010) ได้ เ สนอกรอบแนวคิ ด ในการพั ฒ นา นั ก วิ จั ย โดยได้ ก าหนดลั ก ษณะของพฤติ ก รรม ความรู้และทัศนคติของนักวิจัยที่มีประสิทธิภาพ และมีทักษะ ไว้ดังนี้

สมรรถนะย่อย ความรู้พื้นฐาน (Knowledge base) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (Cognitive Ability) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) คุณสมบัตสิ ่วนบุคคล (Personal qualities) การบริหารจัดการส่วนตัว (Self- management) ความเป็นมืออาชีพและความสามารถในการพัฒนาตนเอง (Professional and career development) ความเป็นมืออาชีพ (Professional conduct) การบริหารจัดการงานวิจัย (Research management) การแสวงหาทุนสนับสนุนการวิจัยและทรัพยากร (Finance, funding and resource) การทางานเป็นทีม (Working with others) ความสามารถในการสื่อสารและการเผยแพร่ (Communication and dissemination) การสร้างข้อตกลงและคานึงผลกระทบ (Engagement and Impact)

ทางด้ า น Government Social Research Competency Framework : GSR (2017) ได้กาหนดกรอบสมรรถนะระดับมืออาชีพ สาหรับสมาชิกผู้ทาการวิจัยทางสังคมและวิธีใน การน าไปใช้ใ นแต่ ล ะระดั บ ซึ่ง เป็ น สมรรถนะ เฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย โดยได้กาหนด ความเชี่ย วชาญระดับ มือ อาชีพ (Professional Expertise) โดยแบ่งเป็น 2 หัวข้อหลัก คือ 1) ทั ก ษะเชิ ง เทคนิ ค (Technical Skills) ประกอบด้ว ย (1) มีความรู้ ทางด้านระเบี ยบวิธี วิจัย (Methodology) วิธีการวิจัย (Method) เทคนิค (techniques) และสามารถประยุกต์ใช้ ในการทาวิจัย (application) (2) สามารถระบุ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร วิ จั ย แ ล ะ


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

สามารถออกแบบการวิจัยเฉพาะได้ (Identifying research needs, designing and specifying research) (3) มีความสามารถในการวิเคราะห์ แ ล ะ ก า ร ตี ค ว า ม ( Analysis and interpretation) และ (4) มีความสามารถในการ จัดการและทางานที่ได้รับมอบหมาย (Managing and commissioning social research และ 2) ความสามารถในการนาไปใช้เพื่อส่งเสริมในการ ทาวิจัยทางสังคม (Using and promoting social research) ประกอบด้ ว ย (1) ความสามารถในการสื่อสารและถ่ายทอดข้อมูล และวิเคราะห์สถานการณ์ (Communication of research evidence and analysis) (2) สามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากงานข้ า มสายอาชี พ (Exploiting cross profession working) (3) การสนับสนุนการวิจัยทางสังคม (Championing social research) และ (4) ความรู้ความเข้าใจใน นโยบายและบริบททางสังคม (Understanding of policy context) สมรรถนะหลักของการวิจัย จากแนวความคิดและผลจากการศึกษาทั้ง ในและต่างประเทศดั งกล่ าวข้างต้น เมื่ อน าผล การศึกษามาเปรียบเทียบและผนวกเข้ากับฐาน คิดของแนวคิดสมรรถนะเพื่อดูความสัมพันธ์และ สอดคล้ อ งส าหรั บ เป็ น แนวทางในการก าหนด สมรรถนะวิจัย ก็สามารถจัดและแบ่งสมรรถนะ วิจัยเป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ 1. สมรรถนะด้ า นความรู้ ใ นการท าวิ จั ย (Knowledge) หมายถึง การที่บุคคลมีความรู้ ความรู้ค วามสามารถเบื้ อ งต้ น ทางการวิจั ย มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริบทขององค์การใน การทาวิจัย และมีความรู้ด้านการบริหารเงินวิจัย 2. สมรรถนะด้านทักษะและความสามารถ ในการทาวิจัย (Skill) หมายถึงการที่บุคคลมี

ความสามารถและมีทักษะในการดาเนินการวิจัย การจัดทาโครงร่างวิจัย สามารถใช้เทคโนโลยี เพื่ อ การวิ จั ย การใช้ ภ าษา/สื่ อ สาร และ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ความสามารถในการบริหารจัดการ การวางแผน และจัดการ ทักษะในการบริหารเวลา สามารถ ท างานเป็ น ที ม /ก ารท างานร่ ว มกั บ คนอื่ น สามารถสร้างทีมงาน และสามารถในการบริหาร จัดการผลผลิตของงานวิจัยหรือสามารถนางาน เผยแพร่และผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ 3. สมรรถนะด้า นคุณ ลักษณะส่วนบุค คล (Personal Attribute) หมายถึง การที่บุคคลมี คุ ณ ลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลที่ เ อื้ อ อ านวยให้ ก าร ด าเนิ น การวิ จั ย ส าเร็ จ และบรรลุ ผ ลได้ อ ย่ า งดี ประกอบด้วย ความคิดสร้างสรรค์ ความเป็น ผู้นา ความรับผิดชอบ ด้านคุณลักษณะอาจารย์ นักวิจัย ความเป็นมืออาชีพและด้านคุณธรรม และจรรยาบรรณของผู้วิจัย 4. สมรรถนะด้ า นพฤติ ก รรมที่ อ งค์ ก าร คาดหวัง (Behavior Desirable) หมายถึง การ ที่บุคคลได้แสดงพฤติกรรมที่ช่ว ยเอื้ออานวยให้ การด าเนิน การวิจั ยบรรลุ ผ ลสั ม ฤทธิ์ไ ด้ส ะดวก มากยิ่ ง ขึ้ น ได้ แ ก่ ความสามารถในการสร้ า ง เครือข่าย การตระหนักและประเมินผลกระทบ ของผลงานวิจัย ทั้งนี้จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น มี ข้อสังเกตว่าในการสร้างหรือศึกษาองค์ประกอบ ของสมรรถนะวิจัยที่ผ่านมา จะทาการศึกษาใน กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น นั ก วิ จั ย ทั่ ว ไปที่ ท างานใน สถาบันอุดมศึกษา และขั้นตอนของการวิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ประกอบของสมรรถนะวิจัย จะมี ก ระบวนการเริ่ ม ต้ น จากการทบทวน วรรณกรรมตามแนวคิ ด ของสมรรถนะและ พฤติกรรมการทางานวิจัย แล้วไปเก็ บข้อมูลเชิง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

คุณภาพทั้งในลักษณะการสัมภาษณ์เชิงลึกหรือ การระดมสมองจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่ทาหน้าที่ บริ ห ารงานวิ จั ย บริ ห ารงานวิ ช าการ บริ ห าร การศึกษา เพื่อร่ างสมรรถนะวิจั ย ที่ควรจะเป็ น หรือพึงประสงค์ขึ้น ซึ่งเมื่อได้ร่างสมรรถนะก็จะ ไปท าการศึ ก ษาเชิ ง ปริ ม าณด้ ว ยการส ารว จ องค์ ป ระกอบเชิ ง ยื น ยั น จากกลุ่ ม นั ก วิ จั ย ที่ ปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษารวมไปถึงการหา โมเดลโครงสร้างเชิงสาเหตุในลักษณะต่างๆ โดย เก็ บ ข้ อ มู ล ด้ ว ยแบบสอบถามและวั ด หรื อ เก็ บ ข้ อ มู ล สมรรถนะ ด้ ว ยการสร้ า งข้ อ ค าถามให้ ผู้ตอบตอบโดยพิจารณาเชิงเปรียบเทียบระหว่าง สมรรถนะที่เป็นอยู่กับสมรรถนะที่ผู้วิจัยคาดหวัง และรายงานสะท้อนออกมาเป็ นค่าคะแนนหรื อ ระดับของสมรรถนะวิจัย ซึ่งเกณฑ์ที่สร้างขึ้นของ แต่ละผู้วิจัยมีความแตกต่างกันออกไป จึงแสดง ให้เห็นว่าการวัดสมรรถนะในการศึกษาที่ผ่านมา มิได้ มีการประเมิ น หรื อสร้ างเกณฑ์มาตรฐานที่ ชัดเจนเพื่อวัดและแสดงระดับของความยากหรือ ง่ า ยที่ สู ง กว่ า เกณฑ์ ม าตรฐานปกติ ซึ่ ง เป็ น ข้อสังเกตที่น่าสนใจเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนา เครื่องมือวัดสมรรถนะวิจัยในประเทศ ว่าอาจยัง ไม่ มี เ ครื่ อ งมื อ กลางที่ ส ามารถวั ด และประเมิ น สมรรถนะวิ จั ย ที่ เ หมาะสมในบริ บ ทของไทย นอกจากนี้ แ ล้ ว ยั ง มี ข้ อ สั ง เกตอี ก ประเด็ น คื อ ธรรมชาติของการศึกษาวิจัยในแต่ละสาขาวิชา มี ความแตกต่างกันไปตามบริบทของธรรมชาติของ วิช า โดยกลุ่ มวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร์สุขภาพนั้น รูปแบบของการวิจัยส่วน ใหญ่จะเป็นการวิจัยพื้นฐานหรือวิจัยและพัฒนา มี ก ารออกแบบการวิ จั ย ในลั ก ษณะเชิ ง ทดลอง และขัน้ ตอนในการศึกษาส่วนใหญ่จะปฏิบัติอยู่ใน ห้องปฏิบัติการ ในขณะที่กลุ่มสังคมศาสตร์และ มนุ ษยศาสตร์ ห้ องทดลองคือ สั งคมมนุ ษย์ ห รื อ

97 กลุ่ มบุคคลเป็ นส่ ว นใหญ่ และประเภทของการ วิจัยจะเป็นการวิจัยประยุกต์ การวิจัยและพัฒนา หรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งข้อสังเกตดังกล่าว ก็ยังไม่มีการศึกษาค้นคว้าใดที่บ่งชี้ว่าสมรรถนะ ของผู้ ที่ ป ฏิ บั ติ ง านวิ จั ย ในแต่ ล ะส าขานั้ น จาเป็นต้องมีเกณฑ์การวัดหรือประเมินสมรรถนะ วิ จั ย เหมื อ นกั น หรื อ แตกต่ า งกั น หรื อ ไม่ และ ตัวชี้วัดระดับของสมรรถนะเชิงพฤติกรรมนั้น จะ มีเกณฑ์ในการวัดสมรรถนะเหล่านั้นอย่างไร จึง เ ป็ น ป ร ะ เ ด็ น ที่ ผู้ เ ขี ย น เ ห็ น ว่ า ค ว ร มี ก า ร ทาการศึ กษาใน 2 ประเด็น ดัง กล่ าวให้ มีค วาม ชัดเจนยิ่งขึ้น อันจะเป็นการศึกษาต่อยอดที่ทาให้ เกิดประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการและการศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาไทยต่อไป การศึ ก ษาปั จ จั ย เชิ ง สาเหตุ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ สมรรถนะวิ จั ย ของบุ ค ลากรสายวิ ช าการใน ประเทศไทย จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิ จั ย ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ พฤติ ก รรมการท างานวิ จั ย และ สมรรถนะวิจัยที่ผ่านมา มีข้อค้นพบที่สอดคล้อง กั น มากมาย ที่ พ บว่ า ปั จ จั ย สถานการณ์ แ ละ องค์ ก ารจะส่ ง ผลและมี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ พฤติกรรมการทาวิจั ย และสมรรถนะวิจั ย และ/ หรือส่งผลต่อผลิตภาพของงานวิจัยด้วย อาทิเช่น การศึกษาปั จจัยที่มีความสัมพันธ์และมีอิทธิพล ต่อสมรรถนะวิจั ยและผลิ ตภาพการวิจั ย พบว่า นโยบายและการสนั บ สนุ น มี ค วามสั ม พั น ธ์ ทางบวกกั บ สมรรถนะวิ จั ย ตั ว แปรปั จ จั ย ด้ า น สภาพแวดล้อมในการวิจัย มีอิทธิพลทางตรงต่อ ผลิตภาพการวิจัย (หิรัญวงศ์ , ฉัตราภรณ์ และ ตรั ย มงคลกู ล . 2548; มงคงเทพ. 2558) บรรยากาศการวิ จั ย และการสนั บ สนุ น จาก หน่วยงานเป็นตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการทางาน


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

วิจั ย (ตั น ติ ศรี ย านุ รั กษ์ . 2548) และพบว่า ตั ว บ่งชี้ต่อความสาเร็จในการทางานวิจัยในภาพรวม บรรยากาศการวิจัย การสนับสนุนจากหน่วยงาน และด้านสิ่ งอานวยความสะดวก (มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนครเหนือ. 2558) ซึ่ง ส อ ด รั บ กั บ หิ ต ะ โ ก วิ ท ( 2 5 5 1 ) ที่ พ บ ว่ า องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสาเร็จในการทาวิจัยใน องค์การ คือ สภาพและบรรยากาศของหน่วยงาน ที่เอื้อต่อการทางานวิจัย ด้านการสนับสนุนของ หน่วยงานและผู้บริหาร และตัวแปรที่มีอิทธิพ ล ทางตรงต่ อ การท าวิ จั ย คื อ ตั ว แปรลั ก ษณะ สภาพแวดล้ อม นอกจากนี้ แจ่ มแจ้ง อรัญวงศ์ และ ผลประเสริฐ (2557) พบว่าหนึ่งในกลยุทธ์ การพัฒ นาสมรรถนะด้านการวิจั ยของอาจารย์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ คื อ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ความสามารถในการบริหารจัดการงานวิจัย การ พัฒนาระบบกลไกสนับสนุนการวิจัย ซึ่งจากข้อ ค้น พบจากการศึก ษาข้า งต้ น ดั งกล่ าว สามารถ สรุ ป ว่ า สถานการณ์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ องค์การเป็นตัวแปรภายนอกตัวบุคคลที่มีผลต่อ สมรรถนะวิจัยทั้งสิ้น นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มตัวแปรลักษณะ ส่วนบุคคลหรือตัวแปรส่วนบุคคล มีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องหรือส่งผลกับพฤติกรรมการทางานวิจัย และสมรรถนะวิ จั ย และส่ ง ผลต่ อ ผลิ ต ภาพของ งานวิ จั ย ด้ ว ยเช่ น กั น อาทิ เ ช่ น การศึ ก ษาของ รื่นแสง, เป็นบุญ และ สโมสรสุข (2555) พบว่า เพศทาให้บุคคลมีความสนใจในการทางานวิจัย ต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย ส าคั ญ หิ ต ะโกวิ ท ย์ (2551) พบว่า ตัวแปรลักษณะส่วนบุคคลมีอิทธิพลรวม สู งสุ ดที่ส่ งผลต่อแรงจู งใจในการทาวิจัย และมี อิทธิพลทางตรงต่อการทาวิจัยและพบว่า ตัวแปร ลักษณะส่วนบุคคลมีอิทธิพลทางอ้อมสูงสุดโดย ส่งผ่านตัว แปรเจตคติต่อการทาวิจัย หิรัญวงศ์ ,

ฉัตราภรณ์ และ ตรั ยมงคลกูล (2548) พบว่ า ปัจจัยด้านบุคคลมีอิทธิพลทางตรงต่อผลิตภาพ การวิจัยและมีอิทธิพลทางอ้อมต่อผลิตภาพการ วิจัย 4 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1 ส่งผ่านเจตคติ ต่ อ การวิ จั ย เส้ น ทางที่ 2 ส่ ง ผ่ า นการรั บ รู้ ความสามารถของตนในการวิจัย เส้ นทางที่ 3 ส่งผ่านปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการวิจัย และ เส้นทางที่ 4 ส่งผ่านเจตคติต่อการวิจัยและการ รับรู้ความสามารถของตนในการวิจัย นอกจากนี้ พบว่าปัจจัยเจตคติต่อการวิจัยมีอิทธิพลทางตรง ต่อผลิ ตภาพการวิจัยและมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ ผลิตภาพการวิจัยผ่านการรับรู้ความสามารถของ ตนในการวิจัย ส่วนการรับรู้ความสามารถของ ตนในการวิจัยมีอิทธิพลทางตรงต่อผลิตภาพการ วิจัยเท่านั้น มงคลเทพ (2553) พบว่าปัจจัยที่มี อิทธิพลรวมต่อผลิตภาพการวิจัยสูงสุด คือ ปัจจัย ส่ ว นบุ ค คลภายนอก รองลงมาคื อ ปั จ จั ย ส่ ว น บุคคลภายใน ปัจจัยสมรรถนะวิจัย และปัจ จัย สภาพแวดล้อมในการวิจัย ตามลาดับ ซึ่งโดยสรุป แล้วจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าลักษณะ ส่ ว นบุคคลหรื อตัว แปรส่ ว นบุคคลรวมไปถึ งตั ว แปรลักษณะทางจิตล้วนเป็นตัวแปรระดับบุคคล ที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อสมรรถนะวิจัย และพฤติกรรมการทาวิจัย ทั้ ง นี้ มี ข้ อ สั ง เกตว่ า นอกจากตั ว แปร 2 กลุ่ ม ข้ า งต้ น ที่ มั ก พบว่ า มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ สมรรถนะวิจัยหรือพฤติกรรมการทางานวิจัยแล้ว กลั บมีตัว แปรอีกชุดหนึ่งที่ พบว่าเป็ นอีกตัวแปร สาคัญที่โดดเด่นและเป็นข้อค้นพบจากการศึกษา หลายงาน ซึ่งตัว แปรนี้บางครั้งจะถูกเก็บข้อมูล และถู ก จั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม ตั ว แปรสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมบ้าง แต่ในบางครั้งก็ถูกเก็บข้อมูลใน กลุ่ ม ของลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คล นั่ น คื อ ตั ว แปร ลั ก ษณะงานที่ ป ฏิ บั ติ หรื อ ภาระงาน เ ช่ น


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

การศึกษาของ รื่นแสง, เป็นบุญ และ สโมสรสุข (2555) พบว่าลักษณะของงานประจาที่สามารถ น ามาพัฒ นาเป็ น งานวิจั ย ได้มี ความสั มพั น ธ์กั บ การทางานวิจัย โดยบุคคลจะทาวิจัยที่สามารถมา ต่ อ ยอดเพื่ อ พั ฒ นางานของตนเองในองค์ ก าร และบุ ค ลากรที่ ส นใจในการท างานวิ จั ย นั้ น มี เป้ า หมายเพื่ อ น าไปปรั บ ระดั บ ขั้ น ช านาญการ ชานาญการพิเศษ นอกจากนี้ อินต๊ะวงศ์ (2553) ยังพบว่า ปัจจัยที่ดีที่สุดที่ส่งผลต่อสมรรถนะครู สายผู้สอน คือ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ อุดม (2556) พบว่ า ปั จ จั ย เชิ ง สาเหตุ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การ พัฒนาสมรรถนะของครูมากที่สุด คือ การพัฒนา ตนเอง รองลงไป คือ ประสบการณ์ในการสอน และภาระงาน จั น น้ าใส และ พรธาดาวิ ท ย์ (2557) พบว่าปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถนะพบว่า ภาระงาน/เวลางานมีความสัมพัน ธ์ทางบวกกับ สมรรถนะวิจัย หิรัญวงศ์, ฉัตราภรณ์ และ ตรัย มงคลกูล (2548) พบว่าปั จ จัย ด้านบุ คคลได้แก่ ภาระงาน ประสบการณ์ ใ นการท างาน และ ประสบการณ์ในการทาวิจั ย มีอิทธิพลทางตรง มากที่ สุ ด ต่ อ ผลิ ต ภาพงานวิ จั ย ซึ่ ง ข้ อ ค้ น พบ ดั ง กล่ า ว แสดงให้ เ ห็ น ว่ า สมรรถนะวิ จั ย มี ความสั มพั น ธ์ใ กล้ ชิ ดกับ มิติข องงาน ภาระงาน และบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ จึงทาให้ ตัวแปรกลุ่มนี้น่าจะเป็นตัวแปรอีกกลุ่มที่สามารถ ใช้อธิบายสมรรถนะวิ จัยได้เป็นอย่างดี และเป็น ตัวแปรที่ควรให้ความสาคัญอย่างยิ่งในการศึกษา สมรรถนะวิจัย ข้อเสนอแนะในการศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของ สมรรถนะวิจัยในบริบทของสถาบันอุดมศึกษา จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยเชิงเหตุ และผลในการอธิบายสมรรถนะวิจัยในประเทศ ไทยที่ผ่านมา หากพิจารณาถึงแนวคิดและทฤษฎี ที่ใช้ในการอธิบายจะพบว่า โดยส่วนใหญ่ใช้ฐาน

99 แนวคิดของสมรรถนะเป็น แนวคิดหลั ก แต่ไม่มี การน าทฤษฎี อ งค์ ก ารหรื อ แนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมขององค์ ก ารหรื อ ทฤษฎี ด้ า นการ บริหารจัดการมาอธิบาย ในขณะที่สมรรถนะวิจัย คือ การแสดงพฤติกรรมของการทางานด้านหนึ่ง ของบุคลากรสายวิช าการในสถาบัน อุดมศึกษา จึงจัดว่าเป็นพฤติกรรมการทางานลักษณะหนึ่งที่ สะท้อนทั้งพฤติกรรมระดับ ตัว บุคคลที่ส ามารถ สะท้อนได้ถึงพฤติกรรมขององค์การในภาพรวม ดังนั้นการที่จะอธิบายหรือทาความเข้าใจได้อย่าง ลึ ก ซึ้ ง ควรจะน าเอาทฤษฎี ที่ ส ามารถอธิ บ าย พฤติกรรมการทางานได้ทั้งระดับตัว บุคคลและ ระดับองค์การมาใช้ในการศึกษา เพื่อให้สามารถ อธิบายปั จจั ยเชิงเหตุและผลได้อย่างลึ กซึ้งและ บู ร ณาการ และสามารถสะท้อนภาพให้ เห็ น ได้ เป็นองค์รวม ซึ่งหนึ่งในทฤษฎีที่มีมาเนิ่นนานและ มั ก ถู ก กล่ า วอ้ า งถึ ง คื อ ทฤษฎี ผ ลลั พ ธ์ ข อง องค์การ (Contingency Theory of Action and Job Performance (Boyatzis. 1982) เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี ที่ พ ย า ย า ม อ ธิ บ า ย ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปั จ จั ย ทั้ ง ตั ว บุ ค คล ซึ่ ง ประกอบด้ว ย ค่านิ ย ม เจตคติ ปั จ จั ย องค์การ สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรวมไปถึงปัจจัยภาระงาน หน้ าที่และบทบาทที่จะส่ งผลต่อพฤติกรรมการ ทางานที่ ดี ที่ สุ ด แต่ก ลั บ ยั ง ไม่ เคยมี นั ก วิช าการ หรือนักวิจัยในประเทศไทยท่านใดที่ได้นาแนวคิด หรื อ ทฤษฎี ดั ง กล่ า วมาทดสอบทฤษฎี ห รื อ ทาการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง ในบริ บ ทของพฤติ ก รรมการท างานวิ จั ย ใน สถาบันอุดมศึกษา ทฤษฎีสถานการณ์ของการกระทาและผล การปฏิบัติงาน เชื่อว่าผลการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Maximum performance) จะเกิดขึ้นเมื่อ ศักยภาพ (capability) หรือความสามารถพิเศษ


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

(talent) ของบุคคลมีความสอดคล้องตรงกับ ความต้องการในอุปสงค์ของงาน (job demand)

และสภาพแวดล้ อ มองค์ ก าร (organizational environment) ที่เหมาะสม ดังภาพประกอบ

ภาพที่ 1 ความสอดคล้ อ งกั น ดี ม ากตามทฤษฎี ส ถานการณ์ ข องการกระท าและผลการปฏิ บั ติ ง าน (Boyatzis,1982)


101

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

โดยศักยภาพหรือความสามารถพิเศษของ บุ คคล สามารถอธิ บ ายด้ว ย ค่ านิ ย ม วิสั ย ทัศ น์ และปรั ช ญาส่ ว นบุ ค คล ความรู้ สมรรถนะ ขั้นตอนการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ประโยชน์และวิถีการใช้ชีวิตของแต่ละบุคคลและ ความสนใจ ส่ ว นอุ ป สงค์ ข องงาน อธิ บ ายด้ ว ย ความรับผิดชอบตามบทบาทและภารกิจที่ต้องลง มื อ ป ฏิ บั ติ แล ะลั ก ษณ ะส ถ านก ารณ์ แล ะ สภาพแวดล้ อ มขององค์ ก าร อธิ บ ายด้ ว ย วัฒ นธรรม สังคม การเมือง ศาสนา และความ เป็นอยู่ทั่วไปขององค์การ ความสอดคล้ อ งกั น ดี ม ากหรื อ ความ เหมาะสมที่สุด (best fit) คือ ผลการปฏิบัติงานที่ ดีที่สุด (maximum performance) ซึ่งการ ก ร ะ ตุ้ น แ ล ะ ค ว า ม ผู ก พั น เ ท่ า กั บ พื้ น ที่ ที่ องค์ประกอบทั้งสามเหลื่อมซ้อนทับกันพอดี ซึ่ง แผนภาพเชิ ง ทฤษฎี ที่ โ บแยทซี ส์ ( Boyatzis, 1982) ได้เสนอไว้นี้ เป็นการบูร ณาการกันอย่าง เป็นระบบ ซึ่งแสดงด้วยวงกลมสามวงที่ซ้อนตัด กั น โดยวงกลมปั จ เจกบุ ค คลที่ มี ส มรรถนะ แรงจู ง ใจและคุ ณ ลั ก ษณะของบุ ค คลจะเป็ น ศูนย์กลาง และการตัดกันของวงกลมของตัวแปร ในมิติอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง แสดงถึงการได้รับ อิทธิพลหรือมีอิทธิพลต่อวงกลมวงอื่น ซึ่งจากการ นาเสนอทฤษฎีดังกล่าวนี้ จะเห็ นได้ว่าสามารถ นามาใช้ในการศึกษาในงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับ การหาปัจจัยเชิงเหตุของสมรรถนะวิจัยในบริบท ต่ า งๆ ได้ ดี เนื่ อ งจากเป็ น ทฤษฎี ที่ อ ธิ บ ายได้ ครอบคลุ ม ทั้ ง ปั จ จั ย ลั ก ษณะบุ ค คล ลั ก ษณะ องค์การที่ส่ งผลต่อผลการทางาน แต่ทฤษฎีนี้ มี ความแตกต่างที่น่าสนใจจากทฤษฎีอื่นๆ ที่เคยใช้ ในการศึกษา และมีความสอดคล้องกับ แนวคิด ของสมรรถนะอย่างใกล้ชิด โดยมีการอธิบายใน มิติของอุปสงค์ของงานและบทบาทหน้าที่ความ

รั บ ผิ ด ชอบเพิ่ ม เติ ม ขึ้ น มา ซึ่ ง ในแนวคิ ด ของ สมรรถนะก็ กล่ า วถึ งสมรรถนะในต าแหน่ ง งาน และเป็นที่มาของการกาหนดบทบาท หน้าที่และ ความรับผิดชอบของตัวบุคคลด้วย จึงน่าจะเป็น ทฤษฎีที่ควรน าไปทดสอบและทาการศึกษากับ ข้อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ กั บ ผู้ ที่ ส นใจศึ ก ษาในหั ว ข้ อ ลักษณะเดียวกันเช่นนี้ต่อไปได้ในอนาคต สรุป

แนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ สมรรถนะเป็ น แนวคิ ด ของพฤติ ก รรมการท างานที่ ดี ก ว่ า มาตรฐานปกติและเน้ น ความเป็ น เลิ ศ ที่มั กถู ก น ามาใช้ อ ธิ บ ายพฤติก รรมของการท างานของ องค์ ก ารต่ า งๆอย่ า งกว้ า งขวาง แต่ เ นื่ อ งจาก สมรรถนะนั้ น มี อ งค์ ป ระกอบที่ เ กิ ด จากปั จ จั ย ภายในตั ว บุ ค คล จากแรงผลั ก ดั น เบื้ อ งลึ ก อุปนิสัย ภาพลักษณ์ภายใน และถูกล้อมรอบด้วย ปัจจัยสถานการณ์และองค์การ รวมไปถึง ภาระ และหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและบทบาทที่ แสดงออกต่อสังคมที่แต่ละบุคคลจะมีการรับรู้ได้ แตกต่างกัน จึงทาให้บุคคลมีการแสดงพฤติกรรม ท างานหรื อ แสดงสมรรถนะแตกต่ า งกั น ด้ ว ย ดั ง นั้ น การให้ ค วามส าคั ญ กั บ คุ ณ ลั ก ษณะเชิ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม โ ด ย เ ลื อ ก ห รื อ พั ฒ น า ค น ใ ห้ มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์หรือเหมาะสมจะทาให้ องค์การสามารถพัฒนายั่งยืนกว่าการเน้นเพีย ง ผลการปฏิ บั ติ ง านเชิ ง ปริ ม าณเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ทั้งนี้ การพัฒ นาบุ คคลให้ มีส มรรถนะตรงตามที่ องค์ ก ารต้ อ งการและสร้ า งสถานการณ์ เ พื่ อ ให้ บุ ค คลนั้ น มี โ อกาสสร้ า งผลงานหรื อ แสดง สมรรถนะได้ เ ต็ ม ที่ ล้ ว นส่ ง ผลให้ บุ ค คลแสดง พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ท า ง า น ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เช่ น เดี ย วกั น ดั ง นั้ น หากองค์ ก ารใดสามารถ ศึกษาหรือค้นหาคาตอบที่ชัดเจนว่าปัจจัยใดบ้าง


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ เป็ น ปั จ จั ย เชิ ง สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดสมรรถนะการทางาน ที่สู งได้ ก็จ ะทาให้องค์การนั้น สามารถวางแผน งาน หรื อ สามารถก าหนดแผนในการพั ฒ นา บุ ค คลากรในหน่ ว ย งานให้ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี

สมรรถนะสู งและสร้างสถานการณ์ที่เหมาะสม เพื่อให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการทางานหรือแสดง สมรรถนะในการทางานที่สูงสุด อันจะนาไปสู่การ ก้าวไปสู่ความสาเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่ วางไว้ได้ในที่สุด

References Benjawan Intawong. (2553). Factors Affecting The Functional Competency of Teacher Affiliated with Phetchabun Primary Educational Service Area Office2. Independent Study M.Ed. in Educational Research and Development, Naresuan University. Boyatzis, R.E. (1982), The Competent Manager: A Model for Effective Performance, John Wiley & Sons, New York, NY. Prahalad, C.K. and Grey Hamel. (1990). The Core Competence of Corporation. [Online]. Available from : http://www.cuhkemba.net/Nova_ Management /07/0712/07 1223,%2030/The_Core_Competence_of_the_Corporation.pdf. (November, 16 2017). McClelland, David C. (1973). “Testing for Competence Rather Than for “Intelligence”. American Psychologist. Harvard University. [Online]. Available from: http://www.lichaoping.com/wp-content/ap7301001.pdf. (July, 13 2017). ----------. (1993). “Intelligence Is Not the Best Predict of Job Performance”. SAGE Journals. 2(1). [Online]. Available from : http://journals.sagepub.com/ doi/abs/10.1111/ 1467-8721.ep10770447. (July, 13 2017). Dilokkomol, Siwaporn. (2533). Needs for research competency development of english teachers in secondary schools, educational region one. Graduate School. Chulalongkorn University. Government Social Research Profession. (2017). Guidance The Government Social Research Competency Framework. [Online]. Available from : https://www.gov.uk/guidance/the-government-social-research-competencyframework. (November, 16 2017). Hay Group. (2005). Competency modeling for selection and development. [Online]. Available from : http://www.haygroup.com/en/our-consulting/manage-yourpeople/competencies-and-capabilities. (November, 16 2017).


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

103

Hitakowit, Sirirat. (2551). Factors of Success in Conducting Research on the Part of Ramkhamhaeng University Personnel. Graduate School. Ramkhamhaeng University. Hiranyawong, Apinya, Chatraporn, Suphap and Traimongkolgool, Pongpan. (2548). Causal factors of research productivity of vocational educators in higher education. [Online]. Avail able from: http://kukr.lib.ku.ac.th/proceedings /KUCON/search _detail/result /9432. (August, 25 2560). Horpiboonsook, Suksan. (n.d.). Qualities of the researcher Lecture notes Department of Civil Engineering School of Engineering Suranaree University of Technology.[Online],Available:fat.surin.rmuti.ac.th/sub/qa/UserFiles/File/researc h%20(1).ppt. (January 16, 2017). Indrakamphaeng, Angsinan and Thongpakdee, Tassana. (2548). “Development of competency models for academic staff in public and private universities”. Journal of Behavioral Science Research Institute. Srinakharinwirot University. 11(1), 51-72. Jamjang, Khandao, Aranyawong, Rekha and Pholprasert, Pajaree. (2557). “Strategies for the development of Rajabhat University teachers' research competencies in the lower northern region”. Journal of education. Naresuan University. 15(2), 86-96. Jannamsai, Wilaiwan. (2557). “Factors Related to Classroom Research Competency of Teacher’s at the Secondary Educational Service Area Office 30”. Journal of Technical Education Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 2(2),1-11. Jindarat, Tharin. (2548). Problems of classroom action research conducted by social studies teachers in Lampang municipal schools. Independent Study. Chaiang Mai University. Krutka, Chomsupak. (2558). “The opinions of international competencies of Ramkhamhaeng University lecturers for ASEAN socio-cultural community readiness”. Ramkhamhaeng Research Journal. 18(1),1-20. Katechanarat, Mallika. (2558). “Desirable Competency Education of Teachers in Kasetsart University”. Journal of Education. 43(1), 112-127. Meelua, Praparat and Suwannaketnikom, Suwatthana. (2540). Investigate the essential competencies and factor components of researcher teachers. Graduate School. Chulalongkorn University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Mirtrani, A., Dalziel M., & Fitt D., (1992). Competency based human resource management: Value driven strategies for recruitment, development, and reward. London: McGraw-Hill. Mongkolthep, Wiroj, Panawong Chamnan, Prachanban, Pakorn and Lincharear, Aumportn. (2558). “Causal Relationship Model of the Factors Effecting Research Productivity of Instructors of Rajamangala University of Technology Lanna”. Journal of community Development Research (Humanities and Social Sciences). 8(2),122-134. National Research Council of Thailand. (2549). Code of Ethics Researchers Guidelines Ethics researcher. Institute of East Asian Studies, Thammasat University (IEAS) [Online], Available : http://www.asia.tu.ac.th/research/researcher_ethics.htm. (July, 13 2017). Parry, Scott. (1998). “Just What is a Competency (And Why Should You Care?)”. Training. (New York). 35(6), 58-64. Poonsuk, Udom. (2556). An Analysis of Causal Factors and Impacts on the Competency Development of Teachers in Southern Region withrespect to Professional Standards Criteria involving the Process of Learning Management Development. Thaksin University (Songkhla). Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. (2558). “Competency Assessment System” Project Steering Committee Determination of personnel competency. [Online], Available : http://competency.rmutp.ac.th. (January 16, 2017) ----------. (2558). "Competency Assessment". The Development of Competency System for Human Resource Development. [Online]. Available from : http://competency.rmutp.ac.th. (July, 13 2017). Ruensaeng, Noppawan, Samosornsuk, Worawan and Penboon, Benjamas. (2555). Predicting Factor on Conducting Research of Back Office Employees at Thammasat University Hospital. Thammasat University Hospital. Sanan-uamengthaisong, Adul. (2555). “The factors that affected the classroom research competency of Office of The Basic Education Commission teachers using hierarchical linear model analysis”. Journal of Management and Development. Mahasarakham University. 4(3), 119-140. Schoonover Associates. (2005). Competency FAQ's : (December 29, 2005 [Online], Available : from www.schoonover.com/competency_faqs.htm#1). (January 16, 2017) Shermon, G. (2004). Competencies based HRM: A strategic resource for teacher in South Australia. New Delhi: Tata McGraw-Hill.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

105

Srisamanuwat, Somboon. (2553). Performance development of personnel on Competency-based HRD. The study in Master of Science Program Information Technology College. Mahanakorn University of Technology. Sinpho, Supannee. (2546). Factors affecting classroom action research competency of primary school teachers by using hierarchical linear model analysis. Graduate School. Chulalongkorn University. Tantisriyanurak, Thitiporn and others (2548). The study of factors affecting on researching of personnel King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok. Research. King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok. Vitae Realising the Potential of Researchers.(2010). Researcher Development Statement (RDS). [Online]. Available from : https://www.vitae.ac.uk/vitae-publications/rdfrelated/researcher-development-statement-rds-vitae.pdf. (July, 13 2017).


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุน ความสามารถการทากาไร และจุดคุ้มทุนระหว่างการผลิต

ผักปลอดสารพิษกับการผลิตผักโดยใช้สารเคมี : กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี

จิระพันธ์ ชูจันทร์1 เฮียง บัวไหล2 จุฑาทิพย์ สองเมือง3

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้วิเคราะห์และเปรียบเทียบโครงสร้ างต้นทุน ความสามารถการทากาไร และจุดคุ้มทุน ของการผลิตผักปลอดสารพิษและการผลิตผักโดยใช้สารเคมี ระหว่างเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ที่ ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืช (Good Agricultural Practice: GAP) จานวน 16 ราย และเกษตรกรที่ผลิตผักโดยใช้สารเคมีจานวน 16 ราย เครื่องมือที่ใช้ใน การรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า ต้นทุนการผลิตผักปลอดสารพิษสูงกว่าต้นทุนการ ผลิตผักโดยใช้สารเคมีทั้งในส่วนของต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ รายได้จากการขายผักปลอดสารพิษ เท่ากับ 82,647.80 บาทต่อปีต่อไร่ กาไรของการผลิตผักปลอดสารพิษ เท่ากับ 8,324.78 บาทต่อปีต่อไร่ คิดเป็นอัตรากาไรร้อยละ 10.07 ของรายได้จากการขาย ซึ่งต่ากว่ากาไรของการผลิตผักโดยใช้สารเคมีที่มี กาไร เท่ากับ 44,687.66 บาทต่อปีต่อไร่ คิดเป็นอัตรากาไรสุทธิร้อยละ 37.85 ของรายได้จากการขาย และ จุดคุ้มทุนของการผลิตผักปลอดสารพิษ เท่ากับ 1,980.70 กิโลกรัมต่อปี ซึ่งสูงกว่าจุดคุ้มทุนของการผลิตผัก โดยใช้สารเคมีที่เท่ากับ 1,514.50 กิโลกรัมต่อปี คาสาคัญ : ต้นทุน ความสามารถการทากาไร จุดคุ้มทุน การผลิตผัก

1

อาจารย์,หลักสูตรบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู 1 ต.คลองหก อ.ธัญบุรี ปทุมธานี 12110 e-mail: jirapan@rmutt.ac.th 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์(บัญชี) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู 1 ต.คลองหก อ.ธัญบุรี ปทุมธานี 12110 e-mail: hhiang@rmutt.ac.th 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์(บัญชี) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู 1 ต.คลองหก อ.ธัญบุรี ปทุมธานี 12110 e-mail: chutatip_s@rmutt.ac.th


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

107

A Comparative Analysis of Cost Structure , Profitability, and Break-Event

Point between Pesticide-Free and Pesticide Vegetable Production : A Case Study of Pathumthani Province Jirapan Choojan1 Hiang Bualai2 Chutatip Songmuang 3

Abstract

The purpose of this study was to analyze and compare cost structure, profitability, and break-event point of pesticide-free and pesticide vegetables production. The samples were the two groups of farmers who produced Chinese kale in Pathumthani province. The first group consisted of 16 pesticide-free vegetable producers who were certified by Good Agricultural Practice (GAP) standard, while the second comprised 16 pesticide vegetable producers. The data were collected using an interview schedule. It was revealed that the costs of pesticide-free vegetable production were higher than those of pesticide vegetable production, both variable cost and fixed cost. The pesticidefree vegetable sale revenue was equal to 82,647.80 per rai per year whereas that of the pesticide vegetable sale revenue was equal to 118,064.52 per rai per year. Profit of pesticide-free vegetable production was equal to 8,324.78 baht per rai, while that of pesticide vegetable production was 44,687.66 baht per rai. Break-event point of pesticidefree vegetable production was 1,980.70 baht per rai per year, which higher than that of the pesticide vegetable production of 1,514.50 baht per rai per year. Keyword: Cost, profitability, break-event point, vegetable production

1

Lecturer (Accounting) Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Rangsit-Nakornnayok Road, Thanyaburi , Pathumthani Province 12110 e-mail: Jirapan@rmutt.ac.th 2 Professor (Accounting) Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Rangsit-Nakornnayok Road, Thanyaburi , Pathuumthani Province 12110 e-mail: Hhiang@rmutt.ac.th 3 Professor (Accounting) Rajamagala University of Technology Thanyaburi, 39 Rangsit-Nakornnayok Road, Thanyaburi , Pathumthani Province 12110 e-mail: Chutatip_s@rmutt.ac.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทนา

ระบบการเกษตรแบบดั้งเดิม มุ่งผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการของครอบครัว และชุมชน ด้วยการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น และพึ่งพิงธรรมชาติ เป็ น ห ลั ก โด ย ช นิ ด ข อง พื ช แ ล ะสั ต ว์ มี ค ว า ม หลากหลาย ขณะที่ระบบการเกษตรตามแบบแผน ปัจจุบัน (Conventional Agriculture) หรือ เกษตรกรรมกระแสหลั ก (Mainstream Agriculture) หรื อ เกษตรเคมี (Chemical Agriculture) เป็นรูปแบบการเกษตรที่ได้รับการ พัฒนาขึ้นในประเทศตะวันตก เมื่อประมาณทศวรรษ ที่ 1870-1890 โดยเริ่มต้นที่ประเทศอังกฤษ แล้ว ค่อยขยายไปสู่ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปและอเมริกา ส่ ว นการขยายตั ว สู่ ป ระเทศโลกที่ ส ามซึ่ ง รวมถึ ง ประเทศไทยด้วยนั้น เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงทศวรรษที่ 1960 อันเป็นช่วงที่เกิดปฏิวัติเขียว (Green Revolution) ขึ้นในประเทศโลกที่สาม ภายใต้การสนับสนุนของประเทศอุตสาหกรรม และ บรรษัทข้ามชาติทางการเกษตร (สีเหนี่ยง, 2556) ซึ่ง มีพื้นฐานความเชื่อที่ถือว่าตนอยู่เหนือธรรมชาติและ สามารถควบคุมธรรมชาติได้ เน้นระบบเกษตรกรรม พื ช เดี่ ย ว (Monoculture) ที่ ต้ อ งอาศั ย ปั จ จั ย การ ผลิ ตภายนอกแทบทุกอย่างในการผลิต ต้องนาเข้า และใช้ วั ต ถุ ดิ บ จากภายนอก เช่ น เมล็ ด พั น ธุ์ ปุ๋ ย สารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น ราคาวัตถุดิบขึ้นอยู่ กับกลไกทางตลาดโดยเกษตรกรไม่สามารถกาหนด ราคาได้ เกษตรกรจะนารายได้จากการขายมาใช้วัด ความส าเร็ จ จากการประกอบอาชี พ ขณะที่ ต้ อ ง รับภาระต่าง ๆ มากขึ้น มีการใช้ปุ๋ย ยาฆ่าแมลงเพิ่ม มากขึ้นเพื่อให้ได้ผลผลิตตรงตามความต้องการของ พ่อค้าคนกลาง จากปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตร ของประเทศไทยที่มี แ นวโน้ม สู งขึ้ น เรื่ อ ย ๆ จากปี

2548 ประมาณ 10,000 ล้ า นบาท จนกลายเป็ น เกื อ บ 20,000 ล้ า นบาทในปี 2555 นั้ น (ส านั ก ควบคุมโรคพืชและวัสดุทางการเกษตร, 2556) ส่งผล กระทบในด้านต่าง ๆ มากมายทั้งทางด้านสุ ขภาพ ของเกษตรกรและผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ด้านเศรษฐกิจของประเทศ (มูลนิธิชีววิถี, 2558) จากการตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาความไม่ ปลอดภั ย ของสิ น ค้ า เกษตรจากการปนเปื้ อ นของ สารเคมีและจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และ การมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ รวมถึ ง นโยบายภาครั ฐ ที่ จ ะผลั ก ดั น อุ ต สาหกรรม อาหารไทยสู่การเป็นครัวของโลก (Kitchen of the World) โดยเป็นผู้ผลิตอาหารปลอดภัยแก่ผู้บริโภค ทั้งในและต่างประเทศนั้น จึงเกิดแนวคิดการผลิต สิ น ค้ า เกษตรปลอดภั ย โดยมุ่ ง หมายให้ ผู้ บ ริ โ ภค ปลอดภัยจากอันตรายต่าง ๆ ที่อาจพบได้ในสิ นค้า เกษตรและอาหารด้วยการควบคุมป้องกันอันตราย จากฟาร์ ม ถึ ง โต๊ ะ อาหารตั้ ง แต่ ก ระบวนการปลู ก เพาะเลี้ยง ผลิต แปรรูป จาหน่าย ไปจนถึงปรุงผสม จัดเตรียมขึ้นโต๊ะจะต้องเป็นสินค้าที่บริโภคได้อย่าง ปลอดภัย โดยกาหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติทาง การเกษตรที่ดี (Good Agriculture Practice: GAP) ซึ่งถือเป็นแนวทางในการทาการเกษตรเพื่อให้ได้ผล ผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพดี มี ค วามปลอดภั ย ตรงตาม มาตรฐานที่กาหนดไว้ มูลค่าผลผลิตสูงคุ้มค่ากับการ ลงทุน โดยกระบวนการผลิตซึ่งเป็นหลักการปฏิบัติ เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงของอันตรายที่เกิดขึ้น ระหว่างการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการจัดการ หลั งการเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผ ลิตผลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และเหมาะสมต่อการบริโภค ทาให้เกิด ความปลอดภัยต่อเกษตรกร มีการใช้ทรัพยากรให้ เกิ ด ป ระโย ชน์ สู งสุ ด ไม่ ท า ให้ เ กิ ด มล พิ ษ ต่ อ สิ่งแวดล้อม ผู้บริโภคสามารถมั่นใจในการบริโภค ซึ่ง จากการที่เกษตรกรสามารถลดการใช้เคมี หรือใช้


วารสารเกษมบั ที่ 19 พิเศษ มีนาคม วารสารเกษมบั ณฑิณตฑิปีตทปี​ี่ 19 ฉบัฉบั บพิบเศษ มีนาคม 25612561

สารเคมีตามความจาเป็นส่งผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ได้ ม าก ต้ น ทุ น การผลิ ต ลดลงได้ ม ากกว่ า 20% (นฤทุม, 2550) ผู้ วิจัยจึงต้ องการทราบและเปรียบเทีย บ ข้อมูลโครงสร้างต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผัก ปลอดสารพิษตามมาตรฐานการผลิตผั กตามระบบ GAP และการผลิตผักที่ใช้สารเคมี โดยทั่วไป เพื่อ นาไปสู่การบริหารต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนใน อนาคต อันอาจทาให้มีผู้ผลิตผักปลอดสารพิษจานวน มากขึ้น เป็นผลให้ผู้ บริโภคสามารถเข้าถึงผั กปลอด สารพิษได้ง่ายขึ้น และทาให้เกิดความยั่งยืนทาง การเกษตรต่อไป ในการศึกษานี้ ผู้ วิจัยเลือกศึกษาในพื้นที่ จัง หวัด ปทุม ธานี เนื่อ งจากจัง หวั ดปทุ มธานีเ ป็ น ที่ พื้ น ที่ เ หมาะแก่ ก ารท าการเกษตร ประกอบด้ ว ย บางส่ ว นของอาเภอเมือง บางส่ ว นของอาเภอสาม โคก อาเภอธัญบุรี อาเภอคลองหลวง อาเภอลาลูกกา และอาเภอหนองเสือ (กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและ การสื่อสาร สานักงานจังหวัดปทุมธานี, 2558) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ วิ เ คราะห์ โ ครงสร้ า งต้ น ทุ น ความสามารถการทากาไร และจุ ดคุ้ มทุ นของการ ผลิตผักปลอดสารพิษและการผลิตผักโดยใช้สารเคมี 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บโครงสร้ า งต้ น ทุ น ความสามารถการทากาไร และจุ ดคุ้ มทุ นของการ ผลิตผักปลอดสารพิษกับการผลิตผักโดยใช้สารเคมี ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบโครงสร้างต้นทุน ความสามารถ การท าก าไร และจุ ดคุ้ ม ทุ นของการผลิ ต ผั ก ปลอด สารพิ ษ และการผลิ ต ผั ก โดยใช้ ส ารเคมี เพื่ อ เป็ น แนวทางสาหรับเกษตรกรในการบริหารต้นทุนอันจะ ส่งผลต่อการเพิ่มความสามารถในการทากาไร 2. สถาบั น การศึ ก ษาน าองค์ ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ ต้ น ทุ น และผลตอบแทนของการผลิ ต ผั ก

109 ปลอดสารพิ ษ กั บ การผลิ ต ผั ก โดยใช้ ส ารเคมี เป็ น กรณีศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ข้อจากัดของการวิจัย งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์โครงสร้าง ต้นทุน ความสามารถการทากาไร และจุดคุ้มทุนของ การผลิ ต ผั ก ปลอดสารพิ ษ กั บ การผลิ ต ผั ก โดยใช้ สารเคมีของผู้ปลูกผักคะน้าในจังหวัดปทุมธานี มี ข้อจากัด 2 ข้อ ดังนี้ 1. มีความแตกต่างกันในเรื่องจานวนพื้นที่ ที่ใช้ในการเพาะปลูกและวิธีการทาการเกษตรของ ผู้ ผ ลิ ต ผั ก โดยผู้ ผ ลิ ต ผั ก บางรายท าการผลิ ต ผั ก เชิงเดี่ยวโดยทาการผลิตผักคะน้าเพียงอย่างเดียวทา ให้สามารถควบคุมดูแลการผลิตได้ง่าย ในขณะที่บาง รายผลิตผักแบบผสมผสานกันหลายชนิด ซึ่งมีผลต่อ ความยากง่ า ยในการควบคุ ม ดู แ ลการผลิ ต และ โครงสร้างต้นทุน นอกจากนี้หากผู้ผลิตผักตระกูล เดียวกันปลูกผักในพื้นที่ห่างจากแปลงผั กแปลงอื่น จะทาให้ง่ายต่อการระวังดูแลศัตรูพืช ส่งผลต่อความ แตกต่างในโครงสร้างต้นทุนเช่นกัน 2. ผู้ผลิตผักส่วนใหญ่ไม่ได้จัดเก็บหลักฐาน การปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ราคา ขายผลผลิตในแต่ละฤดูกาล ราคาทุนของเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัตถุดิบทางการเกษตร หลักฐานการ จ่ า ยค่ า แรงงาน รวมถึ ง การคิ ด ค่ า แรงงานให้ กั บ เกษตรกรผู้ ผ ลิ ตเอง เป็น ต้น ดั งนั้ นในการคานวณ ข้อมูล ประกอบการวิจัยจึ งต้องอาศัยการประมาณ การจากผู้ผลิตผัก การสารวจจากสภาพการผลิตจริง รวมถึงอ้างอิงข้อมูลจากราคาตลาดประกอบ ซึ่งอาจ มีความแตกต่างจากข้อมูลจริงบ้างอันเกิดจากเหตุผล ในข้อ 1 ที่ ว่า หากผู้ ผ ลิ ตซื้ อปั จจั ยทางการผลิ ต ใน ปริมาณมาก ก็จะมีอานาจต่อรองกับผู้จาหน่ายปัจจัย การผลิตสามารถซื้อได้ในราคาที่ต่ากว่าราคาตลาด เป็นต้น


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กรอบแนวความคิดในการวิจัย ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ จ ะ วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ เปรียบเทียบโครงสร้างต้นทุน ความสามารถการทา กรอบแนวความคิดในการวิจัย เป็นดังนี้ ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ตัวแบบการปลูกผัก

ต้นทุน

- ปลอดสารเคมี

รายได้

- ใช้สารเคมี

กาไร จุดคุ้มทุน

วิธีการวิจัย กลุ่ มตัว อย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ เกษตรกรที่ ท าการผลิ ต ผั ก คะน้ า ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ในรอบปี ข องการผลิ ต ผั ก 2557-2558 ตั้งแต่เดือนตุล าคม 2557 ถึ งเดือนกันยายน 2558 จานวน 32 ราย ประกอบด้วยเกษตรกรที่ทาการผลิต ผั กคะน้า ปลอดสารพิษ ในพื้ นที่จั งหวั ดปทุ มธานี ที่ ได้รับมาตรฐานการจัดการคุณภาพการปฏิบัติทาง การเกษตรที่ ดีส าหรั บพื ช (Good Agricultural Practice: GAP) ตามมาตรฐานสิ นค้าเกษตร มกษ. 9001-2556 เรื่ อ ง การปฏิ บั ติ ท างการเกษตรที่ ดี สาหรับอาหารพืช (กรมวิชาการเกษตร, 2556) จาก ฐานข้ อ มู ล เกษตรกรและสิ น ค้ า เกษตรที่ ไ ด้ รั บ การ รับรองมาตรฐานของจังหวัดปทุม ธานี จานวน 16 ราย (สานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี, 2558) และ เกษตรกรที่ท าการผลิ ตผั ก คะน้า โดยใช้ส ารเคมี ใ น พื้นที่จังหวัดปทุมธานี จานวน 16 ราย การเลื อ กกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ในการศึ ก ษา ครั้งนี้เลือกจากกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ทั้งจานวนของกลุ่มตัวอย่างและบริบททั่วไปของพื้นที่

การเพาะปลูก โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ สัมภาษณ์ ที่แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ของเกษตรกร ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนในการผลิตผัก ข้อมูลเกี่ยวกับผลตอบแทนจากการจาหน่ายผัก และ ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการผลิตผัก คณะผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ บันทึกภาพ จากนั้นนาข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความ ถู ก ต้ อ งสมบู ร ณ์ แล้ ว น ามาวิ เ คราะห์ ประมวลผล และสรุปผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป เพื่ อ วิ เ คราะห์ ค่ า สถิ ติ พื้ น ฐานที่ ใ ช้ คื อ ค่ า ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) กาไร และจุดคุ้มทุนของการผลิตผักปลอด สารพิษและการผลิตผักโดยใช้สารเคมี ของเกษตรกร ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี โดยศึกษาเฉพาะผักคะน้า เนื่ อ งจากเป็ น ผั ก ที่ ส ามารถปลู ก ได้ ต ลอดปี และ ดาเนินการเก็บข้อมูลต่อรอบการผลิตของปี 25572558 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 โดยมีวิธีการดังนี้


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

1. คานวณต้นทุนการผลิตผักปลอดสารพิษ กับการผลิตผั กโดยใช้สารเคมี แยกต้ นทุนออกเป็น ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร 2. ค านวณรายได้ จ ากการผลิ ต ผั ก ปลอด สารพิษกับการผลิตผักโดยใช้สารเคมี 3. คานวณความสามารถการทากาไร และ จุดคุ้มทุนของการผลิตผักปลอดสารพิษกับการผลิต ผักโดยใช้สารเคมี ผลการวิจัยและการอภิปรายผล จากการศึกษาพบว่าเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอด สารพิษและเกษตรกรผู้ ผ ลิตผั กโดยใช้ส ารเคมีส่ ว น ใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย เท่ากับ 51.56 ปี และ 52.69 ปี โดยมีประสบการณ์ในการผลิตผัก 22.69 ปี และ 25.94 ปี ตามลาดับ ส่วนระดับการศึกษาของ เกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ผั ก ปลอดสารพิ ษ ส่ ว นใหญ่ มี

111 การศึกษาระดับประถมศึกษา ขณะที่เกษตรกรผู้ผลิต ผั ก โดยใช้ ส ารเคมี ส่ ว นใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาระดั บ ประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจานวน เท่ า กั น จ านวนสมาชิ ก ในครั ว เรื อ นของเกษตรกร ผู้ผลิตผักปลอดสารพิษเฉลี่ย 5.50 คน มีส่วนร่วมใน การผลิตผักเป็นประจาเฉลี่ย 2.81 คน ต่อผู้ผลิตผัก แต่ ล ะราย เกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ผั ก ปลอดสารพิ ษ ที่ มี วัตถุประสงค์ปลูกไว้เพื่อขายส่วนใหญ่มีแรงจูงใจคือ ส า ม า ร ถ จ า ห น่ า ย ไ ด้ ร า ค า ดี ส่ ว น ใ น ก ร ณี มี วัตถุประสงค์ปลูกไว้เพื่อบริโภคในครัวเรือนส่วนใหญ่ มีแรงจูงใจคือ ได้บริโภคผักที่ส ะอาดและปลอดภัย และรองลงมา คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัว เรือ น ส่วนเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้ สารเคมีมีวัตถุประสงค์ ในการปลูกไว้เพื่อขายเพียงอย่างเดียว โดยส่วนใหญ่ มีแรงจูงใจ คือ สามารถจาหน่ายได้ราคาดี รองลงมา คือ ปลูกตามญาติพี่น้องหรือเพื่อนบ้าน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบต้นทุนในการผลิตผักของเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ และเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้ สารเคมี

จ า ก ต า ร า ง ที่ 1 ต้ น ทุ น ค ง ที่ ประกอบด้วย ต้นทุน 3 ชนิดได้แก่ ค่าเสื่อมราคาของ สินทรัพย์ไม่ห มุนเวียน ค่าเช่าหรือค่าใช้พื้นที่ และ ค่าแรงงานในการท าการเกษตร ซึ่งกลุ่ มเกษตรกร ผู้ผลิตผักปลอดสารพิษมีค่าเสื่อมราคาของเครื่องมือ และอุปกรณ์การเกษตรต่อปี 223,857.11 บาท เมื่อ เฉลี่ยด้วยจานวนพื้นที่สาหรับการปลูกผักคะน้ารวม

จานวน 50.3625 ไร่ จะได้ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ไม่ หมุ น เวี ย นในการผลิ ต คะน้ า ต่ อ ปี ต่ อ ไร่ เ ท่ า กั บ 4,444.92 บาท ค่ า เช่ า และค่ า ใช้ พื้ น ที่ ร วมทั้ ง สิ้ น 369,500 บาทต่อปี มีพื้นที่ในการทาการเกษตรรวม ทั้งสิ้น 240.50 ไร่ หรือเฉลี่ยได้เท่ากับ 1,536.38 บาทต่อไร่ต่อปี ค่าแรงงานในการทาการเกษตรรวม ทั้งสิ้น 7,640,881.47 บาทต่อปี หรือเฉลี่ยได้เท่ากับ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

113

31,770.82 บาทต่ อ ไร่ ต่ อ ปี รวมเป็ น ต้ น ทุ น คงที่ ทั้ ง สิ้ น 488 ไร่ ค่ า เช่ า และค่ า ใช้ พื้ น ที่ ร วมทั้ ง สิ้ น ทั้งหมด 37,752.12 บาทต่อปีต่อไร่ ส่วนต้นทุนผัน 991,200 บาทต่อปี หรือเฉลี่ยได้เท่ากับ 2,031.15 แปรในการผลิตผักคะน้าโดยเฉลี่ย 36,570.90 บาท บาทต่อไร่ต่อปี ค่าแรงงานในการทาการเกษตรรวม ต่อไร่ต่อปี โดยมีผลผลิตรวมต่อปี 216,510 กิโลกรัม ทั้งสิ้น 11,525,400 บาทต่อปี หรือเฉลี่ยได้เท่ากับ ดังนั้นต้นทุนผันแปรต่อกิโลกรัม เท่ากับ 0.17 บาท 23,617.62 บาทต่ อ ไร่ ต่ อ ปี รวมเป็ น ต้ น ทุ น คงที่ ส่วนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้สารเคมี มีค่าเสื่อม ทั้งหมด 28,200.05 บาทต่อปีต่อไร่ ส่วนต้นทุนผัน ราคาของเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ก ารเกษตรต่ อ ปี แปรในการผลิตผักคะน้าโดยเฉลี่ย 45,176.81 บาท 1,107,255.71 บาท เมื่อเฉลี่ ยด้ว ยจานวนพื้ น ที่ ต่อ ไร่ ต่อ ปี โดยมี ผ ลผลิ ต รวมต่อ ปี 2,749,500 สาหรับการปลูกผักคะน้ารวมจานวน 434 ไร่ จะได้ กิโ ลกรั ม ดั ง นั้ น ต้น ทุ น ผั น แปรต่ อ กิโ ลกรั ม เท่ า กั บ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนต่อปีต่อไร่เท่ากับ 0.02 บาท 2,551.28 บาท มี พื้ น ที่ใ นการทาการเกษตรรวม ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลตอบแทนในการผลิตผักของเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษและเกษตรกรผู้ผลิตผักโดย ใช้สารเคมี

จากตารางที่ 2 ผลตอบแทนจากการ จาหน่ายผักสามารถวัดได้จากรายได้จากการจาหน่าย ผัก และกาไรสุทธิซึ่งผลตอบแทนจากการผลิตผักของ เกษตรกรทั้งสองกลุ่ม สรุปได้คือกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ผักปลอดสารพิษมีผลผลิตจากการผลิตผักคะน้ารวม ทั้งสิ้น 216,510 กิโลกรัมต่อปี เป็นรายได้รวมทั้งสิ้น 4,162,350 บาท จากจ านวนพื้ น ที่ ใ นการปลู ก

ผักคะน้ารวมทั้งสิ้น 50.3625 ไร่ ดังนั้น มีรายได้ต่ อ ไร่ต่อปีเท่ากับ 82,647.80 บาท ราคาเฉลี่ยกิโลกรัม ละ 19.22 บาท ส่วนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้ สารเคมีมี ผ ลผลิ ตจากการผลิ ต ผั ก คะน้า รวมทั้ งสิ้ น 2,749,500 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ปี เป็ น รายได้ ร วมทั้ ง สิ้ น 51,240,000 บาท จากจ านวนพื้ น ที่ ใ นการปลู ก ผักคะน้ารวมทั้งสิ้น 434 ไร่ ดังนั้น มีรายได้ต่อไร่ต่อปี


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

เท่า กับ 118,064.52 บาท ราคาเฉลี่ ย กิโ ลกรั มละ

18.64 บาท

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบรายได้ โครงสร้างต้นทุน ความสามารถการทากาไร และจุดคุ้มทุนของเกษตรกรผู้ผลิตผัก ปลอดสารพิษและเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้สารเคมี

จากตารางที่ 3 เมื่อนาผลตอบแทนจากการจาหน่าย ผักตามตารางที่ 2 เปรียบเทียบกับต้นทุน ในการผลิต ผักตามตารางที่ 1 สามารถสรุปได้ว่า เกษตรกรผู้ผลิต ผักปลอดสารพิษ มีกาไรส่วนเกินต่อปีต่อไร่ จานวน 46,076.90 บาท และกาไรสุทธิ จานวน 8,324.78 บาท เมื่ อ น าก าไรสุ ท ธิ จ านวน 8,324.78 บาท เปรียบเทียบกับรายได้จากการขายต่อปี 82,674.80 บาท จะได้อัตรากาไรสุทธิเท่ากับ ร้อยละ 10.07 ของ รายได้ จ ากการขาย และเมื่ อ น าก าไรจากการ ดาเนิ น งาน (ซึ่ งเป็ นจ านวนเดี ย วกั น กับ ก าไรสุ ท ธิ ) จานวน 8,324.78 บาทไปเปรียบเทียบกับสินทรัพย์ ดาเนินงานทั้งหมดจานวน 3,953,415.28 บาท จะ ได้ อั ต ราผลตอบแทนเงิ น ลงทุ น (Return on Investment หรือ ROI) เท่ากับร้อยละ 0.21 ของ

สินทรัพย์ดาเนินงาน และระดับการขาย ณ จุดคุ้มทุน ของเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ คือ 1,980.70 กิโลกรัมต่อปี ส่วนเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้สารเคมีเมื่อ นารายได้มาเปรียบเทียบกับ ต้นทุนพบว่าเกษตรกร ผู้ผ ลิ ตผั กโดยใช้สารเคมี มีกาไรส่ว นเกินต่อปีต่อไร่ จ านวน 72,887.71 บาท และก าไรสุ ท ธิ จ านวน 44,687.66 บาท เมื่ อ น าก าไรสุ ท ธิ จ านวน 44,687.66 บาท เปรียบเทียบกับรายได้การขายต่อปี 118,064.52 บาท จะได้อัตรากาไรสุทธิเท่ากับ ร้อย ละ 37.85 ของรายได้จากการขาย และเมื่อนากาไร จากการดาเนินงาน (ซึ่งเป็นจานวนเดียวกันกับกาไร สุทธิ) จานวน 44,687.66 บาท ไปเปรียบเทียบกับ สินทรัพย์ดาเนินงานทั้งหมดจานวน 18,973,054.29


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บาท จะได้อัตราผลตอบแทนเงินลงทุน (Return on Investment หรือ ROI) เท่ากับร้อยละ 0.24 ของ สินทรัพย์ดาเนินงาน และระดับการขาย ณ จุดคุ้มทุน ของเกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ผั ก โดยใช้ ส ารเคมี เท่ า กั บ 1,514.50 กิโลกรัมต่อปี ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการผลิ ต ผั ก ของ เกษตรกรทั้งสองกลุ่ม สามารถสรุปได้ดังนี้ เกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ส่วนใหญ่ มีปัญหาและอุปสรรคด้านการผลิต คือ สภาพดินฟ้า อากาศไม่ เ อื้ อ อ านวย คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 29.09 รองลงมาคือ ถูกแมลงรบกวน คิดเป็นร้อยละ 23.64 ส่ ว นปั ญ หาและอุ ป สรรคด้ า นการตลาดและการ จาหน่ าย คื อ ราคามีค วามผั นผวน คิด เป็นร้ อยละ 34.62 รองลงมาคือ ผลผลิตเก็บไว้ได้ไม่นาน คิดเป็น ร้อยละ 26.92 ขณะที่ปัญหาและอุปสรรคด้านเงิน คือ ไม่มีแหล่งเงินทุน คิดเป็นร้อยละ 100.00 แต่ก็ พบได้ในผู้ผลิตผักเพียงจานวนน้อยราย นอกจากนี้ยัง มีปัญหาและอุปสรรคด้านทรัพยากรมนุษย์ คือ ขาด แคลนแรงงาน คิดเป็นร้อยละ 90.00 รองลงมาคือ ค่าแรงงานสูง คิดเป็นร้อยละ 10.00 สาหรับเกษตรกรผู้ผลิตผักโดยใช้สารเคมี ส่ ว นใหญ่ มี ปั ญ หาและอุ ป สรรคด้ า นการผลิ ต คื อ สภาพดิ น ฟ้ า อากาศไม่ เ อื้ อ อ านวย คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 26.92 รองลงมาคื อ มี วั ช พื ช มาก คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 25.00 ส่วนปัญหาและอุปสรรคด้านการตลาดและ การจาหน่าย คือ ไม่มีอานาจในการต่อรองราคา คิด เป็นร้อยละ 34.21 รองลงมาคือ ราคามีความผันผวน คิดเป็นร้อยละ 31.58 ขณะที่ปัญหาและอุปสรรค ด้ า นการเงิ น คื อ ไม่ มี แ หล่ ง เงิ น ทุ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 100.00 เช่ น เดี ย วกั น นอกจากนี้ ยั ง มี ปั ญ หาและ อุปสรรคด้านทรัพยากรมนุษย์ คือ ขาดแคลนแรงงาน คิดเป็นร้อยละ 66.67 รองลงมาคือ ค่าแรงงานสูง คิด เป็นร้อยละ 33.33 นอกจากนี้ยังมีปัญหาเกี่ยวกับไม่ พึงพอใจต่อราคาจาหน่ายผลผลิต เนื่องจากผู้ซื้อซึ่ง

115 เป็นพ่อค้าคนกลางเป็นผู้กาหนดราคาขายและไม่ได้มี การแยกประเภทของการรับซื้อผลผลิตของผักปลอด สารพิษ จากผั ก ทั่ ว ไป ท าให้ ร าคารั บ ซื้อ ผลผลิ ต ผั ก ปลอดสารพิษไม่แตกต่างจากผักทั่วไป ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ 1) รวมกลุ่ ม เกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ผั ก ปลอด สารพิ ษ ซึ่ ง จะท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ สมาชิ ก กลุ่ ม เกษตรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ดังนี้ - สามารถวางแผนการผลิ ต และการ จ าหน่ า ยร่ ว มกั น ท าให้ มี ผ ลผลิ ต ออกสู่ ต ลาดใน ช่วงเวลาที่ตลาดมีความต้องการผลผลิตสูงซึ่งจะทาให้ สามารถจาหน่ายผลผลิตได้ราคาดี และกาหนดราคา จาหน่ายผลผลิตให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน - มีอานาจต่อรองในการจัดซื้อปัจจัยการ ผลิตในจานวนครั้งละมาก ๆ ทาให้สามารถซื้อปัจจัย การผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ในราคาที่ถูกลง ทาให้ ช่วยลดต้นทุนการผลิตผันแปรได้ - สามารถใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการ เกษตรร่วมกันได้ ทาให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตคงที่ได้ 2) เพิ่ ม ช่ อ งทางการจ าหน่ า ยผลผลิ ต ผั ก ปลอดสารพิ ษ โดยมุ่ ง จ าหน่ า ยสู่ ผู้ บ ริ โ ภคที่ ใ ส่ ใ จ สุ ข ภาพโดยตรง เช่ น โรงพยาบาล โรงงาน สถานศึกษา สวนสาธารณะ เป็นต้น นอกจากนี้อาจ จาหน่ายผ่านสังคมออนไลน์ เช่น แฟนเพจ กลุ่มไลน์ เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ใ ส่ ใ จ สุขภาพ และสามารถจาหน่ายผลผลิตได้ราคาดี 3) หาลูกค้าที่มีความจาเป็นและต้องการ บริโภคผักปลอดสารพิษ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน เป็ น ต้ น เพื่ อ จ าหน่ า ยผั ก ปลอดสารพิ ษ ให้ กั บ หน่วยงานนั้น ๆ โดยตรง และจัดทาฐานข้อมูลลูกค้า ทาให้ทราบความต้องการผักแต่ละชนิด ปริมาณผักที่


Kasem Volume 19 (Spacial Edition), March 2018 2018 KasemBundit BunditJournal Journal Volume 19 Special Edition March

ต้องการในแต่ล ะช่ว งเวลา ระดับราคาที่เหมาะสม เพื่อจะได้วางแผนการผลิตให้สามารถจัดหาผักเพื่อส่ง มอบให้แก่แต่ละหน่วยงานได้เพียงพอและตรงตาม ความต้องการได้ ปัญหาและอุปสรรคด้านการตลาดและการ จาหน่า ย ที่ ว่า ราคาจ าหน่า ยผลผลิ ตผั กมีค วามผั น ผวน และราคาจาหน่ายเฉลี่ยของผักปลอดสารพิษไม่ แตกต่างจากราคาจาหน่ายเฉลี่ยของผักทั่วไปนั้น ควร มีหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนส่งเสริมผู้ผลิตผัก ปลอดสารพิ ษ โดยการจั ด แหล่ ง รั บ ซื้ อ ผั ก ปลอด สารพิ ษ แยกต่ า งหากจากผั ก ทั่ ว ไปให้ ม ากขึ้ น และ ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ผู้ผลิตผักปลอดสารพิษมี ความสามารถในการทากาไรเพิ่มขึ้น เป็นการส่งเสริม การทาการเกษตรปลอดภัยอย่างยั่งยืนและผู้บริโภค

สามารถเข้ า ถึ ง ผั ก ปลอดสารพิ ษ ได้ ง่ า ยในราคาที่ เหมาะสม ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป การศึ ก ษาครั้ ง ต่ อ ไปควรศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการผลิตและการจาหน่ายผัก ปลอดสารพิษเพื่อให้ผู้ผลิตผักปลอดสารพิษสามารถ ทาการเกษตรได้อ ย่า งยั่ งยืน และผู้ บริ โ ภคสามารถ เข้าถึงผลผลิตผักปลอดสารพิษได้อย่างทั่วถึงในราคา ที่ เ หมาะสม เช่ น การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ สร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้ผลผลิต ช่องทางการจาหน่ายผลผลิตที่ สามารถเข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โ ภคได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง เป็ น ต้ น


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

117

References Biothai Foundation. (2558). Pesticide Alert [online] http://www.biothai.net/taxonomy /term/124 (8/25/2558). Department of Agriculture. (2556).THAI AGRICULTURAL STANDARD 9001-2013 : GOOD AGRICULTURAL PRACTICES for food crop [online]., Available from: http://gap.doa.go.th/web_manual/doc/acfs/GAP_9001-2556.pdf (7/20/2559). Infromation Technology and Communication Group, Office of Pathumthani. (2558). Pathumthani Province’s data [online] http://www2.pathumthani.go.th/index. php (4/10/2558). Narutoom, Chatcharee et al. (2550). The Project of Study and Produce Model Handbook and VCD of the Vegetable Production in GAP System under the New Alternative for Agricultural Development Project: Quality Vegetable Production for Market of the Small Farmer Groups in Nakhon Pathom Province. Complete Research Report. The Thailand Research Fund (TRF). Office of Agricultural Regulation. (2556). Quantity and value of imported agricultural hazardous substances year 2548-2555 [online] http://www.oae.go.th/ewt_ news.php?nid=146 (9/7/2558). Pathumthani Agricultural Extension Office. (2558) Pathumthani farmer’s data. Seeniang, Panchit. (2556). Extension of Sustainable Agriculture. Department of Agricultural Extension and communication, Faculty of Agriculture, Kasetsart University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นจากโรงงาน อุตสาหกรรม

พวงผกา บุญโสภาคย์1 ประสาน บุญโสภาคย์2 ณปภัช นธกิจไพศาล3

บทคัดย่อ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กาหนดบทลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (5) หรือ (7) ไว้ว่าปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท แล้วแต่กรณี บทลงโทษดังกล่าวอาจไม่ เพียงพอต่อการที่จะทาให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานซึ่งส่วนมากเป็นนิติบุคคลเกิดความเกรงกลัว ไม่กล้าฝ่า ฝืนกฎหมาย จึงควรเพิ่มอัตราโทษปรับในกรณีดังกล่าวเพื่อให้เหมาะสมกับค่าของเงินในปัจจุบัน นอกจากนี้ ถ้ามีการใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยด้วย ก็จะช่วยให้การใช้บังคับกฎกระทรวงดังกล่าวมีประสิทธิผลดี ยิ่งขึ้น ควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่า ในการดาเนินคดีแก่ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 8 (5) หรือ (7) แห่งพระราชบัญญั ติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้พนักงานอัยการโจทก์มีคาขอให้ศาล พิพากษาหรือสั่งให้ใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่จาเลยตามสมควรแก่กรณี ด้วย พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 60 บัญญัติว่าในกรณีที่มีการประกาศกาหนดให้ ท้องที่ใดเป็นเขตควบคุมมลพิษ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นในท้องที่นั้นจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัด มลพิษในเขตควบคุมมลพิษนั้น อย่างไรก็ตามแผนปฏิบัติการไม่ใช่กฎหมาย ถ้าผู้ประกอบกิจการโรงงาน ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดในแผนปฏิบัติการดังกล่าว ก็ไม่มีความผิดแต่อย่างใด จึงควรแก้ไขกฎหมายให้ มีผลให้ข้อกาหนดในแผนปฏิบัติการดังกล่าวมีสภาพบังคับตามกฎหมายด้วย คาสาคัญ: มลพิษทางอากาศ ผู้ประกอบกิจการโรงงาน วิธีการเพื่อความปลอดภัย

1

รองศาสตราจารย์ประจาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 1761 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร.02-320-2777 e-mail : Puangpaka.boo@kbu.ac.th 2 ผู้อานวยการหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 1761 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร.02-320-2777 e-mail : Prasarn.boo@kbu.ac.th 3 อาจารย์ประจาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 1761 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร.02-320-2777 e-mail : Napaphat.suk@kbu.ac.th


119

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

Legal Measures to Prevent and Control Air Pollution Emitted from

Industrial Factories

Puangpaka Boonsobhak1 Prasarn Boonsobhak2 Napaphat Nathakitphaisal3

Abstract The Factory Act, B.E. 2535 designates penalties for any person violating or failing to comply with the ministerial regulations prescribed pursuant to Section 8 (5) or (7) of the Factory Act, B.E. 2535 to be fined not exceeding two hundred thousand Baht or not exceeding twenty thousand Baht as the case may be. However, such penalties may not be adequate to intimidate factory operators, most of which are legal entities, to cease violating the law. Therefore it is deem expedient to improve rate of fine for such offences to make it appropriate for the present value of money. In addition, there should be measures for safety which shall increase the effectiveness of the ministerial regulations. Moreover, there should be an amended provision that the public prosecutors can raise an action in court against the violators of this act under Section 8 (5) or (7) and ask the court to issue the judgment or order for the aforesaid measures. The Enhancement and Conservation of National Environmental Quality Act, B.E. 2535, Section 60 states that in case of the National Environment Board designates any locality as a pollution control area, the local official shall set up an action plan for the reduction and eradication of pollution in such area. However, the action plan is not a law. If a factory operator does nothing about what designated in the action plan, he shall not be guilty of any offence. It is recommended that it should become law for legal enforcement. Keywords: Air pollution, factory operators, Measures of safety

1

Associate Professor in Master of Laws Program, Faculty of Law, Kasem Bundit University. 1761 Pattanakarn Road, Suanluang, Bangkok 10250. Tel.02-320-2777 e-mail : Puangpaka.boo@kbu.ac.th 2 Director of Master of Laws Program, Faculty of Law, Kasem Bundit University. 1761 Pattanakarn Road, Suanluang, Bangkok 10250. Tel.02-320-2777 e-mail : Prasarn.boo@kbu.ac.th 3 Lecturer in Master of Laws Program, Faculty of Law, Kasem Bundit University. 1761 Pattanakarn Road, Suanluang, Bangkok 10250. Tel.02-320-2777 e-mail : Napaphat.suk@kbu.ac.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทนา

ในปั จ จุ บั น โรงงานในประเทศไทยเพิ่ ม จ านวนขึ้ น มาก ถึ ง แม้ ว่ า การประกอบกิ จ การ อุตสาหกรรมมีคุณประโยชน์อย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจ ของประเทศและท าให้ ก ารด ารงชี พ ของ ประชาชนมี ค วามสะดวกสบายมากขึ้ น แต่ ก็ ก่อ ให้ เกิ ด สิ่ ง สกปรกและมลพิษ ต่า ง ๆ ขึ้ นด้ ว ย เช่ น ขยะ มลพิ ษ ทางน้ า มลพิ ษ ทางอากาศ มลพิษทางเสียง มลพิษทางความร้อน มลพิษทาง กัม มัน ตภาพรั ง สี เป็ น ต้ น การส่ งเสริ มกิ จการ อุตสาหกรรมในประเทศไทยจึงต้องคานึงถึงการ ป้องกันและควบคุมสิ่งสกปรกและมลพิษต่าง ๆ เหล่านี้ ด้ว ย ซึ่งต้องดาเนิน การโดยใช้มาตรการ หลายอย่างประกอบกัน มาตรการทางกฎหมาย เป็ น มาตรการอย่ างหนึ่ งที่ ใช้ใ นการดาเนิน การ เรื่องนี้ ในบทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะมาตรการ ทางกฎหมายในการป้ องกัน และควบคุมมลพิษ ทางอากาศที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโรงงานอุ ต สาหกรรม เท่านั้น หลักกฎหมายต่างประเทศเกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุ ม มลพิ ษ ทางอากาศที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก โรงงานอุตสาหกรรม 1. กฎหมายของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1955 สภาคองเกรสได้ออก กฎหมายควบคุมมลพิษทางอากาศ ค.ศ. 1955 (Air Pollution Control Act of 1955 (Public Law 84 – 159)) กาหนดให้รัฐบาลกลางจัดหา เงินสาหรับใช้ศึกษาค้นคว้าและให้ความช่วยเหลือ ทางเทคนิคเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางอากาศ แก่ ม ลรั ฐ ต่ า ง ๆ ส่ ว นนโยบายในการควบคุ ม มลพิษทางอากาศยังคงเป็นของมลรัฐและท้องถิ่น ต่าง ๆ (Sproull, 1972: 101)

ในปี ค.ศ. 1963 สภาคองเกรสได้ออก กฎหมายอากาศสะอาด (Clean Air Act (Public Law 88 – 206)) กาหนดให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข การศึกษาและสวัสดิการมี อ านาจเสนอแนะหลั ก เกณฑ์ ใ นการควบคุ ม คุณภาพของอากาศแก่หน่วยงานควบคุมมลพิษ ทางอากาศในมลรั ฐ และท้ อ งถิ่ น ต่ า ง ๆ และ ก าหนดให้ รั ฐ บาลกลางขยายโครงการศึ ก ษา ค้นคว้าและพัฒนาการควบคุมมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมลพิษที่เกิดจากยานพาหนะที่ ใช้เครื่ องยนต์และมลพิษที่เกิดจากการเผาไหม้ ของถ่านหินและน้ามันเชื้อเพลิง ในโรงงานต่าง ๆ (Zuzik, 1971: 67) และต่อมาในปี ค.ศ. 1990 สภาคองเกรสได้ แก้ ไขเพิ่ มเติม กฎหมายฉบั บ นี้ เพิ่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น - กาหนดให้มีองค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency: EPA) และกาหนดให้ EPA แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นชุด หนึ่งเรียกว่า National Ambient Air Quality Standard: NAAQS) มีหน้าที่ปกป้องคุ้มครอง สุ ขภาพและสวัส ดิภ าพของประชาชนและออก ข้อก าหนดเกี่ย วกั บการปล่ อ ยสารมลพิ ษที่ เป็ น อันตรายร้ายแรง - ให้ EPA กาหนดมาตรฐานคุณภาพของ อากาศในสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานเพื่อสุขภาพของ ประชาชน - ให้ EPA กาหนดมาตรฐานระดับชาติ เกี่ ย วกั บ การปล่ อ ยสารมลพิ ษ ทางอากาศของ แหล่งกาหนดมลพิษทางอากาศ ซึ่งรวมถึงรถยนต์ โรงงานที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งจั ก รในการผลิ ต และแหล่ ง อุตสาหกรรมอื่น ๆ (McCarthy et.al., 2014) 2. กฎหมายของสหราชอาณาจักร


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

สหราชอาณาจักรมีกฎหมายซึ่งใช้ในการ ป้ องกัน และควบคุมมลพิ ษทางอากาศที่เ กิด ขึ้ น จากโรงงานอุตสาหกรรมหลายฉบับ เช่น 2.1 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารพิ ทั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ค.ศ. 1990 (Environmental Protection Act 1990) กฎหมายฉบับนี้ในส่วน ว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม มลพิ ษ แบ่ ง วิ ธี ก ารควบคุ ม มลพิ ษเป็ นสองแบบ คือ วิ ธีการควบคุมแบบ A เป็ น การควบคุ ม มลพิ ษ ที่ เ กิ ด จากการด าเนิ น กิจการขนาดใหญ่ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมี ในการผลิต การผลิตโลหะ การทาเหมืองแร่ การ กลั่นน้ามัน เครื่องให้กาเนิดพลังงาน หรือการทิ้ง ของเสี ย ซึ่ ง ด าเนิ น การควบคุ ม โดยองค์ ก าร สิ่งแวดล้อม (Environment Agency) ส่วน วิธีการควบคุมอย่างอื่นนอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ให้ถือว่าเป็นวิธีการควบคุมแบบ B ให้ดาเนินการ โ ด ย ห น่ ว ย ง า น ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ่ น (local authority) ทั้งนี้ การกอง การเก็บ การยักย้าย ถ่ายเทหรือการดาเนินการใด ๆเกี่ยวกับของเสียที่ ถูกควบคุมจะกระทามิได้ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต การจั ด การของเสี ย จากองค์ ก ารสิ่ ง แวดล้ อ ม (Department for Environment, Food and Rural Affairs, 2011) 2.2 พระราชบัญญัติอากาศสะอาด ค.ศ. 1993 (Clean Air Act 1993) กฎหมายฉบับนี้ ถูกบัญญัติขึ้นเพื่อปรับปรุงกฎหมายฉบับเดิม คือ พระราชบัญญัติอากาศสะอาด ฉบับปี ค.ศ. 1956 และฉบับปี ค.ศ. 1968 และกฎหมายฉบับอื่น ๆ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ขึ้ น มี สาระสาคัญดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยควันดา และการห้ามปล่อยควันดาออกจากปล่องระบาย ควั น ของโรงงานอุ ต สาหกรรมหรื อ สถานที่ ประกอบกิจการค้า

121 ส่วนที่ 2 เป็นบทบัญญั ติเกี่ยวกับเตา หลอมโลหะ ซึ่งกาหนดว่าเตาหลอมโลหะที่ติดตั้ง ใหม่ต้องเป็นเตาชนิดไร้ควัน และกาหนดข้อจากัด การปล่อยขี้ผงและฝุ่นละอองจากเตาหลอมโลหะ การห้ามมิให้ตั้งโรงงานซึ่งใช้เตาหลอมโลหะที่มิได้ ทาขึ้นในประเทศ การตรวจการปล่ อยควัน และ การกาหนดความสูงของปล่องระบายควันเพื่อให้ แน่ใจในประสิทธิภาพและความเพียงพอของการ กระจายการปล่อยควัน ส่วนที่ 3 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับการ กาหนดพื้นที่ควบคุมการปล่อยควัน และการห้าม การปล่อยควันในพื้นที่ควบคุมการปล่อยควัน ส่ ว นที่ 4 เป็ น บทบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ย วิธีดาเนินการควบคุมมลพิษทางอากาศบางชนิด โดยก าหนดกฎเกณฑ์ เ กี่ ย วกั บ เชื้ อ เพลิ ง ของ เครื่ อ งยนต์ สั ด ส่ ว นของก ามะถั น ในน้ ามั น เชื้อเพลิง สาหรับเตาหลอมโลหะหรือเครื่องยนต์ การเผาสายไฟฟ้าหรือสายโทรศัพท์ ส่วนที่ 5 เป็นบทบัญญัติกาหนดให้มีการ เผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศผ่าน การวิ จั ย และการตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย วิ ธี ด าเนิ น การเพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ข่ า วสาร การแจ้ ง ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ มลพิ ษ ทางอากาศ และการ อุทธรณ์คาสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษทาง อากาศ (Department for Environment, Food and Rural Affairs, 2011) 3. กฎหมายของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ในปี ค.ศ. 1999 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ได้ บัญญัติกฎหมายอากาศสะอาด (Clean Air Act 1999) กฎหมายฉบั บ นี้ เ ป็ น รั ฐ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง สาธารณรัฐ ฉบับ ที่ 8749 มีส าระส าคัญ บาง ประการดังนี้ 3.1 รัฐมีนโยบายป้องกันและเสริ มสร้าง สิ ท ธิ ของประชาชนในการสร้ า งสมดุ ล เกี่ย วกั บ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ให้กลมกลืน กับธรรมชาติ 3.2 รัฐยอมรับหลักการที่ว่า “ผู้ก่อให้เกิด มลพิษต้องเป็นผู้จ่าย” (Polluters must pay) 3.3 รัฐมีนโยบายกระตุ้นให้มีการร่วมมือ กั น ระหว่ า งพล เมื อ งกั บ ผู้ ป ระกอบกิ จ การ อุตสาหกรรมในการออกกฎบังคับตนเอง (self – regulation) โดยการใช้ ก ฎบนพื้ น ฐานของ การตลาด 3.4 รั ฐมีนโยบายพื้นฐานซึ่งเน้นการ ป้องกันมลพิษมากกว่าการควบคุมและการจัดทา โครงการต่าง ๆ เพื่อจัดการมลพิษทางอากาศ 3.5 รั ฐรั บ รองและคุ้ มครองสิ ทธิของ พลเมืองเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ เช่น - สิทธิที่จะหายใจโดยอากาศสะอาด - สิทธิที่จะได้รับประโยชน์สาธารณะและ ความพึ ง พอใจจากทรั พ ยากรธรรมชาติ ต าม หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนของรัฐ - สิ ทธิที่จ ะได้เข้าร่ ว มวางแผน กาหนด สนั บสนุน และตรวจสอบนโยบายของรัฐในการ วางแผนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม - สิทธิที่จะนาคดีขึ้นสู่ศาลหรือองค์กรกึ่ง ตุลาการ (quasi – judicial bodies) ในกรณีมี ผู้ฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม - สิ ทธิ ที่จ ะกาหนดให้ มีส ภาพบัง คับ แก่ บุ ค คลซึ่ ง กระท าการฝ่ า ฝื น กฎหมายเกี่ ย วกั บ สิ่งแวดล้อม - สิทธิที่จะนาคดีขึ้นฟ้องร้องต่อศาลเพื่อ เรียกค่าสินไหมทดแทนความเสียหายจากผู้ที่ทา ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของ พลเมือง 3.6 กฎหมายฉบับนี้กาหนดมาตรการ ควบคุ มมลพิษ ทางอากาศในขั้น ตอนต่ า ง ๆ ไว้ เช่น

- ภายใน 6 เดือ นนับ แต่วั น ที่ก ฎหมาย ฉบั บ นี้ มี ผ ลใช้ บั ง คั บ ให้ ก รมสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติจัดทากรอบการดาเนินการ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพอากาศแบบบู ร ณาการ และ แต่งตั้งคณะทางานซึ่งมีนักวิชาการ ตัวแทนจาก องค์กรภาคเอกชนและผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ซึ่ งได้รับ แต่งตั้งจากภาคเอกชนเข้าร่วมเป็ นคณะทางาน ด้วย - ภายใน 6 เดือนหลังจากการกาหนด กรอบการด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพอากาศ แบบบู ร ณาการ ให้ ก รมสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติโดยการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชนออกข้อกาหนดและดาเนินการเกี่ยวกับ แผนปฏิ บั ติ ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพอากาศตาม แนวทางที่ ส อดคล้ อ งกั บ กรอบการด าเนิ น การ ปรับปรุงคุณภาพอากาศแบบบูรณาการ - ใ ห้ ก ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ทรัพยากรธรรมชาติมีอานาจออกใบอนุญาตให้ ปล่อยสารมลพิษให้แก่แหล่งกาเนิดมลพิษที่ตั้งอยู่ กั บ ที่ ซึ่ ง ได้ แ ก่ อาคารหรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งใด ๆ ที่ ปล่อยหรืออาจปล่อยสารมลพิษต่าง ๆ เข้ามาใน บรรยากาศ ใบอนุญาตดังกล่าวอาจมีข้อจากัดใน การปล่ อ ยสารมลพิ ษ เพื่ อ รั ก ษามาตรฐาน คุณภาพของอากาศในสิ่งแวดล้อมด้วย -กรมสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ มีอานาจกาหนดและเก็บค่าธรรมเนียมการปล่อย มลพิษทางอากาศเข้ามาในสิ่งแวดล้อมได้ - กิจการอุตสาหกรรมใดติดตั้งอุ ปกรณ์ การกาจัดมลพิษหรือซ่อมแซมอุปกรณ์ดังกล่าวให้ กลั บ คื น สภาพดี เ หมื อ นเดิ ม จะได้ รั บ สิ ท ธิ ต าม มาตรการจูงใจทางภาษีบางประการ เช่น การให้ เครดิตภาษีได้อย่างไม่จากัด การให้หักลดหย่ อน เงินได้พึงประเมินได้มากขึ้น เป็นต้น


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

- ในกรณีแหล่งกาเนิดมลพิษที่ตั้งอยู่กับที่ (เช่ น โรงงานอุ ต สาหกรรม) ปล่ อ ยมลพิ ษ ทาง อากาศเกินมาตรฐานที่กาหนดไว้โดยรัฐบัญญัตินี้ หรือกฎหรือข้อบังคับใด ๆ ที่ออกตามรัฐบัญญัตินี้ กรมสิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ โ ดย คาแนะนาของคณะกรรมการวินิจฉัยกรณีมลพิษ (Pollution Adjudication Board : PAB) มี อานาจลงโทษปรับเจ้าของหรือผู้ประกอบกิจการ ณ แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นทุกวัน วันละไม่เกินหนึ่ง แสนเปโซ จนกว่าจะได้แก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง ตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนดไว้ - นอกจากอานาจในการลงโทษปรับแล้ว กรมสิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ โ ดย คาแนะนาของคณะกรรมการวินิจฉัยกรณีมลพิษ (PAB) ยังมีอานาจสั่งปิดการดาเนินกิจการหรือสั่ง ให้ แหล่ ง กาเนิ ด มลพิษ นั้ น หยุ ด การพัฒ นา การ ก่ อ ส ร้ า ง ห รื อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ใ ด ๆ ข อ ง แหล่ งกาเนิ ดมลพิษนั้ น ไว้ชั่ว คราวจนกว่ามีการ จัดทาระบบรักษาความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม สาหรับเรื่องนั้นเรียบร้อยแล้ว (Chan Robles Virtual Law Library, 2014) กฎหมายไทยเกี่ยวกับ การป้องกันและควบคุม มลพิ ษ ทางอากาศที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโรงงาน อุตสาหกรรม ประเทศไทยมี ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ การ ป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศหลายฉบับ คื อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ โ ร ง ง า น พ . ศ . 2535 พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (Royal Thai Government Gazette, 1992: 109, 44: 62 – 81)

123 พระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็ นกฎหมายว่า ด้วยเรื่องโรงงานโดยเฉพาะ ทั้งในเรื่องการจัดตั้ง โรงงาน การควบคุมดูแลและการกากั บดูแลการ ประกอบกิ จ การโรงงาน ตลอดจนการป้ อ งกั น และควบคุ ม มลพิ ษ ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการ ประกอบกิจการโรงงาน ถือได้ว่าพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายเฉพาะสาหรับ ใช้บังคับในเรื่องการป้องกันและควบคุมมลพิษ ทางอากาศที่เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรม พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษา คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 (Royal Thai Government Gazette, 1992: 109, 37: 1 - 43) พระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็ นกฎหมายว่า ด้ ว ยการส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล้ อ มให้ มี คุณภาพสูงขึ้นและรักษาคุณภาพดังกล่าวให้ยั่งยืน ตลอดไป ถือได้ว่ากฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมาย ทั่วไปในเรื่องสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามในกรณีที่ คณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ป ระกาศ ก าหนดให้ ท้ อ งที่ ใ ดเป็ น เขตควบคุ ม มลพิ ษ พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กาหนดให้เจ้า พนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่นั้น จัดทาแผนปฏิบัติ การเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ นั้น เสนอต่ อ ผู้ ว่ าราชการจั งหวั ด เพื่อ รวมไว้ ใ น แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร เ พื่ อ ก า ร จั ด ก า ร คุ ณ ภ า พ สิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ จั ง หวั ด ในกรณี เ ช่ น นี้ ผู้ ประกอบกิจ การโรงงานในท้ องที่ นั้ น นอกจาก ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน พ.ศ. 2535 รวมทั้งกฎกระทรวงและประกาศกระทรวง ฉบั บ ต่าง ๆ ที่ออกตามพระราชบั ญญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 แล้ว ยังต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดใน แผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ลดและขจั ด มลพิ ษ ในเขต ควบคุมมลพิษที่ออกตามพระราชบัญญัติส่งเสริม


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 ด้วย ดังนั้น พระราชบั ญญัติส่ งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 จึงเป็ น กฎหมายอีกฉบั บ หนึ่ งที่ใช้บั งคับในเรื่อง การป้ อ งกั น และควบคุ ม มลพิ ษ ทางอากาศที่ เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรม แต่ใช้บังคับ เฉพาะในกรณีที่มีการประกาศกาหนดให้ท้องที่ที่ โรงงานตั้งอยู่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (Royal Thai Government Gazette, 1992: 109, 38: 27 – 52) พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ เ ป็ น กฎหมายที่ พั ฒ นาขึ้ น จากพระราชบั ญ ญั ติ ส าธารณสุ ข พุทธศักราช 2484 และพระราชบัญญัติควบคุม การใช้ อุ จ จาระเป็ น ปุ๋ ย พุ ท ธศั ก ราช 2480 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เป็น กฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม ดู แ ลและรั ก ษา อนามัยสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปทุกด้านเพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีของประชาชน มิใช่กฎหมายสาหรับใช้ใน เรื่องการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศที่ เกิดขึ้นจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ ดังนั้ น จึ ง สรุ ป ได้ว่ ากฎหมายไทยที่ ใ ช้ บั ง คั บ ในการป้ อ งกั น และควบคุ ม มลพิ ษ ทาง อากาศที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโรงงานอุ ต สาหกรรมมี 2 ฉบั บ ฉบั บ ที่ เ ป็ น กฎหมายหลั ก ในเรื่ อ งนี้ คื อ พระราชบั ญญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 รวมทั้ง กฎกระทรวงและประกาศกระทรวงฉบับต่าง ๆ ที่ รั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวงอุต สาหกรรมออกมา เ พื่ อ ก า ห น ด ร า ย ล ะ เ อี ย ด ต่ า ง ๆ ต า ม ที่ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้อานาจไว้ กฎหมายอี ก ฉบั บ หนึ่ ง คื อ พระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 เฉพาะส่วนที่ว่าด้วยการประกาศเขต

ควบคุ ม มลพิ ษ และแผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่อ ลดและ ขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน พ.ศ. 2535 รวมทั้ ง กฎกระทรวงและประกาศกระทรวงที่ ออกมาเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และรายละเอียด ต่าง ๆ ตามที่พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้อานาจไว้ ส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุม ม ล พิ ษ ท า ง อ า ก า ศ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก โ ร ง ง า น อุตสาหกรรมมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1) การแบ่งจาพวกของโรงงาน รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง อุตสาหกรรมโดยอาศัยอานาจตามมาตรา 7 แห่ง พระราชบั ญญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 ได้ออก กฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2544) แบ่งโรงงานออกเป็น 3 จาพวก คือ โรงงานจาพวกที่ 1 เป็นโรงงานขนาด เล็ก ใช้เครื่องจักรที่มีกาลังรวมไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานจาพวกนี้ไม่ ก่อให้ เ กิดความเดือ ดร้อนราคาญแก่ประชาชน และไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ หรื อ สิ่ ง ใด ๆ ที่ มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบกิจการ โรงงานสามารถตั้งและประกอบกิจ การโรงงาน จาพวกที่ 1นี้ได้ทันทีตามความประสงค์ของเขา โดยไม่ต้องขออนุญาตและไม่ต้องแจ้งต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ โรงงานจาพวกที่ 2 เป็นโรงงานขนาด กลาง ใช้เครื่องจักรที่มีกาลังรวมเกิน 20 แรงม้า แต่ไม่เกิน 50 แรงม้า หรือมีคนงานเกิน 20 คน แต่ไม่เกิน 50 คน โรงงานจาพวกนี้สันนิษฐานได้ ว่ า ไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเดื อ ดร้ อ นร าคาญแก่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประชาชน และไม่ก่อให้เกิดมลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม การตั้ ง โรงงาน จาพวกที่ 2 นี้ ไม่ต้องขออนุญาตต่อพนั กงาน เจ้าหน้าที่ แต่เมื่อจะเริ่มประกอบกิจการ ต้องแจ้ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน โรงงานจาพวกที่ 3 เป็นโรงงานขนาด ใหญ่ ใช้เครื่องจักรที่มีกาลังรวมเกิน 50 แรงม้า หรือมีคนงานเกิน 50 คน โรงงานจาพวกนี้อาจ ก่อให้ เ กิดความเดือ ดร้ อนร าคาญแก่ป ระชาชน มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การตั้งและการประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 นี้จะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับใบอนุญาตประกอบ กิ จ การโรงงานแล้ ว และเมื่ อ จะเริ่ ม ประกอบ กิจ การโรงงาน ต้ อ งแจ้ ง ให้ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน การแบ่งโรงงานออกเป็น 3 จาพวก ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ การส่ ง เสริ ม การ ประกอบกิจการโรงงานและการควบคุมดูแลการ ประกอบกิจการโรงงานของโรงงานแต่ละจาพวก 2) การกาหนดมาตรฐานและวิธีการ ควบคุมการปล่อยของเสียหรือมลพิษ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม โดยอาศัย อ านาจตามมาตรา 8 (5) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน พ.ศ. 2535 ได้ อ อก กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2539) กาหนด มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน และใน ส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมมลพิษทาง อากาศที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโรงงานอุ ต สาหกรรม รั ฐ มนตรี ว่ าการกระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ อ อก ประกาศกระทรวงอุ ต สาหกรรมหลายฉบั บ

125 กาหนดเรื่ อ งเกี่ ย วกับ การควบคุ มและดูแ ลการ ประกอบกิจการโรงงาน เช่น 1) โรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือหรือ เครื่ อ งอุ ป กรณ์ พิ เ ศษแบบอั ต โนมั ติ ส าหรั บ ตรวจสอบคุ ณ ภาพอากาศจากปล่ อ งควั น ของ โรงงาน 2) กาหนดค่าปริมาณของเขม่ า ควันและสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก โรงงานโดยให้ตรวจวัดค่าปริมาณของฝุ่นละออง และสารต่ า ง ๆ ตามวิ ธี ที่ อ งค์ ก ารพิ ทั ก ษ์ สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Environmental Protection Agency: EPA) กาหนดไว้ห รื อวิ ธี ตามมาตรฐานอื่ น ที่ เทียบเท่า และให้ตรวจวัดจากการเผาไหม้และ คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่ สภาวะแห้ง ฯลฯ 3) การก าหนดข้ อ มู ล ที่ จ าเป็ น เกี่ ย วกั บ การประกอบกิ จ การโรงงานที่ ผู้ ประกอบกิ จ การโรงงานต้ อ งแจ้ ง ให้ พนั ก งาน เจ้าหน้าที่ทราบ รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง อุตสาหกรรมโดยอาศัยอานาจตามมาตรา 8 (7) แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้ออก กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) กาหนดให้ (1) โรงงานที่มีผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม ตามที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา (2) โรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสี และ (3) โรงงานที่มีการผลิต การเก็บหรือการใช้ วัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ต้องรายงานข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นเกี่ยวกับการ ประกอบกิ จ การโรงงานตามที่ ก าหนดใน กฎกระทรวงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ในการนี้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ด้ อ อ ก ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง อุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทารายงานชนิดและ ปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2550 กาหนดให้โรงงานที่มีมลพิษ ทางน้าและ มลพิ ษ ทางอากาศต้ อ งจั ด ท ารายงานชนิ ด และ ปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน ตาม ประเภทหรื อ ชนิ ด ของโรงงานที่ ก รมโรงงาน อุตสาหกรรมกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา 4) สภาพบังคับ พระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน พ.ศ. 2535 กาหนดสภาพบังคับของกฎกระทรวงและ ประกาศกระทรวงดังกล่าวไว้ดังต่อไปนี้ 4.1) มาตรา 45 ผู้ประกอบกิจการ โรงงานผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกตาม มาตรา 8 (5) แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานและวิธีการ ควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากการ ประกอบกิ จ การโรงงาน) หรื อ ประกาศของ รั ฐ มนตรี ที่ ออกตามกฎกระทรวงดั งกล่ า ว ต้อ ง ระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท 4.2) มาตรา 46 ผู้ประกอบกิจการ โรงงานผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกตาม มาตรา 8 (7) แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (กฎกระทรวงกาหนดข้ อ มูล ที่จ าเป็ น เกี่ยวกับการประกอบกิจการโรงงานที่ผู้ประกอบ กิ จ การโรงงานต้ อ งแจ้ ง ให้ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ทราบ) หรื อ ประกาศของรั ฐ มนตรี ที่ อ อกตาม กฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เป็น กฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริมและรักษาคุณภาพ ของสิ่งแวดล้อมโดยทั่วไป รวมทั้งการป้องกันและ ควบคุมมลพิษที่เกิดขึ้นจากแหล่งกาเนิดมลพิษ ต่ า ง ๆ ด้ ว ย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ก ร ณี ที่ คณะกรรมการสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ ป ระกาศ ก าหนดให้ ท้ อ งที่ ใ ดเป็ น เขตควบคุ ม มลพิ ษ พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 60 วรรคหนึ่ง กาหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่ง ท้องที่นั้นจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัด มลพิ ษ ในเขตควบคุ ม มลพิ ษ นั้ น เสนอต่ อ ผู้ ว่ า ราชการจังหวัดเพื่อรวมไว้ในแผนปฏิบัติการเพื่อ การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ด้วย ในกรณีเช่นนี้ ผู้ประกอบกิจการโรงงานใน ท้ อ ง ที่ นั้ น น อ ก จ า ก ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม พระราชบั ญญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 รวมทั้ง กฎกระทรวงและประกาศกระทรวงฉบับต่าง ๆ ที่ ออกตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แล้ว ยังต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในแผนปฏิบัติการ เพื่ อ ลดและขจั ด มลพิ ษ ในเขตควบคุ ม มลพิ ษ ที่ ออกตามพระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ด้วย สรุปผลการศึกษา 1) จากการวิ เ คราะห์ บ ทบั ญ ญั ติ ใ น พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะเห็นได้ว่า 1.1) บทบัญญัติ ในพระราชบัญญั ติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ในส่ ว นว่ า ด้ ว ยการแบ่ ง จาพวกของโรงงานนั้นได้แบ่งจาพวกของโรงงาน ไว้อย่างชัดเจนและเหมาะสมแก่การส่งเสริมการ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประกอบกิจการโรงงานและการควบคุมดูแลการ ประกอบกิจการโรงงานตามความเหมาะสมกับ โรงงานแต่ละจาพวก ถือได้ว่าเป็นบทกฎหมายที่ เหมาะสมและถูกต้องดีแล้ว 1.2) บทบั ญญัติ ในพระราชบัญญั ติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ในส่ ว นว่าด้ว ยการกาหนด มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย หรื อ มลพิ ษ และการก าหนดข้ อ มู ล ที่ จ าเป็ น เกี่ยวกับการประกอบกิจการโรงงานที่ผู้ประกอบ กิ จ การโรงงานต้ อ งแจ้ ง ให้ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ทราบ ได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานและวิธีการต่าง ๆ ไว้ โดยใช้วิธี ตามมาตรฐานที่อ งค์การพิทัก ษ์ สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Environmental Protection Agency : EPA) กาหนดไว้ห รื อวิ ธี ตามมาตรฐานอื่ น ที่ เทียบเท่า ถือได้ว่าบทบัญญัติต่าง ๆ เหล่านี้ได้ ถูกบัญญัติไว้ดีแล้วเช่นเดียวกัน 1.3) บทบัญญัติในพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ในส่ว นว่าด้วยสภาพบังคับ ของกฎหมายในกรณีผู้ ป ระกอบกิจการโรงงาน ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออก ตามมาตรา 8 (5) หรือ (7) แห่งพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 นั้น พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 45 และมาตรา 46 กาหนด โทษไว้ ว่า ปรั บ ไม่ เกิ นสองแสนบาทหรือ ปรั บไม่ เกินสองหมื่นบาท แล้วแต่กรณี อาจไม่เพียงพอ ต่ อ การที่ จ ะท าให้ ผู้ ป ระกอบกิ จ การโรงงานซึ่ ง ส่วนมากเป็นนิติบุคคลเกิดความเกรงกลัว ไม่กล้า ฝ่าฝืนกฎหมาย เพราะนิติบุคคลมักจะมีทุนทรัพย์ มาก การถูกปรับเพียงสองหมื่นบาทหรือสองแสน บาท มี ผ ลกระทบสถานะทางการเงิ น ของผู้ ประกอบกิ จ การโรงงานซึ่ ง เป็ น นิ ติ บุ ค คลเพี ย ง เล็กน้อย จึงควรพิจารณาเพิ่มอัตราโทษปรับใน

127 กรณีดังกล่าวเพื่อให้ เหมาะสมกับค่าของเงินใน ปัจจุบัน นอกจากนี้ ถ้ า กฎหมายก าหนดให้ ใ ช้ บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามกฎกระทรวงดังกล่าวด้วย ก็จะช่วยให้ การใช้บังคับกฎกระทรวงดังกล่าวมีประสิทธิผลดี ยิ่งขึ้น วิธีการเพื่อความปลอดภัยที่อาจนามาใช้ บังคับแก่ผู้ประกอบกิจการโรงงานที่เป็นนิติบุคคล ได้ คือ เรียกประกันทัณฑ์บน และห้ามประกอบ อาชีพบางอย่าง (ในกรณีนี้ คือ ห้ามนิติบุคคลนั้น ประกอบกิจการโรงงานตามระยะเวลาที่กาหนด ไม่เกินห้าปี) อย่างไรก็ตามองค์กรที่มีอานาจสั่งให้ใช้ วิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่บุคคลใด ๆ ได้ คือ ศาล ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งค านึ ง ถึ ง หลั ก เกณฑ์ ใ น กฎหมายเกี่ยวกับการที่ศาลจะมีคาพิพากษาหรือ ค าสั่ ง ซึ่ ง ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความ อาญา มาตรา 192 บัญญัติไว้ว่า ห้ามมิให้ศาล พิพากษาหรือสั่งเกินคาขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง หลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วนี้ มี ก รณี ย กเว้ น ให้ ศ าล พิพากษาหรือสั่งเกินคาขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง ได้บ้างอย่างจากัดเพียง 4 กรณี ตามปกติศาลจะ มีค าพิ พ ากษาหรือ ค าสั่ ง ให้ ใ ช้ วิธี ก ารเพื่ อ ความ ปลอดภัยแก่จาเลยต่อเมื่อโจทก์ (พนักงานอัยการ หรือราษฎรผู้เสียหาย แล้วแต่กรณี) บรรยายใน ค าฟ้ อ งถึ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น เหตุ ส มควรให้ ใ ช้ วิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่จาเลย และในคาขอ ท้ายคาฟ้อง โจทก์ขอให้ศาลมีคาสั่งให้ใช้วิธีการ เพื่อความปลอดภัยแก่จาเลยด้วย ดัง นั้ น การที่จ ะให้ มี ก ารใช้ วิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภัยแก่ผู้ประกอบกิจการโรงงานซึ่งฝ่า ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้อง แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ว่า ในการดาเนินคดีแก่ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (5) หรือ (7) แห่ งพระราชบั ญญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 ให้ พนั ก งานอั ย การโจทก์ มี ค าขอให้ ศ าลพิ พ ากษา หรือสั่งให้ใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยแก่จาเลย ด้วย 2) จากการวิ เ คราะห์ บ ทบั ญ ญั ติ ใ น พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 จะเห็นได้ว่า 2.1) แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัด มลพิ ษ ในเขตควบคุ ม มลพิ ษ ของเจ้ า พนั ก งาน ท้ อ งถิ่ น และแผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ การจั ด การ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ จั ง หวั ด ไม่ ใ ช่ กฎหมาย แต่เป็นแผนสาหรับการปฏิบัติงานของ เจ้าพนักงานท้องถิ่นและผู้ว่าราชการจังหวัดแห่ง ท้อ งที่ ที่ถู ก ประกาศก าหนดให้ เ ป็ น เขตควบคุ ม มลพิษเท่านั้น ดังนั้น ในกรณีที่แผนปฏิบัติการ ดังกล่าวมีข้อกาหนดให้ผู้ประกอบกิ จการโรงงาน ในท้ อ งที่ นั้ น ปฏิ บั ติ ก ารใด ๆ ถ้ า ผู้ ป ระกอบ กิจ การโรงงานผู้ ใ ดไม่ ป ฏิบั ติ ต ามข้ อ ก าหนดใน แผนปฏิ บั ติ ก ารดั ง กล่ า ว ก็ ไ ม่ มี ค วามผิ ด หรื อ จะต้องถูกลงโทษแต่อย่างใด แต่เป็นเรื่องที่เจ้า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น และผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด แห่ ง ท้องที่นั้นต้องใช้มาตรการทางปกครองและศิลปะ ทางปกครองขอความร่วมมือจากเอกชนซึ่งเป็นผู้ ประกอบกิจการโรงงานในท้องที่นั้น 2.2) คณะผู้วิจัยมีความเห็นว่าเพื่อให้ การลดและขจั ด มลพิ ษ ในเขตควบคุ ม มลพิ ษ มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลดียิ่งขึ้น ควร แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายให้ มีผ ลให้ ข้ อกาหนดใน แผนปฏิ บั ติ ก ารดั ง กล่ า วมี ส ภาพบั ง คั บ ตาม กฎหมายด้วย มิใช่ให้เป็นเพียงแผนปฏิบัติการ ของผู้บ ริห ารในระดับจั งหวัดหรือระดับท้องถิ่น เท่านั้น

ข้อเสนอแนะ คณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้การใช้บังคับพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับการกาหนด มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และการก าหนดข้ อ มู ล ที่ จ าเป็ น เกี่ ย วกั บ การ ประกอบกิ จ การโรงงานที่ ผู้ ป ระกอบกิ จ การ โรงงานต้ องแจ้งให้ พนั กงานเจ้า หน้า ที่ทราบ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น ควรแก้ไข เพิ่มเติมบทบัญญัติในมาตรา 45 และมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ดังนี้ มาตรา 45 เดิมบัญญัติว่า “ผู้ ใ ด ฝ่ า ฝื น ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (8) หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออก ตามกฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินสองแสนบาท” แก้ไขเป็น “ผู้ ใ ด ฝ่ า ฝื น ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (8) หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออก ตามกฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินสี่แสนบาท และในการดาเนินคดี ให้พนักงาน อัยการมีคาขอให้ ศาลสั่ งให้ ใ ช้วิธีก ารเพื่ อความ ปลอดภัยแก่จาเลยด้วยตามสมควรแก่กรณี” มาตรา 46 เดิมบัญญัติว่า “ผู้ ใ ด ฝ่ า ฝื น ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (6) หรือ (7) ห รื อ ป ร ะ ก า ศ ข อ ง รั ฐ ม น ต รี ที่ อ อ ก ต า ม กฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท”


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

แก้ไขเป็น “ผู้ ใ ด ฝ่ า ฝื น ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (6) หรือ (7) ห รื อ ป ร ะ ก า ศ ข อ ง รั ฐ ม น ต รี ที่ อ อ ก ต า ม กฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สี่ ห มื่น บาท และในการดาเนิ น คดี ให้ พนั กงาน อัย การมีคาขอให้ ศาลสั่ งให้ ใ ช้วิธีก ารเพื่ อความ ปลอดภัยแก่จาเลยด้วยตามสมควรแก่กรณี” 2. เพื่อให้การใช้บังคับพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรั กษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ในส่ ว นที่ ว่ า ด้ ว ยการลดและขจั ด มลพิษในเขตควบคุมมลพิษ มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลดียิ่งขึ้น ควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติ ในวรรคสามของมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ดังนี้ มาตรา 60 วรรคสาม เดิมบัญญัติว่า “ในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและ ขจั ด มลพิ ษ ของเจ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น ตามวรรค หนึ่ ง และวรรคสอง ให้ เ จ้ า พนั ก งานควบคุ ม มลพิษแนะนาและช่วยเหลือตามความจาเป็น”

129 แก้ไขเป็น “ในการจั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ลด และขจัดมลพิษของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามวรรค หนึ่ ง และวรรคสอง ให้ เ จ้ า พนั ก งานควบคุ ม มลพิ ษ แนะน าและช่ ว ยเหลื อ ตามความจ าเป็ น และถ้ า เจ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น เห็ น ว่ า มี ค วาม จาเป็นต้องกาหนดให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานใน เขตควบคุ ม มลพิ ษ ปฏิ บั ติ ก ารอย่ า งใดในระดั บ มาตรฐานสู งกว่าที่กาหนดให้ผู้ ประกอบกิจการ โรงงานในเขตพื้นที่ทั่วไปปฏิบัติ ให้เจ้าพนักงาน ท้ อ งถิ่ น เสนอผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เพื่ อ น าเสนอ เรื่องนั้นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม พิจารณาออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 8 (5) หรือ (7) แล้วแต่กรณีต่อไป” เ มื่ อ รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง อุตสาหกรรมออกกฎกระทรวงดังกล่าวแล้ว ถ้าผู้ ประกอบกิจการโรงงานผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงดังกล่าว ย่อมมีความผิดและถูก ลงโทษตามมาตรา 45 หรือมาตรา 46 แห่ง พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แล้วแต่กรณี

References Chan Robles Virtual Law Library. Philippine Clean Air Act of 1999 [Online]. 2015. Available from : http://www.chanrobles.com/philippinecleanairact [4 June 2014]. Department for Environment, Food and Rural Affairs, Summary of Environment Protection Act [Online]. 2011. University of Hertfordshire, England (Distributer). Available from : http://adlib.everysite.co.uk/adlib/defra/content.aspx?i [2 December 2013]. McCarthy, James E. et.al. Clean Air Act : A Summary of the Act and Its Major Requirements. Congressional Research Service Report 7 – 5700 [Online]. 2011. Available from : http://fpc.state.gov/documents/organization/155015 [3 June 2014]. Royal Thai Government Gazette. 109, 37 (4 April 1992) : 1 – 43.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สมชาย น้อยฉ่​่า1 วรินทร์ธร ธรสารสมบัติ2 สุภา แสงจินดาวงษ์3

บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยนี้มีวั ตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปการบริหารจัดการและผลการด่าเนินงานของ วิสาหกิจชุมชน อ่าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จาก กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 144 คน ใช้แบบสอบถาม ในการรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 41 ปี ขึ้นไป ระดับการศึกษาต่​่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่าแหน่งสมาชิกวิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจชุมชน ส่วน ใหญ่มีจ่านวนสมาชิก 9 – 16 คน มีระยะเวลาจัดตั้งกลุ่ม 7 ปีขึ้นไป เป็นกลุ่มการแปรรูป โดยมีระบบ การเงินเป็นทุนของกลุ่ม แหล่งที่มาของทุนเป็นเงินกู้จ่านวน 30,001 – 50,000 บาท มีรายได้ 25,001 – 50,000 บาท และตลาดของวิสาหกิจชุมชนเป็นตลาดในชุมชน การวิเคราะห์การด่าเนินงานกิจกรรมกลุ่ม วิส าหกิจ ชุ มชน พบว่ า สมาชิ ก มีส่ ว นร่ ว มในการด่า เนิ น กิจ กรรมกลุ่ มวิ ส าหกิจ ชุ มชน มีร ะบบควบคุม ทางด้า นการเงินแบบง่าย ๆ แต่เป็ นระบบ และมีบัญชีวิส าหกิจที่ถูกต้อง ผลประกอบกิจการกลุ่มท่าให้ สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการประกอบกิจการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่จัดตั้งกลุ่มทุกข้อ มีการประกอบ กิจการอย่างต่อเนื่อง กลุ่มวิสาหกิจที่กู้ยืมเงินทุนเพื่อประกอบกิจการส่วนใหญ่ค้างช่าระบ้าง แต่ส่งตาม ก่าหนด และกลุ่มวิสาหกิจมีกฎระเบียบและข้ อบังคับของกลุ่มที่ชัดเจน ได้จดทะเบียนจัดตั้งแล้วและได้ ประกอบการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ควรก่าหนดโครงสร้างบริหารองค์กรและการแบ่งหน้าที่อย่า ง ชัดเจน และก่าหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่ครอบคลุม รวมถึงการมีระบบบัญชี ควบคุมตรวจสอบได้ง่าย คาสาคัญ: การบริหารจัดการ วิสาหกิจชุมชน

1

คณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ และผูอ้ ่านวยการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 6 ถนนจรัญสนิทวงศ์ บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 e-mail: info@siamtechno.ac.th 2 อาจารย์ประจ่าหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 81/78 หมู่ที่ 5 ต่าบลบางเมืองใหม่ อ่าเภอเมือง สมุทรปราการ e-mail: varinthorn_ru@hotmail.com 3 อาจารย์ประจ่าหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 44 - 48 ถนนพระราม 4 แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธ์วงค์ กรุงเทพมหานคร 10100 e-mail: su.pasang@hotmail.com


131

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

Management of Community Enterprises, Ampawa District, Samutsongkhram

Province

Somchai Noicham1 Varinthorn Tarasansombat2 Supa sangjindavong3

Abstract This research aimed to study the general information, management and performance of Amphawa Community Enterprises, Samutsongkhram Province. The sample group consisted of 144 members of the community enterprises. Data were collected by questionnaire . It was revealed that most members were female, 41 years old and above, and recived lower than junior high school education. Most enterprises consisted of 9-16 members, was established for at least 7 years, financed by their own capital, ranging from 30,001 - 50,000 baht, and generated revenues ranging from 25,001-50,000 baht. Main market of community enterprises was a community market. As far as enterprise management was concerned, it was found that: members were involved in the operation, financial control system was simple but systematic, business operation achieved the objectives, operations were carried out continuously. Most of the enterprises that borrow capital for business operation were still in debt. Rules and regulations of the group were clear. Community enterprises were legally registered and in operation. It was recommend that organization structure and division of labour should be specified as well as regulation and accounting system that can be easily monitored. Keywords: management, community enterprise

1

Dean of the Faculty of Public Administration and Director, Master of Public Administration Program, Siam Technology College 6 Charunsanitwong Road, Bangkokyai, Bangkok 10600 e-mail: info@siamtechno.ac.th 2 Lecturer,Master of Public Administration Program Public Administration Technology Siam University 81/78 Moo 5,Bang Muang, Muang, Samutprakarn e-mail: varinthorn_ru@hotmail.com 3 Lecturer Master of Public Administration Technology Siam University 44 - 48 Rama IV Road, Thalad Noi, Samphantawong, Bangkok 10100 e-mail:su.pasang@hotmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทนา

จากการเล็งเห็นความส่าคัญของเศรษฐกิจ ชุมชน รัฐบาลมีนโยบายการแก้ไขปัญหาความ ยากจนของประชาชนด้ ว ยกิ จ กรรมวิ ส าหกิ จ ชุม ชน รั ฐ บาลจึ ง ได้ เสนอร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน โดยผ่านความเห็นชอบ จากวุ ฒิ ส ภา เมื่ อวั น ที่ 8 พฤศจิ ก ายน 2547 และผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2548 ซึ่งน่าลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 18 มกราคม 2548 และมี ผ ลใช้ บั งคับ ในวัน ถัดจากประกาศในราช กิจจานุเบกษา คือ ตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม 2548 เป็ น ต้ น ไป โดยมี เ จตนารมณ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ นเศรษฐกิจ ชุมชน ซึ่งเป็ นพื้ น ฐานของ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างพอเพียง และเป็นกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ที่มีความส่ าคัญในการขับเคลื่ อน เศรษฐกิจชุมชน สร้างรากฐานที่มั่งคงให้ประเทศ (ส่ านักงานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ,2554, หน้ า 24) แต่ มี เศรษฐกิจชุมชนจ่านวนหนึ่งที่ยังอยู่อยู่ในระดับที่ ไม่พร้อมจะเข้ามาแข่งขันทางการค้า ทั้งในระดับ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ เนื่องมาจาก ไม่ ส ามารถด่ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ ต่ อ เนื่ อ ง เกิ ด จาก ปัญหาชุมชนไม่เข้มแข็ง ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มขาด เอกลักษณ์ เงินทุนหรือวัตถุดิบ เป็นต้น (เพ็ชร ประเสริฐ, 2542: 3) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของกลุ่ ม วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น อ่ า เ ภ อ อั ม พ ว า จั ง ห วั ด สมุทรสงคราม

2. เพื่อศึกษาการบริห ารจั ดการและผล การด่าเนินงานของวิสาหกิจชุมชน อ่าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม การทบทวนวรรณกรรม แนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวความคิดเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชน เป็นนโยบายของรัฐบาลมี แนวคิ ด ว่ า ปั ญ หาของประเทศในภาพรวม ประชาชนมีหนี้สินเพิ่มขึ้น สามารถแก้ไขได้ด้วย การที่ประชาชนรู้จักน่าสินทรัพย์ที่มีอยู่ในชุมชน ท่ า ให้ เ กิ ด มู ล ค่ า เพิ่ ม สามารถขจั ด ปั ญ หาความ ยากจน เป็นการสร้างอาชีพที่ยุ่งยืนและรายได้ที่ มั่น คงความคาดหวัง ของรั ฐ บาลปั จ จุบั นที่ มีต่ อ วิสาหกิจชุมชนคือ คนในชุมชนมองเห็นสินทรัพย์ ตนเองและชุมชนมีค่าสามารถท่าให้มีมูลค่าเพิ่ม ขึ้น และน่ามาเป็นปัจจัยสร้างรายได้ให้กับคนใน ชุ ม ชนโดยคนในชุ ม ชน เป็ น กิ จ การของคนใน ชุมชน ที่ปลูกให้ภูมิปัญญา ในท้องถิ่นฟื้นขึ้นมา เป็ น พลั ง ให้ กั บ ชุ ม ชนในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ระดับรากฐานของประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายใน การด่าเนินการ คือ การพึ่งตนเองและพึ่งพากัน และกันของชุมชน ค ว า ม ห ม า ย วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ต า ม พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน พ.ศ. 2548 “วิสาหกิจชุมชน” หมายถึง กิจการของ ชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้การบริการ หรือการอื่น ๆ ที่ด่าเนินการโดยคณะบุคคลที่มี ความผู ก พั น มี วิ ถี ชี วิ ต ร่ ว มกั น และรวมตั ว กั น ประกอบกิ จ การ ไม่ ว่ า จะเป็ น นิ ติ บุ ค คลและ ระหว่างชุมชน เพื่อพึ่งพาตนเองของครอบครัว และชุมชนวิสาหกิจชุมชนเป็นกิจการของชุมชนที่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

เกิดขึ้นด้วยความคิดสร้ างสรรค์จากพื้นฐาน ภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ดั้ ง เดิ ม ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ธุ ร กิ จ หากแต่ วิสาหกิจชุ มชนสามารถพัฒนาก้า วไปสู่การเป็ น วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อยได้ (ส่านักงาน เลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน, 2548: 2) ลั ก ษณะส่ า คั ญ ของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน 6 ประการ คือ (จิตต์จ่ารัศ, 2547: 46) 1. ชุมชนหรือเจ้าของหรือผู้ด่าเนินการ 2. ผลผลิตมาจากกระบวนการในชุมชน 3. ทรั พ ยากรหรื อ วั ต ถุ ดิ บ มาจากชุ ม ชน หรือจากภายนอก 4. ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ เ ป็ น นวั ต กรรมของ ชุมชน 5. มีฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานภูมิ ปัญญาสากล 6. มีการเป็ น ตัว เองของครอบครัว และ ชุมชนเป็นเป้าหมาย กรมส่งเสริมการเกษตร (2547: 41) ก็ได้ จ่ า แนกประเภทของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ไว้ มี 3 ประเภท คือ 1) วิสาหกิจชุมชนทดแทนการพึ่ง ภายนอกชุมชน หมายถึง กิจกรรมการพัฒนา ของเศรษฐกิจที่เน้นการลดรายจ่ายของเกษตรกร และชุ ม ชน 2) วิ ส าหกิจ ชุ ม ชนพั ฒ นาผลิ ต และ ทรั พ ยากร หมายถึง ชุ มชนผลิ ต สิ น ค้ า ทางการ เกษตร และมีการประกอบการเพื่ อน่ าผลผลิ ต และทรั พยากรมาสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ 3) วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนบริ ก าร เป็ น การประกอบการที่ มี ทั ก ษะ ภู มิ ปั ญ ญา และความคิ ด สร้ า งสรรค์ เพื่ อ ให้บริการกับเกษตรกรในครอบครัว ชุมชน และ บุคคลทั่วไป กล่าวโดยสรุป การจ่า แนกเป็นประเภท ของวิสาหกิจชุมชน เป็นการบริหารจัดการและ ส่งเสริมให้ประชาชนได้ ร่วมคิด ร่วมท่า เพื่อ

133 สร้า งผลิ ตภั ณฑ์ขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยใช้ ทรัพยากรของท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอด ทั้ ง ผู้ ป ระกอบการก็ เ ป็ น คนของท้ อ งถิ่ น นั้ น ๆ ผลผลิ ต เกิด ขึ้น ก็ได้ ใช้ บ ริโ ภคในแต่ ละครั ว เรื อน หากมี เ หลื อ ใช้ ก็ จั ด ให้ มี ก ารจั ด การโดยการ จ่าหน่าย คือ เข้าสู่ระบบการตลาด มีการแข่งขัน ด้านคุณภาพและปริมาณ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ เกิ ด ทั ก ษะและเกิ ด การพั ฒ นาสู่ ม าตรฐานอั น เนื่องจากความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิก และ ส่งผลต่อเศรษฐกิจชุมชนโดยมีรายได้เพื่อ ยังชี พ และเป็นการพัฒนาแบบยั่งยืนต่อไป แนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ การบริ หารการจั ด การ วิสาหกิจชุมชน การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เป็ น กร ะบ วน การ บริ ห าร จั ด การ ใน ชุ มช น ซึ่ ง ประกอบด้วย (ศรีบุญจิตต์ และคณะ, 2547) ด้ า นการจั ด การองค์ ก รและการบริ ห ารงาน การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้ างการจัดการองค์กร และการบริ ห ารงาน กลุ่ ม แต่ ล ะกลุ่ ม ให้ ข้ อ มู ล เกี่ยวกับประวัติ ความเป็น มาของกลุ่ ม ปรัชญา และวัตถุประสงค์การจัดตั้ง และลักษณะของกลุ่ม การศึกษาครอบคลุมรูปแบบการจัดองค์กร ขนาด ของกลุ่ ม โดยพิ จ ารณาจากจ่ า นวนสมาชิ ก ลักษณะการกระจายการถือหุ้น และสอดคล้อง กัน ระหว่ า งหน้ า ที่ ต ามต่า แหน่ งกับงานที่ป ฏิ บั ติ จริ ง ปรั ช ญาพื้ น ฐานของการด่ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ กลุ่ม และพิจารณาการด่าเนินงานว่าสอดคล้อง กับ ปรั ช ญาที่ตั้ งไว้ โดยใช้ ลั กษณะ 7 ประการ ขององค์ประกอบของวิสาหกิจชุมชนเป็นฐาน ด้านการผลิต การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้ างการ ผลิ ต นั้ น ประกอบด้ ว ยความหลากหลายของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ การคั ด คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ดิ บ การ ควบคุ ม และตรวจสอบคุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เทคโนโลยีการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนใน การผลิต และความต้องการความช่วยเหลือด้าน การผลิ ต รวมถึ ง ศั ก ยภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกอบด้วย ศักยภาพในการท่าก่าไรต่อหน่วย ศั ก ยภาพทางด้ า นยอดขาย และศั ก ยภาพ ทางด้ า นยอดขายรวมและก่ า ไรรวม - ด้ า น การเงิ น และการบริ ห ารการเงิ น การศึ ก ษาถึ ง โครงสร้ างการเงิน นั้น ประกอบด้วยการศึกษา เกี่ยวกับ การตัดสินใจในด้านการบริหารการเงิน การจัดท่าบัญชี การกู้ยืมเงิน การวางแผนการ ใช้ เ งิ น ทุ น และศั ก ยภาพทางการเงิ น -ด้ า น การตลาด ท่าการวิเคราะห์การบริหารการตลาด ของกลุ่ ม ครอบคลุ ม การวางแผนการตลาด ความสามารถในการพัฒนาตลาดและผลิตภัณฑ์ การตั้ ง ราคา ช่ อ งทางการจั ด จ่ า หน่ า ย การ ส่งเสริมการขาย และกลยุทธ์การตลาดของกลุ่ม ตลอดจนความสามารถของบุคลากรของกลุ่มใน ด้านการตลาดด้วย สรุ ป ได้ ว่ า การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุมชน เป็นกระบวนการบริหารจัดการในชุมชน โดยศึกษาการจัดการองค์กรและการบริหาร การ ผลิต การเงิน และการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน เกณฑ์พิจารณาประเมินผลการด่าเนินงาน ของกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน แบ่ ง เป็ น 2 ลั ก ษณะ (ส่านักงานตรวจเงินแผ่นดิน, 2553) ได้แก่ 1. วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว ไม่ได้ป ระกอบการ คือ สมาชิกไม่มีส่ ว นร่ว มใน การด่ า เนิ น กิ จ กรรมกลุ่ ม หรื อ ไม่ ไ ด้ ด่ า เนิ น กิจ กรรมร่ ว มกัน คือ ต่ างคนต่างท่ า หรื อ กลุ่ ม ไม่ได้ด่าเนินกิจกรรมใดๆ ตามวัตถุประสงค์ที่จด ทะเบีย นไว้ห รื อมีลั กษณะเลิ กกิจการแล้ ว (โดย ไม่ได้แจ้งยกเลิกต่อนายทะเบียน) หรือการด่าเนิน กิจการแบบเจ้าของคนเดียว

2. วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนจัดตั้งแล้ว ได้ ป ระกอบการ คื อ สมาชิ ก มี ส่ ว นร่ ว มในการ ด่ า เนิ น กิ จ กร รมกลุ่ ม วิ ส าห กิ จ ชุ ม ช นตา ม วัตถุประสงค์ที่จดทะเบียนไว้ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ เข้มแข็ง ปานกลาง และปรับปรุง กล่าวโดยสรุป ตัวชี้วัดผลการด่าเนินงาน ของกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน พิ จ ารณาจากปั จ จั ย ส่าคัญที่เกี่ยวข้อง 7 ประการ และสามมารถแบ่ง เกณฑ์พิจารณาประเมิน ผลการด่าเนิ น งานของ กลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ออกเป็ น 2 ลั ก ษณะ คื อ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนที่ จ ดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง แล้ ว ไม่ ไ ด้ ประกอบการ วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนจัดตั้ง แล้วได้ประกอบการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัลลาภ์ นุตะมาน (2550) ศึกษาเรื่องการ บริ ห ารจัด การของกลุ่ ม เกษตรกร ในโครงการ ส่งเสริมการใช้สบู่ด่าในไร่นา ผลการวิจัยพบว่า ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น นั้ น ผู้ น่ า ก ลุ่ ม ไ ด้ ก่ า ห น ด วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องกลุ่ ม และด่ า เนิ น งานตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พี ย งร้ อ ยละ 60 และประสบ ผลส่าเร็จตามวัตถุประสงค์จากการคาดการหรือ พยากรณ์สถานการณ์/แผนงาน ก่าหนดแนวทาง ป ฏิ บั ติ ใ น อ น า ค ต ไ ว้ ร ว ม ทั้ ง มี ก า ร ติ ด ต่ อ ประสานงานกับ สมาชิกกลุ่ ม และแลกเปลี่ ย น ปัญหากัน เป็น ประจ่า การจัดองค์กร ได้มีการ ระบุ และอธิบ ายงานที่ จ ะมอบหมายให้ ส มาชิ ก ด่า เนิ น การในขั้ น ตอนการผลิ ต หรื อ ปลู ก สบู่ ด่ า และมีการระบุขั้นตอนและกิจกรรมที่จะร่วมกัน ท่า และการควบคุม ผู้น่ากลุ่มได้จักประชุมและ ออกตรวจติดตามผลการปลูกสบู่ด่าของสมาชิก และเปรี ย บเที ย บการปลู ก ของสมาชิ ก หาก เจริญเติบโตไม่ดีก็ปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้เ ป็นไป ตามเป้าหมายที่ก่าหนด


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

แนวทางการดาเนินการวิจัย การวิจัยนี้ครอบคลุมประเด็นส่าคัญ ดังนี้ 1. ข้อมูล ทั่ ว ไปของกลุ่ ม วิส าหกิจ ชุมชน ประกอบด้วย จ่านวนสมาชิกในกลุ่ม ระยะเวลา การจัดตั้งกลุ่ม การจ่าแนกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และประเภทกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2. การบริ ก ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ประกอบด้ ว ย การองค์ ก รและการบริ ห ารงาน การบริหารการผลิต การบริหารการตลาด และ การบริหารการเงิน 3. ผลการด่าเนิ น งานของกลุ่ มวิส าหกิจ ชุมชน ประกอบด้วย 1) สมาชิกมีส่วนร่วมในการ ด่าเนินกิจกรรมกลุ่มวิส าหกิจชุมชน 2) มีระบบ ควบคุมทางการเงินและบัญชี ที่ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน 3) ผลประกอลการกิจการของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนต้องสามารถเพิ่มรายได้หรือ ลดรายจ่ายให้กับสมาชิกกลุ่มได้ 4) การประกอบ กิ จ การเป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ดทะเบี ย น จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 5) การประกอบกิจการ หรือการด่าเนินกิจกรรมของกลุ่มวิส าหกิจชุมชน เป็ น ไปอย่ า งต่อเนื่ อง 6) กลุ่ มวิส าหกิจ ชุมชนที่ กู้ยืมเงินเพื่อประกอบกิจการ ต้องสามารถช่าระ หนี้ได้อย่างครบถ้วนภายในระยะเวลาที่ก่าหนด และ 7) ต้องมีกฎระเบียบและข้อบังคับของกลุ่ม ที่ชัดเจน ถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด ระเบียบวิธีวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การศึ ก ษาวิ จั ย เชิ ง ส่ารวจ (Survey method) ประชากรของการ วิจัย ได้แก่ ผู้ประกอบการวิสาหกิจ ชุมชน ได้แก่ หัว หน้ าวิส าหกิจชุมชน คณะกรรมการบริห าร วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน และสมาชิ ก วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน อ่าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม จ่านวน 14 กลุ่ ม ได้ แ ก่ กลุ่ ม แม่ บ้ า นเกษตรกรสวนหลวง

135 สามัคคี กลุ่มแม่บ้านเกษตรบางบั วทอง กลุ่ ม แม่บ้านกล้วยกวนเพชรสมุทร (ชุมชนโรงเจ) ศูนย์ เรี ย นรู้ ตามรอยพระราชด่าริ (ตามรอยเท้าพ่อ ) กลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนชาวสวนท่ า คาหมู่ ที่ 12 วิสาหกิจชุมชนศักดาเบญจรงค์ ชุมชนวัดบางกระ พร้ อ ม กลุ่ ม ปรั บ ปรุ ง ไม้ ผ ลต่ า บลสวนหลวง วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนขนมไทยโบราณและจั ก สาน ก้ า นมะพร้ า วบางช้ า ง กลุ่ ม วั ด ประดู่ พ อเพี ย ง กลุ่มแม่บ้านเกษตรเทิดไทยร่วมใจ กลุ่มจักสาน ก้านมะพร้าวน้่าตาล ท่าคา กลุ่มนิภาเบญจรงค์ และกลุ่ ม ปลาสลิ ด แพรกหนามแดง รวมทั้ง สิ้ น 2 4 0 ค น ( ส่ า นั ก ง า น ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด สมุทรสงคราม, 2558) กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 144 ค น เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ไ ด้ แ ก่ แบบสอบถาม และได้ท่าการตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือ การด่าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จาก 2 แหล่ ง ที่ ม า คื อ ข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ (Secondary data) ได้แก่ ได้ท่าการรวบรวมข้อมูลจากการ ค้นคว้า ศึกษาด้วยตนเอง และรวบรวมข้อมูล จากบทความ และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ ย วข้อ ง เช่น แนวคิดทฤษฎี การบริหารจัดการวิสาหกิจ ชุมชน เป็นต้น เพื่อน่าข้อมูลมาใช้เป็นแนวทาง ในการก่ า หนดกรอบแนวความคิ ด การศึ ก ษา และข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ได้แก่ ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ตอบโดยกลุ่มตัวอย่ าง รว บรว มแบบส อบถามแล ะน่ า มาล งรหั ส หลั งจากนั้ น จึงน่าข้อมูล เข้าเครื่องคอมพิว เตอร์ เพื่อประมวลผล ผลการวิจัย ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของสมาชิ ก กลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 41 ปีขึ้นไป


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ระดับการศึกษาต่​่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้ตอบ แบบสอบถามเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน ข้อมูลของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่วนใหญ่มี จ่านวนสมาชิก 9 – 16 คน มีระยะเวลาจัดตั้ง กลุ่ ม 7 ปี ขึ้ น ไป เป็ น กลุ่ ม การแปรรู ป ระบบ การเงินเป็นทุนของกลุ่ม แหล่งที่มาของทุนเป็น เงินกู้จ่านวน 30,001 – 50,000 บาท มีรายได้ 25,001 – 50,000 บาท ตลาดของวิสาหกิจ ชุมชนเป็นตลาดในชุมชน

การวิเคราะห์การบริหารจัดการวิสาหกิจ ชุม ชน พบว่ า สมาชิก มี การด่ าเนิน การในเรื่ อ ง ต่าง ๆ ดังนี้ การด่าเนินการของวิสาหกิจชุมชน รองลงมาคื อ การบริ ห ารจั ด การทุ น และ ผลประโยชน์ การตลาด การก่าหนดทิศทางของ วิ ส าหกิ จ การทบทวนผลการด่ า เนิ น การของ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน การจั ด การองค์ ก รและการ บริหาร การผลิต การเงิน (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

การก่าหนดทิศทางของวิสาหกิจ การด่าเนินการของวิสาหกิจชุมชน การบริหารจัดการทุนและผลประโยชน์ การทบทวนผลการด่าเนินการของวิสาหกิจชุมชน การจัดการองค์กรและการบริหาร การผลิต การเงิน การตลาด รวม

การวิเคราะห์การด่าเนินงานกิจกรรมกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน 7 ด้าน พบว่า สมาชิกมีส่วนร่วม ในการด่ า เนิ น กิ จ กรรมกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน สมาชิ ก มี ร ะบบควบคุ ม ทางด้ า นการเงิ น แบบ ง่ า ย ๆ แต่ เ ป็ น ระบบ และมี บั ญ ชี วิ ส าหกิ จ ที่ ถูกต้อง จากผลประกอบกิจการกลุ่มท่าให้สมาชิก มีร ายได้เพิ่มขึ้น สมาชิกมีการประกอบกิจการ เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จั ด ตั้ ง กลุ่ ม ทุ ก ข้ อ สมาชิกมีการประกอบกิจการอย่ างต่อเนื่อง กลุ่ม

S.D 3.66 3.89 3.86 3.60

.479 .451 .551 .851

3.58 3.53 3.30 3.74

.371 .404 .503 .451

วิสาหกิจที่กู้ยืมเงินทุนเพื่อประกอบกิจการส่ว น ใหญ่ค้างช่าระบ้าง แต่ส่งตามก่าหนด และ กลุ่ม วิส าหกิจมี กฎระเบีย บและข้อ บังคับ ของกลุ่ ม ที่ ชัดเจน ผลการด่าเนินงานกิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจ ชุ ม ช น พ บ ว่ า จ ด ท ะ เ บี ย น จั ด ตั้ ง แ ล้ ว ไ ด้ ประกอบการ ส่วนร่วมในการด่าเนินกิจกรรมกลุ่ม พบว่า ส่วนใหญ่ มีความเข้มแข็ง (พิจารณาจาก ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดความส่าเร็จ 7ประการ) (ตาราง ที่ 2)


137

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามผลการด่าเนินงานกิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผลการดาเนินงานกิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 1. จดทะเบียนจัดตั้งแล้วไม่ได้ประกอบการ 2. สมาชิกด่าเนินกิจการแบบต่างคนต่างท่า 3. จดทะเบียนจัดตั้งแล้วได้ประกอบการ 3.1 มี ค วามเข้ ม แข็ ง (พิ จ ารณาจากผ่ า นเกณฑ์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ) 3.2 ปานกลาง(มีกระบวนการตามเกณฑ์ตัวชี้วัดแต่ ยังไม่เข้มแข็ง) 3.3 ปรับปรุง (มีกระบวนการตามเกณฑ์ตัวชี้วัดแต่ไม่ ผ่านระบบควบคุมการเงิน) รวม อภิปรายผล จากผลการวิจัยที่ได้ศึกษาในครั้งนี้ มีความ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของวั ล ลาภ์ นุ ต ะมาน (2550) ที่ศึกษาเรื่องการบริหารจัดการของกลุ่ม เกษตรกร ในโครงการส่งเสริมการใช้สบู่ด่าในไร่ นา ผลการวิจัยพบว่า การก่าหนดแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ รวมทั้ง มีการติ ด ต่ อประสานงานกับ สมาชิ กกลุ่ ม และ แลกเปลี่ยนปัญหากันเป็นประจ่า การจัดองค์กร ได้ มีการระบุและอธิบ ายงานที่จ ะมอบหมายให้ สมาชิ ก ด่ า เนิ น การ โดยผู้ น่ า กลุ่ ม จะออกตรวจ ติดตามผล หากเจริญ เติบ โตไม่ดีก็ปรับ ปรุงให้ ดี ขึ้น เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมายที่ก่ า หนด และ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของล่ า ยอง ปลั่ ง กลาง และคณะ (2550) ศึกษาเรื่ องการศึกษาเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพการด่ า เนิ น งานของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน : กรณี ศึ ก ษาวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผู้ ผ ลิ ต ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ร ะ ก อ บ อ า ห า ร จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ผลการวิ จั ย พบว่ า กลุ่ ม วิ ส าหกิจ ชุ มชนตั้ งขึ้ น มาด้ ว ยการรวมตั ว กัน เอง

จานวน

ร้อยละ

0 0 144 88

0.0 0.0 100 61.1

56

38.9

-

-

144

100

ของสมาชิก ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตใช้วัตถุดิบภายใน จั งหวั ด มากกว่ า ภายในชุ มชน ส่ ว นใหญ่ มีส่ ว น ร่วมในการบริ หารจั ดการกลุ่ ม การด่ าเนิ นงาน ของกลุ่ ม ได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จากหน่ ว ยงานใน ท้องถิ่ น ไม่ม ากนั ก แต่ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก กลุ่ ม ด้ ว ยการให้ ความรู้ เงิ น ทุ น และส่ งเสริ ม การตลาด ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากการวิจัย จากผลการศึกษาวิจัยเรื่อง “การบริหาร จั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน อ่ า เภออั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสาคร” มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การก่าหนดทิศทางของวิสาหกิจ คือ การมีส่วน ร่วมของสมาชิกในการก่าหนด และ การก่าหนด ทิศทางของวิสาหกิจ การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การด่ า เนิ น การของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน คื อ การ ก่ า หนดโครงสร้ า งบริ ห ารองค์ ก รและการแบ่ ง


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

หน้าที่ การก่าหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับ การ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล อื่ น ๆ แก่ สมาชิก และ จดบันทึกการเงิน/บัญชี การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การบริหารจัดการทุนและผลประโยชน์ คือ การ จัดสรรรายได้และผลประโยชน์ระหว่างสมาชิก และ การบริหารจัดการทุน การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การทบทวนผลการด่าเนินการของวิสาหกิจชุมชน คือ การทบทวนผลการด่าเนินการ และ การน่า ปัญหาในการด่าเนินการไปแก้ไขปรับปรุง การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน ด้านการ ผลิ ต คื อ ความตรงต่ อเวลาในการขนส่ ง ความ ประหยัดจากขนาดของการผลิต ความสามารถของ ก่าลั งคน ต้นทุนในการผลิ ตต่​่ า ก่าลั งการผลิ ตมี ความเหมาะสมกั บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ความสามารถในการสร้ างความต้ องการซื้ อของ ลู ก ค้ า อุ ป กรณ์ ทั น สมั ย ความได้ เ ปรี ย บด้ า น วัตถุดิบ และ ความมั่นคงทางการเงิน การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การเงิน คือ การวางแผนการใช้เงินทุน การกู้ยืม เงิน การตัดสินใจด้านการบริหารเงิน และ การ จัดท่าบัญชี การบริ ห ารจั ด การวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ด้ า น การตลาด คือ จุดแข็งด้านส่วนแบ่งตลาด การ ติดตามข้อมูล ความต้องการของลูกค้าและตลาด การก่ า หนดแหล่ ง จ่ า หน่ า ย/บริ ก าร/ลู ก ค้ า เป้ า หมาย ความสามารถในการสร้า งก่ าไรสู ง กลุ่ ม เป็ น ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ และรู้ จั ก บุ ค คล การวิ จั ย พัฒนา และนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ ภาวะความ เป็นผู้น่าของกลุ่ม ต้นทุนในการจัดจ่าหน่ายต่​่า ความมีประสิทธิภาพของหน่วยงานขาย ชื่อเสียง

ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ และ ความได้เปรียบด้าน ภูมิศาสตร์ ปัจจุบันทุนทางทรัพยากร เช่น ที่ดิน ได้มี การขายไปเยอะมาก เจ้าของส่วนใหญ่ไม่อยากท่า อาชี พ เดิ ม และไม่ ไ ด้ ด่ า เนิ น กิ จ กรรมวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนต่ อ และไม่ ไ ด้ สื บ ทอดวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เพราะคนในชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาและ ทางเลือกมากขึ้น จึงไม่มีการต่อยอดจากวิสาหกิจ หรื อ รั ก ษาไว้ เช่ น กลุ่ ม เกษตรกรบางบั ว ทอง ที่ท่าขนมไทย รุ่นลูกไม่ท่าต่อแล้ว เป็นต้น ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป การวิจัยครั้งนี้ได้ท่าการศึกษากลุ่มตัวอย่าง เฉพาะของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน อ่าเภอ อัมพวา จังหวัดสมุทรสาคร จ่านวน 14 กลุ่ม เท่านั้น และเพื่อให้ผลการวิจัยสามารถน่าไปใช้ ประโยชน์กับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนอื่นๆ จึ ง ค ว ร ท่ า ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม ก ลุ่ ม ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น อื่ น ๆ ใ ห้ หลากหลายในการประกอบอาชีพ หรือจะเป็น การแบ่งผู้ประกอบการวิสาหกิจเป็นภูมิภาค ราย จังหวัด หรือประเทศ เพื่อน่าผลการศึกษาไป ใช้เป็น แนวทางในการน่าไปปรั บ ปรุงแก้ไขการ บริหารจัดการงานของวิสาหกิจชุมชนต่าง ๆให้ เกิ ด ประสิ ท ธิภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล รวมถึ ง น่ า ผลการวิ จั ย มาพิ จ ารณาเป็ น แนวทางในการ เสริมสร้างและปรับปรุงการบริหารงานในกลุ่ม ไป ถึงหน่วยงาน และองค์กร รวมถึงสามารถน่าผล การศึ กษาไปใช้เ พื่อเป็ น ข้อมู ล พื้น ฐานและเป็ น ประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้สนใจต้องการศึกษา และในการท่าวิจัยในอนาคต


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

139

References Department of Agricultural Extension. (2547). Small and Micro community Enterprise. Bangkok: Department of Agricultural Extension, Secretariat Office of Community Enterprise Promotion Board. Ittjamrat, Sirima J and Nisara Pradistduwg. (2547). Integrated Development Project, Bangban District Ayuthaya, Phra Nakhon Si Ayutthaya. Phra Nakhon Si Ayutthaya : Office of the Higher Education Commission and The Thailand Research Fund. National Economic and Social Development Office (2554). National Economic and Social Development Plan No.10 (2550-2554). Bangkok : Prime Minister's Office. Office of the Auditor General of Thailand. (2553). Report for Develop Operations Office of the Auditor General of Thailand. Bangkok : Office of the Auditor General of Thailand. Phetpraset, Narong. (2542). Community Business. Bangkok : The Thailand Research Fund Sriboonjit, Songsak, et al. (2547). The Upper-North Cottage Handicraft Industry Restructuring Project. Project Research: The Thailand Research Fund. Samutsongkhram Provincial Cooperative Office. (2558). Information for Community. Retrieved 14 July 2558, from http://webhost.cpd.go.th/samutsongkram /data_3.html Secretariat Office of Community Enterprise Promotion Board. (2548). Pharatchabanyat wisahakitchumchon Ph.s 2548. Bangkok : Department of Agricultural Extension and Ministry of Agriculture and Cooperatives. Seri Pongpits. (2548). Changed in Community economy. Bangkok: Jaretwit Printing house.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

แนวทางการจัดการการตลาดสาหรับร้านค้าปลีกขนาดเล็ก :

กรณีศึกษาอาเภอเมือง

สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

วรรณา ทองเย็น1

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสินค้าร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ศึกษาปัจจัย ส่ ว นประสมทางการตลาดที่มีอิทธิ พลต่อการเลื อกใช้บ ริการร้านค้า ปลี กขนาดเล็ ก และเพื่อเสนอแนว ทางการจั ดการการตลาดส าหรั บ ธุร กิจร้ านค้าปลีกขนาดเล็ กในเขตอาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจานวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ผลการวิจั ยพบว่าพฤติกรรมผู้ บริ โภคนิยมซื้อสิ นค้าจากร้านค้าปลี กขนาดเล็กประเภทเครื่องดื่มในตู้แช่ ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคาและด้านส่งเสริมการตลาด โดยภาพรวมให้ความสาคัญอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านสถานที่จัดจาหน่าย โดยภาพรวมให้ความสาคัญ อยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศและการศึกษาที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อการเลือกใช้บริการร้าน ค้าปลีก สาหรับอายุ อาชีพและรายได้ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีกที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนการเปรียบเทียบปัจจัยทางการตลาดที่มีอิท ธิพลต่อการเลือกใช้ บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็ก พบว่าการส่งเสริมการตลาดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ความถี่ในการใช้บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และลักษณะของ ทาเลที่ตั้งด้านการส่งเสริมการตลาดที่แตกต่างกันอย่างมีนัย สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิเคราะห์ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดทั้ง 4 ด้าน สามารถนามากาหนดเป็นแนวทางการจัดการการตลาดของธุรกิจ เพื่อใช้ในการแข่งของร้านค้าปลีกขนาดเล็กได้ คาสาคัญ: การจัดการการตลาด ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพิษณุโลก ที่อยู่ 693 ถนนมิตรภาพ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000. e-mail: 196@hotmail.com


141

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

Marketing Management Approaches for Small Retailers : A Case Study of

Mueang District, Samut Prakan Province

Wanna Thongyen1

Abstract The purposes of this research were to study consumers behavior toward small retailers, to study the marketing mix factors influencing the selection of small retailers and to propose the marketing management pattern for small retailers in Mueang District, Samut Prakan Province. The research sample consisted of 400 persons. The research instrument was a questionnaire. The research found that the most popular products bought by consumers were beverages in refrigerator. Product, price and promotion as marketing factors influenced consumers at a medium level, while place was at a high level. Gender and education did not affect use of small retail business services whereas age, occupation and income did significantly at 0.05. Promotion, Frequency, and place differed significantly among users of the small retail business at 0.05 level. Marketing management can be used as a marketing management approach for small retailers in retail business competition. Keywords: Marketing management, marketing mix factors, small retailer

1

Assistant Professor in Master of Business Administration Program, Phitsanulok University. Address: 693 Mittraphap Road Subdistrict NayMuang DistrictMuang Phitsanulok Phitsanulok University.65000. e-mail: 196@hotmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ร้านค้าปลีกขนาดเล็กหรือแบบดั้งเดิมหรือ เรียกอีกแบบหนึ่งว่าร้านโชห่วย เป็ นร้านค้าปลีก ประเภทหนึ่งที่คนไทยเราคุ้นเคยเป็นอย่างดี และ อยู่ เคียงข้างคนไทยมานานหลายยุคหลายสมัย ตราบจนทุ ก วั น นี้ เป็ น ร้ า นค้ า ที่ มี อ ยู่ ทั่ ว ไปใน ชนบทและในเมื อ ง ซึ่ ง การบริ ห ารจั ด การส่ ว น ใหญ่ ไม่ มี ร ะบบเพราะเจ้ า ของร้ า นจะเป็ น ผู้ จั ด การและเป็ น ผู้ ข ายสิ น ค้ า เอง รั บ ผิ ด ชอบ ภายในร้านทุกอย่าง ส่วนใหญ่เจ้าของร้านจะเป็น คนในครอบครัวในแต่ละชุมชน จะมีร้านค้าปลีก ขนาดเล็ก อย่างน้อยหนึ่งร้าน ทาหน้าที่เป็นร้าน ของชุมชน หรือของหมู่บ้าน โดยจาหน่ายสินค้าที่ จาเป็นต่อชีวิตประจาวัน ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค เช่น ข้าวสาร น้าดื่ม ผงซักฟอก ยาสี ฟัน แชมพู ยาสามัญประจาบ้าน เป็นต้น ในอดีตร้านค้าปลีก ขนาดเล็ กเป็ นสถานที่ที่แม่บ้านแวะมาบ่อยรอง จากการไปตลาด เพื่อหาซื้ออาหารสด โดยส่วน ใหญ่ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก จะตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณ ศูนย์กลางชุมชน หรืออาคารพาณิชย์ริมถนน เพื่อ ให้บริการจาหน่ายสินค้านานาชนิด ขายตั้งแต่เช้า จนกระทั่ ง ค่ า ซึ่ ง ธุ ร กิ จ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก นั บ เป็ น ธุ ร กิ จ เก่ า แก่ เ ติ บ โตคว บคู่ กั บ การ เปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของ ประเทศโดยรวม เพราะทาหน้าที่เป็นตัวกลางใน การเชื่อมโยงและกระจายสิน ค้าจากผู้ ผลิ ตไปสู่ ผู้บริโภคอย่างทั่วถึง ปั จ จุ บั น ร้ า นค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ที่เป็ นราก หญ้ า ของประเทศกลายมาเป็ น ธุ ร กิ จ ล้ า หลั ง โดยทั่วไปธุรกิจค้าปลีก เป็นการดาเนินธุรกิจด้วย ระบบครอบครัวแบบร่วมด้วยช่วยกัน หรือมีคุณ พ่อคุณแม่เป็นหลักในการดาเนินการธุรกิจเหล่านี้ ต้องมีการปรับตัวมากที่สุดและต้องพัฒนาอย่าง ถูกต้อง เพราะในที่สุดธุรกิจ เหล่ านี้ต้องปรับตัว

ตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า กลายเป็ น ร้ า น สะดวกซื้ อ แนวสากลมากขึ้ น คนที่ ส ามารถ ปรับตัวได้ก็สามารถอยู่รอดได้ แต่ถ้าปรับตัวยาก หรือช้าเกิน ไป ก็ต้องปรับ เปลี่ ยนธุร กิจเสี ยใหม่ เนื่องจากการลุ กไล่ จากธุร กิจค้าปลี กที่ทันสมั ย กว่า มีวิธีการให้บริการที่ดีกว่า เข้ามาแย่งตลาด ไป การเรี ยนรู้ที่จะปรับตัวของร้านค้าปลี กต้อง ชัดเจนมากกว่าเดิม รูปแบบการจัดร้านต้องสร้าง ความสะดวกสบายให้แก่ลูกค้า มีวิธีการให้บริการ ดีกว่า แม้กระทั่งการรวมตัว กันระหว่างร้านค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ๆ เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น สิ่ ง จ าเป็ น (กิติเวชโภคาวัฒน์, 2546: 150) จังหวัดสมุทรปราการเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ซึ่งได้รับผลกระทบต่ออิทธิพลของการขยายตัวใน ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ด้วยเช่นกัน เพราะจังหวัด สมุทรปราการเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีเขตติดต่อกับ กรุงเทพมหานคร เป็นจังหวัดซึ่งมีการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งมาก เพราะมี ป ระชากร หนาแน่นถึง 1,293,533 คน ซึ่งในเขตอาเภอเมือ สมุทรปราการนั้นมีจานวนประชากรมากที่สุดใน จั ง หวั ด เพราะมี ป ระชากรถึ ง 533,102 คน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2559) บทบาทความส าคั ญของร้ านค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก หรือร้านโชห่วย เริ่มลดน้อยลงจนกระทั่งต้องปิด กิจการไปในที่สุดเป็นจานวนมาก จะเห็นได้จาก การปิดกิจการของร้านค้าปลีกขนาดเล็กหรือร้าน โชห่วยที่ยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์กับกรมพัฒนา ธุ ร กิ จ การค้ า อ าเภอเมื อ งสมุ ท รปราการเป็ น จานวนทั้งสิ้น 2,227 ร้านค้า (กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า, 2558) ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก สามารถดาเนินธุรกิจให้รอดได้ในปัจจุบันและใน อนาคต ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีการจัดการ ด้านการตลาดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้สอดคล้อง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

กั บ สภาพเศรษฐกิ จ ปั จ จุ บั น ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น กั น อย่างรุนแรง ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา ถึง การปรั บ ตั ว ของธุ ร กิ จ ร้ า นค้ าปลี ก ขนาดเล็ ก ด้วยการศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยทางการตลาด ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การเลื อ กใช้ บ ริ ก ารร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ กเพื่อเป็ น แนวทางในการจัดการตลาด ของร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ผลของการศึกษาใน ครั้ งนี้ จ ะเป็ น แนวทางให้ ผู้ ป ระกอบการร้ านค้ า ปลีกขนาดเล็ กพัฒ นาปรั บปรุงธุรกิจของตนเอง และสามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ ร้านค้าปลีกขนาดเล็กให้สามารถดาเนินกิจการได้ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสินค้า ของผู้ บ ริ โ ภคต่ อ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขต อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 2. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ส่ ว นประสมทาง การตลาดที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การเลื อ กใช้ บ ริ ก าร ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขตอ าเภอเมื อ ง สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 3. เพื่อเสนอแนวทางการจัดการการตลาด สาหรับร้านค้าปลีกขนาดเล็กในเขตอาเภอเมือง สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ขอบเขตของการวิจัย 1.ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชาชนที่ใช้บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็กในเขต

143 อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จ านวน 400 คน ใช้ วิ ธี ก ารเลื อกตั ว อย่ า งแบบ บังเอิญ (Accidental Sampling) 2. ขอบเขตด้านตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระคือ 2.1.1 ปัจจัยส่วนบุคคล 2.1.2 พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการ ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก 2.2 ตัวแปรตาม คือ 2.2.1 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ในการเลื อ กใช้ บ ริ ก ารร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ประกอบด้วย 1) ผลิตภัณฑ์ 2) ราคา 3) สถานที่ จัดจาหน่าย 4) การส่งเสริมการตลาด 2.2.2 แนวทางการจัดการการตลาด ของร้านค้าปลีกขนาดเล็ก 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต่เ ดือนมกราคมถึ ง เดือนมีนาคม 2560 สมมติฐานในการวิจัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีผลต่อ ปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดในการเลื อกใช้ บริ ก ารร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ของผู้ บ ริ โ ภคที่ แตกต่างกัน 2. พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการร้านค้า ปลีกขนาดเล็กที่ต่างกันมีผลต่อปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดในการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีก ขนาดเล็กของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กรอบแนวความคิดในการวิจัย ในการศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการการตลาดสาหรับร้านค้าปลีกขนาดเล็กในเขตอาเภอเมือง สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งสามารถกาหนดเป็นกรอบแนวความคิดในการวิจัยได้ดังนี้ ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ปัจจัยส่วนบุคคล - เพศ - อายุ - ระดับการศึกษา - อาชีพ - รายได้ต่อเดือน

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการ เลือกใช้บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็ก

พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการร้านค้า ปลีกขนาดเล็ก - สินค้าที่เลือกซื้อจากร้านค้าปลีกขนาดเล็ก - เหตุผลการใช้บริการ - ความถี่ในการใช้บริการ - ช่วงเวลาที่ใช้บริการ - ลักษณะของทาเลที่ตั้ง - ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า

- ด้านผลิตภัณฑ์ - ด้านราคา - ด้านสถานที่จัดจาหน่าย - ด้านการส่งเสริมการตลาด

ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย ประช ากรที่ ใ ช้ ใ น การวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ ประชาชนที่ใช้บริการธุรกิจร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ในเขตอ าเภอเมื อ งสมุ ท รปราการ จั ง หวั ด สมุทรปราการ การกาหนดกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนที่ใช้บริการธุรกิจร้านค้าปลีกขนาดเล็ก

ในเขตอ าเภอเมื อ งสมุ ท รปราการ จั ง หวั ด สมุทรปราการ จ านวน 400 คน เนื่ องจากไม่มี ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ของประชากรในแต่ ล ะวั น ผู้ วิ จั ย จึ ง ใช้ วิ ธี ก าร กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากการคานวณ จากสูตรการคานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างของ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

Cochran (1977 อ้างใน เอกะกุล, 2543) ใน กรณีไม่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน แต่ ทราบว่ามีจานวนมาก การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการ สุ่มแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า คื อ แบบสอบถามซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อ เดื อ น ส่ ว นที่ 2 แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล พฤติ ก รรมการบริ โ ภคสิ น ค้ า ของผู้ บ ริ โ ภคต่ อ ร้ า นค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ส่ ว นที่ 3 แบบสอบถาม เกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย ส่ ว นประสมทางการตลาดที่ มี อิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีกขนาด เล็กได้แก่ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่ จัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ส่วนที่ 4 เป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้บริโภคสาหรับค่า ความเชื่ อมั่ น ของแบบสอบถามทั้ง ฉบั บ เท่า กั บ 0.885 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ส ถิ ติ ซึ่ ง แบ่ ง ออกเป็น 2 ส่วนได้แก่ 1. สถิติเชิงพรรณนา คือค่าความถี่ ค่าร้อย ละ ค่ า เฉลี่ ย ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน เพื่ อ บรรยายลักษณะของตัวแปรต่าง ๆ 2. สถิติอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐานโดย ใช้สถิติ t-test, F-test (One – Way ANOVA), Scheffe

145 ผลการวิจัย จากการศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งแนวทางการ จัดการการตลาดสาหรับร้านค้าปลีกขนาดเล็กใน เ ข ต อ า เ ภ อ เ มื อ ง ส มุ ท ร ป ร า ก า ร จั ง ห วั ด สมุทรปราการ สามารถสรุปประเด็นการวิจัยตาม วัตถุประสงค์ในการวิจัย ดังนี้ 1. ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลของผู้ บ ริ โ ภคพบว่ า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 – 30 ปี อาชีพนักเรียน/นักศึกษา มีระดับการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มีรายได้ต่อ เดือน 5,000 – 10,000 บาท 2. พฤติ ก รรมการบริ โ ภคสิ น ค้ า ของ ผู้บริ โภคต่อร้า นค้า ปลี กขนาดเล็กในเขตอาเภอ เมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า สิ น ค้ า ที่ ผู้ บ ริ โ ภคนิ ย มซื้ อ ส่ ว นใหญ่ ป ระเภท เครื่ อ งดื่ ม เช่ น น้ าอั ด ลม นม เบี ย ร์ เครื่ อ งดื่ ม บารุงกาลัง เหตุผลในการเลือกใช้บริการเพราะ ใกล้ ส ถานที่ ที่ ต้ อ งการจะซื้ อ ความถี่ ใ นการใช้ บริการสัปดาห์ละ 1 – 3 ครั้ง ช่วงเวลาใช้บริการ 18.01 – 24.00 น. ทาเลที่ตั้งที่เลือกใช้บริการอยู่ ในชุมชนหรือในหมู่บ้านจัดสรร ค่าใช้จ่ายแต่ละ ครั้งประมาณ 51 – 100 บาท ข้อดีของร้า นค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ที่ ดึ ง ดู ด ให้ ใ ช้ บ ริ ก ารคื อ ความ สะดวกใกล้บ้าน/ที่ทางาน ส่วนข้อเสียส่วนใหญ่ การไม่ติดป้ายราคา 3. ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการ เลือกใช้บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็กในเขตอาเภอ เมื อ ง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ พบว่ า โดยภาพ ร ว ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป า น ก ล า ง ( =3.23, S.D.=0.646) เมื่อ พิ จ ารณาเป็ น รายด้ า น พบว่ า ด้ า นที่มี ค่า เฉลี่ ย สู งสุ ด อยู่ ใ นระดั บ มาก คือด้ า น สถานที่จั ด จ าหน่ า ย ( =3.61, S.D.=0.789) รองลงมามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางคือด้าน การส่งเสริมการตลาด ( =3.20, S.D.=0.799)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ด้านผลิตภัณฑ์ ( =3.12, S.D.=0.686) และด้าน ที่มีค่าเฉลี่ย ต่าสุ ดอยู่ ในระดับ ปานกลางคือด้าน ราคา ( =2.99, S.D.=0.862) ตามลาดับ 4. การวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบปัจจัยส่ ว น ประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็กของผู้บริโภคจาแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ ระดับการศึกษา ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วน ผู้ บ ริ โ ภคที่ มี อ ายุ แ ละอาชี พ แต กต่ า งกั น ให้ ความส าคั ญ ต่ อ ปั จ จั ย ทางการตลาดในการ เลือกใช้บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็กแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน คื อ ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ า นราคา ด้ า นสถานที่ จั ด จาหน่ายและด้านส่งเสริมการตลาด และผู้บริโภค ที่ มี ร ายได้ ต่ า งกั น ให้ ค วามส าคั ญ ต่ อ ปั จ จั ย ทาง การตลาดในการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีกขนาด เล็กแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่จัด จาหน่าย 5. การวิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บปั จ จั ย ทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ บริการธุรกิจร้านค้าปลีกขนาดเล็กของผู้ บริโภค จ าแนกตามพฤติ ก รรมในการเลื อ กใช้ บ ริ ก าร ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก พบว่ า ส่ ว นใหญ่ เ หตุ ที่ เลื อ กใช้ บ ริ ก ารไม่ แ ตกต่ างกั น ยกเว้ น ด้ านการ ส่งเสริมการตลาดมีความคิดเห็นในการเลือกใช้ บริ ก ารที่ แ ตกต่ า งกั น ส าหรั บ ความถี่ ใ นการใช้ บริการร้านค้าปลีกขนาดเล็ กแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านราคาที่ มีความคิดเห็นในการเลือกใช้บริการไม่แตกต่าง ส่วนผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการเลือกช่วงเวลาที่ใช้ บริ ก ารเป็ น ประจ าไม่ แ ตกต่ า งกั น ทั้ ง 4 ด้ า น ส าหรั บ ลั ก ษณะของท าเลที่ ตั้ ง ไม่ แ ตกต่ า งกั น ยกเว้นด้านการส่งเสริมการตลาดที่มีความคิดเห็น

ในการเลื อ กใช้ บ ริ ก ารแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และค่าใช้จ่ายต่อ ครั้งไม่แตกต่างกันทั้ง 4 ด้าน 6. แนวทางการจั ด การการตลาดของ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขตอ าเภอเมื อ ง สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า แนว ทางการจัดการการตลาดของร้านค้าปลีกขนาด เล็ก จากปัจจัยทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน ราคา ด้ า นสถานที่ จั ด จ าหน่ า ยและด้ า นการ ส่งเสริมการตลาด ที่ส ามารถนามากาหนดแนว ทางการจัดการตลาดให้กับร้านค้าปลีกขนาดเล็ก เพื่อใช้ในการแข่งขันของธุรกิจร้านค้าปลีกขนาด เล็กได้ดังนี้ 6.1 ด้านผลิตภัณฑ์ 6.1.1 สินค้าต้องมีความหลากหลายเพื่อให้ ผู้ บ ริ โ ภคมี ตั ว เลื อ กในการเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า จาก ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก 6.1.2 สิ น ค้ า ควรมี ห ลายชนิ ด เพราะ ผู้บริโภคมีความต้องการไม่เท่ากัน 6.1.3 สิ น ค้ า ควรมี คุ ณ ภาพ สะอาดได้ มาตรฐานตัว สินค้าได้การรับรองมาตรฐานจาก อย. 6.1.4 ตราสินค้า ควรมีการโฆษณาทาให้ ลูกค้าจดจาได้ง่าย 6.2 ด้ า นราคา ก าหนดราคาขายที่ เหมาะสมและมั่ นใจว่ าราคาที่ ก าหนดต้อ งเป็ น ราคาที่ผู้ บริ โ ภคพอใจและสามารถจ่ายได้ เช่ น สิ นค้ าราคาถู ก เพื่ อดึ งดู ดผู้ บริ โ ภคให้ หั นมาซื้ อ สิ น ค้ า จากธุ ร กิ จ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก การตั้ ง ราคาให้เป็นกลางไม่สูงหรือต่าเกินควร 6.3 ด้านสถานที่จัดจาหน่าย ทาเลที่ตั้งเข้า ซื้อได้สะดวก มีเวลาเปิดให้บริการที่ยาวนานและ สะดวกในการซื้อสินค้า ตั้งอยู่ในทาเลที่สะดวก


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

6.4 ด้ า นการส่ ง เสริ ม การตลาด ควรใช้ ช่องทางการสื่อสารข้อมูลข่าวสารและเชื้อเชิญให้ เกิดการใช้บริการ สามารถชักจูงให้ลูกค้าเข้าใจ และมี ค วามพอใจในสิ น ค้ า ตลอดจนเห็ น ประโยชน์ที่จะได้รับผ่านสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ เช่ น การโฆษณาสิ น ค้ า หรื อ ร้ า นค้ า ปลี ก ให้ ผู้บริโภครู้จัก มีการส่งเสริมการขาย ลดแลกแจก แถม เพื่อกระตุ้นยอดขาย และการขายโดยบุคคล สื่ อ สารตั ว ต่ อ ตั ว เพื่ อ ชั ก จู ง ให้ ผู้ ซื้ อ เกิ ด ความ ต้องการสินค้ามากขึ้น สรุปและอภิปรายผล การศึ ก ษาเรื่ อ ง แนวทางการจั ด การ การตลาดส าหรั บ ร้ า นค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขต อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ สามารถสรุปและอภิปรายผลได้ ดังนี้ 1.พฤติกรรมการบริโภคสินค้าของผู้บริโภค ต่ อ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขตอ าเภอเมื อ ง สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ พบว่าสินค้า ที่นิยมเลือกซื้อส่วนใหญ่เป็นประเภทเครื่องดื่มใน ตู้แช่ เหตุผ ลในการเลื อกใช้บ ริ ก ารร้ านค้าปลี ก ขนาดเล็ ก เพราะใกล้ ส ถานที่ บ้ า นและสถานที่ ทางาน ความถี่ในการซื้อสัปดาห์ละ 1 – 3 ครั้ง ช่วงเวลาที่ใช้บริการ 18.01 – 24.00 น. ลักษณะ ของทาเลที่ตั้งที่เลือกใช้บริการอยู่ในชุมชนหรือใน หมู่บ้านจัดสรรที่ผู้บริโภคอาศัยอยู่ ค่าใช้จ่ายแต่ ละครั้งในการใช้บริการประมาณ 51 – 100 บาท ข้ อ ดี ข องร้ า นค้ า ปลี ก ก็ คื อ สะดวก เพราะมี อ ยู่ ทั่ว ไปใกล้ บ ริ เ วณที่ พั ก ส่ ว นข้ อ เสี ยของร้ า นค้ า ปลีกขนาดเล็กส่วนมากไม่ค่อยติดป้ายราคา การ จัดวางสินค้าไม่ค่อยเป็นระเบียบ ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิ จั ย ของ นครชั ย กุ ล และคณะ (2552) ได้ ทาการศึ ก ษาวิ จัย เรื่ อ งส่ ว นผสมทางการตลาด (4Ps) ที่มีผลต่อความล้มเหลวของธุรกิจค้าปลีก

147 แบบดั้งเดิม (โชห่ว ย) ในกลุ่ มจังหวัดศรีษะเกษ ยโสธร อานาจเจริ ญและอุ บ ลราชธานี ผลจาก การศึ ก ษาพบว่ า จุ ด แข็ ง ของร้ า นค้ า ปลี ก แบบ ดั้ ง เดิ ม (โชห่ ว ย) ก็ คื อ ลู ก ค้ า กั บ เจ้ า ของร้ า นมี ความคุ้นเคยกันดี สินค้าที่นามาขายส่วนใหญ่เป็น ที่ต้องการของชุมชนและสินค้าสามารถนามาแบ่ง ขายให้ กั บ ลู ก ค้ า ได้ แต่ จุ ด อ่ อ นก็ คื อ สิ น ค้ า ขาด ความหลากหลาย ราคาค่อนข้างแพง ไม่นิยมติด ป้ายราคาสินค้าที่ชัดเจน การจัดวางสินค้ าไม่เป็น ระเบี ย บ ท าให้ สิ น ค้ า เก่ า ปะปนกั บ สิ น ค้ า ใหม่ บรรยากาศในร้า นไม่ ดึ ง ดู ด ใจให้ ลู ก ค้ า เข้ า ร้ า น ขาดการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย การใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ น้อยมาก ขาดมาตรฐานการ บริหารจัดการร้านค้าปลีก 2. ปั จ จั ย ส่ ว นประสมทางการตลาดที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ระดั บ การตั ด สิ น ใจในการเลื อ กใช้ บริก ารร้า นค้ าปลี ก ขนาดเล็ กของผู้ บ ริโ ภคจาก การศึก ษา พบว่า ในภาพรวมมีค วามคิด เห็ นใน การให้ ระดับความส าคัญอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อแยกเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยและ ระดั บ ความคิ ด เห็ น ในระดั บ ความส าคั ญ ของ ปัจจัยอยู่ในระดับมากคือด้านสถานที่จัดจาหน่าย ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง มี 3 ด้ า น คื อ ด้ า นการส่ ง เสริ ม การตลาด ด้ า น ผลิตภัณฑ์และด้านราคาตามลาดับ สอดคล้องกับ งานวิจัยของ จันทร์ถาวร (2554) ได้ศึกษาเรื่อง แนวทางการพั ฒ นากลยุ ท ธ์ ท างการตลาดของ ธุรกิจค้าปลีกขนาดเล็กในเขตอาเภอเมืองจังหวัด นครราชสีมา ผลการศึกษาพบว่าการกาหนดกล ยุทธ์ส่ ว นประสมทางการตลาดของร้านค้าปลี ก ขนาดเล็ ก จากเรื่ อ งปั จ จั ย ทางการตลาดด้ า น ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจาหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ซึ่งสามารถนามาสร้างเป็น กลยุทธ์การจัดการทางการตลาด เพื่อการแข่งขัน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กับคู่แข่งได้ทั้ง 4 ด้าน อาทิ ด้านผลิตภั ณฑ์มีการ ปรั บ ปรุ ง รู ป แบบของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ เ หนื อ กว่ า คู่ แ ข่ ง ด้ า นราคาเป็ น ที่ พ อใจแก่ ผู้ บ ริ โ ภค ด้ า น ช่องทางการจ าหน่าย/สถานที่ ผู้ บริโภคมีความ สะดวกสบายตั้ ง แต่ ที่ จ อดรถจนถึ ง บรรยากาศ ภายในร้าน ด้านการส่งเสริมการจาหน่ายมีการ สื่อสารทางการตลาดที่ดีในด้านต่างๆ เพื่อชักจูง ให้ลูกค้าเกิดความต้องการสินค้ามากขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะของการวิจัยครั้งนี้มีประเด็น ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ และข้ อ เสนอแนะในการวิ จั ย ครั้ ง ต่ อ ไป มี รายละเอียดดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย จากผลการวิจั ยเรื่องแนวทางการจัดการ การตลาดส าหรั บ ร้ า นค้า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขต อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ผู้ วิ จั ย มี ข้ อ ค้ น พบที่ ส ามารถน าไปแนวทางการ จัดการการตลาดและต่อยอดทางธุรกิจได้ดังนี้ 1.1 พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าจาก ร้ า น ค้ า ป ลี ก ข น า ด เ ล็ ก ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค มี ข้อเสนอแนะว่ากลุ่มผู้บริโภคจะมาใช้บริการมาก ในช่ว งเวลา 18.01 – 24.00 น. ดัง นั้นร้ านค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ควรที่ จ ะมี ก ารเพิ่ ม เวลาในการ ให้บริการเพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความสะดวกสบาย ในการใช้ บ ริ ก ารในช่ ว งเวลาดั ง กล่ า วเพื่ อ มิ ใ ห้ กระทบต่ อ การใช้ บ ริ ก ารต่ อ ผู้ บ ริ โ ภคและใน ประเด็ น ที่ ส าคั ญ ที่ ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคมาใช้ บ ริ ก าร ร้านค้าปลีกขนาดเล็กคือความสะดวกสบายและ ใกล้ สถานที่ที่พักอาศัย หรื อที่ทางาน ดังนั้นควร เพิ่มความสะดวกสบายในเรื่องของสถานที่ ไม่ว่า จะเป็นสถานที่จอดรถหรือลักษณะของร้านควร

สะดุดตา เพื่อเป็นการเชื้อเชิญให้มาใช้บริการกับ ธุรกิจค้าปลีกขนาดเล็ก 1.2 ปัจจัยส่ ว นประสมทางการตลาดที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ระดั บ การตั ด สิ น ใจในการเลื อ กใช้ บริ ก ารร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ของผู้ บ ริ โ ภคมี ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1.2.1 ด้านผลิ ตภัณฑ์ ร้ านค้าปลีกขนาด เล็ กควรจัดหาสิ นค้าที่มี คุณภาพ เช่นได้รับรอง จาก อย. ได้มาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. สินค้า มีความทันสมัยอยู่เสมอและมีสินค้าหลากหลาย เพื่อเป็นตัวเลือกให้ผู้บริโภคได้ทาการตัดสินใจซื้อ 1.2.2 ด้านราคา มีการกาหนดราคาสินค้า ให้เหมาะสมกับคุณภาพ ติดป้ายราคาสินค้าทุก ประเภท ราคาต่อรองได้ เพื่อกระตุ้นให้ลูกค้าเกิด ความต้ อ งการซื้ อ และเป็ น การไหลเวี ย นของ ปริมาณสินค้าคงคลังที่ยังคงมีเก็บไว้ในสต๊อค 1.2.3 ด้ า นช่ อ งทางการจ าหน่ า ย เพิ่ ม ความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้า มีชั้นวางสินค้า ที่เป็นระเบียบเรียบร้อยหยิบจับสินค้าได้สะดวก ลู ก ค้ า สามารถเดิ น ชมและเปรี ย บเที ย บราคา สินค้าได้อย่างสะดวกสบาย ภายในและภายนอก ร้านต้องสะอาดอยู่เสมอ ทาเลที่ตั้งของร้านเข้าถึง ได้อย่างสะดวก มีบริเวณที่จอดรถอย่างพอเพียง และปลอดภั ย รวมทั้ ง เวลาเปิ ด – ปิ ด ร้ า นให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคด้วย 1.2.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด ทางร้าน ควรมี ก ารโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ เช่ น มี ป้ า ย โฆษณาร้าน มีการลดราคาในช่วงเทศกาลพิเศษ การขายโดยใช้พ นั ก งานขายคอยดูแลเอาใจใส่ ลูกค้า มีมนุษยสัมพันธ์ บริการสุภาพ ยิ้มแย้มให้ คาแนะนาเกี่ยวกับสินค้าให้แก่ลูกค้า มีบริการที่ รวดเร็ว มีระบบลูกค้าสัมพันธ์เพื่อติดตามลูกค้า สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ เกี่ ย วกั บ แนวทางการจั ด การการตลาดส าหรั บ ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดเล็ ก ในเขตอ าเภอเมื อ ง สมุทรปราการ จั งหวัดสมุทรปราการ ผู้ วิจัยขอ เสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปให้มีการศึกษาใน เรื่องของการเปรียบเทียบพฤติกรรมการตัดสินใจ ซื้อสินค้าของผู้บริโภค ระหว่างร้านค้าปลีกขนาด

149 เล็กกับร้านค้าปลีกสมั ยใหม่ ในเขตพื้นที่เดิมคือ เ ข ต อ า เ ภ อ เ มื อ ง ส มุ ท ร ป ร า ก า ร จั ง ห วั ด สมุทรปราการ เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก ขนาดเล็กทราบแนวทางการจัดการการตลาดอีก ระดับหนึ่งและทราบถึงความต้องการที่แท้จริง ของผู้บริโภค

References Akakul, Theerawut. (2543). Behavioral and Social Research Methodology. Ubon Rachatani: Ubon Ratchatani Rajabhat University. Department of Interior, Ministry of Interior. (2559). Statistics on population [online] Available from: http://www.dopa.go.th/xstat/p5130_01.html (10/12/2016). Department of Business Development. (2558). Retail Business Registration [online] Available from: http://www.dba.go.th (12/11/2558). Jantavon, Prakaydow. (2554). The developing of Marketing Strategies for Small Retailing Stores in Mueang District of Nakhon Ratchasima Province. Independent study in Master of Business Administration Nakhon Ratchasima Rajabhat University. Kitivejpokawat, Peerapong. (2546). +. Bangkok : se-ed UCATION. Nakornchaikul, Kamolporn and others. (2552). Studying Marketing Mix (4Ps) affecting the failure of Traditional Trade (Chohuay) in Srisaket, Yasothon, Amnatjaroen and Ubonrajathani. Research report of Faculty of Management Science, Ubonrajathani University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การเติบโตด้านในของเยาวชนผ่านการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย: การวิจัยแนวปรากฏการณ์

วิทยา

สุปรียส์ กาญจนพิศศาล1 จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร2 สมสิทธิ์ อัสดรนิธ3ี

บทคัดย่อ บทความนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยา ทาการเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิง ลึกรายบุคคล การสนทนากลุ่ม และการจดบันทึกประจาวันของเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการเยี่ยมผู้ป่วยระยะ ท้ายด้วยตนเอง เพื่อศึกษาการเติบโตด้านในของเยาวชนจากการปฏิบัติดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผลของการ วิจัยเบื้องต้นพบว่าสิ่งจูงใจสาคัญที่เอื้อให้เกิดการเติบโตด้านในของเยาวชนจากการปฏิบัติดูแลผู้ ป่วยระยะ ท้าย คือ การตระหนักรู้ในตนเอง การพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ การมีเจตจานงที่มุ่งมั่น การแสวงหา ความรู้และการกระทา การฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน คาสาคัญ: การเติบโตด้านใน การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย การวิจัยแนวปรากฏการณ์วิทยา

1

อาจารย์, ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 อาคารประชาสังคมคมอุดมพัฒน์ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: supreeac@gmail.com 2 อาจารย์, ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 อาคารประชาสังคมคมอุดมพัฒน์ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: supreeac@gmail.com 3 อาจารย์, ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 อาคารประชาสังคมคมอุดมพัฒน์ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 e-mail: supreeac@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

151

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

The Inner Growth of Youths through Hospice Care: A Phenomenological

Research

Supre Kanjanaphitsarn1 Jirattakarn Pongpakatien2 Somsit Asdornnithee3

Abstract This qualitative research undertook a phenomenological research approach by collecting data through in-depth interview, focus group and day-to-day reports of field experience of youths who volunteered in the project to visit the patients in the last stage of lives by themselves . Six motives supporting the inner growth of youth from practically taking care of hospice patients were: self-awareness, contemplation, intention, acquiring knowledge and taking action, continuation of practices until it becomes a part of one’s life, and sharing and learning, all of which could drive them for a great change to be evolving in their lives and further commit themselves to be a self-less service people to mankind and society. Keywords: Inner Growth, hospice care, phenomenological research

1

Lecturer, Contemplative Education Center, Mahidol University 999 Prachasangkomudompat Building Salaya district, Bhudamonthon Distrivt, Nakhon Pathom Provine , 73170 e-mail: supreeac@gmail.com 2

Lecturer, Contemplative Education Center, Mahidol University

999 Prachasangkomudompat Building Salaya district, Bhudamonthon Distrivt, Nakhon Pathom Provine , 73170 e-mail: supreeac@gmail.com 3 Lecturer, Contemplative Education Center, Mahidol University 999 Prachasangkomudompat Building Salaya district, Bhudamonthon Distrivt, Nakhon Pathom Provine , 73170 e-mail: supreeac@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Introduction In 2008, in the state of Florida, United states of America, The Hospice of the Florida Sun Coast initiated a group of youth volunteers to take care of the hospice patients. The advantages of this opportunity came when the local high schools in the area had made a rule for students to deliver social services for at least 75 hours. In order to complete his education, Dustin, a youth of 17 years old at that time, recalled and expressed his feelings that he had an opportunity to take care of the hospice patients and had a chance to make a video record of the life story of Max, a man aged 101, who mentioned that “Being prepared for death made him realize the worthiness of life. It made me to lead my life with reality more than I was� (Learning How to Live, 2004). Youths have a chance to learn about life and death through taking care of the hospice patients, among other things, by helping the patients with their feelings to understand and mentally accepted with humbleness the fact that death is the reality of life. In addition, it could help both the youths and the patients involved in the project to become aware and understand that life and death are just on the other side of the same coin. Moreover, the learning process is not only just analyzing

intuitively but is learned by using one own experience. (Asdornnithee, 2013: 24) Consequenty, the youths in the projects could be more open towards getting to know more about life in a new perspective, as well as understanding and approaching reality of all things. For this reason, this research project was initiated and carried out by coordinating and collaborating with Department of Family Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. A sample of 15 students studying bachelor degree level at Mahidol University were selected from the total number of students who interested in this project for trainings on knowledge and attitude in taking care of the hospice patients in an appropriate manner. The selected students visited the patients in the ward of Ramathibodi Hospital, Mahidol University for at least once a week for a period of three months whilst holding a platform for monthly exchanges of knowledge. Theoretical Framework Reflecting from the concept and theory associated to this particular research, researchers had considered to choose Transformation theory by Jack Mezirow (2009), a professor on Adult Education of Columbia University, United


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

States of America, as main theoretical framework to explain the inner growth of youths who had practically taken care of hospice patients. Personal Transformation theory provides frame of reference of the person who had been conditioned on his point of view due to his experience from the past, the main paradigm of society and culture in which a person grew up, as well as a frame of reference by opening up to accept change that happens and the selfcontemplating process and the conversation and exchanges on points of view with other people. Furthermore, the changes of these kind of attribute happen from new experience happening in life, which comes in and creates a confusion and conflict in the mind, that lead to observation and contemplation of self which consists of ten stages of changes as follow : 1. A disorienting dilemma 2. Self-examination 3. A critical assessment of assumptions 4. Recognition of a connection between one’s discontent and the process of transformation 5. Exploration of options for new roles, relationships, and action 6. Planning a course of action 7. Acquiring knowledge and skills for implementing one’s plan

153 8. Provisional trying of new roles 9. Building competence and selfconfidence in new roles and relationships 10. A reintegration into one’s life on the basis of conditions dictated by one’s new perspective (Mezirow, 2009: 19) However, Mezirow was criticize by many scholars that his theory is based too much on reasons and neglecting the reflection on factor of emotion and intuition. Stages of Research This research was conducted during June 2015 to May 2016. Researchers specified the target group of 45 participants namely, 15 patients from the last stage of life who were appointed for treatment and cure, and were admitted in the hospital during the period of three months and by field practice of the students who participated in the research since 10 August until 31 October 2015, doctors of the patients or doctors who had rights as representative for the 15 patients, and 15 students who took care of hospice patients. This research was a phenomenological research. Researchers gathered data through in depth interview, focus group discussion and journals of the participating students. All


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

data were then analyzed and interpreted qualitatively by using content analysis method (Creswell, 2007). Results and Discussion The factors contributing to inner growth of youths through taking care of the hospice patients were as follows: 1. Self-awareness Things that people participating in this research were clearly aware were that they realized their own misery and this was due to confusion on the new experiences they had never known beforehand, as some of the participants’ response was: “when I first met the patients it was depressing and when they showed a sign of pain I felt it much too, so I wanted to get back to myself and watch what had caused the fear in myself” (Participant #5, interviewed, 27 May 2015). Another one was: “I stated questioning myself where were these feelings coming from, the fears, sadness, joy, confusion” (Participant #4, interviewed, 14 November 2015). This is in consistent to what Mezirow (2009) has explained that the personal transformation starts from confusion and conflicts within self which leads to a very strong feelings and self-observation. Being in awareness is the first step leading one to come and realize and self-observe, inspecting the thinking

process, the feelings and the expressed actions, which leads one to selfquestions relating and comparing between the point of view and the believes that one use to have with the new information and knowledge received from new experiences. A contemplation would start taking an important role in order to drive and create a process to search for answers of the confusion and of doubts in the mind of the participants. 2. Contemplation Most participants questions things according to their old belief structure, one of the examples being one of the response from the learning participants asking herself a question that how she turned into such a calm person. “I was very short tempered earlier, now it has changed towards betterment. I would like to know the reason behind it. It cannot be that I have been much acquainted with the patients” (Participant #4, interviewed 14 November 2015). Mezirow has explained this phenomenon as follow: when one starts to observe oneself there would be a state of thoughtfulness in contemplating and estimating their old belief, which would lead to being aware of one own misery and can lead to the process of inner self transformation (Mezirow, 2009; Nilchaikovit & Juntrasook, 2009).


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

3. Acquiring knowledge and taking action. When the participants started with the process of being aware of self and leading to contemplation of their thoughts and feelings that had evolved in their mind and the relationship with others, the next step was acquiring knowledge and taking action. Most participants spended time acquiring knowledge on the subject that they had doubts on and confused with, and they tested the acquired knowledge and found out the appropriate way for themselves. One of the participants found a correct method to take care of the hospice patients: “I have taken care of patients for many times when I visit the ward. I hardly have met the last stage of life patients. I just want to do it correctly. Maybe I it could be of some help, so I just tried to find books on the subject, took advices from the professors and seniors students and implemented it. When I visited this uncle again, I tried to see if I had done well enough what should be done to improve it” (Participant #8, interviewed, 10 April 2016). Moreover, some of the participants mentioned searching for information on attentive listening and how to implement it in their own life-style, such as: “I read the books that professor

155 recommended. I used the method written in the book to listen to the aged auntie, adapting this and that, and also used it with my friends. My friend said I am a changed person” (Participant #2, interviewed, 6 February 2016); “I search for some information on the internet then I try to use it to listen to the patients, listening to friends in my university faculty, and listening to mother when she is being grumpy. I understand them more now. Now on what matter I could keep quiet I would. l just listen, not much of back-answering” (Participant #7, interviewed, 6 February 2016). Mezirow explained this process of transformation as follows: when there’s a realization that misery could be a contributor to inner changes within self, there will be observation of roles, relationship and plan of practical ways to acquire knowledge and skills to help oneself to follow up the planned steps gradually well, then the practical trial of new role (Mezirow, 2009; Nilchaikovit & Juntrasook, 2009), would start in steps similar to the explanations of Cassandra Vieten, which stated that a person would start practicing when he finds a structure or method suitable to himself (Harryman, 2010). 4. Intention It was found that some of the participants mentioned that they had


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

intention of taking the subject of attentive listening to use it with their friends and families: “I know that listening beneficially makes us understand patients more when I am helping them during the physical therapy, I plan to use it with friends. Listening to my friends makes me understand them more and more. I also get to know how I feel while listening to them. It helps me chose the things on what should be said, and what should not be” (Participant #2, interviewed, 6 February 2016). “I am more careful with talking now. I am more thoughtfully before saying anything out” (Participant #3, interviewed, 6 February 2016). “When I pay attention on listening to my mother, her tension is lessened. She is more open to hear my reasons, not that there’s no argument nowadays, but it has decreased and also more comforting now” (Participant # 7, interviewed, 6 February 2016). One of the participant mentioned on the topic of doing best to take care of patients as follow: “I see them as one of the relative. I try to empathize that if this is okay that if I am the one being the patient here. What would I want. I just want them to get a good feelings in return. It feels good that I am able to fully take care of them”(Participant # 8, interviewed, 6 February 2016). Therefore the fact that

participants had the intention to take this knowledge from this experience that they gained and all that they learned to a beneficial use of self-transformation even though in a different circumstances. Their different reasons were seen as the first important step to help them continuously practice in their daily routine which would eventually lead to the genuine inner growth. 5. The continuation of practices until it becomes a part of one’s life The continuation of practice in our daily routine resulted in inner growth of the participants. It was also noticed that the behavioral changes, such as ability to control their temper and the sympathetic feelings towards other, helped some participants to become more calm after visiting the hospice patient: “I reevaluated myself I found out I am a better listener. The listening attitude has changed me. Earlier when I use to get up set, I just swing a bad facial expression, raising voice. Now those close to me said I don’t swing my face so much. They thought I had been on a course at the temple” (Participant # 4, interviewed, 6 November 2015). Moreover, researchers noted relaxed gesture and a softer tone of speech. They thought I had been on a course at the temple” (Participant # 4, interviewed, 6 November 2015).


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

It was also noticed and found that these kind of changes which helps inner growth had routed into the hearts of participants. Their way of life is now progressive and never go back to the same old structure. A participant mentioned a change in the relationships in her family that: “My relationship with my mother improved. I listened to her and she also started listening to me, and we were able to talk to each other more comfortably than before” (Participant # 7, interviewed, 6 February 2016). 6. Sharing and Learning It was found that researchers and participants had an opportunity to exchange and learn from each other at least once a month for the period of three months of practice on taking care of hospice patients, including meetings with groups of doctors and nurses who took care of hospice patients ward, controled the situations and symptoms that occurred before meeting with the patients, all of which were aspiring factors in helping the inner growth of youth participated in the project. One of the participants noted in the personal diary that it felt good every time when I came together for sharing and learning of knowledge here: “I learned so much every time that there’s a meeting of discussion. I listened attentively and

157 came back to review myself. I saw myself with more courage” (Participant #6, personal journal). “I grew up every time. When there’s a meeting, I wanted to listen to advices of professors and experiences of friends” (participant # 7, personal journal). Nancy Southern mentioned the importance of building communities of learning together in the process of learning for changes that change of point of view in meaning perspective usually happened when facing with a different point of view and ways. If the point of views was coming from our loved ones, respected ones, trusted ones, we were more likely to be reflecting on our own point of view, the value process and assumed theory that we had a strong believe earlier (Southern, 2007 cited in Nilchaikovit & Juntrasook, 2009). Conclusion There were six main factors which influenced inner growth of youths from taking care of hospice patients as follows: 1. Self-awareness by being aware of present moment and can feel the misery that the self is going through from the new experiences that is coming into life and could realize one own potential, the values and meaning of life.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

2. Contemplation by using a good judgment to be considerate of internal state and of external expression of ownself and by questioning the old belief structure and opening up to welcoming new experience coming into life. 3. Acquiring knowledge and taking action is a step of planning actions appropriately with self through acquiring more knowledge on the issues still in doubt, in confusion and unresolved problems and start the experimental by the way that it had been assign, if the experience from the experiments it was realized that this has not been able to resolve the minds problem, this new learning experience will be a starting point to start another learning process. 4. Intention or having a purpose towards objective which encourage inner growth at all time. 5. The continuing of practices until it becomes a part of one life by accumulating experiences and knowledge gained to become a part of life’s routine which would results in changes of behavior and thinking structure from previous this also include the relationship with others and the surrounding society. 6. Sharing and Learning is an open ground for listening to various point of view from group of people having with similar learning objective, or from group

of people having different way of life from ours, this sharing and learning together makes us reflect on our attitude, believes, give a meanings to things and assumptions in the heart, besides that these type of learning promotes the inner growth process continuously and consistently. Lastly researchers found out that restorative changes that occurred to their life is an important steps, which would greatly help the inner growth process occurring continuously and expand out to a selfless service to mankind and society truly. Recommendations for developing research 1. In the case that the target groups are university undergraduate students, the visiting patients period could be extended from three months, or flexible according to the study time table of different courses, considering the time which could facilitate visiting the hospice patients of students continually and having the analysis of lesson learned sessions because changes in attitude and behavior in daily life is part of putting up questions on issues and incidents that one faces repeatedly. 2. The nurses in the patient ward who were directly responsible for taking care of patients and were nearest to


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

patients got an opportunity to join in the meeting on the analysis sessions with others. Nurses in the ward are considered to be the persons who are always next to the patients taking care of them, and being beside the doctors, the patients and their relatives most of the times. They would be a great contribution on providing point of view, thoughts and useful information for uplifting the method in improving mental and spiritual health of the patients. 3. Research team, doctors of the patients and volunteers should be together to describe details of the project, its consequence, answer the questions of patients and their relatives and request them to accept to participate in the project by verbal

159 conversation, in order to jointly create a correct understanding and lessened the affects feeling of the patients and their relatives. 4. This type of research should be repeated for participants of at least 1520 people, since less number of participants would make it difficult to get a the total ole information and its variation, conducting this type of project repeatedly for many times will enable us to collect lots of information enough for examining, comparing and analyzing to find conclusion for developing a course to train volunteers to take care of hospice patients which can support in developing the spiritual dimension of youths.

References Asdornnithee, S. (2013). Acquiring Knowledge through Contemplative Education Method: Epistemology and Methodology. Nakhon Pathom: Contemplative Education Center, Mahidol University. Creswell, J.W. (2007). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches. (2nd ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE. Learning How to Live: Hospice Teen Volunteers Receive More Than They Give. (2004). [online], available from: http://www.whatkidscando.org/archives/ featurestories/hospice.html. Retrieved June, 14, 2014 Mezirow, J. (2009). Transformative Learning Theory. In J. Mezirow & E.W. Taylor (Eds.). Transformative Learning in Practice: Insights From Community, Workplace, and Higher Education. (pp.18-31). CA: Jossey-Bass.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018

Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Nilchaikovit, T. & Juntrasook, A. (2009). The Arts of Facilitation for Transformation: Handbook for Contemplative Facilitator. Nakhon Pathom: Contemplative Education Center, Mahidol University. Harryman, W. (2010). Cassandra Vieten (IONS) : Why We Need to Study Transformations of Consciousness. [online], available from: http://www.elephantjournal.com/2010/04/cassandra-vieten-ions-why-we-need-tostudy-transformations-of-consciousness/ Retrieved November, 5, 2016


161

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

การศึกษาเปรียบเทียบนโยบายและรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ระหว่างประเทศ

ไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ปิยะนุช เงินคล้าย1

บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาเปรีย บเทีย บนโยบายและรูปแบบการท่องเที่ย วเชิง สร้างสรรค์ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ผล การศึกษาพบว่า ทั้งสองประเทศมีแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดย ให้ชุมชนมีส่วนร่วม และภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว ปัจ จัยที่ นาไปสู่ความสาเร็จของการดาเนินงานนั้นประกอบด้วยความรวมมือจากผู ที่มีส วนเกี่ยวของทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชน ทองถิ่น ภาครัฐและภาคเอกชน ความสาเร็จจะนามาดานการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มาเยือน ดังนั้นการสรางเครือขายการทองเที่ยวโดยเฉพาะ ในทองถิ่ น จึ ง เปนสิ่ ง ส าคั ญ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ย วข้ อ งควรมาให้ ความรู้ และประชาสั ม พั น ธ์ เกี่ ย วกับ แหล่ ง ท่องเที่ยวเพื่ออานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ แนวทางในการกาหนดนโยบายและกลยุทธ์และการสร้าง รูปแบบในการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยการวิเคราะห์ค วามพร้อม ของพื้นที่ในด้านความพร้อมด้านสาธารณูปโภค ความพร้อมด้านสิ่งอานวยความสะดวกความพร้อมด้าน บริการความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์และความพร้อมด้านนโยบายของรัฐแนวทางในการนากลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบัติควรมียุทธศาสตร์ด้านต่างๆที่จะรองรับการท่องเที่ยวทั้งสองประเทศ คาสาคัญ: รูปแบบการท่องเที่ยว นโยบายและกลยุทธ์และการสร้างรูปแบบในการท่องเที่ยว

1

รองศาสตราจารย์, สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2086 ถนน รามคาแหง แขวง หัวหมาก เขต บางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 e-mail: piyaayip@yahoo.co.th


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

A Comparative Study of Creative Tourism Policy and Model between Thailand and Lao People's Democratic Republic

Piyanus Ngernklay1

Abstract The research’s main aim was to conduct a comparative study of creative tourism policy and model between Thailand and Lao People's Democratic Republic. The study was a qualitative research. It was found that tourism development guidelines of both countries focused on community participation, and the cooperation among public sector, private sector and people . The factors contributing to success of the creative tourism were collaborations of all stakeholders in local communities, state and private sectors. Such achievement will lead to economic and social development and will also bring tourists’ satisfaction. It is therefore important to create tourism network, particularly in the local areas. The guidelines to formulate policy and strategy and to create the format in creative tourism to accommodate Asean Economic Community (AEC) consist of analysis of area’s readiness in terms of infrastructure, facilities, services, human resources, state’s policy, and directions of strategy’s implementation to accommodate tourism in both countries. Keywords: creative tourism, creative tourism policy and strategy

1

Associate Professor, Ramkhamhaeng University. 2086 Ramkhamhaeng Road, Hua Mak, Bang kapi, Bangkok 10240 e-mail: piyaayip@yahoo.co.th


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ความสาคัญของปัญหา ธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วถื อ ได้ ว่ า เป็ น ภาค บริการที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ ต่างๆ เป็นแหล่งที่มาของการสร้างงานและทาให้ เกิ ด รายได้ ข องประเทศ การจั ด การแหล่ ง ท่องเที่ ยวในภูมิภ าคต่างๆ มีลักษณะที่แตกต่าง กัน แต่ล ะพื้ น ที่มี ความเหมาะสมในการพัฒ นา ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วแตกต่ า งกั น เพราะรูปแบบการท่องเที่ยวต้องอาศัยทรัพยากร ทางธรรมชาติ ได้ แ ก่ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง ธรรมชาติ ที่ ส วยงามทั้ ง ทะเล ชายหาด ปุ า ไม้ น้ าตก นอกจากนี้ ยั งมี เส้ น ทางการคมนาคมที่ สะดวกสบาย มี พ าหนะที่ จ ะพานั ก ท่ อ งเที่ ย ว เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้หลายรูปแบบ มีรูปแบบ การนันทนาการ เช่น การท่องเที่ยวชีวิตยามค่า คืน เป็นต้น นักท่องเที่ยวในปัจจุบัน ให้ความสนใจใน เรื่ อ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมมากกว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วใน สมัย ก่อนเมื่อ 20 ปี ที่ผ่ านมา เมื่อนักท่องเที่ย ว เดิ น ทางไปยั ง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วต่ า ง ๆ สิ่ ง ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งการคื อ ต้ อ งการเปิ ด รั บ ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ ต่างจากชีวิตประจาวัน ในประเทศของตนเอง ต้องการรับรู้และสัมผัสถึง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว นั้ น ๆ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ถึ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วถื อ ว่ า เป็ น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้างสรรค์ได้เป็ นอย่ างดี ดังนั้นในการวิจั ยนี้ได้ สนใจในการศึ ก ษา เปรี ย บเที ย บนโยบายและ รู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ระหว่ า ง ประเทศไทยและสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว ต่อจากนั้นได้เสนอแนะแนวทาง ในการส่งเสริมและพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย

163 การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ เป็ น การ ผสมผสานระหว่ า งแนวคิ ด การท่ อ งเที่ ย วแบบ ยั่งยืน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงกีฬาและบันเทิง การ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และการท่องเที่ยวเชิงประเพณีนิยม เข้าด้วยกัน ขึ้น อยู่ กั บ แต่ ล ะพื้ น ที่ แ ละสถานการณ์ที่ จ ะสรร สร้างกิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว ลักษณะที่ ส าคั ญ ของการท่ อ งเที่ ย วรู ป แบบนี้ ขึ้ น อยู่ กั บ นโยบายของรั ฐ ในการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมที่ สอดคล้องกับทรัพยากรในท้องถิ่น การกาหนดกลยุ ทธ์ ในการท่ องเที่ ย ว ใน ภาพรวมเพื่ อ ให้ มี บ ทบาทและทิ ศ ทางการ เปลี่ ย นแปลงที่ เ หมาะสมในการส่ ง เสริ ม การ อนุ รักษ์และฟื้น ฟูทรัพยากรธรรมชาติตลอดจน การรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมด้วยการให้ กระบวนการพัฒ นาการท่องเที่ย วเป็ น สื่ อกลาง ทางการศึกษาและการเรียนรู้ด้านระบบนิเวศของ นักท่องเที่ยวและสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์แก่ ผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนและประชาชน โดยทั่วไปในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้ความสาคัญ ต่อการศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตลอดจน วัฒนธรรมชุมชนในพื้นที่ เป็นเปูาหมายหลักของ การท่องเที่ยวดั งกล่าว หากไม่มีกระบวนการให้ การศึ ก ษาเพื่ อ สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจใน สิ่ ง แวดล้ อ มและระบบนิ เ วศของทรั พ ยากร ท่ อ งเที่ ย วแล้ ว การสร้ า งจิ ต ส านึ ก ที่ ดี ต่ อ การ อนุ รั กษ์ย่ อมยากที่จ ะเกิดการพัฒ นาที่ยั่ งยื น ขึ้น และการท่องเที่ยวเหล่านั้นไม่อาจกล่าวได้ว่า เป็น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศดังนั้นจึงควรให้การศึกษา ในระหว่างการท่องเที่ยวเป็ น หลั กโดยให้ ข้อมูล ก่อนการท่องเที่ยวและมีการให้การศึกษาเพิ่มเติม ในภายหลังด้วย


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กระแสการท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนเริ่ ม ได้ รั บ ความส าคั ญ โดยเฉพาะประเทศที่ เ กิ ด แหล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ ห ม่ เ ช่ น ป ร ะ เ ท ศ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวก็จะถูก พัฒนาเป็น แหล่ งท่องเที่ย วที่คนให้ ความสนใจเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะถ้าได้รับการรับรองเช่น เป็นหมู่บ้าน มรดกโลก เช่นที่หลวงพระบาง ก็จะดึงดูดความ สนใจของนั กท่อ งเที่ย วได้ หรื อ ในประเทศไทย หมู่ บ้ า นที่ เ ก่ า แก่ เช่ น ชุ ม ชนตลาดร้ อ ยปี เช่ น ตลาดสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตลาดบ้า นใหม่ ร้ อยปี จั งหวัดฉะเชิง เทรา ตลาดเก่ าบางหลวง ร.ศ.122 จั ง หวั ด นครปฐม เป็ น ต้ น ในแต่ ล ะ ส ถ า น ที่ ต้ อ ง พั ฒ น า จุ ด เ ด่ น เ พื่ อ ใ ห้ ดึ ง ดู ด นักท่องเที่ยว ในอดีตชุมชนถือว่ามีส่วนสาคัญมากในการ หล่ อ หลอมให้ ค นในชุ ม ชนเกิ ด การเรี ย นรู้ แ บบ แผนทางสั ง คมหรื อ เกิ ด พฤติ ก รรมต่ า ง ๆ เนื่องจากในอดีตชุมชนมีขนาดเล็ก คนในชุมชนมี ปฏิสั มพัน ธ์กั น อย่ างทั่ว ถึงมีการพึ่ง พาอาศัยกั น ของคนในชุมชน หรือในบางชุมชนคนที่อยู่อาศัย กันอาจเป็นเครือญาติเดียวกัน และมีความผูกพัน กันทางจิตใจค่อนข้างสูง จนเรียกได้ว่าในชุมชน นั้น ๆ เป็นการอยู่อาศัยกันเป็นระบบครอบครัว

ใหญ่ การมีส่ ว นร่ ว มของคนในชุม ชนเหล่ า นี้จึ ง ได้รับการร่วมมือจากคนในชุมชนเป็นอย่างดี ทุก คนในชุมชนรู้สึกถึงความรักและความผูกพันของ ตนเองที่มีต่อชุมชน รวมถึงความรู้สึกเป็นเจ้าของ ในชุมชน ก่อให้เกิดความคิด ความรับผิดชอบใน การพั ฒ นาและดู แ ลชุ ม ชนของตนเอง ดั ง นั้ น ชุมชนเป็น หน่ว ยทางสั งคมที่ มีร ะบบและกลไก ทางสั งคมการพัฒ นาสมาชิกในชุมชน ซึ่งการมี ส่ ว นร่ ว มของสมาชิ ก ส าคั ญ ที่ ต้ อ งได้ รั บ ความ ร่วมมือในการกาหนดนโยบายสาธารณะ การวาง แผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการภายใน ชุมชน ตลอดจนการติดตามประเมินผลเพื่อนามา ปรับปรุงให้เกิดประสิทธิผลและยั่งยืน การเปรียบเทียบการท่องเที่ยวเชิงสร้า งสรรค์ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ะ ประชาธิปไตยประชาชนลาว นโยบายและรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วของ ประเทศไทยเน้ น เทคโนโลยี และภู มิ ปั ญ ญา ท้ อ ง ถิ่ น เ ป็ น ห ลั ก ใ น ข ณ ะ ที่ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวเน้นวัฒนธรรม เน้น ประเพณี เป็นหลั ก ทาให้ มีจุดอ่อนจุดแข็ง และ โ อ ก า ส อุ ป ส ร ร ค ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ดั ง นี้

การเปรียบเทียบจุดอ่อนจุดแข็งโอกาสและอุปสรรค จุดอ่อน ด้านศักยภาพ

การเดินทาง

ประเทศไทย

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ขาดการนาศักยภาพของพื้นที่เช่น ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ให้ เกิดมูลค่าทางการท่องเที่ยว ขาดจุดขาด เสน่ห์ ด้านการท่องเที่ยว ยังไม่มีความชัดเจน 2.ระบบการขนส่ ง ในการเชื่ อ มโยงสถานที่ ท่องเที่ยวยังไม่เพียงพอ ขาดความต่อเนื่อง การ ให้บริการด้านการขนส่งไม่เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว

สินค้าอุปโภค บริโภค รวมถึงอาหารและเครื่องดื่มมี ราคาสูง เนื่องจากต้องนาเข้ามาจากประเทศไทย ทาให้ต้นทุนทางการท่องเที่ยวและค่าครองชีพใน พื้นที่สูง การคมนาคมขนส่ งและการอานวยความสะดวก ให้แก่นักท่องเที่ยวยังขาดความคล่องตัว ถนนเข้า พื้นที่การท่องเที่ยวบางแห่งเสื่อมโทรม ทาให้เกิด ความไม่สะดวกในการเดินทางท่องเที่ยว


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประเทศไทย การจัดการ มี ปั ญ หาด้ า นระบบการบริ ก ารจั ด การด้ า นการ และการ ท่ อ งเที่ ย ว การจั ด การด้ า นการตลาดและการ ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ ขาดมัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่มีความรู้ ด้านการท่องเที่ยวไกด์ท้องถิ่นยังขาดศักยภาพใน การจั ด การท่ อ งเที่ ย ว ฐานข้ อ มู ล ของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ผยแพร่ แ ก่ นั ก ท่ อ งเที่ ยวยั ง มี ข้ อ ผิ ด พลาด ขาดการอั พ เดทข้ อ มู ล ให้ เ ป็ น ปัจจุบัน ศักยภาพของ ขาดการรวมกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ภาคเอกชนขาดความ ภาคเอกชน เข้ ม แข็ ง ไม่ มี อ านาจต่ อ รองหรื อ ก าหนดทิ ศ และประชาชน ทางการพัฒ นา การจั ดการท่ อ งเที่ ยวแบบแยก ส่ ว น เช่ น การแย่ ง ลู ก ค้ า การตั ด ราคา ไม่ สามารถก าหนดมาตรฐานการท่ อ งเที่ ย วใน ภาพรวมได้ ขาดการจัดทาแผนการตลาดร่วม นโยบายด้าน ปัญ หาการสื่ อ สารและแนวทางการดาเนิน งาน การท่องเที่ยว ของภาคส่วนการท่องเที่ยวยังไม่ชัดเจนขาดความ ร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม ไม่ ด าเนิ น การตาม ยุทธศาสตร์ที่กาหนดไว้ 2.ขาดการจัดลาดับความสาคัญของแผนงานด้าน การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วที่ มี ค วามเร่ ง ด่ ว น งบประมาณมีน้อยไม่สามารถดาเนินงานได้อย่าง ทั่วถึง กิจกรรมด้าน 1.ยังไม่สามารถทาให้จังหวัดเชียงรายเป็นสถานที่ การท่องเที่ยว ท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี 2.ขาดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ต่อเนื่อง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว จุดแข็ง โครงสร้าง พื้นฐาน

ภูมิประเทศ

1.โครงสร้างพื้นฐาน Logistic เพื่อการเชื่อมโยง ระบบคมนาคมในกลุ่ม GMS (จีน พม่า ลาว ไทย) มี เ ส้ น ทางถนนสายหลั ก เชื่ อ มโยงกั บ จั ง หวั ด ใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้าน 2.มีสาธารณูปโภคที่เอื้ออานวยความสะดวกให้แก่ นักท่องเที่ยวครบครัน 1.มีทาเลที่ตั้งติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านทั้ง ลาว พม่ า และจี น ตอนใต้ สามารถเชื่ อ มโยงการ ท่องเที่ยวระหว่างกันได้ เกิดจุดขายใหม่ของการ

165 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวยังน้อย ขาดกิ จ กรรมในการส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว ไม่ มี กิจกรรมเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี

การรับรู้ ความเข้าใจ ของประชาชนและชุมชนของ พื้ น ที่ ยั ง ขาดความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การ ท่องเที่ยวในชุมชน ไม่สามารถสร้างรายได้จากการ ท่ อ งเที่ ย ว ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ผู้ ป ระกอบการด้ า น ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ ผลประโยชน์ ส่ ว นใหญ่ จ ากการ ท่องเที่ยว ขาดการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานทางด้านการท่องเที่ยว เช่น สถิตินักท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ พักแรม บริษัททัวร์ที่ให้บริการทางการท่องเที่ยว และการจั ด ท าแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วให้ เหมาะสมกับบริบทการท่องเที่ยว

1.บุ ค ลากรด้ า นการท่ อ งเที่ ย วยั ง ขาดอบรมเพื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ ห้ ไ ด้ มาตรฐานสากล เพื่ อ รองรั บ การขยายตั ว ของ นักท่องเที่ยว 2.ขาดการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวให้ทันสมัย ไม่มีความหลากหลาย มี สิ่ ง อ านวยความสะดวกขั้ น พื้ น ฐาน ไฟฟู า น้าประปา ระบบสาธารณูปโภค สัญญาณโทรศัพท์ อินเตอร์เนต ทั่วถึงบางพื้นที่

1.มีทัศนียภาพที่สวยงาม อากาศดีปราศจากมลพิษ เมื อ งที่ ส งบและปลอดภั ย เหมาะแก่ ก ารพั ก ผ่ อ น แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ซึ่ งหา


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

วัฒนธรรม เศรษฐกิจ

การเมือง

ประชาชน

โอกาส

ประเทศไทย ท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศ 2.มีลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศที่เหมาะกับ การท่ อ งเที่ ย ว มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย ง มากมาย มีความหลากหลายทาง อัตลักษณ์ เป็นแหล่งอารยธรรมหลากหลาย มีประวัติศาสตร์ ยาวนาน มีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ยากในปัจจุบัน 2.มีลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศที่เหมาะกับการ ท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย มี ความหลากหลายทาง อัตลักษณ์ ความหลากหลายในด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ ที่ เ ก่ า แก่ วัฒนธรรมประเพณีทั้งของคนลาว และชนเผ่าต่าง ๆ ที่ผสมผสานและอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืน มีด่านสากลที่มีการค้าชายแดนที่มีศักยภาพ เช่น ด้านสถานที่พักแรมของนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มี ด่ า นแม่ ส าย เชี ย งแสน เชี ย งของ และทั้ ง สาม ความหลากหลายราคาให้เลือก มีระบบรักษาความ อาเภอได้รับการส่งเสริมให้เป็นเขตเศรษฐกิจชาน ปลอดภัย การให้บริการมีคุณภาพ แดน ทาให้ส่งผลในทางบวกต่อการท่องเที่ยว 1.มี ค วามแตกต่ า งกั น ของการเมื อ งในแต่ ล ะ 1.การเมืองการปกครองที่มีเสถียรภาพ ง่ายต่อการ รัฐบาล กาหนดนโยบาย และดาเนินการตามนโยบายเพื่อ 2.มีการส่งเสริมจากรัฐบาลในเรื่องการท่องเที่ยว พัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่างต่อเนื่อง 2.พรรคและรัฐบาลให้ความสาคัญแก่การท่องเที่ยว เป็ น บุ ริ ม สิ ท ธิ์ ที่ 8 ของ 11 โครงการของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจชาติ 1.บางพื้นที่ผู้คนในท้องถิ่นมีความเป็นมิตรต่อผู้มา 1.ชุมชนเจ้าของพื้นที่ทาหน้าที่เป็นเจ้าบ้านที่ดี เป็น เยือน มีความปลอดภัยสาหรับนักท่องเที่ยว แต่ มิตร และมีทัศนคติที่ดีต่อนักท่องเที่ยว การแต่งตัว เสื้ อผ้ าเครื่ อ งนุ่ งห่ ม วิถี ชีวิต แบบดั่ งเดิ มเรีย บง่ า ย บางพื้นที่ก็มีความไม่ปลอดภัย 2.บางพื้นที่ประชาชนมีส่วนร่วมสูงแต่บางพื้นที่ ซึ่งเป็นจุดเด่นเอกลักษณ์เฉพาะของ สปป.ลาว ประชาชนก็ไม่สนใจ 2.เน้ น การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนให้ นักท่องเที่ยวสัมผัสกับวิถีชีวิตดั่งเดิมชองชุมชนและ ชนเผ่ า ต่ า ง ๆ โดยยั ง คงเอกลั ก ษณ์ ดั่ งเดิ ม และ สามารถกระจายรายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย วให้ กั บ ชุมชนโดยตรง มีนโยบายที่เปิด กว้างและตอนรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากทุ ก ชนชาติ นโยบายพั ฒ นา มาตรฐานการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานสากล 1. รั ฐ บาลมี แ นวนโยบายในการส่ ง เสริ ม การ 1. ภู มิ ป ระเทศของแขวงบ่ อ แก้ ว ที่ เ ป็ น ชายแดน ท่องเที่ยว มีแผนงานพัฒนาระบบขนส่งความเร็ว เชื่ อ มต่ อ กั บ ประเทศไทย พม่ า และห่ า งจาก สูง ส่งผลให้เกิดการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงระหว่ าง ชายแดนจีนเพียง 100 กิโลเมตร กลุ่มจังหวัดและการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่าง 2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน จากความร่วมมือ ประเทศมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ทางเศรษฐกิ จ ที่ สปป.ลาวร่ ว มเป็ น สมาชิ ก เช่ น 2. เป็นสมาชิก GMS ASEAN และมีภูมิศาสตร์ที่ GMS ASEAN เกิดการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ตั้ง อยู่ บ นแนวการพัฒ นาเศรษฐกิ จ Economic สมาชิ ก Connectivity ที่ ก่อ ให้ เ กิ ดการพั ฒ นา Corridor, ASEAN connectivity การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานในหลากหลายรูปแบบ เช่น ถนน ระบบคมนาคมขนส่งเชื่อ มโยงประเทศสมาชิ ก R3 ASEAN High way สะพานมิตรภาพไทย – ลาว การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ การเชื่อมโยงด้าน แห่งที่ 4 ทาให้แขวงบ่อแก้ว เป็น HUP ของพื้นที่


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

อุปสรรค

ประเทศไทย โครงสร้างพื้นฐาน การเชื่อมโยงด้านประชาชน 3.ข้อตกลงความร่วมมือในระดับภูมิภาค(ASEAN) และระดับอนุภูมิภาค (GMS)ในด้านความร่วมมือ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ บน เส้นทาง R3A การอานวยความสะดวกในการ เดินทางระหว่างประเทศ ส่งผลในทางบวกต่อการ ท่องเที่ยว 4.การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อยู่ในกระแสความ นิยมของนักท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่มีกาลังซื้อและ ใช้เวลาค่อนข้างนานสาหรับการท่องเที่ยวในแต่ ละ ครั้งในท่องเที่ยวในท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ 1.ขาด Positioning และแผนแม่บทการพัฒนาที่ สอดคล้ อ งกั บ ศั ก ยภาพด้ า นการท่ อ งเที่ ย วใน ภาพรวมของพื้นที่ 2.กฎระเบี ย บและพิ ธี ก ารผ่ า นแดนที่ ค่ อ นข้ า ง ยุ่งยากและล่าช้า ทั้งจากฝั่งไทยและฝั่ง สปป.ลาว 3. เงื่อนไข กฎเกณฑ์ นโยบายของประเทศเพื่อน บ้ า นไม่ เ อื้ อ ต่ อ การสร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นการ ท่ อ งเที่ ย ว และนโยบายด้ า นความมั่ น คงของ ประเทศไม่ เ อื้ อ ต่ อ การสนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย ว ระหว่างประเทศ 4. กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการและเงื่อนไขใน การขออนุ ญ าตน ารถยนต์ ส่ ว นตั ว เข้ า มาใช้ ใ น ประเทศไทยเพื่ อ การท่ อ งเที ย ว (2559) ของ กรมการขนส่งทางบกที่ได้ประกาศใหม่ มีขั้นตอน การด าเนิ น การที่ ค่ อ นข้ า งซั บ ซ้ อ นและใช้ ระยะเวลามากกว่าเดิม 5. วัตถุประสงค์การก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ไม่เอื้ออานวยต่อการท่องเที่ยว ทั้งของฝั่งไทยและสปป.ลาว 6. ภาคส่วนการท่องเที่ยวในพื้น เอกชน ชุมชน และหน่ ว ยงานรั ฐ ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารประสานการ ทางานระหว่างกัน 7.แหล่ งท่ อ งเที่ ย วบางแหล่ ง มี พื้ น ที่ ทั บ ซ้ อ นกั บ พื้ น ที่ ปุ า สงวน ท าให้ ภ าคส่ ว นการท่ อ งเที่ ย วไม่ สามารถเข้าไปพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงการ คมนาคมให้เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้ 8.อานาจการบริหารของภาครัฐบางส่วนยังเป็น

167 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามประเทศ ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นการ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว 3. เขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่แขวงบ่อแก้วทาให้นัก ลงทุนสนใจเข้ามาลงทุนในธุรกิจต่าง ๆรวมถึงธุรกิจ ท่องเที่ยว

1. กฎระเบี ย บและพิ ธี ก ารผ่ า นแดนที่ ค่ อ นข้ า ง ยุ่งยากและล่าช้า ทั้งจากฝั่งไทยและฝั่ง สปป.ลาว 2. วัตถุประสงค์การก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่ ง ที่ 4 เพื่ อ ประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ เน้ น กิจกรรม Logistic ซึ่งกฎระเบียบระหว่างประเทศที่ ออกมาบังคับใช้ ไม่เอื้ออานวยต่อการท่องเที่ยวทั้ง ของฝั่งไทยและสปป.ลาว 3. ภาคส่วนการท่องเที่ยวในพื้น เอกชน ชุมชน และ หน่ ว ยงานรั ฐ ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารประสานการท างาน ระหว่างกัน ทาให้ทิศทางการท่องเที่ยว การพัฒนา และส่ งเสริ มการท่อ งเที่ ยว การจั ดกิ จ กรรมการ ท่องเที่ยว ยังเป็นไปแบบต่างคนต่างทา 4.งบประมาณของหน่ ว ยงานภาครั ฐ มี จ ากั ด ไม่ สามารถพัฒนาการท่องเที่ยวตามแผนงานที่วางไว้ 5. ภาคเอกชนในพื้นที่ไม่สามารถดาเนินโครงการ ขนาดใหญ่ เ พื่ อ พั ฒ นากิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วได้ เนื่ อ งจากขาดแหล่ ง ทุ น โครงการขนาดใหญ่ ถู ก อนุมัติโดยรัฐบาลกลาง ซึ่งนายทุนส่วนใหญ่มาจาก ประเทศจีน ซึ่งเอกชนในพื้นที่ต้องรับงานต่อมาก จากนายทุนใหญ่ซึ่งทาให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่ ผลประโยชน์จ ะตกอยู่กั บ นายทุน จี น ไม่ก ระจาย ไปสู่ชุมชนเป็นการลงทุนที่ประชาชนในพื้นที่สูญเสีย ทรั พ ยากรแต่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ก ลั บ คื น สู่ ชุม ชน เท่าที่ควร


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ประเทศไทย เพียงการมอบอานาจจากส่วนกลาง ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด / หั ว หน้ า ส่ ว นราชการไม่ ส ามารถ ดาเนินการในส่วนที่ไม่ได้มอบอานาจไม่ได้ 9.งบประมาณของหน่วยงานภาครัฐมีจากัด ไม่ สามารถพัฒนาการท่องเที่ยวตามแผนงานที่วางไว้ 10.การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศส่ ง ผลกระทบต่ อ สภาพภู มิ ศ าสตร์ เป็ น ปั จ จั ย ทาง ธรรมชาติทไี่ ม่สามารถควบคุมได้ทาให้การบริหาร จัดการด้านการท่องเที่ยวไม่สามารถดาเนินการได้ อย่างเต็มรูปแบบ

ผลการศึ ก ษาเชิ ง เปรี ย บเที ย บแนว ทางการพัฒ นาการท่อ งเที่ย วของประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใน เรื่ อ งการมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนในการก าหนด นโยบายการบริ ห ารจั ด การการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้างสรรค์ พบว่า ประเทศไทยนอกจากภาค ประชาชนที่ อาศัย หรื อ ดาเนิ น ชีวิต ในชุมชนที่ มี บทบาทสาคัญในการพัฒนาศักยภาพการบริหาร จั ดการท่องเที่ย วแล้ ว ยั งมีภ าครั ฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชนในปัจจุบัน ที่มีการตื่นตัวในเรื่องของการพัฒนาศักยภาพและ เตรี ย มความพร้ อ มในด้ า นการท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ รองรั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นมากยิ่ ง ขึ้ น ชุ ม ชนเองโดยเฉพาะ องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น (อปท.) มี ก ารจั ด โครงการเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ แม้ว่าจะไม่มีโครงการ ของภาครัฐจากส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลาง และ ภาคเอกชนแล้ ว ก็ ต าม ในโลกปั จ จุ บั น ที่ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงทางด้า นเทคโนโลยี อ ย่า งรวดเร็ ว โลกแห่งการสื่อสาร การเชื่อมต่อข้อมูลข่าวสาร กั น อย่ า งไร้ พ รมแดน ท าให้ ก ลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย ว สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและสื่ อต่าง ๆ ได้ ง่าย และรวดเร็ว ในการค้นหาและเตรียมตัวเพื่อ

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

การท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ นอกจากนี้ในด้าน สั ง คมและวั ฒ นธรรม พบว่ า ในสถานการณ์ ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วมาก โดยที่ ก ารเปลี่ ย นแปลงจากสั ง คมการเกษตร กลายเป็ น สั ง คมอุ ต สาหกรรม การรุ ก คื บ ของ ความเจริ ญ ความเป็ น เมื อ งเริ่ ม ขยายตั ว เข้ า สู่ ชุมชนชนบท และการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว ไร้ พรมแดนนี้เองทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และสถานการณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็วขึ้น ส่งผลต่อ พฤติกรรม ความคิด ค่านิยม การแสดงออกของ ผู้คนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไม่ ว่าสถานการณ์ ในสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปเช่นไร หรื อก าร เป ลี่ ยน ผ่ า นเ ข้ า สู่ ยุ ค เ ท คโ นโ ล ยี สารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัย ล้วนส่งผล ต่อการพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนและเยาวชนที่ กาลังจะเป็นกาลังสาคั ญในอนาคตในการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนั้น การใช้พลังของชุมชน ในการพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย์ เ พื่ อ รองรั บ ด้ า นการ ท่องเที่ยวให้เต็มศักยภาพและเตรียมความพร้อม สู่การเป็นพลเมืองอาเซียน และพลเมืองโลกที่มี คุณภาพและจิตบริการ เป็นเจ้าบ้านที่ดี ในการ ต้ อ นรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ภายในประเทศและ ต่างประเทศ ชุมชนต้องได้รับการบริหารจัดการที่


169

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ดี และปัจจัยเงื่อนไขใดบ้างที่มีความสาคัญในการ พัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ด้านการท่องเที่ยวอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยชุมชนควรมี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนดนโยบายการบริ ห าร จัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มี ก ารบู ร ณาการแผนยุ ท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยว ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน เปลี่ ย นแปลงไปในทางที่ ดี ขึ้ น มี ก ารปรั บ ปรุ ง โครงสร้ างการตั้งกระทรวง แขวง และเมือง มี การวางแผนพัฒ นาแหล่ งท่องเที่ย ว โครงสร้ า ง พื้ น ฐานและสิ่ ง อ านวยความสะดวกด้ า นต่ า งๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรมและงานนิทรรศการใน รูปแบบต่างๆเพื่อเป็นการเชิญชวนนักท่องเที่ยว ภายในและต่างประเทศให้เข้าเที่ยวชม จับจ่าย ซื้อของ บริการที่พัก ทาให้ผู้ประกอบการมีรายได้ นับว่าการส่งเสริมการท่องเที่ยวของสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีระบบการวางแผน ในการนาทรั พยากรมาใช้ในด้านการท่องเที่ยว ของประเทศอย่างถูกต้อง คุ้มค่า และเป็นไปตาม กฎกติกา หลักเกณฑ์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ทาให้เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจและสังคมใน ปั จ จุ บั น และอนาคต ดัง คากล่ า วของเจ้าหน้า ที่ ระดับสูงจากกรมพัฒนาการท่องเที่ยวท่านหนึ่งว่า “การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว คือ การวาง สรุปผลการเปรียบเทียบได้ตามตาราง ประเด็นในการ ประเทศไทย เปรียบเทียบ รูปแบบการท่องเที่ยว หลากหลาย แนวทางการพัฒนา ชัดเจน มีเอกภาพ ทรัพยากรด้านการ หลากหลาย คุณภาพดี ท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว ชัดเจน ครอบคลุมทุกด้าน

กรอบแนวทางปฏิบัติเพื่อนาไปสู่เปูาหมายที่ตั้งไว้ แต่ ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ จ ะตั ด สิ น ชั ย ชนะคื อ ความ รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องแต่ละขั้นเพื่อ ขับเคลื่อนภารกิจไปตามกรอบแผนยุทธศาสตร์ที่ กาหนดไว้ และมีระบบบริหารจัดการทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ” อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ พบว่า การ พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวยังมีปัญหาอุปสรรค มากมายหลายอย่ าง ซึ่งเป็ น ผลมาจากการเปิ ด ประตูต้อนรับนักท่องเที่ยวเพียงระยะเวลาน้อย มาก โครงสร้างระบบการจัดตั้งดูแลการท่องเที่ยว ไม่มีความมั่นคง มีการโยกย้ายเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ส่งผลให้การกาหนดยุทธศาสตร์ การ วางแผนการด าเนิ น งาน การก าหนดกฎหมาย และระเบี ย บการคุ้ ม ครองและส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยวไม่เป็นระบบ โครงสร้างพื้นฐาน และสิ่ง อานวยความสะดวกทางด้านการท่องเที่ยวมีไม่ เพียงพอ บุคลากรทางด้านการท่องเที่ยวมีจานวน จากัดและไม่มีประสบการณ์ในด้านการบริห าร จัดการด้านการท่องเที่ยว คุณภาพสินค้าและการ บริการของผู้ประกอบการภาคเอกชนยังต่าเมื่อ เปรียบเทียบกับมาตรฐานสมรรถนะของบุคลากร ที่ ป ระกอบวิ ช าชี พ ท่ อ งเที่ ย วตามมาตรฐาน ข้อตกลงร่วมอาเซียน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว หลากหลาย ขาดเอกภาพ ขาดเปูาหมายที่ชัดเจน หลากหลาย คุณภาพดีมาก ชัดเจน ครอบคลุมทุกด้าน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ประเด็นในการ เปรียบเทียบ บุคลากรด้านการท่องเที่ยว การบริการ งบประมาณ โครงสร้างพื้นฐาน เจ้าหน้าที่รัฐ เอกชน ประชาชน การนาแผนไปสู่การปฏิบัติ ผลลัพธ์

ประเทศไทย เพียงพอ มีคุณภาพ มีประสบการณ์ มีความรู้ เพียงพอ เหมาะสม ดีมาก เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สนับสนุนดี มีความรู้ มีทุนในการดาเนินงาน เข้าใจ มีส่วนร่วม สาเร็จเป็นส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่บรรลุเปูาหมาย

สรุปผลการศึกษา ปัจจัยเงื่อนไขของการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการกาหนดนโยบายการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในภาพรวมซึ่งการมี ปั จ จั ย เงื่ อ นไขเหล่ า นี้ จะเอื้ อ ต่ อ การเกิ ด ผล ความสาเร็จของการบริหารจัดการและการเตรียม ความพร้ อ ม แต่ ห ากขาดหรื อ มี ไ ม่ เ พี ย งพอจะ ส่งผลต่อความไม่สาเร็จ หรือการล้มเหลวของการ บริหารจัดการได้ ดังต่อไปนี้ 1.ความเข้ ม แข็ ง ของผู้ น า/แกนน าใน ชุมชน แกนนาชุมชนเป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่งต่อ ความสาเร็จหรือล้มเหลว โดยหากแกนนา ซึ่งอาจ มาทั้ ง จากผู้ น าโดยต าแหน่ ง บริ ห ารและผู้ น า ธรรมชาติ มีความเข้มแข็ง เอาจริงเอาจังในการ บริหารจัดการชุมชน มีความเสียสละ ทุ่มเท ใน การดาเนินงาน จะทาให้การขับเคลื่อนงานเป็นไป อย่างจริงจัง และมีโอกาสสาเร็จตามเปูาหมายสูง ประกอบกั บ หากผู้ น าชุ ม ชนเป็ น ผู้ น าที่ มี บ ารมี เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ก็ยิ่งจะ ทาให้การขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนา และการ มีส่วนร่วมของชุมชนในการกาหนดนโยบายการ

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ไม่เพียงพอ ขาดมาตรฐาน ขาดประสบการณ์ ความรู้ ไม่เพียงพอ จัดสรรไม่เหมาะสม ไม่ดี ไม่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยว เปลี่ยนแปลงบ่อย ขาดความต่อเนื่อง ขาดความรู้ ขาดทุนในการดาเนินงาน มีความแตกต่างสูง ไม่สาเร็จเป็นส่วนใหญ่ บรรลุเปูาหมายเป็นส่วนน้อย

บริหารจัดการการท่องเที่ยว เป็นไปได้ดีมาก ยิ่งขึ้น 2.การมีส่ ว นร่ ว มของประชาชน การมี ส่ ว นร่ ว มของของประชาชน เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ อย่างยิ่งต่อการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ด้านการ ท่องเที่ยวซึ่งมิอาจสาเร็จได้เลยหากปราศจากการ มีส่วนร่วมของประชาชน ประชาชนจะต้องเข้ามา มีส่ ว นร่ว มในการคิด วางแผน และดาเนิน การ แก้ไขปัญหาด้วยตนเอง เนื่องจากเป็นผู้ที่รู้สภาพ ปัญหาและศักยภาพของชุมชนต่อการการบริหาร จัดการการท่องเที่ยวของท้องถิ่นหรือชุมชนได้ดี ที่สุด 3.การตระหนั ก ร่ ว มต่ อ ความส าคั ญ ใน การบริ ห ารจั ด การการท่ อ งเที่ ย วของทุ กฝุ า ยที่ เกี่ยวข้อง ความตระหนักร่วมต่อความสาคัญใน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกาหนดนโยบาย การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็ น ปั จ จั ย อี ก ประการ ซึ่ ง จะพบว่ า เมื่ อ ชุ ม ชน หรื อ ท้ อ งถิ่ น อยู่ ใ นสภาพปั ญ หาในการบริ ห าร จั ด การการท่ อ งเที่ ย ว ก็ จ ะเกิ ด ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิจและการเตรียมความพร้อมในด้านการ ท่ อ งเที่ ย วในชุ ม ชนโดยรวม ท าให้ เ กิ ด ความ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ตระหนักและเข้ามาร่วมแก้ไขตามมา แต่ในขณะ ที่ ปั ญ หาต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ใ นท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถพั ฒ นาและ ยกระดับ ให้ เกิดมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวได้ ผู้คนในชุมชนมักอยู่ในสภาพตัวใครตัวมัน ไม่คิด ว่าปั ญหานั้น มีความสาคัญต่อตนเองและชุมชน คิดว่ายังเป็นเรื่องไกลตัว ดังนั้น การสร้างความ ตระหนั ก ร่ ว ม โดยเปลี่ ย นจากมุ ม มองว่ า เป็ น ปั ญ หาความพร้ อ มและศั ก ยภาพด้ า นการ ท่ อ งเที่ ย วของปั จ เจกบุ ค คลหรื อ เฉพาะแค่ หน่ ว ยงานของรั ฐ มาเป็ น ปั ญหาสาธารณะของ ชุมชน จึงเป็นจุดเริ่มที่มีความสาคัญ 4. การบูรณาการการทางานชุมชนหรือ ท้ อ งถิ่ น ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี ใ นด้ า นการ บริ ห ารจั ดการการท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์ ไม่ สามารถสร้ า งความส าเร็ จ ได้ จากเพี ยงกลุ่ มใด กลุ่มหนึ่ง ในทานองเดียวกัน ภาครัฐหรือท้องถิ่น ก็ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ น การเพี ย งล าพั ง ได้ ดั ง นั้ น การบู ร ณาการการท างานร่ ว มกั น ระหว่ า งทั้ ง ภาครัฐหรือท้องถิ่น ที่มีหลากหลายหน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง และภาคประชาชน ภาคเอกชนที่ เกี่ยวข้องในแต่ละพื้นที่ จึงเป็นเงื่อนไขสาคัญต่อ การประสานพลังในการทางานให้ศักยภาพมาก ยิ่งขึ้น รวมถึงการยอมรั บ ในผลงานร่ว มกัน มิใช่ ผลงานของฝุายหนึ่งฝุายใดด้วยนอกจากการบูร ณาการหน่วยงานแล้ว แนวคิดในการทางาน ก็ ต้องเป็นแนวคิดที่บูรณาการ เนื่องจากการบริหาร จัดการการท่องเที่ยวเป็ นเรื่องที่มีความเชื่อมโยง กับปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ 5. การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ความ ไว้วางใจ ความสัมพันธ์ที่ดี ความไว้วางใจต่อกัน เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ต่ อ ความส าเร็ จ ของการ ดาเนิ น งาน หากชุม ชน ท้อ งถิ่น ภาคีเครือข่า ย ต่ า ง ๆ ในชุ ม ชน และผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไม่ ส ามารถ

171 สร้างความสัมพันธ์ ความไว้วางใจระหว่างกันต่อ ผู้ ค นในชุ ม ชน ภาคี เ ครื อ ข่ า ยและ ผู้ มี ส่ ว น เกี่ยวข้อง ก็จะทาให้เกิดการปิดบังข้อมูลที่แท้จริง การหลบหลี ก ปั ญ หา และไม่ ส ามารถจะแก้ ไ ข ปั ญ หาหรื อ พั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากร และการ บริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่าง บูรณาการได้ 6. เครือข่า ยในการทางานเนื่องจากใน สภาพของชุมชนหรือท้องถิ่นและสังคมในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นชุมชนในชนบทหรือชุมชนเมือง ล้วน ไม่สามารถเป็นชุมชนปิดที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับภายนอก ได้ แม้ว่าชุมชนนั้น จะดาเนิน การจนเป็นชุมชน หรื อ ท้ อ งถิ่ น ต้ น แบบในการบริ ห ารจั ด การการ ท่ อ งเที่ ย วแล้ ว ก็ ต าม แต่ ห ากชุ ม ชนหรื อ พื้ น ที่ ข้างเคียงยังมีปัญหาในการบริหารจัดการชุมชน เพื่ อ การบริ ห ารจั ด การการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้างสรรค์ในด้านต่าง ๆ อยู่ ก็มีโอกาสสูงที่คนใน ชุมชนดังกล่าวขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ อย่ า งเต็ ม ที่ ดั ง นั้ น การท างานในลั ก ษณะของ เครื อ ข่ า ยชุ ม ชน ช่ ว ยกั น แก้ ไ ขปั ญหาการ ด า เนิ นง าน ก าร ติ ด ตา มป ระ เมิ นผ ลก า ร ดาเนินงานในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ และการปรับปรุงพัฒนาการทางาน ผ่านพลังของเครือข่ายเพื่อการบริหารจัดการการ ท่อ งเที่ ยวเชิง สร้า งสรรค์ที่ ป ระสบความส าเร็ จ ต่อไป 7. การด าเนิ น งานอย่ า งเข้ ม ข้ น และ ต่อเนื่อง การดาเนิน งานอย่างเข้มข้น เพียงพอ เน้นคุณภาพ และกระทาอย่างต่อเนื่อง เป็นสิ่ ง สาคัญต่อความสาเร็จของงาน โดยการดาเนินงาน เข้มข้น และต่อเนื่อง จนเกิดเป็นวิถีปฏิบัติ เป็น วัฒ นธรรมของชุม ชน จะทาให้ ก ารดาเนิน งาน พัฒนาเด็กให้เติบโตอย่างมีศักดิ์ศรีและพัฒนาการ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ที่สมวัยและเป็นกาลั งสาคัญในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติในอนาคต 8. แรงบั น ดาลใจในการท างานการ ทางานด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยว เชิง สร้ า งสรรค์ เ ป็ น งานที่ ย าก มี ค วามท้ า ทาย ไม่ สามารถอาศัยเพียงแรงจูงใจ (motivation) ใน การท างานได้ แต่ ต้ อ งอาศั ย แรงบั น ดาลใจ (inspiration) ในการทางาน เช่น การทางาน อย่ า งอุ ทิ ศ ตน มี ค วามส านึ ก ต่ อ ชุ ม ชน มี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ภารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ อย่ า งเต็ ม ก าลั ง ความสามารถ มองการท่องเที่ยวเป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ต้องพิจารณาร่วมกันว่าแต่ละท้องถิ่น มีประเด็นของแหล่งท่องเที่ยวที่น่าดึงดูด และโดด เด่นในเรื่องใดบ้าง ที่เชื่อมโยงกับชุมชนในท้องถิ่น และความสามารถในการแก้ ปั ญ หาด้ า นความ แตกต่ า งและมาตรฐานคุ ณ ภาพของแหล่ ง ท่องเที่ยว สาธารณูปโภค และการให้บริการ (2) การสร้ า งแหล่ ง เรี ย นรู้ ควรต้ อ ง พิจ ารณาถึงการมีส่ วนร่ ว มในการกาหนดแหล่ ง เรียนรู้ ลักษณะของแหล่งเรียนรู้ การระบุถึงการ ประกอบการ เช่น บุคคล กลุ่มบุคคล สถานที่ ให้ มีความชัดเจนและเหมาะสม (3) การสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว ม ของ ประชาชน ปราชญ์ และชาวบ้านโดยเฉพาะใน ด้านมัคคุเทศน์ในการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ จะต้องมีความรู้ ในท้ องถิ่น นั้ น ๆอย่ างแท้ จริงถึ ง ประวั ติความเป็น มาของท้องถิ่น การจัดแหล่ ง เรี ย นรู้ ที่บ้ า นปราชญ์ช าวบ้ า นหรื อ สถานที่ข อง ภาครัฐหรือชุมชนหรือเอกชนจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ และความสามารถที่ จ ะสร้ า งให้ เ ชื่ อ มโยงถึ ง ท้องถิ่นสนับสนุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(4) การมีส่วนร่วมจากหน่วยงานภาครัฐ ที่ เ หมาะสม ทั้ ง ในระดั บ ต้ น ทางหรื อ ระดั บ ปลายทาง ซึ่ ง ภาครั ฐ มองว่ า ถ้ า เริ่ ม จากชุ ม ชน ถึ ง แม้ จะ ค่ อย เป็ นค่ อ ยไ ปแ ต่ ก็ ยั่ งยื นแ ล ะ ภาคเอกชนก็จะได้ประโยชน์ไปพร้อม ๆ กัน และ เป็นการสร้างความโดดเด่นด้านการท่องเที่ยวของ ทั้งสองประเทศอย่างยั่งยืน ดังนั้นจะต้องแยกให้ ชั ด เจนระหว่ า งการท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน กั บ การ ท่อ งเที่ย วโดยชุม ชน ถ้ าเป็น การท่ องเที่ ยวโดย ชุมชน ชุมชนจะเป็นผู้เริ่มต้นคิดกิจกรรมในการ ท่องเที่ยวและชุมชนจะเป็นผู้ได้รับประโยชน์จาก การท่องเที่ยวนั้น (5) การประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยว เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ โดยภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว (6) การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่ เหมาะสม เช่น มีการคมนาคมเข้าถึงโดยสะดวก มีที่จอดรถที่เพียงพอ มีปูายบอกทางที่ชัดเจน มี แหล่ ง บริ ก ารด้ า นอาหารที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ มี ห้องน้าสาธารณะที่สะอาด มีแสงสว่างเพียงพอใน ตอนกลางคื น มี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สิน ซึ่งในท้องถิ่นแต่ล ะแห่งมีไม่เหมือนกัน ต้องมีการกาหนดให้เป็นจุดเด่นที่แตกต่างของแต่ ละแหล่งท่องเที่ยวแต่ล ะพื้นที่ ให้มีมาตรฐานที่ โดดเด่นพร้อมรองรับกับการแข่งขัน ข้อเสนอแนะด้านบทบาทภาครัฐ (1) ควรก าหนดโครงการน าร่ อ งใน กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ให้ประโยชน์แก่ชุมชน (2) ควรเสริ ม สร้ า งให้ มี บุ ค ลากรที่ สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารกับนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ (3) สนั บ สนุ น ให้ ภ าคเอกชนเข้ า มา ดาเนินการหรือ ส่งเสริมให้เป็นผู้ร่วมขับเคลื่อน นโยบายสาคัญด้านการท่องเที่ยว


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ เดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

(4) พัฒนาสื่อ และเทคโนโลยีเพื่อรองรับ การประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งขับเคลื่อนนโยบาย ให้มีประสิทธิภาพ (5) การสร้างกระบวนการเรียนรู้ในด้าน การบริหารจัดการชุมชนเพื่อการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวเชิงสร้ างสรรค์อย่ างเป็ น องค์ร วม และยั่ ง ยื น โดย ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งต้ อ งเกิ ด การ ปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี คิ ด และน าไปสู่ ก ารเปลี่ ย น พฤติ ก รรม จนเป็ น วิ ถี ป ฏิ บั ติ ข องชุ ม ชนจึ ง จะ นาไปสู่ความยั่งยืนได้ ดังนั้นในการออกแบบการ ด าเนิ น งานทั้ ง ระบบ ตลอดจนการออกแบบ กิจกรรมใด ๆ ก็ตาม ควรต้องคานึงถึงการสร้าง ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น การท าให้ ไ ด้ คิ ด ใคร่ครวญ เรียนรู้จากภายใน ทาให้เกิดการเข้าถึง “แก่น” มิใช่เน้นเพียงการทากิจกรรม ซึ่งเป็น ความสาเร็จในระดับ “เปลือก” เท่านั้น (6) การจั ด การความรู้ ก ารดาเนิ น งาน ด้านนี้ ควรมีการจั ดการความรู้ ควบคู่ไปในการ ด าเนิ น งานในรู ป แบบต่ า ง ๆ เช่ น การจั ด เวที แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะหว่างผู้ ที่ เกี่ ย วข้ องในการ บริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ทั้งใน ระดั บ ชุ ม ชน ข้ า มชุ ม ชน ระดั บ เครื อ ข่ า ย ข้ า ม เครือข่าย ข้ามประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยน แบ่งปัน ขยายผล ตลอดจนสั งเคราะห์ องค์ความรู้ การ จั ด ท าเอกสาร ชุ ด ความรู้ เพื่ อ เผยแพร่ แ ก่ ผู้ ที่ เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์หรือการท่องเที่ยวลักษณะอื่นต่อไป (7) การสร้างและพัฒนาศักยภาพ เสริม พลังแกนนาแกนนาชุมชน เป็นปัจจัยสาคัญของ การดาเนินงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการ

173 พั ฒ นาศั ก ยภาพ การเสริ ม พลั ง แกนน าอย่ า ง ต่อเนื่ อ งให้ มีค วามเข้ม แข็ง มากขึ้ น ให้ ส ามารถ แก้ไขสถานการณ์ปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นพลวัต ไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การพั ฒ นาทุ น มนุษย์ด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตลอดจน มี ก ารสร้ า งแกนน าเพิ่ ม ให้ มี ก าลั ง ร่ ว มในการ ทางานเพิ่มมากขึ้น โดยการพัฒนาศักยภาพต้อง คานึงถึงความสอดคล้องกับความต้องการ ความ หลากหลาย ของพื้น ที่ และรู ป แบบการพัฒ นา ศักยภาพที่หลากหลาย ทั้งการฝึกอบรม และการ พัฒนาศักยภาพผ่านการทางานจริง ปฏิบัติการ จริงโดยมีพี่เลี้ยงคอยเป็นที่ปรึกษา ตลอดจนควร คานึงถึงแรงจูงใจในการทางานในรูปแบบต่าง ๆ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพการท างานของแกนน า ชุ ม ชน ที่ ยั ง จ าเป็ น ต้ อ งท ามาหาเลี้ ย งชี พ ใน ขณะเดี ย วกั น ก็ อุ ทิ ศ ตนในการท างานแบบ อาสาสมัครด้วย เพื่อให้แกนนาสามารถทางานได้ อย่างมีขวัญและกาลังใจ ไม่เหนื่อยล้าเกินไป จน เกิดความท้อถอย (8) การสร้ างและพัฒ นาเครื อข่ายการ ทางานการสร้างและพัฒนาเครือข่ายการทางาน ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว การด าเนิ น การในลั ก ษณะ เครือข่ายการทางานจึงมีความจาเป็นต่อผลสาเร็จ ที่ยั่งยืน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรให้ความสาคัญกับ การสร้ า ง และพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยการท างานใน ลักษณะต่าง ๆ ให้มีความเข้มแข็งในการทางาน ร่ ว มกั น ซึ่ ง รวมถึ ง การประสานการท างาน ระหว่ า งชุ ม ชนต่ า ง ๆ ด้ ว ย เพื่ อ สร้ า งพลั ง การ เปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

References ASEAN Secretariat. (2015). ASEAN Economic Community Blueprint 2025. Retrieved. August 30, 2015, from souse http://www.asean.org/asean-economic-community/. ----------. (2011). ASEAN Tourism Strategic Plan 2011-2015.Retrieved. August 30, 2015, from souse www.asean.org ----------. (2008). The ASEAN Charter.Retrieved. August 30, 2015, from souse www.asean.org World Tourism Organization. (2004). Sustainable development of tourism conceptual definition. Retrieved April 2, 2016 from souse http:// www.worldtourism.org/framesustainable.htm ----------. (2010). ASEAN Integration And Its Impact On Tourism. Retrieved. August 30, 2015, from souse http://www2.unwto.org/.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

175

การประเมินผลโครงการเฉลิมพระเกียรติ น้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ 62 ปี

บรมราชาภิเษก ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

มัลลิกา ธรรมจริยาวัฒน์1

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการเฉลิมพระเกียรติรวมใจไทยเป็นหนึ่ง น้อมราลึ กถึง พระมหากรุณาธิคุณ 62 ปี บรมราชาภิเษก ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จาก กลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ภาคประชาชนทั่วไป หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และ ภาคสื่อสารมวลชน ผลการวิจัย พบว่า โครงการเฉลิมพระเกียรติ ได้รับความร่วมมือจากภาคีฝ่ายต่าง ๆ มากกว่า 30หน่วยงาน ได้รับความร่วมมือในการเผยแพร่ข้อมูลในสื่อต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุและ โทรทัศน์ สื่อออนไลน์ และทางสปอร์ตโทรทัศน์ โดยมีมูลค่าสื่อโดยรวมมากกว่า 4,973,288.90 บาท ได้รับ ความร่วมมือในการตอบรับการส่งวิดีทัศน์เข้าประกวด ความพึงพอใจของผู้ร่วมงานฝ่ายต่าง ๆ อยู่ในระดับ มากที่สุด ผลการดาเนินงานโครงการเฉลิมพระเกียรติฯนั้นประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คาสาคัญ: รวมใจไทยเป็นหนึ่ง, 62 ปี บรมราชาภิเษก, บอกรักพ่อในแบบของคุณ

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2086 ถนน รามคาแหง แขวง หัวหมาก เขต บางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 e-mail: dr.munlikar@email.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

An Evaluation of the Commemorative Ceremony Project on the 62

nd

Anniversary of King Bhumibol Adulyadej’s Coronation Day

Munlikar Thummajariyawat1

Abstract This research aimed to evaluate the output of the cooperation among the parties participating in the project to commemorate the 62th anniversary of the coronation day of King Bhumibol Adulhadej. The data were gathered from Thai people, government organizations, students, private sectors, journalists and social media agencies.It was revealed that the Project was satisfactorily successful in that more than 30 organizations took active parts in the Project, and financial contribution to the Project amounted to baht 4,973,288.00. All participating parties were most satisfied with the outcomes, and the operations met all objectives of the Project. Keywords: Public participation, commemorative ceremony, His Majesty King Bhumibol Adulyadej

1

Assistant Professor, Faculty of Business Administration, Ramkhamhaeng University. 2086 Ramkhamhaeng Road, Hua Mak, Bang kapi, Bangkok 10240 e-mail: dr.munlikar@email.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

Introduction Thai Kingdom has been esableshed since Sukhothai Kingdom in B.E. 1238. King Bhumibol Adulyadej of the Chakri Dynstry, in the Rattanakosin era of the Thai Kingdom, was one of the beloved King of Thai people since the Sukhkothai era. He was crowned King of Thailand on the 5th of May 1950 (Wikipedia, 2015). During the ceremony, he pledged that he would “reign with righteousness for the benefit and happiness of the Siamese people” Since then, He has done a lot of work and carried out many development projects. For these reasons Thai people love and honor the king very much. Additionally has been also recognized as the most hardworking king in the world. During His Majesty's reign, he initiated a total of 4,600 projects to improve the quality of life of rural people. (We love the king, 2011). These development projects helped alleviate the environmental problems and promote the quality of life of the rural people. (Creative Thinking Magazine, 2015) The monarchy is a symbol of the life in Thailand, and a center of Thai traditions, amidst changing social conditions. His Majesty the King gave an interview to the writer of Leader magazine, that: "The first role of the monarchy is to be the symbol of the

177

country. And if it succeeds, it will be a living symbol of that country. The king must change as the nation changes. But at the same time, as to maintain the essence of the nation, the king is representative of the spirit of the nation meaning all the people here together may have different nationalities and these common characteristics must be in the prime of state” (Onwimon, 2009) Under the project of the SubCommission on Education and Promotion of Measurement Concerning the Protection of the Monarchy, the Senate has held discussions on the safeguard of the Thailand’s Monarchy. Consequently, the honor event was established to commemorate the King Bhumibol Adulyadej and to enhance the unity of Thailand under the project named "The 62 Anniversary of Coronation Day" with the theme as the King’s speech “reign with righteousness for the benefit and happiness of the Siamese people”. This event was also known as a national project that inspired the youth people to realize the importance of the monarchy through the story of his Majesty the Bhumibol Adulyadej’s development projects by learning from the related exhibition and publication. To enhance the awareness of Thai and overseas people in terms of the loyalty and the honor of his Majesty


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

the King Bhumibol Adulyadej, a short video contest entitled "Tell Your Father How You Love Him in Your Own Way" was created under this project through the website (http://www.Ruam Jai Thai Pen Nueng com>). Research Objectives 1. To study the patterns of cooperation among the parties in this project. 2. To assess the results of the cooperation in terms of contribution and context for this project. 3. To study the response of video transmission from the target audience. 4. To investigate the satisfaction of participants from Thai people, secondary and primary school students, university students, government organizations,

private sectors and mass media agencies 5. In summary of the project achievement based on the views of the committees and subcommittees. Scope of Assessment and Evaluation The researcher gathered the demographic data from the research participants, including the news followers and information providers between April 26, 2012 and July 17, 2012. Sampling population is divided into 4 groups as follows; The public sectors, Government, The private sector, The mass media. To summarize the success of this project by using the retrieved information fro each agency and party, including the insight data from the information sheet, data collection and evaluation.

Evaluation Framework

The evaluation framework of this research was outlined in the Figure 1.

Background of research population and related organisation Project Satisfaction Knowledge and understanding of the project. Evaluate to find solutions to problems from project implementation and suggestions for further project implementation. Figure 1. Evaluation framework


179

Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

1. Evaluation Approach The purpose of the assessment is to evaluate the implementation guidelines. For enhancing the unity of Thailand, the honors project is established under the name “The 62 Anniversary of Coronation". Research tools were used as the mixed sources in the study, including the documented information as a part of the project implementation and the uses of a questionnaire about the project to commemorate the Thai unification with the evaluation process. The objectives, framework, and assessment issues were set as follows. 1.1. Evaluation of productivity Summary of the results of the collection of information on the implementation of the project as the honor of Thailand unification to commemorate the His Majesty the King Bhumibol Adulyadej under the project named “The 62 anniversary of the coronation day”. This project obtained the cooperation through public relations and social media. Summary of project also included the results of the submission of the video contest. The evaluation was assessed as follows; 1) To study the results of the cooperation and distribution of information through the variety of media for submitting video entries to the contest. 2) Acceptance of submitting video entry from the target audience by

gathering information from documents, documents, and attendance records. These contest records also included the participation in public events, the application of agencies from, the email and other internet interaction. 1.2. Evaluation of the survey start from making a questionnaire about the project activities and how to contribute the commemoration of the His Majesty the King Bhumibol Adulyadej under the project named “The 62 anniversary of the coronation day”. The summary of the evaluation aimed to investigate the satisfaction of research participants from different sectors such as primary and high school students, university students, government agencies, the private sector and the mass media. The survey project was conducted to enhance the Thailand unity and to commemorate the Royal Coronation Memorial by using the 3-steps surveying. 1.3. Evaluation of the project's performance. Summary of the results of the collection and evaluation in all activities of the projects under the project named “The 62 anniversary of the coronation day” including the reviews, suggestions, problems and solutions for improving the next projects. The data were shown as the performance of various sectors in each activity.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Sample The sample this study can be divided into 4 groups as follows; 1.The public sectors such as students and the general public organisation. 2. Government organisation such as governmental news agencies and government-related participating agencies 3. The private sector, such as the notified agencies and other participating agencies. 4. The mass media, such as the personnel of the media sector which have been notified of the project participation especially in project activities and / or public relations. Data Collection In this study, the researcher collected data from two major sources: 1 Documentation analysis the researchers conduct the in-depth review and summarize the insight data the related documents, books, reports, acceptance letters of attendance on the project. These data also included the other correspondence data through the internet operation as well as the summary reports from the collaborating parties in this project.

2 Field survey the researcher used the questionnaire to assess the data for supporting the information from documentation analysis. The survey was conducted by collecting the questionnaire from the research participants in the public and the government agencies. The total number of questionnaires was 457. Data Analysis In this research, the researcher, processed the data using a computer program. Descriptive statistics are: frequent, percentage, mean, standard deviation. The data included as follows: 1). General background information, population, respondents, and agencies; 2). Knowledge and understanding of the project; 3). Satisfaction with the project; 4). Comments on venues and forms of project activities; 5). Other comments and suggestions. The results of the analysis of the reliability of the questionnaire showed that the first series had the alpha coefficient of 0.8400. The second set had the alpha coefficient of 0.8725, the third set had the alpha coefficient of 0.9224.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

181

totally high. All participating organizations, Results moreover, were highly satisfied with the Data in tables 1, 2 and 3 outcome venues and activates of the demonstrate that Knowledge and Project understanding of the project among people who participated in the Project was . Table 1. Knowledge and Understanding of the Project (%) Knowledge/understandin of the Project 1.Project information knowledge 2.Project Objectives and activity 3.Project appreaiation 4.Project participation

Level (N=309) Moderate Less Least

Very high 20.4

High

Total Interpretation

41.4

26.9

7.4

0.6

66.7

High

32.3

36.9

25.9

3.9

1.0

41.6

High

65.0 49.2 41.7

27.5 35.3 35.3

6.5 14.2 18.4

0.3 1.0 3.2

0.7 0.3 0.7

89.0 83.0 78.2

Very high Very high High

Table 2. Project Satisfaction (%) Project Satisfaction 1.Project objective satisfaction 2.Project committee satisfaction 3.Vidio contest satisfaction 4.T.V. Show contest 5.Total project satisfaction

Very high 57.3

High

Moderate

30.0

50.0

Level (N=309) Less

Least

Total Interpretation

0

0

12.5

80.0

High

35.0

2.5

0

12.5

77.5

High

60.0

25.0

2.5

0

12.5

80.0

High

60.0 57.5

27.5 30.0

0 0

0 0

12.5 12.5

80.6 80.0

High High

56.5

30.0

1.0

0

12.5

79.5

High


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Table 3 Venue and Format of Project Activites (%) Project Appropriateness 1.Venue 2.Vidio contest 3.Projet activites 4.Judgement of the committee 5. Suitability of tine

Level Moderate Less 0 4.3 10.6 4.3 4.3 6.4 4.3 6.4

Very high 59.6 42.6 57.4 51.1

High 36.2 42.6 31.9 38.3

Least 0 0 0 0

Total Interpretation 87.8 Very high 80.9 Very high 85.1 Very high 83.6 Very high

48.9

42.6

4.3

0

0

83.3

Very high

6. Recepttion and services 7. Format

66.0

25.5

2.1

6.4

0

87.8

Very high

61.7

31.9

2.1

6.4

0

88.3

Very high

8. Speed

57.4

25.5

10.6

6.4

0

83.4

Very high

9. Knowledge

63.8

23.4

8.5

4.3

0

86.2

Very high

56.5

33.1

5.2

5.0

0.0

85.2

Concluding Remarks Implementation of the Project Program was successful in all objectives because many people were interested in submitting a video contest, especially in the high school students and undergraduate students, The main goal of this project was to provide children and youth with the knowledge of Thailand’s capacity and better understanding of the monarchy through this project as a the honer of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej and commemoration/. This project should be disseminated and extended to other occasions, such as the video contest on the occasion of the birthday of Her

Very high

Majesty Queen Sirikit. Additionally, various types of video should be issued to the public such as radio and television, including the follow up the printed media and electronic media and the other social media, especially YouTube, and should have activities through the website of the project www.Ruam Jai pen Nueng com <http://www.Ruam Jai pen Nueng.com> which you can be seen around the world. At least 1 year. The questionnaire was collected from the participants. The data collection was carried out through the questionnaires distributed to 457. The analysis of the derived data was


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

conducted afterwards. For the participants, they were carefully and purposively selected via the inclusion criteria set to confirm the reliability of the result derived. Summary of the satisfaction of the participants. The data from the questionnaire showed that the status of the people, the respondents and the participants. Most of the people are representatives of public organizations, students and students meet the target population. Case at start of project received a letter of invitation from the senate And when the project starts. The information from the site. http://www.Ruam Jai Thai Pen Nueng com. Inspired by the project. At most levels 90.2% thought this project was important. At most levels 93.2% of them expect the project to be organized. 60.8% have knowledge and understanding of the project. At most levels 85.2% satisfied with the project. At most levels It is 80.0% and has opinions on venues and activities. Appropriate stay in good accounted for 77.5%. The project was successfully completed due to the good cooperation from all individuals and organizations as well as the committee, including the supports from a large number of websites, 119 agencies in total. The closure of the banner of the project was taken as a part of the public relations of

183

this project, including the online communication such as social media which supported by educational institutions, radio stations, television stations. Printed media and other media as for the project announcement. Recommendations 1. The database of the participants should be recorded for future use to create a creative social network in the network in order to protect the Thai monarchy including the creation of social networking on Facebook to track and publish information online. 2. There should be activities to keep the reputation of the website and the continuous of revisiting, such as the promotion of events for providing the ideas for the next visit to the website by clicking the Like symbol of the web page to follow and other prizes may also be awarded for who are the follower. 3. Technical issues should be resolved on the voting system in order to ensure the highest possible voting power. To prevent the computer system crashes during the period that many people vote at the time. 4. The channel and volume of public relations should be added to the project so that participants in order to get more details about the project and


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

the rules of participation. It also publishes media outlets on radio and other media. 5. It should be implemented in a project for a continuous one to three years and the video submitted to the project is published throughout the year. In the application for entry, the contest should be extended to receive more work and the contest continues. The duration of the course is open to the student's open session. 6. Should maintain identity in the project that. "Promote the King's Institute

and Remembrance of Grace" under the concept that "Tell Father How You Love Him in Your Way" 7). Recruiting must be conducted carefully, taking into account the experience and the ability of the recipient to increase the value and benefits of the project as well as the effectiveness of the project. 8. This project should be proposed to the Senate to set up a budget for the fiscal year in order to have a budget for the future project management.

References Creative Thinking Magazine promotes Thai economy. (2015). From the works "Understand, develop, Development". A lesson from the success of the Royal Declaration. Retrieved October 10, 2015 from http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/CoverStory/26655 Onwimon, S. (2009). The King of Thailand in World Focus. Retrieved October 10, 2015 from https://news.mthai.com/webmaster-talk/63622.html We love the king. (2011). Project due to the initiative. Retrieved October 10, 2015 from http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa.com/ Wikipedia. (2015). The royal coronation in King Bhumibol Adulyadej. Retrieved October 10, 2015


185

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

โอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศไทยในยุคแห่งนวัตกรรม รุจิกาญจน์ สานนท์1

บทคัดย่อ โอกาสทางธุรกิจ ชีววิทยาศาสตร์ในประเทศไทยนั้นมีความเกี่ยวข้องกับ นวัตกรรมด้านชีววิทยา ศาสตร์ ไ ด้แก่ Biotech/pharmaceutical, Life sciences, Medical device/diagnostics, Biotech/agriculture และ digital health IT เป็นต้น เป็นโอกาสในการต่อยอดงานวิจัยสู่การดาเนินธุรกิจ ครบวงจร การวิจัยและการพัฒนาและการวิจัยร่วมทั้งในและต่างประเทศ โอกาสในพัฒนาเป็นประเทศ ส่งออก วัตถุดิบ แหล่งสาคัญของโลก และโอกาสเพิ่มมูลค่าสู่การขาย ทั้งนี้ต้องพิจารณาทั้ง Triple Bottom Line และ Triple Top Line ซึ่งต้องครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม รวมถึงกลยุทธ์ที่เน้นความเสมอภาคทางสังคม ตอบสนองอย่างรวดเร็วกับระบบนิเวศ และเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ คาสาคัญ: โอกาสทางธุรกิจ ชีววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ ความเป็นผู้ประกอบการ นวัตกรรม

1

นักวิจัยอิสระ. 51 ซอยลาดปลาเค้า 24 จรเข้บัว ลาดพร้าว กรุงเทพ 10230 e-mail: rung_ja@hotmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Life

Science Business Opportunities for Thailand Development in Innovation Era Rujikarn Sanont1

Abstract Life science business opportunities involve innovation in such business as Biotech/pharmaceutical, Life sciences, Medical device/diagnostics, Biotech/agriculture and Digital health IT. There are opportunities to accelerate full scale businesses, cross national research, raw material exports, and value added businesses. Entrepreneur should consider Triple Bottom Line and Triple Top Line which involve economic, environment and social responsibilities, as well as concerns about social equity, ecological sensitivity and economic soundness. Keywords: Business opportunity, life science, biotechnology, entrepreneurship, innovation

1

Independent Researcher. Address: 51 Soi Ladprakow 24, Chorakeabua, Ladprow, Bangkok 10230 e-mail: rung_ja@hotmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

ธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ในประเทศไทยเป็น อี ก หนึ่ ง รู ป แบบของธุ ร กิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย นวั ต กรรมที่ ผ่ า นการวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน โดยในปัจจุบันมีความ เป็ น ไปได้ ใ นการด าเนิ น ธุ ร กิ จ และสร้ า งมู ล ค่ า ให้ กั บ ความเป็ น ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ ใ ห้ สอดคล้องและตอบโจทย์ของปั ญหาของโลกใน ปัจจุบัน โดย สตีฟ เบอริล นักธุรกิจและนักลงทุน ด้ า นชี ว วิ ท ยาศาสตร์ จ ากสหรั ฐ กล่ า ว ถึ ง อุตสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์ของโลก ไม่ว่า จะเป็ น เครื่ อ งมื อ แพทย์ วั ค ซี น ยาชี ว วั ต ถุ ว่ า ล้ ว นแล้ ว แต่ตอบโจทย์ สุ ขภาพ ซึ่ง เป็น 1 ใน 5 ปั ญ หาใหญ่ ข องโลก อั น ได้ แ ก่ โลกร้ อ น ความ มั่ น คงทางอาหาร พลั ง งาน น้ า และสุ ข ภาพ (ทิมพิลา, 2560) นอกจากนี้นวัตกรรมที่เกิดจาก เทคโนโลยี ชี ว ภาพเป็ น อี ก แหล่ ง ส าคั ญ ในการ วินิ จ ฉั ย อาการของโรคและรั กษาโรคได้อ ย่ างมี ประสิทธิภาพ ธุรกิจชีววิทยาศาสตร์จึงเป็นธุรกิจ แห่งอนาคตของมนุษยชาติ ปั จ จุ บั น ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ น ส่ ว นส าคั ญ ของเศรษฐกิจชีวภาพ (bioeconomy) ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมและการนามาใช้เป็นปัจจัย ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาในทุ ก มิ ติ เ พื่ อ ยกระดั บ ศั ก ยภาพของประเทศในทุ ก ด้ า น (ส านั ก งาน คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิจ และสั ง คม แห่งชาติ, 2560: 13) ซึ่งมุ่งเน้นการนาความคิด สร้ างสรรค์ และการพัฒ นานวัตกรรมเพื่อทาให้ เกิดสิ่งใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจทั้งในเรื่อง กระบวนการผลิ ต และรู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ บริหารใหม่ ซึ่งนวัตกรรมโดยเฉพาะนวัตกรรมที่ เกี่ ย ว ข้ อ งกั บ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม

187 ประสิทธิภาพและส่งเสริมขีดความสามารถของ มนุ ษ ย์ ขี ด ความสามารถของผู้ ป ระกอบการ รวมถึง ช่ว ยเพิ่ มคุณ ภาพชีวิ ตของประชาชนคน ไทยอย่างยั่งยืน จึงนามาสู่ประเด็นการพิจารณา โอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์เพื่อ การพัฒนา ประเทศไทยในยุคแห่งนวัตกรรม นิยามศัพท์ ธุ ร กิ จ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ หมายความว่ า ธุรกิจที่นาองค์ความรู้ทางด้านชีววิทยาศาสตร์ซึ่ง เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตเป็นสินค้าหรือบริการ ที่ส ามารถตอบสนองต่อความจาเป็นและความ ต้องการเพือ่ ให้คุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีขึ้น นวัตกรรม หมายความว่า เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์และ คิ ด ค้ น ขึ้ น หรื อ ดั ด เปลี่ ย นจากเดิ ม โดยการเพิ่ ม เทคโนโลยี ค วามคิ ด เข้ า ไปในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริการ แนวความคิดด้านการเปลี่ยนแปลงทาง นวัตกรรมและเทคโนโลยี: จากข้ อ มู ล ของกรมเศรษฐกิ จ ระหว่ า ง ประเทศกล่าวว่า ประเทศไทยมีเจตนารมณ์ที่จะ สร้างความเป็นเลิ ศและมุ่งสู่ การเป็นศูนย์กลาง ของภู มิ ภ าคในด้ า นที่ ไ ทยต้ อ งการผลั ก ดั น ใน อนาคต ได้ แ ก่ การส่ ง เสริ ม Health and wellness innovation การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่ส่งเสริมการต่อยอด้านชีววิทยาศาสตร์ในธุรกิจ การท่องเที่ยวที่ไทยมีชื่ อเสียงระดับโลกอยู่แล้ ว และการพัฒ นาศู น ย์ก ารบริ การทางการแพทย์ แบบองค์ ร วมส าหรั บ ผู้ สู ง อายุ ซึ่ ง สามารถ ขับเคลื่อนได้ผ่านธุรกิจชีววิทยาที่สาคัญโดยการ น านวั ต กรรมมาท าการบู ร ณาการร่ ว มกั บ แนว ทางการส่ งเสริ มทั้ ง 3 ด้ าน ซึ่ งจะส่ ง ผลให้ เ กิ ด โอกาสทางธุ ร กิ จ ชี ว วิ ท ยาในประเทศไทยให้


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เกิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง ทั้ ง นี้ ต้ อ งได้ รั บ การ สนั บ สนุ น จากภาครั ฐ บาลและภาคประชาชน เพื่อทาให้ภาคธุรกิจสามารถที่จะนานวัตกรรมที่ เป็นฝีมือคนไทยไปสู่เวทีโลก นอกจากนี้การพัฒนาตลาดเทคโนโลยีนั้น อาจส่งผลทาให้เกิดความพร้อมของการเพิ่มขึ้นใน ส่วนนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจในรูปแบบของตลาด เสริ ม (Gambardella & McGahan, 2010: 264) นั่นหมายความว่านอกจากตลาดทางตรงที่ เกี่ย วข้องกับ นวัตกรรมหรื อเทคโนโลยีเหล่ านั้น แล้ว โอกาสที่จะทาให้เกิดตลาดอื่น ๆ ที่มีความ เกี่ย วข้องกับ สิ น ค้าดั งกล่ า วย่ อ มสู งขึ้ นด้ว ยเป็ น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพและขนาดของตลาดใน ระดั บ มหภาค ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยจาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปรับ รู ป แบบการดาเนิ นงานให้ มีความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการลงทุน เพื่อการวิจัยและพัฒนาโดยกาหนดประเด็นวิจัย ของชาติที่ตอบโจทย์ การยกระดับศักยภาพการ ผลิตของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการที่ เป็นฐานเดิม และการต่อยอดขยายฐานใหม่ด้วย การพั ฒ นา นวั ต กรร ม รว มถึ ง การพั ฒ น า นวั ต กรรมที่ ย กระดั บ คุ ณ ภาพสั ง คมและการ ด า ร ง ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ( ส า นั ก ง า น คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิจ และสั ง คม แห่งชาติ, 2560: 163) แนวความคิ ด การเป็ น ผู้ ป ระกอบการ ธุรกิจชีววิทยาศาสตร์: น วั ต ก ร ร ม เ ป็ น สิ่ ง ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน โดยมีการค้นคว้าวิจัย ด้านนวัตกรรมซึ่งเปิ ดโอกาสอัน มหาศาลให้ กั บ การค้น พบการพัฒ นาเชิงประจัก ษ์ และทฤษฎี ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง (Chesbrough, 2003) ตามที่ รั ฐ บาลมี น โยบายปรับ โครงสร้ า ง

ระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศและวิ สั ย ทั ศ น์ นายกรัฐมนตรีที่ต้องการพัฒนา “วิสาหกิจเริ่มต้น เป็นนักรบทางเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Warrior: NEW) และกาหนดให้ประเทศไทยเป็น พื้นที่เปิดสาหรับการเติบโตของอาเซียน” โดย มุ่งเน้นการพัฒ นาวิสาหกิจเริ่มต้นให้เป็ นนักรบ ทางเศรษฐกิจที่สามารถใช้ทรัพยากรของประเทศ ในการผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารมุ่ ง เน้ น การสร้ า ง มู ล ค่ า เพิ่ ม การจ้ า งงานในท้ อ งถิ่ น และการ กระจายรายได้ สู่ ภู มิ ภ าค รวมทั้ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ เพื่อเป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนประเทศ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 8 การพั ฒ นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560: 163) โดย ก ร ะ ท ร ว ง ที่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง คื อ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งถือได้ว่า เป็ น หน่ ว ยงานส าคั ญ ในการรั บ ผิ ด ชอบในการ พัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้น หรือ startup เพื่อพัฒนา ความร่ ว มมือระหว่างภาครั ฐ ภาคเอกชน และ ภาคการศึก ษาในการสร้ างความตระหนัก และ ความตื่นตัว (Awareness) จิตวิญญาณความเป็น ผู้ประกอบการ (Entrepreneurial mindset) สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร บ่ ม เ พ ร า ะ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า ผู้ ป ระกอบการ (Incubation) ตลอดจนการ เร่ ง รั ด ธุ ร กิ จ สู่ ต ลาดสากล ( Acceleration) ก่อให้เกิดการลงทุน (Investment) ทั้งจากการ ลงทุนร่วมทุน (Venture capital) นักลงทุน บุคคล (Angle) และนักลงทุนบริษัทขนาดใหญ่ (Corporate Venture Capital) ในวิสาหกิจ เริ่ ม ต้ น สนั บ สนุ น การเร่ ง พั ฒ นาประเทศไปสู่ เศรษฐกิจฐานนวั ตกรรมและสั ง คมฐานความรู้ โดยให้ความสาคัญ 4 ประการ คือ 1) ผู้ที่มีทักษะ สูงจากทั่วโลก (Talent) 2) เร่งการเติบโตของ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วิ ส าหกิจ เริ่ มต้ น (Business Growth) 3) ส นั บ ส นุ น ก า ร ล ง ทุ น ใ น วิ ส า ห กิ จ เ ริ่ ม ต้ น (investment) และ 4) การสร้า งและพัฒ นา ระบบนิ เ วศที่ เ อื้ อ ต่ อ การเติ บ โตของวิ ส าหกิ จ เริ่มต้น (Ecosystem) ดังนั้นการเปลี่ยนแปลง จากรู ปแบบนวั ตกรรมที่เปิด กว้า งเป็ นส่ว นใหญ่ เป็นเงื่อนไขพื้นฐานสาหรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง มากของนวัตกรรม (Chesbrough, 2003) ทั้งนี้ นวั ต กรรมที่เ กี่ย วข้อ งกับ ธุ ร กิจ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ ได้ แ ก่ Biotech/pharmaceutical, Life sciences, Medical device/diagnostics, Biotech/agriculture และ Digital health IT เป็นต้น น วั ต ก ร ร ม ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท า ง ด้ า น เทคโนโลยีชีวภาพนั้นต้องใช้ค่าใช้จ่ายในด้านวิจัย และพั ฒ นาที่ค่อนข้างซั บ ซ้ อนมาก และมีความ เสี่ ย งต่ อความล้ มเหลว ส าหรั บ ในประเด็ น นี้ จึ ง ต้ อ งมี ความกระตื อรื อร้ น และต้ อ งมี ความเกี่ ย ว ของกับกิจกรรมของการวิจัยและพัฒนาที่มีความ ใหม่ ใ นรู ป แบบของเทคโนโลยี ท างชี ว ภาพ ซึ่ ง พยายามแสวงหาแหล่งเงินทุนเพื่ อสนับ สนุ นให้ มากกว่าทางเลือกในการเข้าตลาดหลักทรัพย์ ซึ่ง พบว่ า การเผยแพร่ ข้ อมู ล สู่ ส าธารณะนั้ น ไม่ ไ ด้ ประกั น ว่ า จะประสบความส าเร็ จ ในการขาย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารได้ ดี ทั้ ง นี้ โ ดยส่ ว นใหญ่ อาศัยผลการวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยซึ่ง อาจไม่มีการสร้างรายได้ แต่เพื่อความอยู่รอดและ การเติบโตและเพื่อให้ธุรกิจ สามารถด าเนินการ วิ จั ย และพั ฒ นาได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บริ ษั ท ฯ จึ ง จาเป็นต้องหาตลาดที่สนใจในคุณค่าของตน โดย ทาการเปิดกว้างให้กับผู้ที่สนใจลงทุนและมีกาลัง ซื้ อ เพี ย งพอ (Bialek-Jaworska, BialekJaworska, Gabryelczyk, & Gabryelczyk, 2016: 381) นอกจากนี้ในเยอรมันนีมีการศึกษา

189 เกี่ยวกับนวัตกรรมที่ผลิตในประเทศเยอรมันนีกับ เรื่องราวความสาเร็จของเทคโนโลยีทางชีวภาพ โดยผลการศึกษา 6 กรณีศึกษา พบว่า ผลิตภัณฑ์ และบริการด้านเทคโนโลยีชีวภาพที่ก้าวล้าของ นวั ต กรรมที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น โดยองค์ ก รที่ ท าการ ผลักดันสู่ตลาดหลักทรัพย์ (spin-off) ในประเทศ เยอรมั น นี แ ละได้ น ามาใช้ เ พื่ อ เป็ น แนวทางใน ความคิดด้านการจัดการนวัตกรรม (Kunz, & Lloyd, 2017: 1) ต่อไปในอนาคตได้ ส า ห รั บ ก า ร ด า เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง ผู้ประกอบการต้องมีความเป็นสากล Rialp et al, (2005) กล่าวว่า ความเป็นสากลระหว่าง ประเทศนั้นมีอิทธิพลต่อการบริหาร โดยพิจารณา จากทรั พ ยากรที่ ไม่ มีตั ว ตน ความเป็ น ผู้ จั ด การ หรื อ ผู้ ป ระกอบการ หรื อ คุ ณ ลั ก ษณะของที ม ความสัมพันธ์ และเงื่อนไขสิ่งแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย ต้องพิจารณาทั้งด้านรูปแบบธุรกิจ และกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ นวัตกรรมของตน สาหรั บ ด้ านรู ป แบบธุ ร กิจ Osterwalder & Pigneur (2010) กล่าวว่า รูปแบบธุรกิจควรมี วิ วั ฒ นาการไปพร้ อ มกั บ ตลาดภายในและ สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิจ ซึ่ งควรค านึ ง ถึงความ คาดหวังของตลาดมากกว่า นอกจากนี้ยังเป็นไป ได้ อ ย่ า งมากที่ น วั ต กรรมที่ มี อ ยู่ นั้ น สู ง ส่ ง ล้ ายุ ค หากแต่ มีรู ปแบบของการจั ดการและธุร กิจที่ไม่ สมดุ ล กั น จนเกิ ด ความไม่ ส าเร็ จ ในการด าเนิ น ธุรกิจ ดังเช่น Teece, (2010: 186) กล่าวว่า น วั ต ก ร ร ม ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี คื อ ขี ด สุ ด ข อ ง ความก้ า วหน้ า ทางสั ง คมซึ่ ง สะท้ อ นความเป็ น ธรรมชาติและความพึงปรารถนาของคุณค่าแห่ง สังคมที่มีความก้าวล้าทางเทคโนโลยี อย่างไรก็ ตามการสร้ างรู ปแบบองค์กรใหม่ หลักการของ องค์กร และโมเดลขององค์กรนั้นยังไม่สมดุลหรือ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ยิ่ ง ใหญ่ เ ที ย บเท่ า กั น กั บ นวั ต กรรมที่ มี แม้ ว่ า นวั ต กรรมจะเป็ น เหมื อ นกั บ วี ร บุ รุ ษ ของผู้ ค น จ านวนมาก ของนั ก วิ ท ยาศาสตร์ หรื อ วิ ศ วกร ทั้งหลายหากแต่บางครั้งผู้ที่บุกเบิกอาจไม่ได้รับ รางวั ล เช่ น เดี ย วกั บ ผู้ บุ ก เบิ ก ธุ ร กิ จ ในประเทศ ต่าง ๆ สาหรับด้านกลยุทธ์ของธุรกิจนั้น แนวทาง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการสร้ า งความสมดุ ล ให้ เกิ ด ขึ้ น แก่ ธุ ร กิ จ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ ท าให้ เ กิ ด ความส าเร็ จ ที่ ยั่ ง ยื น คื อ ต้ อ งพิ จ ารณาสิ่ ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ สู ง สุ ด ไม่ ใ ช่ เ พี ย งก าไรที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น เท่านั้น ประกอบด้วย ไตรกาไรสุทธิ หรือกาไร 3 ขั้นของธุรกิจ (Triple Bottom Line—TBL)

มาตรการทั่วไป (typical measures)

ตาราง 1Triple Bottom Line (TBL) เศรษฐกิจ (economic) ขาย กาไร และผลตอบแทนการ ลงทุน (Sales, profits, ROI)

และ กลยุทธ์ 3 ยอด (Triple Top Line--TTL) ซึง่ TBLประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม (Jeurissen, R. , 2000, pp. 229231) ซึ่งมี ผู้ ให้ความสนใจเกี่ยวกับ TBL เป็น จานวนมาก และ Andrew W. Savitz (2014, p. 5) ได้ทาการอธิบายไว้ในตาราง Triple Bottom Line (TBL) โดยรวบรวมสาระสาคัญของความ ยั่งยื น ผ่ า นการวัด ผลกระทบของกิจ กรรมของ ธุ ร กิ จ ที่ มี ต่ อ โลก โดยมี ก ารสะท้ อ นถึ ง การเพิ่ ม มูลค่าของธุรกิจที่สามารถทากาไรและเพิ่มมูลค่า ของผู้ถือหุ้นรวมทั้งทุนทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ ดั ง ต า ร า ง ต่ อ ไ ป นี้

สิ่งแวดล้อม (environmental) สารมลพิษที่ปล่อยออกมา (Pollutants emitted)

การชาระภาษี (Taxes paid) กระแสเงิน (Monetary flows)

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon footprint) รีไซเคิลและนากลับมาใช้ใหม่ (Recycling and reuse)

การสร้างงาน (Jobs created)

การใช้น้าและพลังงาน (Water and energy use)

ความสัมพันธ์กับผู้จัดจาหน่าย (Supplier relations) รวมทั้งสิ้น ที่มา: ปรับปรุงจาก Savitz, 2014, p. 5

ผลกระทบของผลิตภัณฑ์ (Product impacts) รวมทั้งสิ้น

สังคม (social) บันทึกสุขภาพ&ความ ปลอดภัย (Health and safety record) ผลกระทบของชุมชน (Community impacts) สิทธิมนุษยชน; ความเป็น ส่วนตัว (Human rights; privacy) ความรับผิดชอบของ ผลิตภัณฑ์ (Product responsibility) ความสัมพันธ์ของพนักงาน (Employee relations) รวมทั้งสิ้น


191

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

นอกจากนี้ ค วามยั่ ง ยื น ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ (sustainable commerce) โดย McDonough and Braungart (2002) ระบุว่า การบรรลุผลสาเร็จโดยทั่วไปต้องให้ความสนใจ เป็นอันดับแรกในการพัฒนายุทธศาสตร์ 3 ยอด โดยทั้งนี้ Top Line และ Bottom Line นั้นมี ความเกี่ยวเนื่ องกัน กล่าวคือ ผู้บ ริหารองค์การ ต้องพิจารณา "Top Line" ว่าคือ บรรทัดบนสุด ของงบกาไร ขาดทุน นั่นคือ ยอดขายหรือรายได้ ขณะที่บรรทัดสุดท้าย "Bottom Line" หมายถึง กาไร แม้แต่ละบริษัทจะมีรูปแบบธุรกิจที่แตกต่าง กัน แต่วิธีง่าย ๆ ในการประเมินคุณภาพกิจการ ได้แก่ หนึ่ง การเติบ โตยอดขายหรือรายได้และ

คุ ณ ภาพการเติ บ โต สอง การเติ บ โตของก าไร และคุณภาพการเติบ โตของกาไร ดังนั้ น ในการ บริ ก ารองค์ ก ารโดยเฉพาะองค์ ก ารที่ ก าลั ง เจริญเติบโตนั้น ต้องสร้างให้เกิดความสมดุลโดย การจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ กลยุทธ์ ที่เน้นความเสมอภาคทางสังคม (social equity) การตอบสนองอย่ า งรวดเร็ ว ของระบบนิ เ วศ (ecological sensitivity) และเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ (economics soundness) และการ เปลี่ ย นแปลงผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย และความ ต้องการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสามารถในการ ปรับตัวทางสังคมและสิ่งแวดล้อมซึ่งนาเสนอใน กรอบแนวความคิดดังนี้

ภาพที่ 1 แนวความคิดกระบวนการของโอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมที่ มีผลต่อธุรกิจ ซึวิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงทางนวัตกรรมและ เทคโนโลยี (Biotech-Business Model) การเปลี ่ยนแปลงสิ่งแวดล้ อมภายนอก อื่น ๆ ที่เกีย่ วข้อง - ด้านสิง่ แวดล้อม - ด้านเศรษฐกิจ - ด้านสิ่งแวดล้อม

ผู้ประกอบการ ธุรกิจชีววิทยาศาสตร์

รูปแบบธุรกิจทางเทคโนโลยีชวี ภาพ (Biotech-Business Model) กลยุทธ์ทางธุรกิจเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotech-Business Strategy) นวัตกรรม (Biotechpharmaceutical, Life sciences, Medical device, Biotechagriculture, digital health)

โอกาสทางธุรกิจ ชีววิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย โอกาสในการต่อยอดงานวิจยั สู่การ ดาเนินธุรกิจครบวงจร (B2B,B2C,B2G) โอกาสในการต่อยอดงานวิจยั &พัฒนา และการวิจัยร่วมในและต่างประเทศ โอกาสในพัฒนาเป็นประเทศส่งออก raw material แหล่งสาคัญของโลก และโอกาสเพิ่มมูลค่าสู่การขายบริษัท


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ภาพที่ 2 แนวความคิดในการวิเคราะห์โอกาสธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ในประเทศทไย แบ่งส่วนตลาด สร้างข้อเสนอสาหรับทุกส่วนตลาด ออกแบบและใช้กลไกในจับคุณค่าจากทุกส่วนตลาด จัดแยกกลไกที่ขัดขวางหรือป้องกันคู่แข่งและความเสี่ยงที่เกิดจากลูกค้าและคู่ค้า ความสัมพันธ์กับลูกค้า

กิจกรรมหลัก เครือข่ายพันมิตร

ส่วนตลาดลูกค้า

ข้อเสนอที่มีคุณค่า ทรัพยากรหลัก

ช่องทางจัดจาหน่าย

ต้นทุนหลัก

กระแสรายได้

โอกาสทางธุรกิจ ชีววิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย ที่มา: ปรับปรุงจาก Chesbroguh (2010, p. 359) และ Teece, D. J. (2010, p. 191) จากภาพโอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ ในประเทศไทยนั้นเป็นการส่งต่อข้อเสนอที่มีคุณค่า ให้ กับผู้ ที่มี ส่ วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น ผู้ คิดค้น วิจัยและพัฒนา ผู้ผลิต ผู้บริโภค นักลงทุน ประชาชนทั่วไป และผู้ประกอบการชีววิทยาศาสตร์ ซึ่งต้องการการได้รับการตอบสนองและได้รับสิ่งที่มี คุณค่ามากที่สุ ด โดยมีกิจกรรมหลั กใช้ทรั พยากร หลั กและต้ นทุ นหลั ก อี กทั้ งใช้ ความสั มพั นธ์ กั บ ลูกค้าผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายเพื่อให้เกิดรายได้ โดยรู ป แบบการแข่ ง ขั น ที่ ยั่ ง ยื น ของธุ รกิ จ และ ต้ อ งการตั ว กรองการวิ เ คราะห์ ก ลยุ ท ธ์ ที่ มี ประสิทธิภาพก่อนจึงจะทาให้เลือกรูปแบบธุรกิจที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ ประกอบด้วย โอกาสในการต่อยอดงานวิจัยสู่การ ดาเนินธุ รกิ จครบวงจร (B2B, B2C และ B2G)

โอกาสในการต่อยอดงานวิจัยและการพัฒนาและ การวิจัยร่วมทั้งในและต่างประเทศ โอกาสในพัฒนา เป็นประเทศส่งออก raw material แหล่งสาคัญ ของโลก และโอกาสเพิ่มมูลค่าสู่การขายบริษัท ดังนี้ โอกาสในการต่อยอดงานวิจัยสู่การดาเนิน ธุรกิจครบวงจร หลายครั้ งที่ การวิ จั ยจากนั กวิ จั ยทางด้ าน ชีววิทยาศาสตร์ของประเทศไทยยังไม่สามารถต่อ ยอดไปสู่ภาคการผลิตและการจัดจาหน่ายได้อย่าง แท้จริง แต่ปัจจุบันเป็นโอกาสที่ดีสาหรับการก้าว ข้ามจุดที่เรียกว่าการวิจัยขึ้นหิ้ง เนื่องจากได้รับการ สนั บสนุ นทั้ งจากภาครั ฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชนทั้ งในและต่ างประเทศในการยอมรั บ ความรู้ความสามารถและนวัตกรรมที่มีประโยชน์ ต่อคนไทยและทั่วโลก


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

โอกาสในการต่ อยอดงานวิ จั ยและพั ฒนา และการวิจัยร่วมทั้งในและต่างประเทศ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น โครงการวิ จั ย และการเป็ น พั น ธมิ ต รตลอดจน ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ค ณ ะ กรรมการบริหาร มีบทบาทที่เอื้อต่อรูปแบบธุรกิจ สาหรับการค้าและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ อีกทั้งมีข้อได้เปรียบด้านต้นทุนของตลาดโลก ข้อดี ด้านภาษี และการสนับสนุนของเงินร่วมลงทุนคือ กุญแจสาคัญในการแสวงหาผลกาไรจากศักยภาพ ในตลาดโลก โดยองค์ประกอบที่สาคัญของรูปแบบ ธุรกิจที่เฉพาะเจาะจงอย่างเช่นบริษัทที่ดาเนินการ วิจัยและพัฒนา คือเพื่อให้แน่ใจได้ว่ากิจกรรมการ อยู่ รอดของบริ ษั ทจะเป็ นไปอย่ างยั่ งยื นโดยการ ระดมทุนวิจัยเพื่อทาให้การวิจัยและพัฒนาเป็นไป ได้ ก่ อนการด าเนิ น การทางธุ ร กิ จ (BialekJaworska, Bialek-Jaworska, Gabryelczyk, & Gabryelczyk, 2016: 380) โดยในอดีตการออก ใบอนุญาตทางเทคโนโลยีนั้นมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ข้ามพรมแดนของประเทศและสะท้อนถึงข้อจากัด ทางภู มิ ศาสตร์ ของสิ ทธิ บั ตรของธุ ร กิ จและการ เข้าถึงตลาดด้วย (Contractor & Sagafi-Nejad, 1981) ซึ่ งหากมี การท าข้อตกลงในการพัฒนา ร่วมกันจะเป็นการทาลายข้อจากัดดังกล่าวและเป็น โอกาสให้ธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ในประเทศสามารถ ก้าวข้ามข้อจากัดทางด้านสิทธิบัตรเหล่านี้ได้ต่อไป โอกาสในพั ฒนาเป็ นประเทศส่ งออก raw material แหล่งสาคัญของโลก เป็ น โอกาสซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ ซึ่ งดาเนินมาตรการ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งคามเข้ ม แข็ ง ของวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมทั้งในด้านโครงสร้าง พื้ น ฐานที่ ทั น สมั ย แรงจู ง ใจ และกฎหมายที่ เกี่ ยวข้ องมารองรั บเพื่ อให้ ประเทศไทยไม่ อยู่ ใน

193 สถานะเป็ น เพี ย งแค่ ผู้ ซื้ อ และผู้ รั บ ถ่ ายทอด เทคโนโลยี จากต่ างประเทศ แต่ ส ามารถพั ฒนา เทคโนโลยี ได้ ด้ วยตนเองในอนาคต (ส านั กงาน คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ, 2560: 163) โอกาสเพิ่มมูลค่าของธุรกิจ หลั ง จากด าเนิ น ธุ ร กิ จ มาระยะหนึ่ ง แล้ ว โอกาสต่อไปคือการ Spin-off เป็นกระบวนการหนึ่ง ที่ น าบริ ษั ท ย่ อ ยหรื อ บริ ษั ท ร่ ว มของบริ ษั ท จด ทะเบียน (บริษัทแม่) แยกออกมาเสนอขายหุ้นต่อ ประชาชน (Initial Public Offering: IPO) และเข้า จดทะเบี ยนในตลาดหลั กทรั พย์ แห่ งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ซึ่งภายหลังจาก การน าบริ ษัทย่อยหรื อบริษัทร่ วมเข้าจดทะเบี ยน แล้ว บริษัทแม่ต้องยังมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดารง สถานะในการเป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาด หลักทรั พย์ ฯ (ตลาดหลั กทรัพย์ แห่ งประเทศไทย, 2560) ซึ่งจะเป็นการสร้ างมูลค่ าให้ธุรกิจชีววิทยา ศาสตร์ ไ ด้ เป็ น อย่ า งดี นอกจากหากธุ ร กิ จ เจริญเติบโตขึ้นย่อมต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การดาเนินธุรกิจ ดังนั้น นวัตกรรมในด้านรูปแบบ ธุรกิจมีความสาคัญอย่างยิ่งและยังทาได้ยากมาก มี อุปสรรคในการเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจเป็ นจริ งและ เครื่ องมื อต่ าง ๆ เป็ น เพี ย งแผนที่ เท่ านั้ น แต่ ไ ม่ เพียงพอ ดังนั้นกระบวนการของบริษัทฯต้องมีการ เปลี่ยนแปลง โดยทดลองใช้ รูปแบบธุรกิจ ซึ่งการ ทดลองบางอย่ า งอาจล้ ม เหลว หากแต่ ค วาม ล้มเหลวจะบอกถึงแนวทางใหม่ ๆ และความเข้าใจ และข้อจ ากัดของการสู ญเสี ยที่ ไม่ อาจคาดเดาได้ โดยต้องการวางแผนการขับเคลื่อนด้วยการค้นพบ ภายใต้ความไม่แน่นอนและการประมาณการทาง การเงิน ซึ่งจะสร้างโอกาสในอนาคต ทั้งนี้บริษัทฯ ต้ อ งระบุ ผู้ น าภายในส าหรั บ การเปลี่ ย นแปลง รู ป แบบธุ รกิ จ เพื่ อที่ จ ะจั ด การผลลั พธ์ ข อง


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กระบวนการเหล่านี้ และนาเสนอรูปแบบธุรกิจใหม่ ที่ ดี กว่ าส าหรั บบริ ษั ทฯ โดยใช้ ดุ ลพิ นิ จและการ ตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางจะต้องเป็นไปตาม ข้อมูลเชิงประจักษ์ตามวั ตถุประสงค์ขององค์การ ในขณะเดี ย วกั น วั ฒ นธรรมขององค์ ก รต้ อ งหา แนวทางที่ จะใช้รู ปแบบใหม่ นี้ ในขณะเดี ยวกันก็ รั กษาความมี ประสิ ทธิ ภาพของรู ปแบบธุ รกิ จใน ปัจจุบันกว่าจะมีรูปแบบใหม่พร้อมที่จะดาเนินการ ได้อย่ างสมบู รณ์ โดยรู ปแบบนี้ ได้เป็ นโอกาสทาง ธุ ร กิ จที่ จ ะช่ ว ยให้ ธุ ร กิ จหลุ ดพ้ น จากกั บดั กของ รูปแบบธุรกิจที่ใช้ ก่อนหน้ านี้ และเพื่อเป็นการต่อ อายุการเจริญเติบโต และผลกาไรของบริษัทฯต่อไป Chesbrough, (2010: 362) สรุป

โอกาสทางธุรกิจชีววิทยาศาสตร์ในประเทศ ไทยนั้นมีความเกี่ยวข้องกับ นวัตกรรมด้านชีววิทยา ศาสตร์ ได้ แก่ Biotech/pharmaceutical, Life sciences, Medical device/diagnostics, Biotech/agriculture และ Digital health IT เป็นต้น สาหรับโอกาสในการต่อยอดงานวิจัยสู่การ ดาเนินธุ รกิ จครบวงจร (B2B, B2C และ B2G) โอกาสในการต่ อยอดงานวิจั ยและการพัฒนาและ การวิจัยร่วมทั้งในและต่างประเทศ โอกาสในพัฒนา เป็นประเทศส่งออก raw material แหล่งสาคัญ ของโลก และโอกาสเพิ่มมูลค่าสู่ การขายบริษัท ส าหรั บโอกาสในการเข้ าถึ งตลาดโลกได้ อย่ างมี ประสิ ท ธิ ภ าพธุ ร กิ จ ชี ว วิ ท ยาศาสตร์ ต้ อ งใช้ นวั ต กรรมที่ มี ค วามล้ าสมั ย ประกอบกั บ ต้ อ งมี รูปแบบธุรกิจที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและกล ยุ ท ธ์ ที่ ส ามารถด าเนิ น การได้ จ ริ ง ทั้ ง ในและ

ต่างประเทศ เป็นรูปแบบที่เข้าใจได้โดยหลั กการ และเหตุผล พิจารณาประเด็นทั้งที่มองเห็นและมอง ไม่เห็นเพื่อลดความเสี่ยงในการเข้าดาเนินธุรกิจใน แต่ละประเทศ โดยรูปแบบธุรกิจต้องมีวิวัฒนาการ ที่สอดคล้ องกับบริ บทของแต่ละประเทศและควร คานึงถึงความคาดหวังของตลาด ซึ่ งต้องสามารถ ปรับเปลี่ยนได้ในรูปแบบของนวัตกรรมของรูปแบบ ธุ รกิ จเพื่ อสะท้ อนความเป็ นธรรมชาติ ของธุ รกิ จ ชีววิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นธุรกิจแห่งอนาคต โดยธุรกิจ ชีววิ ทยาศาสตร์ ในประเทศไทยควรมี การด าเนิ น ธุรกิจในลักษณะที่ไม่ได้หวังเพียงผลกาไรที่เป็นตัว เงินเท่านั้น ต้องพิจารณาทั้ง Triple Bottom Line (TBL) และ Triple Top Line (TTL) ซึ่งต้อง ครอบคลุ ม ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เศรษฐกิ จ สิ่งแวดล้อมและสังคม รวมถึงกลยุทธ์ที่เน้นความ เสมอภาคทางสังคม (social equity) ตอบสนอง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว กั บ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ (ecological sensitivity) และเสถี ยรภาพทางเศรษฐกิ จ (economics soundness) ทั้ งนี้ ธุ ร กิ จ ชี ว วิ ทยาศาสตร์ ต้ องเตรี ย ม ความพร้ อมของตนเองเพื่ อให้ เป็ นที่ ยอมรั บและ สนใจจากนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ มีความ เสี่ยงต่อความล้มเหลวจากการวิจัยและพัฒนาที่มี ความซับซ้อนมาก จึงจาเป็นต้องหาตลาดที่สนใจใน คุณค่าของตน โดยทาการเปิดกว้างให้กับผู้ที่สนใจ ลงทุนและมีกาลังซื้อเพียงพอและเมื่อก้าวข้ามผ่าน การเริ่มต้นธุรกิจไปสู่การ spin-off ต้องสร้างให้ ธุรกิจของตนมีองค์ประกอบของรูปแบบทางธุรกิจ และคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้าน spinoff สาหรับธุรกิจชีววิทยา ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการ ใช้ เป็ นกลยุ ทธ์ สู่ การเป็ นสากลได้ อย่ างมี ประสิทธิภาพ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

195

References Bialek-Jaworska, A., Bialek-Jaworska, A., Gabryelczyk, R., & Gabryelczyk, R. (2016). Biotech spin-off business models for the internationalization strategy. Baltic Journal of Management, 11(4), 380-404. Chesbrough, H. (2003). Open innovation, the new imperative for creating and profiting from technology, Harvard Business School Press, Boston, MA. Chesbrough, H. (2010). Business model innovation: opportunities and barriers. Long range planning, 43(2), 354-363. Contractor, F. J., & Sagafi-Nejad, T. (1981). International technology transfer: Major issues and policy responses. Journal of International Business Studies, 12(2), 113-135. Gambardella, A., & McGahan, A. M. (2010). Business-model innovation: General purpose technologies and their implications for industry structure. Long range planning, 43(2), 262-271. Jeurissen, R. (2000). John Elkington, Cannibals with forks: The triple bottom line of 21st century business. Journal of Business Ethics, 23(2), 229-231. Kunz, R., & Lloyd, B. (2017, June). Radical (Open) Innovation made in Germany: Biotech success stories. In ISPIM Innovation Symposium (p. 1). The International Society for Professional Innovation Management (ISPIM). McDonough, W., & Braungart, M. (2002). Design for the triple top line: new tools for sustainable commerce. Corporate Environmental Strategy, 9(3), 251-258. Office of The National Economic and Social Development Board. (2560). The National Economic and Social Development Plan 2560-2564, Retrieved 26 November, 2017 from http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 Osterwalder, A., & Pigneur, Y. (2010). Business model generation: a handbook for visionaries, game changers, and challengers. John Wiley & Sons. Rialp, A., Rialp, J., & Knight, G. A. (2005). The phenomenon of early internationalizing firms: what do we know after a decade (1993–2003) of scientific inquiry?. International business review, 14(2), 147-166. Savitz, Andrew. (2014). The triple bottom line: how today's best-run companies are achieving economic, social and environmental success-and how you can too. 2rd Edition, John Wiley & Sons, Teece, D. J. (2010). Business models, business strategy and innovation. Long range planning, 43(2), 172-194.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

The Stock Exchange of Thailand. (2560). Spin-off for listed company, Retrieved 26 November, 2017 from https://www.set.or.th/th/products/listing/files/Brochure_ Spin _Off_B.pdf Timpila, S. (2560). Biology Science: Businessuture for the future, Retrieved 26 November, 2017 from http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/519504


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

197

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

กระบวนการนโยบายสาธารณะในประเทศไทย วรรณนภา วามานนท์1

บทคัดย่อ กระบวนการนโยบายสาธารณะนั้น ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ คือการก่อตัวของนโยบาย การนา นโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินนโยบาย ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องมีความเชื่อมโยงด้วยกันทุกขั้นตอน สาหรับ นโยบายสาธารณะในประเทศไทย มักจะพบปัญหาในทุก ๆ ขั้นตอน คือ การกาหนดนโยบายไม่เป็นไปตาม ขั้ น ตอนกระบวนการนโยบาย การตั ด สิ น ใจในนโยบายไม่ ไ ด้ ค านึ ง ในหลาย ๆ มิ ติ ทางสั ง คม และ เศรษฐศาสตร์ในระดับชุมชน นโยบายไม่มีหลักเหตุผล เป็นการกาหนดนโยบายเพื่อการหาเสียงของพรรค การเมือง ไม่สามารถนาไปสู่การปฏิ บัติได้จริง ไม่มีการศึกษาทางเลือกนโยบาย หรือการค้นคว้าวิจัยให้มี ข้อมูลเชิงประจักษ์ นโยบายขาดการศึกษาเรื่องผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ขาดการให้ประชาชนได้ มีส่วนรับรู้ในโยบายตั้งแต่จุดเริ่มต้น การตัดสินใจมักเป็นเรื่องของผู้มีอานาจไม่ใช่ประชาชน บทบาทของ กลุ่มการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ทาให้นโยบายไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสาธารณะได้ การ แก้ไขควรดาเนินการโดย ต้องสร้างเสรีภาพให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย ต้องมีหลักคิด เชิงทฤษฎีหรือมีเหตุผลสนับสนุน ควรมีหน่วยงานดาเนินการวิเคราะห์ทางเลือกนโยบายอย่างเป็น รูปธรรม และวิเคราะห์อย่างมืออาชีพ เปิดโอกาสให้มีเวทีสาธารณะเพื่อการสร้างสรรค์แนวคิดนโยบายนวัตกรรมที่ไม่ ยึดติดอยู่ในกรอบเดิม ๆ และการตัดสินใจเลือกนโยบายต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะเป็นที่ตั้ง คาสาคัญ: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การฝึกอาชีพระยะสั้น กรุงเทพมหานคร ประสิทธิผล

1

อาจารย์, สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

1767 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ e-mail: drwannapa@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Public Policy Process in Thailand: Problems and Solutions Wannapa Wamanond1

Abstract Public policy process can be seen as an intergraded process of formation, implementation and evaluation. Thai public policies often encounter problems in various stages: policy formulation and implementation not conform to the policy processes; policy decisions often ignore social dimension and microeconomic conditions at the community level; irrational policy; no study for policy alternatives or empirical research; lack of study on policy impacts both directly and indirectly; lack of public awareness since its formulation; decisions on policy is often a matter of authority, government officials and executives, not from the public; political and interest-based formulation; political and interest groups cannot meet the public demand. The author proposes solutions to these problems as follows: create people's freedom to participate in policy formulation; public policy must be based on theoretical or logical reasoning; there should be an agency to conduct an analysis of policy options tangibly and professionally; provide the public with a chance to create innovative ideas that do not strict to the old framework; and policy decisions must take into account public interest. Keywords: public policy process, public interests, stakeholders, public dialogue

1

Lecturer, Public Policy and Management Kasem Bundit University. 1767 Patanakarn Road, Suan Luang, Bangkok 10250 e-mail: drwannapa@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

แม้ว่าจะมีคากล่าวว่า ผลผลิตที่สาคัญที่สุด ของรัฐบาล คือ นโยบายสาธารณะ ตามความคิด รวบยอดของ Dye ที่ได้ให้คาจากัดความไว้ว่ า “นโยบายสาธารณะคือสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจเลือก ที่ จ ะกระท าหรื อ ไม่ ก ระท า” (Whatever governments choose to do or not to do) (Dye, 2016) แต่ก็มิได้หมายความว่านโยบาย สาธารณะที่ กาหนดโดยรั ฐ บาลจะไม่ก่ อให้ เ กิ ด ปัญหาต่อสังคมในระยะยาว และถ้าหากนโยบาย ของรัฐไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ด้ ว ย แ ล้ ว มี รู ป แ บ บ ข อ ง น โ ย บ า ย ที่ เ อื้ อ ผลประโยชน์ ต่ อ พวกพ้ อ ง มี โ อกาสให้ เ กิ ด การ ทุจริตคอรัปชั่น หรือมีการครอบงากระบวนการ กาหนดนโยบายสาธารณะของไทย เมื่อเป็นเช่นนี้ แล้ ว จึ งเป็ นเหตุให้ ป ระชาชนทุกภาคส่ ว นต้องมี ส่วนร่วมในการกาหนดอนาคตของประเทศ ทิศ ทางการพัฒนาของประเทศ ด้วยการเรียนรู้และมี ส่วนร่วมในกระบวนการกาหนดนโยบายของรัฐ อย่างเป็นรูปธรรมและจริงจัง จากความสาคัญดังกล่าวข้างต้น ในฐานะที่ เป็นนักวิชาการด้านนโยบายสาธารณะ จึงมีความ สนใจที่จะวิเคราะห์กระบวนนโยบายสาธารณะ ในประเทศไทย เพื่อให้เห็นจุดอ่อน และนาไปสู่ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ พื่ อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ใ น กระบวนการนโยบายของประเทศต่อไปในภาย ภาคหน้า

199 แนวคิดด้านกระบวนการนโยบายสาธารณะ จากการศึ ก ษาถึ ง เรื่ อ งกระบวนการ นโยบาย (Policy Process) นั้นจะเห็นได้ว่าเรื่อง ของนโยบายเป็ น เรื่ อ งที่ มี ค วามส าคั ญ ตั้ ง แต่ จุดเริ่มต้น คือตั้งแต่การก่อร่างนโยบาย (Policy Formation/Formulation) การนานโยบายไป ปฏิบัติ (Policy Implementation) การประเมิน นโยบาย (Policy Evaluation) ตลอดจนถึงการ ยุตินโยบาย (Policy Termination) ซึ่งนโยบาย อาจมีการต่อเนื่อง หรือการทดแทนนโยบายใหม่ เมื่อนโยบายเดิมสิ้นสุดลง (Maintenance or Succession Policy) (Dunn, 1981) ทั้งหมด ล้วนเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน และ นอกเหนื อ ไปจากนั้ น แนวคิ ด ของ Michael Howlett และคณะ ยั ง มีมุ มมองเพิ่ม เติ มว่ า นโยบายยังมีความเชื่อมโยงไปอีกหลายภาคส่วน เช่ น เครื อ ข่ า ยนโยบาย (Policy Network) ภาครัฐ (State) ภาคประชาสั งคม (Society) รวมไปถึงการโต้แย้งของคนในชุมชน (Discourse Community) ระบบที่ เ กี่ ย วกั บ นานาชาติ (International System) ที่ต้องคานึ งถึ ง ผลกระทบในส่วนที่น านาชาติให้ความสนใจอยู่ ด้วย เพราะทุกประเทศต้องมีปฏิสัมพันธ์กันในมิติ ต่ า งๆ เพราะประเทศไทยก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ประชาคมโลกด้ว ย ทั้งหมดนี้ ล้วนเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของนโยบาย โดยความเชื่อมโยงดังกล่าว อธิบาย ได้เป็นภาพดังนี้ (Howlett et al., 2009)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

แนวคิดนี้สอดคล้องกับ Sabatier ที่ได้ ให้ ค วามส าคั ญ ในเรื่ อ งของผลกระทบของ เครือข่าย (Network) ด้วยเช่นกันว่า เครือข่าย นโยบายสามารถนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ได้ (Sabatier, 2007: 143) เนื่องจากเครือข่ายมี บทบาทที่ ส าคั ญ ในการสร้ า งและสร้ า งการ ตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกแล้วนามาประกอบ ร่ า งเป็ น นโยบายในที่สุ ด และประการที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ นโยบายสาธารณะเป็ น เรื่ อ งของ ประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) มี ผลกระทบโดยตรงต่อต่อประชาชนซึ่งเป็นผู้ที่มี ส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) จากนโยบาย สาธารณะนั้น ๆ ดังนั้นการให้ความสาคัญต่อ นโยบายสาธารณะตั้งแต่การก่อรูป ก่อร่าง หรือ การกาเนิดนโยบายในความหมายเดียวกันนี้ จึง เป็นความจาเป็นอย่างยิ่งดังคาพังเพยที่กล่าวว่า “การเริ่ ม ต้ น ที่ ดี ย่ อ มส าเร็ จ ไปแล้ ว ครึ่ ง หนึ่ ง ” เพราะการก่ อ รู ป นโยบาย เป็ น กระบวนการ นโยบายที่ เ กิ ด ขึ้น โดยไม่ ค านึ งถึ ง หลั กการหรื อ ทฤษฎี ท างนโยบายสาธารณะย่ อ มก่ อ ให้ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ และไม่ ส อดคล้ อ งกั บ

ความต้องการของประชาชนนั้นนับว่าเป็นเรื่องที่ สูญเสียอย่างยิ่ง ปัญหากระบวนการนโยบายสาธารณะ ในประเทศไทย ส าหรั บ นโยบายสาธารณะในประเทศ ไทยนั้ น เรามั ก จะพบว่ า นโยบายสาธารณะมี ปัญหาหลายด้าน และเมื่อได้ศึกษาวิเคราะห์ตาม หลักการและทฤษฎีของ การก่อรูปนโยบาย การ กาหนดนโยบาย และ การตัดสิ นใจในนโยบาย การนานโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย ตามแนวทางของนักวิชาการนโยบายสาธารณะ เช่น Robert Eyestone, James E. Anderson, Raymond A. Bauer, Lindzey Gardner and Elliot Aronson, Christopher Ham and Michael Hill, William N. Dunn, Charles E. Linblom และนักวิชาการไทยอีกหลายๆ ท่าน แล้ว สามารถจะวิเคราะห์พบจุดอ่อนของนโยบาย สาธารณะทั้ ง หลายของไทยโดยสรุ ป ได้ เ ป็ น ประเด็นปัญหาตามขั้นตอนหลักๆได้ต่อไปนี้ คือ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

นโยบาย

ปั ญ หาในขั้ น ตอนการก าหนด

1. การกาหนดนโยบายไม่เป็นไปตาม ขั้ น ต อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร น โ ย บ า ย ไ ม่ เ ป็ น กระบวนการที่ ส มบู ร ณ์ คื อ แทนที่ จ ะเป็ น กระบวนการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การน าปั ญ หา สาธารณะ (Public Problems) โดยทั่วๆ ไป ที่ เกิดขึ้ น ในสั งคมมาสร้ า งให้ เ ป็ น นโยบายของรั ฐ ตามแนวคิดของ Eyestone (Eyestone, 1978) แต่มักมาจากกลุ่มบุคคล กลุ่มการเมืองที่นาเสนอ แนวคิ ด เข้ า มาให้ รั ฐ บาลได้ แล้ ว รั ฐ บาลน ามา กาหนดออกมาเป็นนโยบายโดยตรง เป็นการลัด ขั้นตอนการกาหนดนโยบาย เมื่อเป็นดังนี้จึงทา ให้นโยบายไม่สามารถตอบสนองความต้องการ ของประชาชนส่วนใหญ่ได้ อาจตอบสนองเพียง คนบางกลุ่มที่ใกล้ชิดกับศูนย์กลางอานาจในการ แสวงหาโอกาสท าให้ เ กิ ด นโยบายเพื่ อ เอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ กลุ่ ม ของตน ดั ง นั้ น กระบวนการ กาหนดนโยบายตามแนวทางของ Eyestone นั้น จึงหมดความสาคัญลงสาหรับรูปแบบการกาหนด นโยบายของประเทศไทย 2.การตัดสินใจในนโยบาย (Policy Decision Making) โดยไม่คานึงถึงมิติหลาย ๆ ด้านของนโยบายให้ครบถ้วน คานึงถึงเฉพาะเรื่อง ของผลประโยชน์ ของหน่ วยงาน กลุ่มการเมือง และอื่น ๆ หรือคานึงถึงเฉพาะที่เป็นมิติในเรื่อง ของกฎหมาย รั ฐศาสตร์ หรือเศรษฐศาสตร์มห ภาค แต่ ล ะเลยการให้ ค วามส าคั ญ ในมิ ติ ข อง สั ง คมศาสตร์ จิ ต วิ ท ยาสั ง คม เศรษฐศาสตร์ จุลภาค หรื อเศรษฐศาสตร์ ในระดับชุมชน เป็น ต้ น เช่ น นโยบายการขึ้ น ราคาค่ า โดยสารรถ ประจ าทางสาธารณะ นโยบายการขึ้น ราคาค่า สาธารณูปโภคต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อประชาชน ทุกระดับ เป็นต้น

201 3. นโยบายที่ ไ ม่ มี ห ลั ก เหตุ ผ ล มักเนื่องจากเป็นนโยบายที่เป็นการหาเสียงทาง การเมืองของพรรคการเมือง ขาดการคานึงถึ ง เรื่องต้นทุน-ประสิทธิผล ไม่คานึงถึงว่าในระยะ ยาวนโยบายนั้นจะเป็นจริงได้มากน้อยเพียงใด จึง อาจทาให้นโยบายเกิดปัญหาในการนาไปปฏิบัติ (Policy Implementation) และเกิดผลกระทบ อื่นๆ ตามมา ซึ่งนโยบายที่ดีนั้นต้องเป็นนโยบาย ที่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริงในสถานการณ์จริง ด้วย 4. ก่อนการกาหนดนโยบาย ส่วนมาก มักมิได้มีการศึกษาเปรียบเทียบทางเลือกนโยบาย (Policy Alternatives) หรือมีการค้นคว้าการ วิจัยเชิงประจักษ์ในการหาข้อมูล (Bauer, 1968: 1-26) เพื่อหาความชัดเจนของปัญหา และสร้าง ทางเลือกนโยบายในการแก้ไขปัญหานั้นๆ เพื่อ การกาหนดแนวทางในการก่อรูปนโยบาย ส่วน ใหญ่ จึ ง เป็ น ลั ก ษณะของนโยบายเดี่ ย ว จึ ง ไม่ สามารถบอกได้ ว่ า นโยบายนั้ น เป็ น หนทางที่ ดี ที่ สุ ด ในการที่ จ ะน าไปสู่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หา สาธารณะที่มีอยู่ในสังคมได้อย่างแท้จริง 5. นโยบายสาธารณะบางนโยบายขาด ขั้นตอนการศึกษาถึงเรื่องผลกระทบ (Impacts) ทั้งทางตรงและทางอ้อม สื บเนื่ องมาจากการที่ น โ ย บ า ย มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น น โ ย บ า ย ที่ ไ ม่ ไ ด้ เปรี ย บเที ย บทางเลื อ ก เป็ น นโยบายที่ ก าหนด ขึ้ น ม า อ ย่ า ง ลั ด ขั้ น ต อ น ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม กระบวนการก่ อ รู ป นโยบายตามหลั ก วิ ช าการ นโยบายที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งฉั บ พลั น กะทั น หั น การ ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องนี้โดยตรง การ คิดกาหนดนโยบายโดยกลุ่มการเมือง กลุ่มบุคคล เหล่านี้เป็นเหตุผลประกอบที่ทาให้การศึกษาใน เรื่องของผลกระทบของนโยบายถูกมองข้ามไป ต่อเมื่อนโยบายได้รับการปฏิบัติไปแล้ว ตามวาระ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ของนโยบายที่ ถู ก ก าหนดขึ้ น ตามยุ ค สมั ย ผลกระทบของนโยบายจึงเกิดขึ้น ทั้งในระยะสั้น และในระยะยาว ทิ้งปัญหาให้กับประชาชนและ สังคม เพราะรัฐบาลนั้นเปลี่ยนไปตามกาลเวลา แต่ ผ ลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น ยั ง คงอยู่ ดั ง นั้ น การ ลงทุนในเรื่องการศึกษาเรื่องผลกระทบนั้นน่าจะ เป็ น การลงทุ น ที่ ดี ก ว่ า การเสี ย ต้ น ทุ น เพื่ อ แก้ปัญหาผลกระทบในตอนหลัง 6. ขาดการให้ประชาชนได้มีส่วนรับรู้ ในนโยบาย ประชาชนไม่ทราบถึงวัตถุประสงค์ นโยบาย ว่าจะทาเพื่ออะไร ทาแล้วประชาชนจะ ได้ อ ะไร หรื อ เสี ย อะไร มากน้ อ ยอย่ า งไร ผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จะส่งผลต่อ ประชาชนเป็นอย่างไร ดังตัวอย่างนโยบายหรือ โครงการท่ อ ส่ ง แก๊ ส ไทย-มาเลเซี ย ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ มี ส่ ว น ร่ ว ม รั บ ท ร า บ ตั้ ง แ ต่ วัตถุประสงค์ การก่อรูปนโยบาย แต่มี การนามา ให้ ป ระชาชนพิ จ ารณา และพยายามที่ จ ะให้ ประชาชนยอมรั บ นโยบายด้ ว ยการท าประชา พิ จ ารณ์ ภ ายหลั ง จึ ง เกิ ด ความไม่ ย อมรั บ และ ต่ อ ต้ า นจากคนในพื้ น ที่ ขึ้ น ต่ อ มาจึ ง ได้ มี ค วาม พยายามในการกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ที่ว่า นโยบายสาธารณะที่กาหนดขึ้นนั้น จะต้องได้รั บ ความเห็ น ด้ว ยจากประชาชนก่อน แต่อย่ างไรก็ดี นโยบายที่ได้มีการศึกษามาแล้ ว เป็นอย่างดีว่าจะส่งผลดีต่อประเทศชาตินั้น เป็น เรื่องของการบริหารและการจัดการของรัฐบาลว่า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งใด ที่ จ ะสามารถท าให้ ประชาชนได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ถู ก ต้ อ ง ชัดเจน และครบถ้วน อันจะนาไปสู่ความเห็นด้วย โดยรวม (Concensus) ในที่สุด 7. การตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งนโยบายมั ก เป็นเรื่องของผู้มีอานาจและผู้บริหาร ซึ่งตรงกัน ข้ามกับแนวคิดของ Charles Lindblom ที่ว่า

การตั ด สิ น ใจก าหนดนโยบายนั้ น ต้ อ งเป็ น การ ตัดสินใจจากประชาชน โดยผู้นารัฐบาลเป็นเพียง ผู้ น า ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ม า สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย เ ท่ า นั้ น (Lindblom, 1968: 43) 8. การเข้ า มามี บ ทบาทของกลุ่ ม การเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ ทาให้นโยบายไม่ สามารถตอบสนองต่อความต้องการสาธารณะได้ เช่น นโยบายแรงงานของรัฐบาล (ในอดีต) ที่มี การบิ ด เบื อ นนโยบายจากเดิ ม ทั้ ง ที่ ไ ด้ มี ก าร สารวจความต้องการของผู้ใช้แรงงานไว้แล้วตั้งแต่ ตอนก่ อ นการหาเสี ย งเลื อ กตั้ ง แต่ เ มื่ อเกิ ด การ ประนีประนอมทางการเมืองที่ต้องการให้พรรค การเมืองพันธมิตรมาเข้าร่วมเป็นรัฐบาล นโยบาย แรงงานที่ ถู ก ก าหนดออกมาจึ ง เป็ น ลั ก ษณะที่ แตกต่างจากนโยบายที่ก่อรูปไว้ตั้งแต่แรก เป็น เพียงนโยบายที่ดาเนิ น ไปตามลั กษณะของงาน ประจาที่ข้าราชการได้ทาอยู่แล้ว ไม่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) เป็นนโยบายที่ไม่มีความคิดริเริ่มใหม่ (Innovation) ทาให้ประชาชนเสี ยประโยชน์ เพี ย งเพื่ อ พรรคการเมื อ งต้ อ งการประสาน ประโยชน์ ร ะหว่ า งกั น เท่ า นั้ น ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งการ ต่อรอง (Bargaining) (Dunn, 1981 p. 46) เมื่อ ต้องตัดสินใจเลือกนโยบาย หรืออาจกล่าวได้ว่า การกาหนดนโยบายของประเทศไทยเป็นเรื่อ ง ของการเมืองมากเกินไป ปัญหาในขั้นตอนการนานโยบายไปปฏิบัติ 1. ปัญหาโครงสร้างองค์การ เนื่องด้วย ความหลากหลายในรู ป แบบของนโยบายที่ บางครั้งหน่วยงานของ ภาครั ฐ ไม่ มี ค วามพร้ อ มในการน า นโยบายไปปฏิบัติ ขาดความชัดเจนของนโยบาย


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ข้อจากัดของจานวนบุคลากรที่ไม่สอดคล้องกับ ภารกิ จ ของนโยบาย อ านาจในการสั่ ง การ โครงการเฉพาะกิจที่ไม่ชัดเจน 2. ปั ญ หาการประสานงานระหว่ า ง องค์ ก าร พื้ น ที่ ที่ น โยบายค ลอบคลุ ม ไปถึ ง หน่วยงานอื่น ความเข้าใจใน ทิศทางของนโยบายของแต่ละหน่วยงาน ที่ต้องร่วมงานกันไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรือ สอดคล้องกัน ปั ญหาการติดต่อสื่ อสารระหว่าง บุ ค ลากรของแต่ ล ะองค์ ก าร ว่ า ใครจะเป็ น ผู้รับผิดชอบในด้านใด ความไม่รู้จักคุ้นเคย อาจมี ความสับสนและไม่ชัดเจนเกิดขึ้นได้ 3. ปั ญหาตัว ผู้ ป ฏิบั ติงาน ทักษะของ ผู้ปฏิบัติงานที่มีข้อจากัด ความเข้าใจในนโยบาย ในทิศทางเดียวกัน ทัศนคติและความยอมรับในนโยบายที่ ต้ อ งน าไปปฏิ บั ติ จ านวนผู้ ป ฏิ บั ติ ง านตาม นโยบายไม่เพียงพอ ระยะเวลาและความเร่งด่วน ของนโยบายที่ส่งผลต่อการปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติไม่อาจ แยกแยะตนเองจากงานประจามาทางานนโยบาย ได้อย่ างอิส ระ สิ่ งแวดล้อมอื่นๆ ของนโยบายที่ ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ น านโยบายไปปฏิบั ติ เช่น ขาดแรงจูงใจ ภาระครอบครัวเป็ นอุปสรรค เป็น ต้น ปัญหาในขั้นตอนการประเมินผลนโยบาย 1. ไม่ มี น โ ย บ า ย ก า ร ป ร ะเ มิ น ผ ล เนื่ อ งจากที่ ผ่ า นมาในประเทศไทยนั้ น มี ก าร เปลี่ยนรัฐบาลบ่อยครั้ง เมื่อมีนโยบายเกิดขึ้นใน รัฐบาลใด มีการกาหนดนโยบายใหม่ๆ ในรัฐบาล นั้นๆ ข้าราชการก็ปฏิบัติตามนโยบายนั้นไป แต่ เมื่ อ เปลี่ ย นรั ฐ บาลใหม่ ก็ มี น โยบายใหม่ ที่ ต้ อ ง ปฏิบัติตามเกิดขึ้น มาอีก นโยบายเก่าก็ไม่ได้รั บ การประเมินผลนโยบาย เพราะขาดความสนใจใน

203 ผลลั พ ธ์ ข องนโยบายนั้ น ๆ ไปแล้ ว บางครั้ ง นโยบายเก่ า ถ้ า ประเมิ น ผลแล้ ว อาจยั ง มี ประสิทธิภาพแต่ผู้นาไม่ให้ความสาคัญ จึงทาให้ นโยบายดังกล่าวๆ ไม่ได้นาไปสู่ การปฏิบัติต่อไป อย่างจริงจังเหมือนเคย 2. บุ คลากรภาครั ฐ ขาดความรู้ ความ เข้าใจในเรื่องการประเมินผล ขาดความชานาญ และประสบการณ์ เนื่ อ งจากบทบาทความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ภาระหน้ า ที่ ใ นงานประจ า ซึ่ ง การประเมิ น ผล นโยบายนั้ น เป็ นเรื่ องที่ต้องมีความรู้ ความใจใน ขั้ น ตอนการประเมิ น ผลอย่ า งถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิชาการ ดังนั้นหากต้องการให้นโยบายได้รับการ ประเมินผลเพื่อหาข้อสรุปในการดาเนินนโยบาย นั้นว่ามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างไร ต้องมี การให้ ก ารศึ ก ษาอบรมเรื่ อ งการประเมิ น ผล นโยบายอย่างถูกต้อง 3. ข า ด บุ ค ล า ก ร ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ประเมิ น ผล เนื่ องจากการประเมิน ผลนโยบาย เป็นภาระงานที่นอกเหนือจาก งานประจ าส าหรั บ บุ ค ลากรในภาครั ฐ นโยบายจึ งขาดผู้ รั บ ผิ ดชอบในการประเมิน ผล และประกอบกั บ การประเมิ น ผลนั้ น ต้ อ งมี งบประมาณค่าใช้จ่ าย กรอบระยะเวลาในการ ประเมิ น ผล ขอบข่ า ยของการประเมิ น ผล ตลอดไปจนการจัดพิมพ์รายงานประเมินผล จึง ต้องมีการวางแผนในประเด็นปัญหาต่างๆ เหล่านี้ ไว้ในทุกขั้นตอนของการกาหนดนโยบาย แนวทางการแก้ไขปัญหานโยบายสาธารณะ จากแนวคิ ด ทางวิ ช าการ และ ข้อสังเกตจากนโยบายสาธารณะในประเทศไทย ทั้ง หมดในทุ ก ขั้ น ตอนนโยบายดัง กล่ า วข้ า งต้ น แสดงให้เห็นว่ากระบวนการของนโยบาย (Policy


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Process) สาหรับประเทศไทยนั้นยังต้องได้รับ การปรับปรุงแก้ไขโดยการให้ความสาคัญตั้งแต่ การก่อรูปนโยบายจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ที่ มี อ านาจหน้ า ที่ ใ นการก าหนดนโยบาย ต้ อ ง กระทาอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นเหตุเป็นผล เชื่อถือได้ในแง่ของวิชาการ มากกว่าการคานึงถึง เรื่องความสามารถในการที่ จะดารงอยู่ในอานาจ เท่านั้น และต้องให้ความสาคัญในขั้นตอนการนา น โ ย บ า ย ไ ป ป ฏิ บั ติ ไ ป จ น ถึ ง สุ ด ท้ า ย ข อ ง กระบวนการประเมินนโยบาย และที่สาคัญทุก ขั้นตอนนั้นต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ เป็นประการสาคัญ ดั ง นั้ น เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า กระบวนการนโยบายสาธารณะ เป็ น การ แก้ปัญหาที่เป็นระบบและเป็นรูปธรรมมากขึ้นนั้น อาจต้ อ งตั้ ง ต้ น ที่ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของปั ญ หา โดยมี ข้อเสนอตามลาดับดังต่อไปนี้คือ 1. ตั้งแต่กระบวนการการเกิดขึ้นของ นโยบาย ที่ ต้ อ งเกิ ด ขึ้ น ในสภาพแวดล้ อ มทาง การเมืองที่ให้เสรีภาพ แก่ ผู้ ค นในสั ง คมที่ มี ส่ ว นร่ ว มทางการ เมื อ ง มี ก ระบวนการขั บ เคลื่ อ นทางสั ง คมจาก ประชาชนที่มีความรู้ แ ละปั ญญาเพื่อประโยชน์ ของสั งคมเป็ นหลั ก เป็ นพลั งร่ ว มทางจริยธรรม เพื่อสังคมโดยรวม ไม่ใช่พลังอานาจที่จะใช้เพื่อ เป็ น กลไกในการแสวงหาผลประโยชน์ทางการ เมือง การแก้ไขกระบวนการนโยบายสาธารณะ ให้มีการพัฒนาที่ดีนั้น พิมพิสุทธิ์ ได้แสดงทัศนะ ไว้ว่าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น การสร้าง วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการที่ จะสร้ างกระบวนการทางสั ง คมในการผลั ก ดั น นโยบายให้เป็นที่ยอมรับ (พิมพิสุทธิ์ , 2549) ซึ่ง ประเด็ น นี้ เ ป็ น ส่ ว นส าคั ญ อี ก ขั้ น ตอนหนึ่ ง ใน กระบวนการนโยบายทั้งหมด บางท่านเห็นว่าการ

กาหนดนโยบายสาธารณะนั้นเชื่อมโยงกับระบอบ การปกครอง หากการปกครองมี ค วามเป็ น ประชาธิปไตยสูง ประชาชนจะยิ่งมีอานาจและ บทบาทสาคัญในการผลักดันและกาหนดนโยบาย ของรัฐบาลมากขึ้น (สมบัติ ธารงธัญวงศ์ , 2552) ต้องมีระบบการเมืองที่ให้เสรีภาพประชาชนโดย การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการ กาหนดนโยบายรัฐ เป็นแนวคิดเดียวกับ Charles Lindblom และระบบราชการต้องไม่ผูกขาด อ านาจในการก าหนดและตั ด สิ น นโยบาย (Charles Lindblom, 1968) รวมถึงการยอมรับ ความต้องการที่มีความหลากหลายและแตกต่าง พร้ อ มกั บ ต้ องมี ก ารวิ เ คราะห์ น โยบายโดยต้ อ ง ศึ ก ษาให้ เ กิ ด ความเป็ น ธรรม ความเสมอภาค ความเท่าเทียมกัน ในเชิงนโยบายนั้นๆ ด้วย 2. ใน คว าม เ ห็ น ขอ งนั ก วิ ช าก า ร นโยบายสาธารณะ จันทรศร เห็นว่าปัญหาของ นโยบายสาธารณะ ไทย ในประเด็นเรื่องการนานโยบายไป ปฏิบัตินั้นมุ่งเน้นเฉพาะบางเรื่องหรือบางประเด็น และไม่มีกรอบทฤษฎีที่เด่นชัดเจน หรือมีตัวแบบ ที่มีความสมบูรณ์เพียงพอที่จะอธิบายถึงปัญหาที่ อาจจะเกิ ด ขึ้ น ในกระบวนการน านโยบายไป ปฏิบัติได้ (จันทรศร, 2540) ซึ่งประเด็นนี้เป็น ส่ ว นส าคั ญ อี ก ขั้ น ตอนหนึ่ ง ในกระบวนการ นโยบายทั้งหมด ดังนั้นการกาหนดนโยบายต้อง อาศัยหลั กคิดที่มีเหตุผ ล หรือทฤษฎีเป็นกรอบ แนวคิด โดยจะเชื่อมโยงไปยังนโยบายเครือข่าย ทั้งหมด ทาให้เป็นนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาได้ ครอบคลุมมากกว่า 3. ควรมี ห น่ ว ยงานสนั บ สนุ น การ ดาเนินการวิเคราะห์นโยบายอย่างเป็นรูปธรรม โดยการวิเคราะห์หลายมิติ เพราะการวิเคราะห์ น โ ย บ า ย ต้ อ ง ใ ช้ ก ร อ บ ข อ ง ส ห วิ ท ย า ก า ร


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

(Multidisciplinary Framework) (Dunn, 2012) เป็นเรื่องของสังคมศาสตร์ประยุกต์ และ เป็นเรื่องกระบวนการทางสังคมที่ต้องมีความเป็น มืออาชีพDunn ได้กล่าวว่า ไม่มีเพียงวิธีการใด วิธีการเดี ยวที่จะเหมาะสมกับทุกปัญหา เพราะ การวิเคราะห์นโยบายต้องใช้ศาสตร์หลายแขนง คือต้องคานึงถึงทั้งทางด้านกฎหมาย รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง วัฒ นธรรม ปั จจัย ของ องค์การ วิ เคราะห์ ต้ น ทุน และผลประโยชน์ ทั้ง ภายนอกและภายใน ทางตรงและทางอ้อม ทั้งที่ เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน (Tangible and Intangible) ด้านสิ่งแวดล้อม และต่างประเทศ รวมไปจนถึ ง การท าประชาพิ จ ารณ์ (Public Hearing) ในบางนโยบาย อย่างถูกต้องตามหลัก วิชาการตรงไปตรงมา มีผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ดาเนินการวิเคราะห์ มีการทางานเป็นทีม ไม่ใช่ เป็ น การท างานแบบคนเดี ย ววิ เ คราะห์ ทุกเรื่ อ ง ต้องมีการศึกษาด้านผลกระทบ (Impacts) ในทุก ด้าน ซึ่ง Dunn ได้แสดงทัศนะว่า การวิเคราะห์ นโยบายเป็ น กิ จ กรรมพื้ น ฐานที่ จ าเป็ น ที่ ท าให้ กระบวนการกาหนดนโยบายนั้นสั้นและง่ายขึ้น และท าให้ น โยบายที่ ก าหนดออกมานั้ น เป็ น ที่ ยอมรั บ ในวงกว้ า ง สามารถน าไปปฏิ บั ติ ได้ จ ริ ง นอกจากจะเป็นนโยบายที่จะได้ประโยชน์จริงต่อ ประชาชนแล้ ว ยั งหลี กเลี่ ย งนโยบายที่ก าหนด ออกมาเพื่ อ เพี ย งต้ อ งการคะแนนเสี ย งขอ ง นั ก การเมือ งด้ ว ย ไม่ ใ ช่ ก ารวิ เ คราะห์ เ พี ย งการ ประเมินนโยบายด้วยความรู้สึก การคาดการณ์ นั่ น คื อ การวิ เ คราะห์ ที่ ข าดหลั ก การของการ วิเคราะห์ที่ถูกต้อง

205 4. การจาเป็นที่ประเทศไทยจะต้องมี เวทีสาธารณะ (Public Dialogue) เพื่อเปิด โอกาสให้ประชาชนได้ น าเสนอมุ มมองต่ อ นโยบายสาธารณะ ของภาครัฐ ที่ไม่สามารถสื่อออกไปยังผู้กาหนด กาหนดนโยบายโดยวิ ธี ที่เ ป็ น ทางการ โดยเป็ น เวทีสาธารณะเชิงวิชาการ (Public Policy Academic Dialogue) และหน่วยงานการ วิเ คราะห์ น โยบายสามารถน าไปเป็ น ข้อมูล เพื่ อ การปรับปรุงนโยบายได้ มาตรการนี้มักใช้กันอยู่ ในประเทศที่ มี ค วามเป็ น ประชาธิ ป ไตยสู ง ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการผลั กดั น นโยบายในทางอ้อม มิใช่ การทา วาทกรรมทางการเมือง (Discourse) หรือการ โต้วาทีเพื่อการเอาชนะกันเป็นที่ตั้ง แต่เป็นการ สร้ า งสรรค์ แ นวคิ ด นวั ต กรรมที่ ไ ม่ ยึ ด ติ ด อยู่ ใ น กรอบเดิม ๆ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งจากการระดม พลังสมองของประชาชน 5. เมื่ อ ถึ ง เวลาในการตั ด สิ น ใจเลื อ ก นโยบาย ปัจจัยที่สาคัญที่สุดที่ผู้ตัดสินใจนโยบาย ต้องตระหนักอยู่ เ ส ม อ นั่ น คื อ ก า ร ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ซึ่งมี ลั ก ษณะที่ Redford ให้ ค วามหมายว่ า เป็ น นโยบายที่ยอมรับโดยตรงของกลุ่มผลประโยชน์ แต่ ล ะกลุ่ มโดยไม่มี ความขัด แย้ ง กัน มี การแบ่ ง สรรผล ประโยชน์อย่างกว้า งขวางและต่อเนื่อง ต่อประชาชนโดยรวม และสามารถมีระเบียบวิธี ปฏิบั ติการเพื่อการสร้ างประโยชน์ เชื่อมโยงได้ ตั้งแต่การก่อรูปนโยบาย จนถึงการนานโยบายไป ปฏิ บั ติ ใ ห้ ป ระสบผลส าเร็ จ โดยก ารเน้ น ที่ กระบวนการหลังการตัดสินใจ (Redford, 1957) ประเด็ น นี้ จึ ง เป็ น เรื่ องที่ส าคั ญ อี ก ประการหนึ่ ง เนื่องจากประเทศไทยในบางนโยบายที่ตัดสินใจ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

กาหนดแล้ว ไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้จริง ไม่มีกระบวนการที่จะเอื้อให้เกิดการปฏิบัติอย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเป็ น ประโยชน์ ส าธารณะ อย่ า งจริ ง จั ง การตั ด สิ น ใจเลื อ กนโยบายควร จะต้องสอดคล้องกับค่านิยม (value) ของคน ส่ ว นใหญ่ และเป็ น ระบบที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การบู ร ณาการของการใช้ อ านาจในการสร้ า ง ความเป็นเอกภาพของสังคมด้วย (Nimmo and Ungs ใน ธารงธัญวงศ์, 2552) สรุป

ปัญหากระบวนการนโยบายสาธารณะ ในประเทศไทยเกิดได้ทั้งในทุกขั้นตอน คือตั้งแต่ ขั้นตอนการกาหนดนโยบาย การนานโยบายไป ปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย โดยสามารถ ระบุเป็นประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้ คือ การกาหนด นโยบายไม่เป็ นไปตามขั้นตอนกระบวนการ ไม่ คานึงถึงมิติต่าง ๆ ให้รอบด้าน ไม่มีหลักเหตุผล

ในการก าหนด มั ก มิ ไ ด้ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ ทางเลือกนโยบาย ขาดการศึกษาเรื่องผลกระทบ ประชาชนมิได้ส่ ว นรับ รู้ในการกาหนดนโยบาย การตัดสินใจเป็นเรื่องของผู้มีอานาจประชาชนไม่ มี ส่ ว นร่ ว ม และ การเข้ า แทรกแซงของกลุ่ ม การเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ ดังนั้นผู้เขียนจึง นาเสนอการแก้ไขปัญหาดังกล่าวไว้ เป็นสังเขปใน ห้าประเด็น คือ ต้องสร้างเสรีภาพให้ประชาชนได้ มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย ต้องมีหลักคิด เชิ ง ทฤษฎี ห รื อ ที่ มี เ หตุ ผ ลสนั บ สนุ น ควรมี หน่ ว ยงานด าเนิ น วิ เ คราะห์ ท างเลื อ กนโยบาย อย่างเป็นรูปธรรม ดาเนินการวิเคราะห์นโยบาย อย่างมืออาชีพ เปิดโอกาสให้มีเวทีสาธารณะเพื่ อ การสร้างสรรค์แนวคิดนวัตกรรมที่ไม่ยึดติดอยู่ใน กรอบเดิมๆ ประการสุดท้ายคือการตัดสินใจเลือก นโยบายต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะเป็น ที่ตั้ง

References Anderson, James E. (1975). Public Policy Making, Great Britain: Thomas Nelson and Sons Ltd. Bauer, Raymond A. and Gergen, Kenneth J. (1968). The Study of Policy Formation, New York: The Free Press. Chantasorn, Woradesh (2540). Policy Implementation. Bangkok : Graphic Format Press. Dunn, William N. (2012). Public Policy Analysis. Fifth Edition. U.S.A.: Pearson. Dye, Thomas R. (2016). Understanding Public Policy. 15th ed. Boston : Pearson. Eyestone, Robert (1978). From Social Issues to Public Policy, New York, U.S.A.: John Wileys & Sons, Inc. Ham, Christopher and Hill, Michael (1993). The Policy Process in the Modern Capitalist State. 2nd. Ed. Harvester Wheatsheaf : Hertfordshire. Howlett, Michael, M. Ramesh and Anthony Perl (2009) Studying Public Policy: Policy Cycles & Policy Subsystems, 3rd ed. United Kingdom: Oxford University Press.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

207

Lindblom, Charles E. (1968). The Policy-Making Process. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall Inc., Lindzey, Gardner and Aronson, Elliot. in Thamrongthanyawong, Sombat (2009). Public Policy: Concept, Analysis and Process. 20th edition. Bangkok : Sematham Press. Pimpisut, Tipaporn (2549). Good Public Policy on Liberty and Ethics Base. National conference on Political Science and Public Administration 7th . Bangkok: Ramkhamhaeng University. Redford, Emmette S. (1957). Ideal and Practice in Public Administration. Tuscaloosa, Alabama: University of Alabama Press. Sabatier, Paul A. (2007). Theories of the Policy Process. U.S.A. : Westview Press. Thamrongthanyawong, Sombat (2552). Public Policy: Concept, Analysis and Process. 20th edition. Bangkok : Sematham Press. Dunn, William N. (1981). Public Policy Analysis : An Introduction. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall Inc.,


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับไทยแลนด์ 4.0 จุฑามาศ ศรีรตั นา1

บทคัดย่อ การปฏิวัติทางด้านเทคโนโลยี และการสื่อสาร เกิดขึ้น อย่ างมหาศาลในประเทศพัฒ นาแล้ ว ใน ปัจจุบัน กระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องส่งผลกระทบต่อสังคมไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และทาให้มี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ไม่ใช่เรื่องใหม่ของประเทศ การ ผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้ายังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจากภาครัฐ ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนประเทศภายใต้โมเดล “ไทยแลนด์ 4.0” ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล บนวิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน” ที่มีภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศและเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศอย่างมั่นคง คาสาคัญ: เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ไทยแลนด์ 4.0

1

อาจารย์ประจาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ 59/1 ม.14 ซ.เทศบาลบางปู 119 ถ.สุขุมวิท ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ Email: Js.sriratana@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

209

Creative Economy and Thailand 4.0 Jutamas Sriratana1

Abstract A greater revolution in technology and communication has taken place in the more developed world of today. As a consequence, globalization inevitably has affected Thai society positively and negatively in economic, social and cultural aspects. Pushing creativity to create value added products continues to occur by the government as a driving force under the Thailand 4.0 model and as a vision of economic development policy or the government’s economic development model. The vision of “stability, prosperity and sustainability” is critical in driving reform and as a major force in driving the country’s economic stability. Keywords: Human resource development, short vocational training courses, Bangkok Metropolitan Administration, effectiveness

1

อาจารย์ประจาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ 59/1 ม.14 ซ.เทศบาลบางปู 119 ถ.สุขุมวิท ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ Email: Js.sriratana@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทนา

ประเทศไทยต้ อ งเผชิ ญ กั บ วิ ก ฤตทาง เศรษฐกิจ ในปี พ.ศ.2540 ซึ่งหลังจากเกิดวิกฤต แล้ ว อัตราการเจริ ญเติบ โตทางเศรษฐกิจ ของ ประเทศไทยได้ตกลงมาอยู่ที่ระดับ 3-4 มาเกือบ 20 ปี จวบจนปัจจุบัน สถานการณ์ที่เรียกว่า ติด อยู่ในกับดักประเทศรายได้ปานกลาง สะท้อนให้ เห็ น ว่ า ประเทศไทยไม่ ส ามารถที่ จ ะขยั บ ขึ้ น ไป แข่งขันกับประเทศคู่แข่งขันที่ขับเคลื่อนประเทศ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนวัตกรรม และ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ อาทิ อิ ต าลี ญี่ ปุ่ น หรื อ เกาหลี ใ ต้ ในขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยก็ ไ ม่ สามารถขยับลงมาแข่งขันกับประเทศคู่แข่งขันที่ ขับเคลื่อนประเทศด้วยการผลิตสินค้าต้นทุนต่า ด้วยแรงงานจานวนมหาศาลและราคาถูกอย่าง จีน หรือเวียดนามใต้ ประเทศไทยติดอยู่ตรงกลาง ที่เรียกว่า “Struck in the Middle” (รัตนมุขย์, 2561) การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ไทยตามแนวทาง อุ ต สาหกรรมแบบเดิ ม ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะท าให้ ประเทศไทยอยู่รอด อุตสาหกรรมในปัจจุบันที่ ทารายได้ดีมิใช่อุตสาหกรรมการผลิตอย่างในอดีต แต่เป็ น อุตสาหกรรมที่เน้ น ความคิ ดสร้า งสรรค์ ปรากฏการณ์เหล่ านี้ สะท้ อนให้เห็ นว่าความคิด สร้างสรรค์สามารถเป็นฐานให้พัฒนาเศรษฐกิจได้ (สามโกเศศ, 2552) ประเทศพั ฒ นาแล้ ว จึ ง ใช้ ความคิดสร้างสรรค์เป็นยุทธศาสตร์สาคัญในการ กระตุ้นเศรษฐกิจและผลักดันสิน ค้าและบริการ เหล่ า นั้ น ให้ มี มู ล ค่ า สู ง ในเวที ก ารค้ า โลก การ ด าเนิ น การดั ง กล่ า วเป็ น ไปภายใต้ แ นวคิ ด “ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ” ( UNCTAD,2 0 0 8 ) อย่ างไรก็ตามเศรษฐกิจยุ คไทยแลนด์ 4.0 เป็น เศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยปั ญ ญา นวั ต กรรม องค์ความรู้ เลิกเป็นทุนนิยมที่ยึดติดวัตถุเหมือน

ในอดี ต ปรั บ เป็ น ทุ น นิ ย มที่ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บ ความเป็ น มนุ ษ ย์ รวมถึ ง การพั ฒ นาคน สร้ า ง วัฒนธรรม ค่านิยมในการใช้ชีวิตของคนไทยให้ เข้ากับเป้าหมายของรัฐบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 เศรษฐกิ จ ในอนาคตจะเน้ น ท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชน ความเป็นไทย (กองบริหารงานวิจัยและประกัน คุณภาพการศึกษา, 2559)โดยกาหนดแนวทาง พัฒนาประเทศให้เป็นกลไกใหม่ในการขับเคลื่อน การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ใหม่ (New Engines of Growth) ประเทศและประชากรมี รายได้สูง โดยวางเป้าหมายให้เกิดผลการพัฒนา ภายใน 5 – 6 ปีนี้ คล้าย ๆ กับการวางภาพ อนาคตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศพั ฒ นาแล้ ว เช่น สหรัฐอเมริกา “A Nation of Makers” อังกฤษ “Design of Innovation” หรือ ประเทศเกาหลี ใ ต้ ที่ ว างโมเดลเศรษฐกิ จ ในชื่ อ “Creative Economy” เช่นกัน (Swann, 2009) ในโลกของการแข่งขัน เพื่อสร้างความมั่ง คั่งให้กับประเทศนั้น จาเป็นต้องมีการปรับกลไก ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย เน้นการใช้องค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์ แทนการเน้นใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ นับวันจะหมดไปเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทราบถึงความสาคัญของโมเดล ไทยแลนด์ 4.0 ที่เป็นภารกิจสาคัญของรัฐบาล ในการขับ เคลื่อนปฏิรูปประเทศ ภายใต้การนา ของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 2.เพื่อแสดงถึงองค์ความรู้ของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ที่มีความสัมพันธ์และเป็นส่วนหนึ่งของ ยุทธศาสตร์โมเดลไทยแลนด์ 4.0


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

3.เพื่ อ แสดงถึ ง องค์ ค วามรู้ ใ หม่ จ าก แนวความคิ ด ของเศรษฐกิ จ สร้ างสรรค์ ที่น ามา บริหารจัดการกับโมเดลไทยแลนด์ 4.0 ไทยแลนด์ 4.0 โมเดลไทยแลนด์ 4.0 เป็ น เครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ในการน าประเทศให้ ก้ า วไปสู่ ก ารเป็ น ประเทศในโลกที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่ง ยืน พั ฒ นาจากประเทศที่ มี ร ายได้ ป านกลางเป็ น ประเทศที่มีรายได้สูงโดยจะต้องมีการปรับเปลี่ยน โครงสร้างเศรษฐกิจจากเดิม ที่ขับเคลื่อนด้วยการ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต อุ ต สาหกรรม ไปสู่ เ ศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยเทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรม ทั้ ง นี้ ต้ อ งขั บ เคลื่ อ นให้ เ กิ ด ความ เปลี่ยนแปลงใน 3 มิติ ที่สาคัญได้แก 1. เปลี่ ย นจากการผลิ ต สิ น ค้ า โภค ภัณฑ์ ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม 2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศ ไทยภาคอุ ต สาหกรรมไปสู่ ก ารขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย เทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3. เปลี่ ย นจากการเน้ น ภาคการผลิ ต สินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น (เมษินทรีย์, 2559) ลักษณะของไทยแลนด์ 4.0 1. เปลี่ ย นจากเกษตรแบบดั้ ง เดิ ม ( Traditional Farming) ใ น ปั จ จุ บั น ไ ป สู่ การเกษตรสมัย ใหม่ ที่เน้ น การบริ ห ารจั ด การ และเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตร ต้ อ งร่ าร ว ย ขึ้ น แล ะเป็ น เกษตร แบบเป็ น ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) 2. เปลี่ยนจากภาควิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแบบดั้งเดิม (Traditional SME) ที่รั ฐ ต้องให้ ความช่ว ยเหลื ออยู่ ตลอดเวลา ไปสู่

211 การเป็น ผู้ป ระกอบการอย่างเชี่ยวชาญ (Smart Entrepreneur) และ ผู้ เริ่ มต้น ประกอบการ (Startups) ที่มีศักยภาพสูง 3. เปลี่ ยนจากการบริ การแบบดั้งเดิม (Traditional Services) ซึ่งมีการสร้างมูลค่า ค่อนข้างต่าไปสู่การบริการมูลค่าสูง (High Value Services) 4.เปลี่ ย นจากแรงงานทั ก ษะต่ าไปสู่ แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง ขีดความสามารถทั้ง 4 ข้อนี้ ถือเป็ น เรื่ อง ส าคัญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของประเทศ ไทย ซึ่ ง ส าห รั บ ไทย แล น ด์ 4. 0 แล้ ว การ เปลี่ยนแปลงต้องเกี่ยวข้องกับด้านนวัตกรรมด้วย ซึ่งภาพรวมประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการทา เกษตรกรรมมาก การเปลี่ ยนแปลงในส่ วนนี้ จึ ง เกิ ด ขึ้ น โดยเปลี่ ย นจากการท าเกษตรแบบ ธรรมดาให้ เ ป็ น เกษตรสมั ย ใหม่ หรื อ Smart Farming สิ่งที่สาคัญที่สุดคือจะทาอย่างไร ให้เกิด ความสมดุลในการผลิต ให้ความต้องการในการ ผลิตและความต้องการในการซื้อมีความพอดีกัน และต้องสามารถน าไปแปรรู ป เปลี่ ย นเป็ น สิ่ ง ที่ ผู้บริโภคต้องการ (รัตนมุขย์, 2561) เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ป ร ะ ม ว ล ความหมายของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” และ สรุ ป ว่ า เป็ น องค์ ป ระกอบร่ ว มของแนวคิ ด การ ขับเคลื่อนของแนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบน พื้ น ฐานของการใช้ อ งค์ ค วามรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้ างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรั พย์สิ นทางปัญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับรากฐาน ทางวัฒนธรรม (UNCTAD, 2008)


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ในอดี ต ประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นาทาง เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องเน้นการเกษตรกรรมแบบ ดั้ ง เดิ ม เน้ น อุ ต สาหกรรมเบาและพั ฒ นาสู่ อุตสาหกรรมที่ซับซ้อนมากขึ้น แต่สิ่งที่ประเทศ ไทยนั้นพบปัญหาคือไม่มีรากกฐานที่แข็งแรงของ ตนเอง ไม่มีภูมิคุ้มภัย ที่เพียงพอ ความแตกต่าง และเอกลั กษณ์ที่ชั ดเจนเท่านั้ นที่ส ามารถทาให้ เราอยู่รอดได้ “ความคิดสร้างสรรค์”จึงกลายเป็น ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ตามแนวคิ ด เศรษฐกิ จ รู ป แบบใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า “เศรษฐกิจไทยแลนด์ 4.0”ทุนของประเทศไทยมี อยู่ 4 ทุน คือ ทุนธรรมชาติ ทุนทางกายภาพ ทุ น ทางด้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ อย่ า งไรก็ ต าม วัฒนธรรม จะเป็นทุนตัวที่ 5 เป็นส่วนผสมที่ บูรณาการกับทุกต้นทุน ให้ออกมาเป็นเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative economy) เศรษฐกิจไทย ในอนาคต จะเปลี่ยนจาก โลกาภิวัตน์ เป็นเน้น ท้องถิ่นชุมชน คงสมความเป็นไทย อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ ย นในโลกทุ ก วั น นี้ จ ะน าไปสู่ ค วาม เปลี่ยน 3 อย่าง คือวัฒนธรรมในการใช้ชีวิต วัฒนธรรมในการเรียนรู้ และวัฒนธรรมในการ ทางาน เพื่อไปสู่คนไทย 4.0 (กองบริหารงานวิจัย และประกันคุณภาพการศึกษา, 2559) รัฐบาลจึง พยายามขับ เคลื่อนด้วยนวัตกรรมผ่ านความคิด สร้างสรรค์ โดยมีฐานคิดหลักคือ เปลี่ยนจากการ ผลิ ต สิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ไ ปสู่ สิ น ค้ า เชิ ง นวั ต กรรม เ ป ลี่ ย น จ า ก ขั บ เ ค ลื่ อ น ป ร ะ เ ท ศ จ า ก ภาคอุตสาหกรรมไปสู่ ด้ านด้ ว ยเทคโนโลยี และ นวัตกรรมมากขึ้น สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ ได้ ก าหนดขอบเขตขนาดของ เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ โดยยึ ด ตามรู ป แบบของ องค์การสหประชาชาติด้วยการค้าและการพัฒนา

(UNCTAD) และปรับเพิ่มเติมตามรูปแบบของ ยู เ นสโก โดยจ าแนกประเภทอุ ต สาหกรร ม สร้างสรรค์ออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ กลุ่ ม มรดกทางวั ฒ นธรรม เช่ น อาหาร ไทย การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ การแปรรู ป สมุนไพรไทย ฯลฯ กลุ่มศิลปะและการแสดง เช่น การแสดง โขน การแสดงหุ่นละครเล็ก การร่ายรามโนราห์ ฯลฯ กลุ่ ม สื่ อ สมั ย ใหม่ เช่ น งานภาพยนตร์ งานเพลง งานแอนิเมชั่น งานโฆษณา ฯลฯ กลุ่ ม งานออกแบบ เช่ น สิ น ค้ า ของ ผู้ ป ระกอบการที่ ใ ช้ ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นเชิ ง ออกแบบมาช่ ว ยสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม และสามารถ ส่ ง ออกสู่ ต ลาดโลกได้ เ ป็ น จ านวนมาก หรื อ TREND Book ของสถาบันวิจั ยแฟชั่นแห่ ง ประเทศไทย ที่ เกิ ดขึ้ นเพื่อ ให้ นัก ออกแบบไทย สามารถเข้าถึงข้อมูล อันเป็นประโยชน์เกี่ยวกับ การบริโภคสินค้าสิ่งทอและแฟชั่น จากการพิจารณาขอบเขตของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ทาให้ เห็ นว่าขอบข่ายของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ได้ขยายตัวมาก ดังที่ John Hawkins เสนอว่า ขอบข่ายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ทาให้ เศรษฐกิจสามารถก้าวข้ามจากเรื่องเศรษฐกิจไปสู่ เรื่องวัฒนธรรมไปสู่เรื่องการออกแบบและในที่สุด จะไปสู่ทุกกิจกรรมของมนุษย์ (UNCTAD, 2008) ถ้าจะเลื อกพัฒนาประเทศตามแนวทาง ระบบเศรษฐกิจที่เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพและ สร้างนวัตกรรม (Efficiency - Driven and Innovation – Driven Economy) โดยการใช้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) เป็ นแนวทาง เมื่อ มีค วามสร้ างสรรค์ แล้ ว ก็ ต้ อ จาหน่ายได้ ดังที่ John Howkins ได้อธิบาย ความเชื่อมโยงระหว่า งความคิดสร้ างสรรค์กั บ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

เศรษฐกิจว่า“Everyone is creative. Creative needs freedom. Freedom is markets.” หมายถึงคนทุกคนสามารถคิดสร้างสรรค์ได้ โดย มีความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ ให้ความสาคัญ กับจินตนาการ ความฝัน เพราะเป็นสิ่งท้าทาย และสามารถ เลือกสรรสิ่งที่ดีกว่า แต่ที่สาคัญคือ ต้ อ งการตลาดเพื่ อ จ าหน่ า ยสิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร และเป็นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สิ่งนี้เป็น 3 ข้อสาคัญเของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นอกจากนี้มี การเสนอว่าการมองการตลาดควรเปลี่ ย นจาก การเน้นอุปทานหรือกระบวนการผลิต เป็นการ เน้ น อุ ป สงค์ ห รื อ ความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภค เพราะเชื่ อ ว่ า ในตลาดยั ง มี ผู้ บ ริ โ ภคอี ก มากที่ มี ความต้องการสิ น ค้าและบริ การที่เ ป็นเรื่องของ ความคิดสร้างสรรค์ (Howkins, 2001) การน าทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ยู่ ม า สร้างสรรค์ทาให้ เพิ่มมูลค่าและเกิดจุดขายแบบ ใหม่เช่น ชุมชนที่รวมตัวกันสร้างหมู่บ้านเพื่อการ ท่องเที่ยวตามวิถีชาวบ้าน โดยนาวิถีชีวิตท้องถิ่น มาเป็นจุดขายและจัดการท่องเที่ยวแบบพักอาศัย กั บ เจ้ า บ้ า นหรื อ โฮมสเตย์ หรื อ กรณี ผู้ ที่ เ ป็ น พนักงานถูกเลิกจ้างเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ทาการผลิตสินค้าทามือ (handmade) ที่บ้าน แล้วจาหน่ายทางเว็บไซด์และตลาดต่าง ๆ และ กลายเป็นผู้ที่มีรายได้มากกว่าการเป็นแรงงานใน ภาคอุตสาหกรรมและมีความสุขมากกว่าเพราะมี เวลาให้ครอบครัวตนเองเพิ่มขึ้น ดังนั้นด้วยทุนทางวัฒนธรรมของประเทศ ไทยที่มีอยู่ บวกกับ ความคิดสร้ างสรรค์ ส ามารถ ก่อให้ เ กิดนวัต กรรมใหม่ ที่ความเป็ นไทยและมี ความผสมผสานกั บ วั ฒ นธรรมอื่ น ด้ ว ย เพื่ อ สามารถพัฒนาประเทศไปสู่ระดับสากลได้

213 เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับไทยแลนด์ 4.0 ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย บน วิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” และ ต้ อ งการปรั บ เปลี่ ย นโครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” คือ การขับเคลื่อน ประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อน ด้ ว ยเทคโนโลยี ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละ นวั ต กรรม เปลี่ ย นจากการเน้ น ภาคการผลิ ต สิ น ค้ า ไ ป สู่ ก า ร เ น้ น ภ า ค บ ริ ก า ร ม า ก ขึ้ น (Swann, 2009) เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลจริ ง ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นา วิ ท ยาการ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ นวั ต กรรม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการวิจัยพัฒนา แล้ว ต่ อ ยอดในกลุ่ ม เทคโนโลยี แ ละอุ ต สาหกรรม เป้าหมายดังนี้ 1 . ก ลุ่ ม อ า ห า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ เทคโนโลยีชีวภาพ เช่น สร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (New Start-Ups) ด้านเทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีอาหาร เป็นต้น 2 . ก ลุ่ ม ส า ธ า ร ณ สุ ข สุ ข ภ า พ แ ล ะ เทคโนโลยีทางการแพทย์ เช่น พัฒนาเทคโนโลยี สุขภาพ การแพทย์เป็นต้น 3. กลุ่ ม เครื่ องมื อ อุ ป ก รณ์ อั จ ฉริ ย ะ หุ่ น ย น ต์ แ ล ะ ร ะ บ บ เค รื่ อ ง ก ล ที่ ใ ช้ ร ะ บ บ อิเล็กทรอนิกส์ ควบคุม เช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เป็นต้น 4. กลุ่มดิจิตอลเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่ เ ชื่ อ ม ต่ อ แ ล ะ บั ง คั บ อุ ป ก ร ณ์ ต่ า ง ๆ ปัญ ญาประดิ ษ ฐ์ และเทคโนโลยีส มองกลฝั ง ตั ว เช่ น เทคโนโลยี ด้ า นการเงิ น อุ ป กรณ์ เ ชื่ อ มต่ อ ออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน เทคโนโลยีการศึกษา อี-มาร์เก็ตเพลส อี-คอมเมิร์ช เป็นต้น


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

5 .กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ วั ฒ นธรรม และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า สู ง เช่ น เทคโนโลยี ก ารออกแบบ ธุ ร กิ จ ไ ลฟ์ ส ไตล์ เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริการเป็นต้น (มติคณะรัฐมนตรี, 2559)การ เปลี่ ย นแปลงของเศรษฐกิจ สร้ างสรรค์ที่เข้ามา พร้อมไทยแลนด์ 4.0 วิ ธี ก ารถื อ เป็ น เ รื่ อ งส าคั ญ ในกา ร ขับเคลื่อนประเทศ ซึ่งสาหรับไทยแลนด์ 4.0 แล้ว การเปลี่ ย นแปลงย่ อมมีให้ เ ห็ น และแน่น อนว่ า ต้องเกี่ยวข้องกับนวัตกรรมด้วย ซึ่งเมื่อมองภาพ ว่ า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ก า ร ท า เกษตรกรรมอยู่ ม ากการเปลี่ ย นแปลงในเชิ ง สร้างสรรค์นวัตกรรมแบบใหม่ที่นามาใช้ในการ ทาเกษตรแบบธรรมดาให้ เ ป็ น เกษตรสมั ยใหม่ หรือ Smart farming โดยการนาเอานวัตกรรม เข้ามาช่วยเพิ่มจุดแข็งและคุณค่าให้ธุรกิจใหม่ ในขณะที่ รั ฐ บาลก าลั ง พยายามที่ จ ะ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ตามกลไกที่เหมาะสมกั บ ยุคสมัย ภาควิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ผู้ประกอบการ หรือประชาชนชาวไทยก็ สามารถใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์และนามา พั ฒ นาสิ น ค้ า เกษตรกรรมได้ จ ากตั ว อย่ า ง แนวความคิด การรับประทานเพื่อชีวิต Eat to Liveของคุ ณ อนุ กู ล ทรายเพชร ผู้ ก่ อ ตั้ ง Folk rice มีดังนี้ “ถ้าเรารับประทานข้าวพื้นเมือง ก็ จ ะ มี เ ก ษ ต ร ก ร ป ลู ก ข้ า ว พื้ น เ มื อ ง เ ร า ไ ด้ รับประทาน พืชได้อยู่รอด ความหลากหลายของ สายพันธุ์ยั งคงอยู่ เกษตรกรก็มีร ายได้ ” ช่อง ทางการเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพและสนับสนุน เกษตรกรรมยั่ งยื นในสั งคม จากการที่ป ระเทศ ไทยปลูกข้าวสายพันธุ์พื้นเมืองอยู่มากมาย เป็น ความหลากหลายทางชี ว ภาพที่ มี ม ากกว่ า

43,000 ชนิด แต่ผู้บริโภคอาจจะเคยรับประทาน ข้าวสายพันธุ์ที่คุ้นเคยเพียงไม่กี่สายพันธุ์ โดยที่ไม่ ทราบว่ า ยั ง มี อี ก หลายสายพั น ธุ์ ข องข้ า วที่ มี คุ ณ ประโยชน์ แ ละอร่ อ ยไม่ แ พ้ ข้ า วที่ ผู้ บ ริ โ ภค รับ ประทานอยู่ทุกวัน Folkrice เป็นหนึ่งใน รูป แบบกิ จ การเพื่ อ สั ง คมที่ มุ่ ง เน้ น การส่ ง เสริ ม เกษตรกรพัน ธุ์ ข้ าวพื้นเมืองรายย่อยและสิ นค้ า ด้านการเกษตรอื่นๆ ในรูปแบบของแอพพลิเคชั่น และเว็บไซด์ที่จะนาผู้บริโภคให้ได้รับความรู้กับ สายพันธุ์ข้าวต่าง ๆ ทั้งยังช่วยให้ผู้บริโภคสั่งซื้อ ข้าวพันธุ์พื้นเมืองจากเกษตรกรได้โดยตรงแบบไม่ ต้ อ งผ่ า นผู้ จ าหน่ า ยสิ น ค้ า คนกลาง ซึ่ ง ช่ ว ยให้ เกษตรกรได้มีรายได้เพิ่มขึ้น วิธีการทางานของ Folk rice คือการพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์ให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อว่าผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นชาว ไทยหรื อ ชาวต่ า งชาติ จ ะสามารถเข้ า มาเลื อ ก สิ น ค้ า และซื้ อ ข้ า วสายพั น ธุ์ ต่ า งๆได้ เ สมื อ นกั บ เลือกซื้อสินค้าผ่านแคตตาล็อกออนไลน์ ขณะที่ ผู้ ผ ลิ ตหรื อเกษตรกรก็ ส ามารถน าสิ นค้ า เข้ า มา จาหน่าย จัดส่งเสริมการขาย หรือแนะนาสินค้า บนระบบออนไลน์ นี้ (สวั ส ดิ์ สิ ง ห์ , 2560 ) นับว่าเป็นการนาเทคโนโลยีมาช่วยส่งเสริมสินค้า ทางเกษตรกรรม เชิงวัฒนธรรมได้อย่างเข้มแข็ง เป็นการผสมผสานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในยุคไทย แลนด์ 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Thai Local Wisdom) นักวิชาการกล่าวถึงคานี้ไว้หลากหลาย บ้างเรียกว่า ภูมิปั ญญาชุมชน ภู มิปัญญาชาวบ้ าน ภูมิปั ญญา ไ ท ย โ ด ย ส รุ ป แ ล้ ว จ ะ ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม รู้ ความสามารถของชุมชนที่ได้รับการสั่งสมถ่ายทอด กันมาในท้องถิ่นต่าง ๆ นามาปรับใช้กับความรู้และ ประสบการณ์ของตนเอง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

การพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองและชุมชนในท้องถิ่น ความเป็ นท้ องถิ่ นจ าแนกได้ ตามภู มิ ศาสตร์ คื อ ภูมิ ปั ญญาชาวบ้ านภาคเหนื อ ภาคอี สาน ภาค กลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก การศึ ก ษาภู มิ ปั ญ ญาชาวบ้ า นยั ง มี ลั กษณะ หลากหลายอีกเช่นกัน บ้างศึกษาตามคุณลักษณะ เช่นความเชื่อ การดารงชีวิต ผลงานศิลปหัตถกรรม กระบวนการและพฤติกรรมการเรียนรู้ บ้างศึกษา จาแนกตามผลผลิตและการใช้งานของภูมิปั ญญา โดยแบ่งออกเป็นด้านการทามาหากิน การรักษา โรค การกินอยู่ ศิลปกรรม ภาษาและวรรณกรรม ศาสนา และขนบธรรมเนียม ประเพณี การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกัน ในสั งคม การพั ฒนาภู มิ ปั ญญาท้ องถิ่ นสามารถ จัดการหรือดาเนินงานสืบต่อได้หลายรูปแบบ เช่น การอนุรักษ์ คือการปฏิ บัติตามแบบดั้งเดิม เช่น การปฏิ บั ติ ตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี ต่ าง ๆ การฟื้นฟู คือ การรื้ อฟื้ นสิ่ งดีงามที่เลื อนหายไป เช่ น การรื้ อฟื้ นอาหารพื้นบ้ านหรื อสมุ นไพรที่ มี ประโยชน์ แต่ไม่ได้น ามาใช้ในปั จจุ บั น อาทิ น้ า หนั ง ที่ ท าจากหนั งควาย เป็ นภู มิ ปั ญญาในการ ถนอมอาหารของชาวบ้าน การประยุ กต์ คือการ ปรั บหรื อประสานความรู้ ใหม่และความรู้ เก่ าเข้ า ด้วยกันเพื่อให้เกิดประโยชน์เหมาะสมกับยุคสมัย เช่ น การใช้ สมุ นไพรควบคู่ กั บยาสมั ยใหม่ การ สร้ างใหม่ คื อ การคิ ดค้ นใหม่ โดยอาศั ยคุ ณค่ า ดั้งเดิ ม เช่ น การสร้ างธนาคารข้าว ธนาคารโค กระบือ ดังนั้นภูมิปั ญญาเป็นภาพสะท้อนแนวคิด ศิลปวัฒนธรรมไทย จะเห็นได้จากการพัฒนาทาง สั งคมไทยห้ าทศวรรษที่ ผ่ านมามุ่ งเน้ นการน าพา ประเทศสู่เทคโนโลยี ทาให้สังคมไทยถูกปรับเปลี่ยน จากสั งคมประเพณีสู่ สั งคมแห่ งโลกอุตสาหกรรม ด้วยการลอกแบบสาเร็จของการพัฒนาในวิถีชีวิต แห่ ง โลกตะวั น ตก ที่ เ น้ น การเจริ ญ เติ บ โตของ

215 ภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาประเทศจึงวางอยู่บน แนวคิ ด ของเศรษฐศาสตร์ กระแสหลั ก ที่ ใ ห้ ความสาคัญกับการสะสมเงินทุนและการเติบโตทาง เศรษฐกิจโดยเป็นปัจจัยที่สาคัญและเป็นเงื่อนไขที่ ก าหนดความสั มพั นธ์ ทางสั งคม และยั งมี ความ เชื่อมั่นว่า การพัฒนาประเทศในทิศทางนี้ เป็นวิธี ที่ดีที่สุดในการรังสรรค์คุณภาพชีวิตและสร้างสังคม ทีดีจาการลดความสาคัญของภู มิปัญญาท้องถิ่นที่ สาคัญของไทยที่เป็นฐานใหญ่ที่สาคัญของประเทศ ประกอบกับการเผชิญปั ญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ ของสังคมไทย ที่ประชาชนทุกระดับประสบปัญหา ต่ าง ๆ การปฏิ วั ติ สั งคมโลกจึ งก่ อเกิ ดจากการ เคลื่อนไหวแนวคิดที่แทรกซึมในสังคมจนกลายเป็น แนวคิ ดในการสร้ างสรรค์ และพั ฒนา อาจมี การ ตื่นตั วกับแนวคิดการได้รับผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ธรรมชาติที่เป็ นพลังในการสนับสนุน โดยเฉพาะ การหั นกลั บมามองรากฐานกระบวนการคิ ดแห่ ง ปัญญาที่คนในอดีตได้แสดงภูมิแห่งความรู้ที่ได้รับ จากธรรมชาติ มาประยุ กต์และบรรจงสร้ างความ เป็นตัวตนสอดแทรกเชาวน์ปัญญา เพื่อสร้างมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมให้กับชนรุ่นหลัง (สันตสมบัติ , 2540) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศิลปหัตถกรรมและ หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า น ที่ ก ลุ่ ม งานนี้ ต้ อ งอาศั ย ภู มิ ปั ญญาดั้ งเดิ มของคนไทย ต้ องใช้ ความพิ ถี พิ ถั น กลั่นกรองผลงานอันเกิดจากวัฒนธรรม ประเพณี วิ ถี ชี วิ ต และศิ ล ปหั ต ถกรรมที่ สื บทอดกั น มา ยาวนานจนเป็ นเอกลั กษณ์ เป็ นความสุ ข เป็ น ความภู มิ ใ จในตนเอง เป็ น ความรั ก และการ ช่วยเหลือกันของชุมชน หากแต่การพัฒนาประเทศ ที่ผ่านมาส่ วนใหญ่ เดินตามรอยการพัฒนากระแส หลัก คือการแข่งขันทางเศรษฐกิจทุนนิยมที่มุ่งเน้น ความเจริ ญด้านวัตถุ ที่มีองค์ประกอบซับซ้อนใน ระบบการตลาด การพัฒนาดังกล่าวเป็นต้นแบบที่ ทาให้เราเดินตามรอยไปอย่างไม่รู้ตัว ไม่รู้ว่าเดินไป


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Editon March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เพื่ อวั ตถุ ประสงค์ ใดด้ ว ยซ้ าไป แท้ จริ งแล้ วการ พัฒนาที่ผูกไว้กับความสุขของการได้มีหรือได้เป็น เจ้าของวัตถุ เป็นเป้าหมายการพัฒนาที่ไม่สามารถ สร้างขึ้นได้อย่างแท้จริง สาหรับประเทศที่ยังไม่มี ความพร้อม แต่การพัฒนาบนรากฐานที่เราสามารถ สร้างขึ้นได้เองทั่วทุกถิ่นฐาน คือการพัฒนาบนฐาน ของวิ ถี ชี วิ ต ศิ ลปวั ฒนธรรม งานฝี มื อ ความคิ ด สร้ างสรรค์ เป็ นเป้ าหมายที่ สามารถสร้ างได้ จริ ง (สามโกเศศ, 2552) บทสรุป ในขณะที่รั ฐบาลกาลั งพยายามอย่างมากที่ จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยให้เป็นไปตามที่ เหมาะสมกั บ ยุ คสมั ย ที่ มี การเปลี่ ย นแปลงทาง เทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ เกิดขึ้นเมื่อเป็นเช่นนี้ ทาให้เกิดคาถามว่า อะไรคือ จุดแข็งของประเทศเราที่จะสามารถนาไปพัฒนาต่อ ยอดได้ แล้วถ้าเราเชื่อมโยงจุดแข็งของเราเข้ากับ กระแสโลกได้ โอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ก็จะเกิดขึ้น ทั น ที ท่ ามกลางวิ กฤตเศรษฐกิ จ โลกและปั ญหา เศรษฐกิจของประเทศไทย ในขณะนี้ การแสวงหา โอกาสใหม่ๆ วิธีการใหม่ ๆ และความคิดใหม่ ๆ เพื่อใช้แข่งขันในสนามการค้าและเศรษฐกิจ ไม่ใช่ เรื่ อ งที่ ค วรปล่ อ ยปละละเลยอี ก ต่ อ ไป ความ แตกต่างและเอกลักษณ์ที่ชัดเจนเท่านั้นที่สามารถ ทาให้เราอยู่รอดได้ “ความคิดสร้างสรรค์” บวกกับ

เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ จึงกลายเป็นปัจจัย ส าคั ญในการพั ฒนาเศรษฐกิ จของประเทศตาม แนวคิดเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า “ไทยแลนด์ 4.0” เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของ รัฐบาล ประชาชนไทยทุกคนจะต้องมีส่วนร่ วมไป ด้ ว ยกั น ไม่ ว่ า จะอยู่ ใ นฐานะ ผู้ ป ระกอบการ ผู้บริโภค เช่น เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สังคม ปัจจุบันนี้มีความใส่ใจในสิ่งแวดล้อมมากขึ้น หากมี สินค้าที่มี คุณสมบัติเหมือนกัน ราคาใกล้เคียงกัน สิ นค้ าที่ อนุ รั กษ์ สิ่ ง แวดล้ อมจะสามารถได้ ลู กค้ า มากกว่า สิ่ งส าคัญที่สุ ดคือต้องกล้ าเปลี่ ยนแปลง เพราะทุ กอย่ างเปรี ยบเสมื อนการเรี ยนรู้ ถ้ าไม่ เปลี่ ย นแปลงก็ เ หมื อ นเราไม่ พั ฒ นาตามการ เปลี่ ย นแปลงของสั ง คมประชาโลก ซึ่ ง การน า เศรษฐกิจสร้างสรรค์มาพัฒนาประเทศในยุ คไทย แลนด์ 4.0 บวกกั บพลั งแรงงานและองค์ กรของ ประเทศจะใช้พลังขับเคลื่อน ในการทางานที่ต้องใช้ ความคิดสร้างสรรค์มากกว่าเน้นทางานเพียงเพื่อให้ ส าเร็ จ ดั ง นั้ น การสร้ า งความมุ่ ง มั่ น และพลั ง ขับเคลื่อนของประชาชนในสังคมเป็นการพัฒนาที่มี ความส าคัญในการที่จะเปลี่ยนแปลงประเทศไทย จากประเทศกาลั งพัฒนาไปสู่ ประเทศพัฒนาแล้ ว ต่อไปในอนาคต

References Cabinet. (2559). Thailand 4.0. Bangkok: Business Bangkok. Division of Research Management and Quality Assurance. (2559). Thailand blueprint 4.0. Bangkok: Ministry of Education. Howkins, John. (2001). The Creative Economy. The Penguin Press. Rattanamuk, Pakdee (2561). Thailand 4.0 Discover Thailand: Panyachol Printing Bangkok.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

217

Maysintee, Suwit (2559). Thailand 4,0 : The Prime Minister. Sawadsing, Piyaporn (2560). Creative Thailand, Bangkok: Printing wps (Thailand). Swann, G.M. (2009). Economics of Innovation: An Introduction, Cheltenham EdwardElgar Publishing. Samkoset, Waraporn (2552). Creative Thailand. Bangkok: Business Bangkok. Santasombut, Yod . (2540). Man and Culture. Bangkok: Thammasat University. UNCTAD.2008. Creative Economy Report 2008. Geneva: UNCTAD


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทบาทของปราชญ์ชาวบ้านในการจัดการตนเองของชุมชน

อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ1 สุวรรณา เขียวภักดีพร2 พระปลัดสุระ ญาณธโร3 กันตพัฒน์ พรสิริวัฒนสิน4 ปกรณ์ ปรียากร5

บทคัดย่อ บทบาทปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้นาชุมชนที่อาศัยความเชื่อมั่นศรัทธาจากชาวบ้านของการเป็นบุคคล ต้นแบบในการดาเนินชีวิตและเป็นผู้ที่มีคุณธรรมและเสียสละต่อส่วนรวม เป็นผู้สร้างความรู้เข้าใจเกี่ยวกับ ชุมชน สามารถวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนที่กาลังเผชิญอยู่และนามาการสร้างกระบวนการเรียนรู้ภายใน ชุมชน โดยการใช้ทักษะด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้สั่งสมมาใช้ในการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ภายในชุมชน รวมไปถึงการนาวัฒนธรรมท้องถิ่นมาสร้างเป็นอัตลักษณ์และความภาคภูมิใจในชุมชน เพื่อกระตุ้นจิตสานึก ของคนในชุ ม ชนให้ เ กิ ด ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ ชุ ม ชน การสร้ า งค่ า นิ ย มร่ ว มของชุ ม ชนทางด้ า นคุ ณ ธรรม จริยธรรมให้เป็นชุมชนแห่งปัญญาที่มีทั้งคนดี และคนเก่ง อีกทั้ งการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับ ศาสตร์ต่างๆได้อย่างกลมกลืน มีความรู้ที่เท่าทันและปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ภายนอกได้ พัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และยั่งยืนในอนาคต คาสาคัญ: ปราชญ์ชาวบ้าน การจัดการตนเอง ชุมชน

1

อาจารย์, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1767 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ e-mail: orapin.piy@kbu.ac.th 2 อาจารย์, หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1767 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ e-mail: suwana.nko@kbu.ac.th 3 อาจารย์, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ e-mail: sura2479@hotmail.com 4 อาจารย์, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1767 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ e-mail:narit.mon@kbu.ac.th 5 รองศาสตราจารย์, ผู้อานวยการหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1767 ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ e-mail: priyakornpakorn@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

219

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

The Role of Local Wisdom Scholars in Community Self- Management Orapin Piyasakulkiat1 Suwanna Khiewphakdi2 Phrapaladsura Yanatharo (Juntuek)3 Kantaphat Phonsiriwatcharasin4 Pakorn Priyakorn5

Abstract The major role of local wisdom scholars is to be community leaders, who are trustworthy of the villagers. Local wisdom scholars exhibit a good role model of struggle for existence, sacrifice and moral for the community as well as knowledge management in community. They use local wisdom to promote learning, communication, and local culture into identity and community pride. They stimulate villagers to share value to be intellectual community and integrate the local wisdom with the science of harmony. Moreover, they are equipped with knowledge and skills for coping with external changes and ability for sustainable future. Keywords: Local wisdom scholar, self-management, community

1

Lecturer, Master of Public Administration Programmed, Kasem Bundit university 1767 Patanakarn Road, Suan Luang, Bangkok 10250 e-mail: orapin.piy@kbu.ac.th 2 Lecturer, Philosophy in Hospitality Industry and Tourism Management Programmed, Kasem Bundit University 1767 Patanakarn Road, Suan Luang, Bangkok 10250 e-mail: suwana.nko@kbu.ac.th 3 Lecturer, Public Administration Programmed, Mahachulalongkornrajavidyalaya University e-mail: sura2479@hotmail.com 4 Lecturer, Public Administration, Kasem Bundit university 1767 Patanakarn Road, Suan Luang, Bangkok 10250 e-mail:narit.mon@kbu.ac.th 5 Associate Professor, Director of Public Administration, Kasem Bundit university 1767 Patanakarn Road, Suan Luang, Bangkok 10250 e-mail: priyakornpakorn@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทนา

การจัดการตนเองของชุมชนมีพื้นฐานมา จากแนวความคิดที่เชื่อมั่นว่าคนในชุมชนเท่านั้น ที่สามารถจัดการชุมชนของตนเองได้ดี เพราะคน ที่อ าศั ย อยู่ ใ นชุ มชนท้ องถิ่น จะเป็ น ผู้ ที่ท ราบถึ ง วิธีการดาเนินชีวิตที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ของชุมชน รวมไปถึงการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุคสมัยได้ โดยการสะสม เป็ น องค์ความรู้ ประสบการณ์ หรื อทุกสิ่ งทุก อ ยางที่ชาวบ้าน คิดเอง ทาเอง แก้ปัญหาเอง เพื่อ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และเกิดสั่งสมมาเป็น เวลานาน และมีการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่น หนึ่งในท้องถิ่น เพื่อให้บุคคลสามารถดาเนินชีวิต อยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ สุ ข เรี ย กว่ า “ภู มิ ปั ญ ญา ท้องถิ่น” การส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นตระหนักถึง คุณค่าของภูมิปั ญญาท้อ งถิ่น ในการนามาใช้ใ น การพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่า และมีประสิทธิผลต่อ สั ง คมโดยรวม โดยแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ได้ มุ่งเน้นการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานโดยใช้ ภู มิ ปั ญ ญาและนวั ต กรรมที่ เ น้ น กระบวนการมี ส่วนร่วมของพลังประชารัฐมาใช้ในการพัฒนาที่ ยั่งยืนและให้“คน”เป็นศูนย์กลางการพัฒนา การ จัดการชุมชนจึงมีลักษณะของความร่วมมือของ คนในชุมชน มีการเรีย นรู้ร่ ว มกัน ในการจัดการ ตนเองเพื่อสร้างสรรค์พลังที่เข้มแข็ง และการก้าว เดินไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน ในการจั ด การตนเองของชุ ม ชนต้ อ ง เกี่ยวข้องกับการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างการ เรียนรู้ในชุมชนว่าตนเองว่าตนคือใคร มีศักยภาพ อย่ า งไร และจะก้า วเดิ น ไปอย่ างไรที่เ กิดความ มั่นคง ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ฐานเดิม

ที่ตอบโจทย์ในการแก้ปัญหาของชุมชนตั้งแต่อดีต ถึง ปัจ จุบั น ด้ว ยสถานการณ์ ที่เ ปลี่ ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา กระบวนการเรี ย นรู้ ชุ ม ชนจึ ง มี ความส าคัญในการจะน าภูมิปั ญญาเหล่ านั้นมา สร้างเป็นความรู้ใหม่และเกิดความภาคภูมิใจของ ชาติกลับคืนสู่สังคมไทย ปราชญ์ช าวบ้านเป็นผู้ มีบทบาทส าคัญ ในการขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน การประยุ ก ต์ ใ ช้ ภู มิ ปั ญ ญาทั้ ง ในระดั บ บุ ค คล ครอบครัว ชุมชมฯลฯ อีกทั้งการรู้จักเลือกสรรภูมิ ปัญญาในการบูรณาการกับวิทยาการต่างๆ เพื่อ พัฒ นาชุมชนให้ส อดคล้ องกับสภาพปั ญหาและ ความต้ อ งการ โดยการส่ ง เสริ ม ให้ ช าวบ้ า นใน ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการนาประสบการณ์ความ รอบรู้ ความชานาญและภูมิปัญญาท้องถิ่นส่ว น บุคคลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาสังคม และการพัฒ นาประเทศให้ มีความมั่นคง มั่งคั่ ง และยั่งยืนในอนาคต บทบาทปราชญ์ชาวบ้านจึง มีความสาคัญอย่างยิ่งในการจัดการตนเองของ ชุมชนให้เกิดเข้มแข็ง และยืนหยัดอยู่ได้ท่ามกลาง กระแสการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 1.ปราชญ์ชาวบ้านกับแนวความคิดใน การจัดการท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านหรือปราชญ์ท้องถิ่น ซึ่ง บางครั้งก็เรียกตนเองว่า “คนนอกระบบ” เป็น บุคคลในท้องถิ่นผู้เป็นเจ้าของภูมิปัญญาชาวบ้าน และน าภูมิปัญญามาใช้ป ระโยชน์ในการพัฒ นา ท้องถิ่น จากการดารงชีวิตจนประสบผลส าเร็จ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวตน เชื่อมโยงคุณค่าจากอดีตกับปัจจุบันให้กับชุมชน ได้ อ ย่ า งเหมาะสม องค์ ค วามรู้ ข องปราชญ์ ชาวบ้านมีความหลากหลายตามความถนัดและ การปฏิบัติของแต่ละคน ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่มี การหล่อหลอม ซึมซับ บ่มเพาะ ค้นคว้า ทดลอง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

โดยใช้วิถีชีวิตของตนเองเป็น ห้องทดลองขนาด ใหญ่ ผ่ า นการทดสอบความถู ก ผิ ด คิ ด สรร กลั่นกรองจนเกิดประโยชน์ นาไปสู่สิ่งที่มีคุณค่า แก่ชีวิต แก่ผืนแผ่นดิน ทั้งที่เป็ นมรดกและทั้งที่ เป็นสมบัติทางปัญญา สามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่น ได้สืบสานต่อไป โดยปราชญ์ชาวบ้านมีแนวคิดใน การจัดการท้องถิ่นตนเอง ดังนี้ 1.1 การรู้จั กชุมชนของตัวเอง ปราชญ์ ชาวบ้านจะใช้ปัญญาทางานแทนเงินตรา ในการ คิดวิเคราะห์ เพื่อให้ทราบถึงปั ญหาของชุมชนที่ กาลังเผชิญอยู่เกิดจากอะไร ใครทาให้เกิดปัญหา การทราบถึงข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ของชุมชน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันว่ารากฐานของชุมชนมี ความเป็ น มาอย่ า งไร มี ท รั พ ยากรอะไรบ้ า งใน ชุมชน เช่น ทุนทางปัญญา ทุนทางสังคม ทุนทาง วัฒนธรรม และ ทุนทางทรัพย์กรทางธรรมชาติที่ มีอยู่ ในชุมชนมีจานวนเท่ าไหร่ ชีวิตหรื อชุมชน ต้องการอะไร อะไรคือสิ่งที่จาเป็น อะไรคือสิ่งที่ ต้ อ งการ น ามาใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ชุ ม ชนของ ตนเองเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และทราบถึงความ จาเป็นและความต้องการที่แท้จริงของชีวิตและ ชุ ม ชน สามารถน าไปจั ด ความสั ม พั น ธ์ ห รื อ ก า ห น ด ท่ า ที ต่ อ สิ่ ง ที่ ม า มี ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก สิ่งแวดล้อมภายนอก อีกทั้งเป็น ผู้เลื อก คัดสรร อะไรควรรับ หรือควรปฏิเสธ รับแล้วควรปรับให้ เข้ากับชีวิตหรือชุมชนได้อย่างไร เป็นการรู้เท่าทัน สิ่งเร้าจากปัจจัยภายนอก 1.2 การสร้ า งกระบวนการเรี ย นรู้ ใ น ชุมชน จากความเชื่อมั่นที่ว่าถ้ามนุษย์เกิดปัญญา จะสามารถแก้ ปั ญ หาได้ ปราชญ์ ช าวบ้ า นจะมี วิ ธี ก ารพั ฒ นาคนให้ เ กิ ด ปั ญ ญาในการท างาน ร่วมกันในชุมชน โดยกระบวนการในการสร้างคน เข้ามาการมีส่วนร่วมแทนอานาจสั่งการ ใช้วิธีการ ทางานโดยชักชวนคนเข้าร่วมจากกลุ่มเล็ก ๆ

221 ก่ อ นท าให้ เ กิ ด ผลงานเห็ น ชั ด เจน มี ตั ว อย่ า ง รูปธรรมพิสูจน์ได้ จนเกิดการยอมรับว่ าสามารถ ทาได้จริง จึงขยายผลไปสู่วงกว้าง ชักชวนสร้าง แนวร่ ว มให้ ค นเข้ า ร่ ว ม กระบวนการมากขึ้ น เรื่อยๆ มีหลักในการระดมความคิดร่วมกัน ไม่ใช่ ต่ า งคนต่ า งคิ ด ต่ า งคนต่ า งท า แต่ จ ะให้ ใ ห้ ความสาคัญกับ การระดมสมองในที่ประชุม น า แนวคิดของแต่ละคนมาปรั บปรุงพัฒนาร่ว มกัน เมื่อเกิดความชัดเจนทางความคิดก็หาแนวทางใน การปฏิบัติ ถามถึงวิธีการการทา? มีใครต้อง รับผิดชอบ? ต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง? ใช้ งบประมาณเท่าไหร่? ตอนนี้มีอยู่เท่าไหร่? จะมี วิธีการจัดกาอย่างไรจึงจะคุ้มค่า ? ตั้งคาถาม หา คาตอบ ทุกประเด็นให้ชัดเจน เมื่อคิดวิเคราะห์ แล้ ว ต้องลงมือทาด้ว ยตัวเอง แต่ถ้าเพีย งแต่คิด เพื่อเสนอให้คนอื่นทาจะไม่ได้ผล ดังนั้น จะต้อง ยึดถือคติ “คิดแล้วต้องลงมือทา” 1.3 การพั ฒ นาชุ ม ชนบทบาทในการ บริ หารจั ดการตนเอง การลงมือปฏิบั ติงานเพื่อ พั ฒ นาชุ ม ชนต้ อ งเป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการ ด าเนิ น การบริ ห ารจั ด การตนเอง หน่ ว ยงาน ราชการเป็ น เพีย งผู้ เ ข้ าร่ ว ม ส่ ง เสริ มสนั บ สนุ น เท่ า นั้ น ที่ ผ่ า นมาการบริ ห ารพั ฒ นาชุ ม ชนมี หน่ ว ยงานราชการเป็ น หลั ก ชุ ม ชนเป็ น เพี ย ง ผู้เข้าร่วมและถูกกาหนดให้ปฏิบัติตามคาสั่งของ หน่ ว ยงานราชการ และได้ น าผลงานที่ ไ ด้ ไ ป รายงานถึงผลสัมฤทธิ์ตามลาดับชั้นจนถึงระดับ กระทรวง เปูาหมายของราชการจึงไม่ได้อยู่ที่การ แก้ปัญหาต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของ ชา ว บ้ า น แต่ อย่ างใด แต่ อ ยู่ ที่ ผ ล งาน ของ หน่วยงานราชการเอง ดังนั้น ชาวบ้านจะต้องเป็น ผู้ ที่ มี บ ทบ า ทส า คั ญ ใน กา ร จั ด กา ร ต น เ อ ง ข้ า ราชการต้ อ งลดบทบาทตั ว เองลง ให้ ชุ ม ชน สามารถด าเนิ น การด้ ว ยตั ว เอง ได้ ห น่ ว ยงาน


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ราชการเป็ น เพี ย งผู้ ส นั บ สนุ น ชาวบ้ า นต้ อ ง ร่วมกันคิดและหาแนวทางในการแก้ปัญหาของ ชุมชนด้วยองค์ความรู้และศักยภาพของชาวบ้าน เองในการแก้ปัญหาของท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม กั บ ทั้ ง วิ ถี ชี วิ ต ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ก า ร เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของยุคสมัย 1.4 ปราชญ์ชาวบ้านเป็นบุคคลต้นแบบ ในการสร้างชุมชนคนดี ปราชญ์ชาวบ้านผู้ที่ชาวบ้านให้การ ยอมรั บ นั บ ถื อ และให้ ค วามศรั ท ธาคุ ณ สมบั ติ ส่วนตัวที่ทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่คนในชุมชน อาทิ เ ช่ น การเป็ น ผู้ มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ ดี มี ความซื่ อ สั ต ย์ มี จิ ต สาธารณะและมี จิ ต ส านึ ก รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ส่ ว นรวม อี ก ทั้ ง เป็ น ผู้ มี บ ทบาท สาคัญในการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้แก้ปัญหา ให้กับชุมชน รวมไปถึงภารกิจในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ที่มีคุณค่าที่มีอยู่ในตนเองให้เกิดประโยชน์ ต่ อ สั ง คมโดยส่ ว นรวม วิ ถี ชี วิ ต ของปราชญ์ ชาวบ้ านส่ วนใหญ่ดาเนิน ชีวิตตามแนวทางของ หลักเศรษฐกิจพอเพียงแทบทั้งสิ้น เป็นวิถีชีวิตที่ เรียบง่าย สมถะ ส่วนใหญ่ยึดหลักพุทธธรรมใน การด าเนิ น ชี วิ ต ที่ พ ออยู่ พ อกิ น มี ส ติ ปฏิ เ สธ สังคมบริโภคนิยมวัตถุ แต่เน้นมิติทางจิตใจ เป็น กัลยาณมิตรอยู่ร่วมกับธรรมชาติ เป็นผู้เสียสละ เพื่ อ ส่ ว นรวม หลั ก คิ ด และวิ ถี ชี วิ ต ของปราชญ์ เป็นสิ่งที่คนในยุคสมัยนี้ควรได้เรียนรู้ และนาไป เป็นแบบอย่างในการดารงชีวิต ภูมิปัญญา วิธีการ ในการทางาน สามารถนาไปใช้ป ฏิบัติในระดับ บุคคลและชุมชนได้เป็นอย่างดีในการแก้ปัญหา ต่าง ๆ ที่ชุมชนกาลังเผชิญอยู่ โดยใช้ปัญญา ความรู้ ค วามเข้ า ใจกั บ สิ่ ง นั้ น และมี วิ ธี ก าร ความสามารถในการบริหารจัดการข้อเสนอที่ผ่าน การเรี ยนรู้ ตลอดชีวิตของปราชญ์ช าวบ้ านเป็ น

ขุมทรัพย์ทางปัญญาที่ต้องนามาใช้ในการจัดการ ชุมชนของตนเอง 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น: เครื่องมือในการจัดการ ตนเอง ปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค แห่ ง ข่ า วสารข้ อ มู ล ที่ นับวันโลกยิ่งไร้พรมแดนส่งผลกระทบต่อต่อส่วน ต่างๆของสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม การ ตอบรับกระแสวัฒนธรรมจากต่างถิ่นโดยเฉพาะ อย่างยิ่งวัฒนธรรมตะวันตกที่เข้ามามีอิทธิพลต่อ วิถีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน ทาให้ ความเป็นชุมชนเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลงและละ ทิ้ ง ภู มิ ปั ญ ญาเดิ ม อย่ า งสิ้ น เชิ ง และก่ อ ให้ เ กิ ด ปัญหาในสังคมมากมาย การนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ในชุมชนมาใช้ในในการพัฒ นาสั งคมให้ มีความ ยั่ ง ยื น เนื่ อ งจากองค์ ค วามรู้ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ ชาวบ้ า นคิ ด ขึ้ น ได้ เ องและน ามาใช้ ใ นการ แก้ปั ญหา ด้ว ยเทคนิ ควิธีของชาวบ้ านที่คิดเอง ท าเองทั้ ง ในแนวทางกว้ า งและทางลึ ก น ามา ประกอบในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆและช่วย ในการดาเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับ ยุคสมัย โดยมีวิธีการดังนี้ 2.1 การรู้จักตนเองและการเรียนรู้อย่าง เท่าทัน แนวทางการพัฒ นาประเทศไทยที่ ผ่านมาใช้ฐานความรู้ทาง“วิทยาศาสตร์” ซึ่งโดย การพิสูจน์ข้อเท็จจริงโดยใช้หลักเหตุและผล การ ให้ ค วามส าคั ญ ต่ อ ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ นามาใช้ในการพัฒนาสังคมให้มีความทันสมัย แต่ ขณะเดียวกันในสังคมต่าง ๆ ต่างก็มีวัฒนธรรมที่ หลากหลายที่ล้วนเกิดจากภูมิปัญญาของท้องถิ่น ที่สร้างขึ้นมาด้วยตนเองและเหมาะสมกับชุมชน ของตนเองทั้ ง สิ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น แรงผลั ก ดั น ให้ ชุมชนพัฒนามาได้ด้วยความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ของตนเองอีกด้วย ดังนั้น ในการพัฒนาท้องถิ่น


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ใด ๆ ก็ตามต้องให้ความสาคัญกับภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น เป็ น อย่ า งมาก การสื บ ค้ น ภู มิ ปั ญ ญา ชาวบ้าน ค้นหาผู้รู้ ปราชญ์ท้องถิ่นนามาใช้เป็น เครื่องมือในการเรียนรู้ชุมชนนั้น สมาชิกในชุมชน ต้ อ งมี ก ารเรี ย นรู้ อ ย่ า งเท่ า ทั น ตลอดเวลา เพื่ อ นาไปสู่กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดการพัฒนา ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย กระบวนการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเรี ย นรู้ ความ เข้ า ใจเรื่ อ งภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ที่ ต้ อ งมี ก าร ผสมผสานองค์ ความรู้ ที่ ห ลากหลายและต้ อ งมี การปรับตัว ในการเรียนรู้ชุมชนของตนเองต้องมี ค ว า ม ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ ป รั บ เ ป ลี่ ย น ไ ป ต า ม สถานการณ์ ซึ่ ง การปรั บ ตั ว นี้ เ ราเรี ย กว่ า “Situated Knowledge”มีลักษณะของการทับ ซ้อนในหลายมิติ (กาญจณพนพันธุ์ , 2544: 170171) โดยการน าภู มิปั ญ ญาท้ องถิ่ น มาจั ด การ ผสมผสานกับวิทยาการสมัยใหม่ เกิดนวัตกรรมที่ มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ทาให้ เกิดเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ ตนเองอย่างผสมผสาน กลมกลืนกับสถานการณ์ ปัจจุบันและมีความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาไม่ หยุดนิ่ง และยังสามารถช่วยให้การพัฒนาก้าวไป บนพื้นฐานของการเคารพสิทธิในกลุ่มคนต่างๆได้ ดี อี กด้ ว ย (พงศพิ ต นั น ทสุ ว รรณ และเรขพิ นิ จ 2545: 15) 2.2 ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เป็ น ความรู้ ที่ สามารถทาให้ ชาวบ้ านในชุ มชนพึ่ งพาตนเองได้ เริ่มจากเรื่องง่าย ๆ คือเรื่องเกี่ยวกับปัจจัย 4 ได้ แก่ อาหาร ยา รักษาโรค เครื่องนุ่ งห่ ม ที่อยู่ อาศัย ปัจจัยเหล่านี้ชาวบ้านได้ใช้ประกอบในการ ด ารงชี วิ ต ตามวิ ถี ข องพวกเขา และจะมี ก าร ผ ส ม ผ ส า น ดั ด แ ป ล ง ห า วิ ธี ต่ า ง ๆ ม า ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ประจ าวั น การด ารงอยู่ ข องภู มิ ปั ญ ญา

223 ท้องถิ่นนอกจากการสืบสานของภูมิปัญญาดั่งเดิม แล้วการเปิดรับสิ่งใหม่ๆที่ดี เข้ามาเติมต่อกับภูมิ ปัญญาเก่าก็นับเป็นการสืบต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น และสืบสานลมหายใจของแผ่นดิน สอดคล้องกับ คติธรรมของพระธรรมดิลก คือ “ไม่หลงของเก่า ไม่เมาของใหม่” ที่ว่าไม่หลงของเก่าหมายความ ว่า อดีตที่ผ่านมาบางสิ่งอาจไม่เหมาะสมกับกาล สมั ย เช่ น ภาษา การแต่ ง กาย อาหารรวมทั้ ง ประเพณีต่าง ๆ จึงต้องมีการปรับประยุกต์ของ เ ก่ า คื อ “เ ร า มี ข อ ง เ ก่ า แ ต่ ไ ม่ ถึ ง กั บ ห ล ง ขณะเดียวกันก็ไม่เมาของใหม่” ภูมิปัญญาไทยจึง มี ค วามส าคั ญ ชุ ม ชนหรื อ ท้ อ งถิ่ น เป็ น อย่ า งยิ่ ง เนื่องจากเป็นความรู้ที่ได้สั่งสมจากประสบการณ์ ของคนในชุมชนมาเป็นเวลานาน มีการเชื่อมโยง ศาสตร์ ต่ า งๆเข้า ด้ ว ยกั น มีถ่ า ยทอดจากคนรุ่ น หนึ่ ง สู่ ช นอี ก รุ่ น หนึ่ ง ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ง่ า ยและ เหมาะสมตามสภาพของแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น หาก พิจารณาอย่างรอบด้านแล้ว พบว่า ชุมชนในยุค ปัจจุบันมีความอ่อนแอ เนื่องจากขาดวัฒนธรรม ในความมีน้าใจ ความเอื้ออาทร ความช่วยเหลือ ซึ่งกัน และกัน ความรั กความหวงแหนในชุมชน น้อยลง เกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชนทุกๆด้าน รวมทั้งสภาพปั ญ หาต่า งๆตามมามากมาย การ แก้ไขปัญหาเหล่านั้นทาได้ยากขึ้น ศักยภาพและ ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ ห ายไป ชุ ม ชนจึ ง ขาด รากฐานในการพัฒนาตนเอง แต่ในทางตรงข้าม หากชุมชนที่มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง โดย ได้อาศัยวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชุ ม ชน มี จิ ต วิ ญ ญาณผู ก พั น กั น มี ค วามรั ก ใคร่ สามัคคี ช่ ว ยเหลื อแบ่ ง ปั น กัน สามารถควบคุ ม และจั ด การปั ญ หาท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยภู มิ ปั ญ ญาของ ตนเองในด้านต่าง ๆ เกิดเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

พร้อมรับผลกระทบจากภายนอกได้ (ดุลยเกษม และ งามพิทยาพงศ์, 2540: 8 –10) 2.3 การเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการพั ฒ นา ตนเอง ชุมชนต้องมีการพัฒนาตนเอง การ ส่งเสริมภูมิปั ญญาท้องถิ่น ให้ช าวบ้ านเกิดความ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองจะส่งผลให้เกิด เป็นพลังที่เข้มแข็งของชุมชน แต่หากการมุ่งเน้น การส่ ง เสริ ม ภู มิ ปั ญ ญาเดิ ม โดยปราศจากการ ใคร่ครวญ พินิจพิจารณาอย่างรอบคอบแทนที่จะ เกิดความงอกงาม อาจจะนาไปสู่ความอั บจนทาง ปัญญาได้ ดังนั้น ในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง แก่ ชุ ม ชนชาวบ้ า นต้ อ งมี ก ระบวนแลกเปลี่ ย น เรีย นรู้ มีการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับ ศาสตร์ต่างๆด้วย ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การบริหาร จัดการ การปกครอง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อนาไปสู่การพัฒนาชุมชน ให้ เป็ นชุมชนแห่ งการเรี ย นรู้ ชาวบ้านมีความรู้ ความสามารถในการปรั บ ตัว ได้อย่ างเหมาะสม โดย “ไม่หลงของเก่า ไม่เมาของใหม่” อีกทั้งมี การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา กล่ า วคือ การมีจิ ตส านึ กของการพึ่ งตนเอง รั ก และเอื้ออาทรต่อกั น และมีค วามรั กท้ องถิ่น รั ก ชุ ม ชน และ มี ก ารจั ด การบริ ห ารงานกลุ่ ม ที่ หลากหลายและเครื อ ข่ า ยที่ ดี (ส านั ก งาน คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิจ และสั ง คม แห่ งชาติ , 2544: 51-56) ความเข้มแข็งของ ชุมชนที่จะมีลักษณะที่มีความเป็นปึกแผ่นในทาง กายภาพหรื อ รู ป ธรรม สมาชิ ก ของชุ ม ชนมี ศั ก ยภาพของการพึ่ ง พาอาศั ย กั น และกั น และ ร่วมมือในกิจกรรมต่างๆทั้งด้านอาชีพ วัฒนธรรม ประเพณีพิธีกรรมค่านิยม ความเชื่อร่วมกัน และ มีความผู กพัน ตระหนั กว่าตนเองเป็นส่ ว นหนึ่ง ของชุ ม ชนที่ ส ามารถเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ

พัฒนาศักยภาพของชุมชนให้สูงได้ ทั้งในด้านทุน แรงงาน ทรั พ ยากร โดยสามารถควบคุ ม และ จัด การปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ด้ ว ยตนเอง จากการ อาศัยความร่วมมือภายในชุมชนเป็นหลัก ดังนั้น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมา เป็นเครื่องมือในการจัดการชุมชนของตนเอง โดย การเรี ย นรู้ ชุ ม ชนเพื่ อ การรู้ จั ก ตนเองและการ ปรั บ ตั ว อย่ า งรู้ เ ท่ า ทั น การเปลี่ ย นแปลงของ สถานการณ์ สามารถในการพึ่ ง พาตนเองและ ปรับตัวได้อย่างเหมาะสมตามสภาพการณ์ของแต่ ละท้องถิ่น และเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ ใ นการประยุ ก ต์ ใ ช้ ภู มิ ปัญญาชาวบ้านกับศาสตร์ต่างๆภายใต้จิตสานึก ของการพึ่งตนเอง ความรักและเอื้ออาทรต่อกัน ความรักในท้องถิ่น รักชุมชน และมีการจัดการ บริหารงานกลุ่มที่หลากหลายและสร้างเครือข่าย ที่ดี เพื่อเกิดเป็นพลังแห่งความเข้มแข็งของชุมชน 3. บทบาทของปราชญ์ชาวบ้านในกระบวนการ สร้างเข้มแข็งของชุมชน เมื่ อ ชุ ม ชนเผชิ ญ ปั ญ หาวิ ก ฤติ การ พึ่ ง ตนเองเป็ น หลั ก การเบื้ อ งตนในการแก้ ไ ข ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ด้วยการระดมความ ร่ว มมือของสมาชิกในชุมชนรวมไปถึงระดมทุน ทางสั ง คมหรื อ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ม ชน เพื่ อ น ามาใช้ เ ป็ น แนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หา ด้ ว ย ความเชื่อพื้นฐานที่ว่า “ตนเท่านั้นเป็นที่พึ่งแห่ง ตน” ปราชญ์ชาวบ้านเป็นผู้นาทางปัญญาที่นา องค์ความรู้พื้นบ้านมาพัฒนาชุมชนของตนเองได้ โดยการใช้สถานภาพทางสังคมหรือภาวะผู้นาใน การที่จะพยายามสร้างแนวร่วมเพื่อส่งเสริมความ เข้มแข็งของชุมชนให้มากที่สุด และจูงใจให้เกิด การรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาอย่างบูรณาการทั้ง ทางด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และ ด้ า นเทคโนโลยี ท างการสื่ อ สารรวมไปถึ ง


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

วัฒนธรรม สิ่งแวดล้ อม และด้านการศึกษา ซึ่ง เป็นเรื่องที่เชื่อมโยงในลักษณะที่เชื่อมโยงส่งเสริม ซึ่งกันและกัน ดังต่อไปนี้ 3.1การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชน การส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของ ชุ ม ชน เป็ น การส่ ง เสริ ม การรวมตั ว ของคนใน ชุ ม ชนท ากิ จ กรรมเพื่ อ ประโยชน์ ข องชุ ม ชนใน รู ป แบบที่ ห ลากหลายอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง ในรู ป แบบอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เป็น การรวมตัวทั้งในเชิงพื้นที่และในเชิงชองประเด็น ที่ ส นใจร่ ว มกั น โดยหนุ น เสริ ม ให้ ชุ ม ชนมี ความสามารถในการรวมตัวกันทาประโยชน์ต่อ ส่ ว นรวม อาจจะเปิ ด พื้น ที่ส าธารณะในการจั ด กิ จ กรรม การเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ผ่านสื่อบุคคล สื่อการศึกษา สื่อท้องถิ่น เป็นต้น Cohen และ Uphoft, (1980) และ David และ Newstrom (1985) กล่าวถึง กระบวนการมีส่วน ร่วมว่าเป็นการค้นปัญหาและสาเหตุของปัญหา การวางแผนตั ด สิ น ใจ การด าเนิ น งาน การรั บ ผลประโยชน์ และการประเมินผล รวมไปถึงการ สร้างกลไกทางกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่ อให้ ใ นภาคส่ ว นต่ างๆที่ เกี่ ย วข้อ งเข้า มาร่ ว ม สนั บ สนุ น ให้ ชุ ม ชนมี ค วามเข้ ม แข็ ง มากยิ่ ง ขึ้ น (พวงงาม, 2553: 240) 3.2 การส่งเสริมการเรียนรู้ในชุมชน ชุ ม ชนที่ เ ข้ ม แข็ ง ต้ อ งมี ส่ ง เสริ ม ให้ เป็ น ชุม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ ชาวบ้ า นในชุม ชนมี ความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาในการรับรู้ข้อมูลต่างๆ ทั้งสภาพแวดล้อมภายใน และการเปลี่ยนแปลง จากสภาพแวดล้อมภายนอกชุมชน ซึ่งถือว่าการ เรียนรู้เป็นหัวใจในการจัดการชุมชนให้เกิดความ ยั่งยืน ชาวบ้านในชุมชนต้องเรียนรู้ว่าชุมชนของ ตนเองมี ป ระวั ติศ าสตร์ ความเป็ น มาอย่ า งไร มี

225 ทรัพยากรของชุมชนอะไรบ้าง เช่น ที่ดิน ปุาไม้ แหล่ ง น้ า ที่จ ะน าไปใช้ พัฒ นาให้ เ กิด ประโยชน์ อย่างทั่ว ถึงและยั่งยืนในชุมชน รวมไปถึงศิลปะ วัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าของชุมชนที่ควรคุณค่าใน การเก็ บ รั ก ษาไว้แ ละส่ งต่ อ ให้ กั บ ยุ ว ชนรุ่ น หลั ง สืบไป การเรีย นรู้ชุมชนหรือการรู้จักชุมชนของ ตนเองเป็นการสร้างความเข้าใจในตนเองอย่าง ถู ก ต้ อ ง อั น จะเป็ น รากฐานของการพั ฒ นาที่ สามารถตอบสนองตรงตามความต้อ งการของ ชุมชนอย่ างแท้จ ริ ง อีกทั้งต้องข่าวคราวในด้าน ต่างๆทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและ เทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ด้วย ขบวนการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ซึ่ งกัน และกัน เพื่ อ น าไปสู่ ก ระบวนการตั ด สิ น ใจในการด าเนิ น กิจกรรมต่างๆของชุมชน ดังนั้น ในการเป็นชุมชน ที่เข้มแข็งสมาชิกต้องมีการเรียนรู้ร่วมกัน เพราะ การเรี ย นรู้ จ ะน าไปสู่ ก ารคิ ด หาวิ ธี ก ารพั ฒ นา ชุมชนของตนเองให้เจริญก้าวหน้าต่อไป 3.3 การส่งเสริมในการจัดการทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างเป็นระบบและยั่งยืน การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น จ าเป็ น ต้ อ ง ดาเนินการอย่างเป็นองค์รวมเพื่อสร้างสมดุลให้ เกิดขึ้นใน 3 มิติ ทั้งมิติด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มิติด้านเศรษฐกิจ และมิติด้าน สังคม ในการจัดการชุมชนที่ดีสมาชิกของชุมชน ต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรที่มี อยู่ ในชุมชนอย่ างเป็ นระบบ มีเปูาหมายในการ พัฒนาเพื่อให้เกิดความสมดุลและยั่งยืนจาเป็นที่ จะต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ของทุ ก ฝุ า ยใน กระบวนการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากร ท้องถิ่นที่มีอยู่ให้เกิดผลประโยชน์ที่ในระยะยาว และกระจายให้ แ ก่ ค นในสั ง คมยุ ค ปั จ จุ บั น เท่าๆกับ การเอื้อประโยชน์แก่คนรุ่นต่อไปอย่าง เท่าเทียม เป็นแสดงถึงการพึ่งพาตนเองได้ เพื่อให้


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ชุมชนดารงอยู่ต่อไปโดยไม่ล้มละลายถือว่าเป็น การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเป็นระบบและ ยั่งยืน 3.4 การส่งเสริมวัฒนธรรมที่ดีงามของ ชุมชน วั ฒ นธรรมเป็ น สมบั ติ ล้ าค่ า ที่ ไ ด้ มี การสั่ ง สมและสื บ ทอดในชุมชนจากคนรุ่น หนึ่ ง มายั งคนอีกรุ่ น วัฒ นธรรมยั งเป็ นตัวกาหนดวิถี ชีวิตของคนในชุมชน อีกทั้งยังเป็นเครื่องวัดความ เจริญหรือความเสื่อมของสังคมในชุมชนอีกด้วย การส่ งเสริ มวัฒ นธรรมอัน ดีงามของชุมชนด้ว ย การเรี ย นรู้ แ ละฝึ ก ตนเองให้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของ วัฒนธรรมชุมชนจึงเป็นวิธีการที่ดีและควรปลูกฝัง ตั้งแต่วัยเด็ก ด้วยการปลูกจิตสานึกสมาชิกของ ชุ ม ชนในลั ก ษณะการอบรมสั่ ง สอน หรื อ การ ปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีก็ตาม มีการอนุรักษ์โดย การปลุ ก จิ ต ส านึ ก ให้ ค นในท้ อ งถิ่น ตระหนั ก ถึ ง คุณค่าแก่นสาระและความสาคัญของประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆ สร้างจิตสานึกของความเป็น คนท้ อ งถิ่ น นั้ น ๆ ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มกั น อนุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญาที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง สนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรื อพิพิธภัณฑ์ ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมา ของชุมชน อันจะสร้างความรู้และความภูมิใจใน ชุมชนท้องถิ่นด้ว ย การฟื้นฟูวัฒ นธรรมท้องถิ่น โดยการเลือกสรรวัฒนธรรมที่กาลังสูญหาย หรือ ที่ สู ญ หายไปแล้ ว ให้ ก ลั บ มามี คุ ณ ค่ า และมี ความส าคั ญ ต่ อ การด าเนิ น ชี วิ ต ในท้ อ งถิ่ น โดยเฉพาะพื้นฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และ ค่ า นิ ย ม รวมไปถึ ง การพั ฒ นาสร้ า งสรรค์ แ ละ ปรั บ ปรุ ง วัฒ นธรรมให้ เหมาะสมกับ ยุคสมัยอั น ก่อให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวัน มี ก ารถ่ า ยทอดและส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมทาง วัฒ นธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างต่อเนื่อง

และการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ด้วยสื่อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ทั้ ง ภายในประเทศและประเทศอื่นๆทั่วโลก 3.5 การส่ งเสริม การสร้ างจิตส านึ กรั ก ชุมชน การสร้ า งจิ ต ส านึ ก รั ก ชุ ม ชน เป็ น การผนึกกาลังโดยการส่งเสริมให้สมาชิกมีความ จงรักภักดีต่อชุมชน อุทิศตน และเสียสละเวลา ทางานเพื่อชุมชน หวงแหนสมบัติสาธารณะของ ชุ ม ชน โดยอาศั ย ความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คมใน รูปแบบต่างๆสร้างพลั งร่ว มทั้งทางด้านอารมณ์ จิตวิญ ญาณแห่ งชุม ชน ร่ว มกั นสร้า งความรู้สึ ก รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชน ทั้ ง ที่ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของ ชุมชน สร้างวินัยในตนเองเพื่อเป็นตัวอย่างในการ ท าหน้ า ที่ พ ลเมื อ งดี แสดงถึ ง การมี ค ว าม รั บ ผิ ด ช อบ และมี จิ ต สาธ ารณะต่ อ สั ง ค ม โดยเฉพาะการให้ ความส าคัญ ต่ อผลประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน 3.6 การส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มร่ ว มเกี่ ย วกั บ คุณธรรม จริยธรรมในชุมชน ค่านิยมเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ในชุม ชนเป็ น การส่ งเสริม โดยการใช้ห ลั ก ธรรม ทางศาสนามาประยุกต์ใช้ในการวางกฎ เกณฑ์ ความประพฤติของสมาชิกในชุมชนจากการใช้ ปัญญาและเหตุผ ลรวมกัน เกิดเป็นมโนธรรมที่ รู้ จั ก แยกแยะความดี ชั่ ว ถู ก ผิ ด สิ่ ง ใดควร ประพฤติ ไม่ควรประพฤติ เป็นค่านิยมร่วมในการ ดารงชีวิตของคนในชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ การใช้ หลักของความดีงาม ความถูกต้องแสดงออกทั้ง กาย วาจา ใจของแต่ ล ะบุ คคลซึ่ งยึด มั่น ไว้ เป็ น หลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็น นิสัย และการแสดงออกเป็นการประพฤติ ปฏิบัติ


227

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ของบุ ค คลในชุ ม ชนถึ ง ความดี ง ามนั้ น ๆทั้ ง ต่ อ ตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม เพื่อให้เกิดความ สงบสุ ข ความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมและต่ อ การพั ฒ น าประเทศชาติ ซึ่ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ท ฤ ษ ฎี ท า ง จิ ต วิ ท ย า ข อ ง ศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดื อ น พั น ธุ ม นาวิ น ได้ อธิบายทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสาหรับคนไทยที่ว่า “ลักษณะพื้นฐานและองค์ประกอบทางจิตใจซึ่ง จะนาไปสู่พฤติกรรมที่พึงปรารถนา เพื่อส่งเสริม ให้บุคคลเป็นคนดีและ คนเก่ง ” โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนของดอกผล เปรียบเสมือนเป็น ลักษณะพฤติกรรมคนดีและเก่ง การที่ต้นไม้จะให้ ดอกผลใหญ่ จ ะต้ อ งมี ล าต้ น และรากที่ ส มบู ร ณ์ ส่วนของลาต้นที่สมบูรณ์ เปรียบเสมือนลักษณะ ทางจิตใจ ซึ่งเป็นสาเหตุของพฤติกรรมที่ดี คือ มี ทัศนคติ ค่านิยมที่ดี และคุณธรรม มีเหตุผลเชิง จริยธรรม ลักษณะมุ่งอนาคต คาดการณ์ไกล เชื่อ อานาจในตน มีแรงจูงใจใฝุสัมฤทธิ์ และในส่วน ของรากต้นไม้ เปรีย บเสมือนลักษณะทางจิตที่ เป็นพื้นฐานที่จะชอบไชหาอาหารเลี้ยง ลาต้นให้ สมบูรณ์ คือ สติปัญญา ประสบการณ์ทางสังคม สุขภาพจิตดี ปราชญ์ช าวบ้ านจึ งมีบ ทบาทส าคัญใน กระบวนการสร้างเข้มแข็งของชุมชน โดยเป็นผู้ที่ นาภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นเครื่องมือในการส่งเสริม การมี ส่ ว นร่ ว มของคนในชุ ม ชนให้ เ กิ ด ความรู้ ความเข้าใจในชุมชนของตนเองร่ ว มกัน จั ดการ ทรั พยากรที่มีอยู่ อย่ างเป็ น ระบบและเกิดความ ยั่งยืน ด้วยการเรียนรู้และฝึกตนเองให้เห็นคุณค่า ของวั ฒ นธรรมชุ ม ชน กระตุ้ น ปลู ก ฝั ง ให้ เ กิ ด จิ ต ส านึ ก รั ก ชุ ม ชน มี ค วามหวงแหนสมบั ติ สาธารณะของชุ ม ชน และเกิ ด ค่ า นิ ย มร่ ว ม เกี่ย วกับ คุณธรรม จริ ย ธรรมในชุมชน เกิดเป็ น อัตลักษณ์และวัฒนธรรมที่ดีงามในชุมชน นาไปสู่

การอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสงบสุ ข น ามาซึ่ ง ความ เจริญรุ่งเรืองของชุมชนสืบไป บทสรุป

การพัฒนาประเทศได้ให้ความสาคัญกับ การจั ด การตนเองของชุ ม ชน โดยการน าองค์ ความรู้ จ ากภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น มาใช้ เ พื่ อ แก้ ไ ข ปัญหาของชุมชน ด้วยเชื่อมั่นที่ว่าตนเองเท่านั้น สามารถจั ด การชุ ม ชนของตนเองได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ และสั งคมจากการเพิ่ม ผลิ ต ภาพ การผลิตบนฐานใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรมที่เน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของพลังประชารัฐ โดยให้ “คน”เป็ น ศู น ย์ ก ลางการพั ฒ นา จากการน า ประสบการณ์ความรอบรู้ ความชานาญและภูมิ ปัญญาท้องถิ่นของบุคคลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อส่วนรวม ปราชญ์ช าวบ้านผู้สะสมภูมิปัญญา ท้องถิ่นต่าง ๆ ของท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ที่มีการ หล่อหลอม ซึมซับ บ่มเพาะ ค้นคว้า ทดลองโดย ใช้วิถีชีวิตของตนเอง กลั่นกรองสิ่งที่มีคุณค่าแก่ ชีวิต แก่ผืนแผ่นดิน สืบทอดเป็นมรดกและสมบัติ ทางปัญญาถ่ายทอดให้กับผู้อื่น จึงเป็นผู้มีบทบาท ในการส่ งเสริ ม การเรี ย นรู้ ชุมชนตนเอง เพื่ อให้ ชาวบ้ า นเกิ ด ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนอย่ า ง ถูกต้อง โดยใช้ความเชื่อมั่น ศรัทธาในตัวปราชญ์ ชาวบ้ า นเองสร้ า งความร่ ว มมื อ กั บ ชาวบ้ า น ช่ว ยกัน คิด วิเคราะห์ และหาแนวทางการแก้ไข ปัญหาของท้องถิ่น ด้วยการจัดการทรัพยากรของ ชุมชนอย่างเป็นระบบ และคานึงถึงความยั่งยืนใน อนาคตเป็ น ส าคั ญ การปลู ก จิ ต ส านึ ก ความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ส่ ว นรวมจนเกิ ด เป็ น วั ฒ นธรรม และอั ต ลั ก ษณ์ ข องชุ ม ชนแห่ ง คนดี แ ละคนเก่ ง ประยุ ก ต์ ใ ช้ ศ าสตร์ ต่ า งๆอย่ า งรู้ เ ท่ า ทั น การ เปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมภายนอก สามารถ


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition, March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

สร้างพลังในการจัดการตนเองเพื่อความเข้มแข็ง ข อ ง ชุ ม ช น น า ม า ซึ่ ง ค ว า ม ส ง บ สุ ข แ ล ะ

References

เจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน

Cohen, JM and Uphoff, NT. (1980). “Participation’s Place in Rural Development: Seeking Clarity through Specificity”. World Dev. 8(3): 219 - 222. David, K and Newstrom J.W., (1985). Human Behavior at Work: Organizational Behavior. New York: McGraw Hill. Dulyakasem, U. and Gnamwitayapong, O., (2540). Education System and Community: Conceptual and Suggestion for Research. Bangkok: Plan Printing. Thailand. Ganjanapan. A. (2544). The Complex Method of Community Research: Dynamic and Potential of Community Development. Bangkok: NRCT. Thailand. Pongpit, S., Nunthasuwan, W., and Raekpinit, J.,(2545).The Learning Process to Sustainable Development, Bangkok: Charoenwit Press. Thailand Poungngarm, K. (2553). Self-management and local communities. Bangkok: Bophit Printing.Thai. Office of the National Economic and Social Development Broad. (2554). The Panning of National Economic and Social Development 12th (2555-2559). Office of the Prime Minister.Thailand.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

229

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์

บทคัดย่อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาหมอกควันในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาการ ดาเนินนโยบายการแก้ไขปัญหาหมอกควันของจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการดาเนิน นโยบายการแก้ไขปัญหาหมอกควันของจังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาหมอกควันของจังหวัด เชียงใหม่ เกิดขึ้นทุกปี ยังไม่สามารถแก้ไขได้ ส่งผลกระทบสาคัญต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ การ แก้ไขปัญหาดาเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนมี ส่วนร่วมในการดาเนินการน้อย รวมทั้งกระบวนการขั้นตอนในการดาเนินการ ยังคงเป็นลักษณะการบริหารราชการในรูปแบบเก่าคือ เน้น จากบนลงล่างเป็นลาดับชั้น แนวทางในการดาเนินการแก้ปัญหา ควรส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนและ ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหามากขึ้น คาสาคัญ: หมอกควัน; การแก้ไขปัญหา; จังหวัดเชียงใหม่

1

นักวิจยั อิสระ 58/8 ม.อารียาผกา ซอยนาคนิวาส 6 ถนนนาคนิวาส ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 e-mail: thanarin.h@gmail.com


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Community Participation in Tackling Haze Problem in Chiangmai Province. Thanarin Harnkiattiwong

Abstract This research looked into the haze problem in Chiang Mai province, and the implementation of the haze problem eradication measures in order to provide operational suggestions for effective implementation of haze eradication policy. The researcher employed qualitative research and documentary research methods in this inquiry. It was revealed that the haze problem in Chiang Mai province occurred every year and so far was not eradicated. Consequently it affected people’s health in this area. Government officials played major role in the haze alleviation policy implementation while the people and community had little role to play. Moreover, policy implementation was in top-down fashion. It was suggested that local people in the community and the private sector should play an active role in eradication of the problem. Keywords: Haze, policy implementation, Chiang Mai

1

Independent Researcher 58/8 Mooban Areeya, Soi Nanaenwat 6, Nakhonsawat Road, Ladprao Bangkok 10230 e-mail: thanarin.h@gmail.com


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

บทนา

ปั ญ หาหมอกควั น ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบนเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติที่ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญและ พยายามด าเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หามาโดยตลอด เนื่ องจากผลกระทบของปั ญ หาก่อให้ เ กิด ความ เสียหายหลายด้าน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ ที่รุนแรงคือการสูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้ร้อยละ 80 ของภาคเหนือตอนบน จังหวัด ที่มีรายได้ จ ากการท่องเที่ย วสู งสุ ดได้ แก่ เชี ย งใหม่ และเชี ย งราย (ส านั ก งานพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมภาคเหนือ, 2552, หน้า 1-5) การเกิด หมอกควั น ในพื้ น ที่ทาให้ บ รรยากาศไม่ เหมาะสมแก่การท่องเที่ยวส่งผลให้นักท่อ งเที่ยว ยกเลิ ก การมาท่องเที่ ย วจ านวนมาก (ตั้ งสมชั ย และ กลั่นกลิ่น, 2555, หน้า 27) ส่วนผลกระทบ ด้ า นสุ ข ภาพงานวิ จั ย ของต่ า งประเทศที่ ศึ ก ษา ผลกระทบของฝุ​ุ น ละอองในอากาศหรื อ หมอก ควั น ส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ คื อ ท าให้ เ กิ ด ตะกอนไขมันในหลอดเลือดและกระตุ้นการจับตัว เป็นก้อนของเลือดหรือทาให้เลือดเป็นลิ่ม ทาให้ เกิดภาวะการขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจเฉียบพลันได้ (Emmerechts, Jacobs, & Hoylaerts, 2011, pp. 69-92) ลดประสิทธิภาพการทางานสูงสุดที่ ควรจะทาได้ของปอด (Gauderman et al. 2000, pp. 1383-1390) การทางานของเอ็นไซน์ ที่ทาลายเมือกและจุลินทรีย์ที่ทาลายหรืออนุภาค แปลกปลอมอื่น ๆ ทางานได้ประสิทธิภาพลดลง เมื่อฝุ​ุ น ละอองเหล่ า นี้ เ ข้า สู่ ห ลอดลมหรื อล าคอ (Abex et al., 2012, pp. 643-655) รวมถึงโรค ทางเดินลมหายใจ และหลอดลมอักเสบ ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า มี ห ล า ย ป ร ะ ก า ร ประการแรกคือ เกิดจากไฟปุา ซึ่งเป็นการกระทา ของมนุษย์ไม่ได้เกิดจากธรรมชาติ ประการที่สอง

231 คือ เกิด จากการเผาไหม้ของภาคอุ ต สาหกรรม และการเผาไหม้ของยานพาหนะ ประการที่สาม สภาพภูมิศาสตร์ที่ติดกับเพื่อนบ้าน ส่วนปัจจัยที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ปั ญ หามี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น คื อ สภาวะความกดอากาศสู งที่มาจากประเทศจี น ในช่ว งเดื อนพฤศจิ กายนถึงเดือนมี นาคม ทาให้ อุ ณ หภู มิ ต่ าและมี ค วามชื้ น เกิ ด เมื่ อ หยดน้ าใน อากาศรวมตัวกับฝุ​ุนละอองและสารพิษในอากาศ จึ ง ก ล า ย เ ป็ น ห ม อ ก ค วั น น อ ก จ า ก นี้ สภาพแวดล้ อ มทางภู มิ ศ าสตร์ ที่ เ ป็ น ภู เ ขาสู ง สลั บ ซั บ ซ้ อนบริ เ วณระหว่ า งแนวเขาเป็ น แอ่ งที่ ราบลุ่มแม่น้า หรือที่เรียกว่าลักษณะแอ่งกระทะ โดยเฉพาะจั งหวัด เชี ยงใหม่ ล าพู น และล าปาง ท าให้ ห มอกควั น ปกคลุ ม หมุ น เวี ย นอยู่ ใ นพื้ น ที่ และไม่สามารถพัดหรือกระจายออกจากพื้นที่ได้ (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , 2554; กรมควบคุมมลพิษ, 2553) และปัญหาเกิดขึ้น ซ้าซากทุกปี ยังไม่สามารถแก้ไขได้ ผู้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจศึ ก ษาการแก้ ไ ข ปั ญ หาหมอกควั น โดยเฉพาะในพื้ น ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ซึ่ งเป็ น เมื องศูน ย์ กลางของภาคเหนื อ และมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของภาคร้อยละ 14.80 (ส านั ก งานพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม ภาคเหนื อ , 2552) โดยมุ่ ง เน้ น ประเด็ น ของ การศึกษาไปที่ผู้ที่มีส่วนร่วมในการนานโยบายไป ปฏิบัติและกระบวนการดาเนินงานของผู้ที่มีส่วน ร่วม เพื่อนาเสนอแนวทางในการแก้ไข ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อศึ ก ษาสภาพปั ญ หาหมอกควั น ใน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาการดาเนินนโยบายการแก้ไข ปัญหาหมอกควันของจังหวัดเชียงใหม่


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการดาเนิน นโยบายการแก้ไขปัญหาหมอกควันของจังหวัด เชียงใหม่ ประโยชน์ที่ได้คาดว่าจะรับจากการวิจัย 1. เพื่อให้เกิดความเข้าในในสภาพการณ์ที่ แท้จริงในการนานโยบายการแก้ไขปัญหาหมอก ควันไปปฏิบัติ ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่ อ ให้ ทุ ก ฝุ า ยที่ เกี่ ย ว ข้ อง น าผ ล การศึ ก ษาที่ ไ ด้ มาปรั บ ปรุ ง แนวทางในการ ดาเนินงานร่วมกันให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น 3. เพื่อให้ห น่ วยงานภาครั ฐที่เกี่ยวข้องนา ผลการศึ ก ษาที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ แ นวทางในการ สร้างมาตรการเพื่อผลักดัน การมีส่วนร่วมของทุก ฝุายโดยเฉพาะการสร้างการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชน แนวความคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กฎหมาย นโยบาย แผนงานที่เกี่ยวข้อง รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงใน โครงสร้ า งของตั ว แสดงและกระบวนการใน นโยบายสาธารณะของไทย โดยเปิดโอกาสให้ทุก ภาคส่ ว นได้ เ ข้ า ร่ ว มในกระบวนการนโยบาย บทบั ญ ญั ติ ใ นหมวด 3 ส่ ว นที่ 12 สิ ท ธิ ชุ ม ชน มาตรา 66 มาตรา 78 (3) หมวด 5 ส่ ว นที่ 8 แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมหมวด 5 ส่วนที่ 10 แนวนโยบายด้าน การมีส่ วนร่วมของประชาชน มาตรา 87หมวด 14 การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มาตรา 281 ถึ ง มาตรา 290 และยังคงกาหนดไว้เป็นสาระสาคัญ ใ น รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พุทธศักราช 2560 เช่น มาตรา 43 มาตรา 50

มาตรา 57 มาตรา 58 สาระสาคัญคือ ส่งเสริ ม และสนับสนุนประชาชนหรือชุมชนมีสิทธิและมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ คุ้ ม ครอง บ ารุ ง รั ก ษา บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ยตาม วิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการควบคุมการ เผาในที่ โ ล่ ง : ซึ่ ง ผ่ า นความเห็ น ชอบจากมติ คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 22 กรกฎาคม 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการเตรียมแผนงานและ มาตรการรองรับข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจาก หมอกควันข้ามแดน และใช้เป็นยุทธศาสตร์ให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อปูองกัน ลด และแก้ไขปัญหามลพิษในอากาศที่เกิดจากการ เผาในที่โล่ง โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีกรอบ ในการดาเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน แผนพัฒนาปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอก ควันและไฟปุา ปี พ.ศ. 2551-2554 : ตามคาสั่ง ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ที่ 70/2550 ลงวั น ที่ 12 มี น าคม 2550 โดยมอบหมายให้ ก ระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นเจ้าภาพ หลั ก ในการน าแผนตามข้ อ เสนอของภาค ประชาชน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนมาบูรณา การร่วมกับแผนปฏิบัติการของส่วนราชการ และ น ายุ ท ธศาสตร์ ตามแผนแม่บ ทแห่ ง ชาติว่ าด้ ว ย การควบคุ ม การเผาในที่ โ ล่ ง มาเป็ น กรอบ แนวทางปฏิบัติ โดยมีกรอบนโยบายดังนี้ 1. กรอบระดั บ กระทรวง มี 6 กระทรวงที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ (1) กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม (2) ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ ( 3 ) กระทรวงมหาดไทย (4) กระทรวงคมนาคม (5) กระทรวงศึกษาธิการ (6) กระทรวงสาธารณสุข


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

2. กรอบนโยบายในระดั บ จั งหวั ด (1) ก าหนดให้ มี ก ารจั ด สรรงบประมาณและ บุ ค ลากร ภาคประชาชนต้ อ งเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม ตั้งแต่ขบวนการจัดทา เฝูาระวังปูองกันและแก้ไข ด้ ว ย (2) การควบคุ ม การเผาในที่ ชุ ม ชนและ เกษตรกรรม จั ง หวั ด และองค์ ก รปกครองส่ ว น ท้ อ งถิ่ น ด าเนิ น มาตรการห้ า มเผา ส่ ง เสริ ม เผยแพร่ เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีเกษตรปลอด การเผา (3) การควบคุมไฟปุา จังหวัดมีมาตรการ ควบคุม ปูองกัน และระงับ เหตุไฟปุา ต้องสนธิ กาลังกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกองทัพ ภาคในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ภาค ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลพื้นที่และ ปู อ งกั น ไฟปุ า (4) งบประมาณ ให้ จั ด สรร งบประมาณตามภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5) ประชาสั มพั น ธ์ ให้ ค วามรู้ ถึง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพอนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม (6) รณรงค์ ส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของภาคประชาชนทุ ก ช่องทางทุกวิธีการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การแก้ ไ ขปั ญ หามลพิ ษ ทางอากาศของ ประเทศญี่ปุ น โดยเฉพาะปั ญหาหมอกควันนั้น พบว่ารวมอยู่ในนโยบายและการจัดการเกี่ยวกับ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยภาพรวมทั้ ง หมด นั่ น คื อ การ จัดการสิ่งแวดล้อมของประเทศญี่ปุนมุ่งเน้นการ พัฒ นาภาคอุตสาหกรรมควบคู่ไปกับ การรั กษา สภาพแวดล้อม เช่น เน้นนโยบายการนาของเสีย ก ลั บ ม า ใ ช้ ใ ห ม่ มี ก า ร จั ด ท า บั ญ ชี ต้ น ทุ น สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ขณะเดียวกันภาคประชาชน เป็ น ผู้ ที่ มี บ ทบาทส าคั ญ ในการต่ อ สู้ เ รี ย กร้ อ ง ฟื้ น ฟู เ ยี ย วยาสิ่ ง แวดล้ อ มซึ่ ง น ามาสู่ ก ารออก กฎหมายควบคุมมลพิษหลายฉบับ อย่างไรก็ตาม รากฐานของการที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็น

233 ผลมาจากรัฐบาลญี่ปุนส่งเสริมให้ระบบการศึกษา ปลูกฝังจิตสานึกแก่ประชาชน โดยทุกหลักสูตร ทุกระดับการศึกษามีแนวคิดที่ให้ความสาคัญและ ตระหนักถึงสิ่ งแวดล้ อม ซึ่งถือว่าเป็นการแก้ไข ปัญหาที่ยั่งยืนของประเทศญี่ปุน (รุจิวิชชญ์ และ คณะ, 2553) การจั ด การสิ่ ง แว ดล้ อ มในประเท ศ ฟิลิปปินส์ จุดแข็งในการจัดการสิ่งแวดล้อมของ ประเทศฟิลิปปินส์ คือ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ในการตั ดสิ น ใจนโยบายร่ ว มกั บ ภาครั ฐ และมี ส่ว นร่ว มในการตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจาก สิ่งแวดล้อม โดยกฎหมายสิ่งแวดล้อมจะถูกนามา ท าประชาพิ จ ารณ์ จ ากผู้ ที่ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทั้งหมดก่อนที่จ ะนามาบั งคับ ใช้ แต่ปั ญหาของ ประเทศฟิลิปปินส์คือ ภูมิประเทศที่เป็นเกาะจึง ยากต่ อ การจั ด การโครงการ แผนงานต่ า ง ๆ มัก จะประสบกั บ ปั ญ หาไม่ ส ามารถด าเนิ น การ ตามแผนได้ประกอบกับการประสานงานระหว่าง หน่วยงานในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และการรับ ข้อมูลไม่ถูกต้องระหว่างหน่วยงาน (สอนศรี และ สอนศรี, 2553) การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศ สิงค์โปร์ ประเทศสิงค์โปร์เป็นประเทศที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมอันดับหนึ่งของโลก ไม่มีปัญหาใน ด้านประสิทธิภาพและการจัดการ แต่มีปัญหาใน ประเด็นธรรมภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้ อม ซึ่ง ภาครัฐ ควบคุมและครอบงาภาคประชาชน ไม่ ค่อยมีการปรึกษาหารือระหว่างภาคประชาชน และภาครัฐ เครือข่ายระหว่ารัฐ กลุ่มผู้นา และ ประชาชนยังมีจากัด ทาให้ไม่มีโอกาสมีส่วนร่วม ในการตัดสิน ใจนโยบายที่อาจส่ งผลกระทบต่อ สิ่ ง แวดล้ อ ม แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ในช่ ว งปี ค.ศ. 1990 รัฐบาลเริ่มเปิดกว้างมากขึ้น เปิดโอกาสให้


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

ประชาชนเริ่ ม สร้ างพื้ น ที่ ส าหรั บ ประชาคมเอง มากขึ้น (เฟื่องเกษม, 2553) ประเทศออสเตรเลียมีการเผาภายใต้การ กากับในรัฐต่าง ๆ มาตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1920 โดยแต่ ละรั ฐ มี ก ฎหมายและระเบี ย บปฏิ บั ติ ใ นการ อนุญาตและกากับ ควบคุม การเผาที่ไม่แตกต่ าง กันมาก การเผาภายใต้การกากับเป็นมาตรการที่ ใช้ในการลดความเสี่ยงของอัคคีภัยตามพื้นที่ซึ่ง เป็นปุาเขา (รายะนาคร, 2553: 33-37) ระเบียบวิธีวิจัย ใช้การวิจัยเอกสารจากเอกสาร ได้แก่ เอก สาราชการที่เกี่ ย วข้อง และการสั มภาษณ์ กลุ่ ม ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (key informants) ภาครัฐ และรวมถึงบุคคลได้รับการอ้างอิงต่อ (snowball sampling) จานวน 17 คน และประชาชนที่เข้า ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาหมอกควัน

ของจังหวัด โดยเลื อกเฉพาะผู้ที่มีความยินดีให้ ข้ อ มู ล เท่ า นั้ น จ านวน 13 คน รวมผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล สาคัญทั้งหมด จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึก การสังเกต แบบการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) ที่ วิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) วิธีการสังเกตทั่วไป (2) การสังเกตแบบมีส่วน ร่วม (3) การบันทึกภาคสนาม (4) การสมภาษณ์ อย่างไม่เป็นทางการ (5) การสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการวิจัย ปั ญ หาหมอกควั น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เกิ ด ขึ้ น ทุ ก ปี และผลกระทบส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของประชาชนในพื้ น ที่ (ตารางที่ 1)

ตาราง 1 รายงานการเฝูาระวังผลกระทบด้านสุขภาพปลายเดือน กุมภาพันธ์ 2559 - มีนาคม 2559 กลุ่มโรค จานวน โรคหัวใจและหลอดเลือด 34,208 คน โรคระบบทางเดินหายใจ 24,233 คน โรคผิวหนังอักเสบ 2,133 คน โรคตาอักเสบ 2,061 คน รวม 62,635 คน ที่มา : สานักงานควบคุมโรคที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ ยั ง มี ง านที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ผลกระทบด้านสุขภาพ ดังนี้ จากการศึกษาของ วิว รรธนะเดช และคณะ (2550) ศึกษาอาการ และอาการแสดงของผู้ปุวยหืดหอบกับระดับของ สารก่ อ มลพิ ษ และประเมิ น ความสู ญ เสี ย เชิ ง เศรษฐศาสตร์ ของการเจ็ บ ปุ ว ยอันเนื่องมาจาก การเป็ นโรคหืดหอบ ในพื้น ที่จั งหวัดลาพูนและ

เชี ย งใหม่ พบว่ า ระดั บ ฝุ​ุ น ขนาดเล็ ก (PM10) และฝุ​ุนละเอียด (PM2.5) มีความสัมพันธ์กับค่า ความจุของปอดกับอาการหืดหอบของผู้ปุวย ทา ให้ต้นทุนการรักษาความเจ็บปุวยอันเนื่องจากโรค หื ดหอบเฉลี่ ยต่อคนต่อเดือนเท่ากับ 1,245.45 บาท โดยข้อมูลจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงใหม่ ระบุว่าสถิติของผู้ปุวย 4 กลุ่ มโรคสุ่ ม


235

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

เสี่ยงของจังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงตั้งแต่วันที่ 1-20 มีน าคม 2559 พบว่า มีย อดผู้ ปุ ว ย 4 กลุ่ มโรค ดังกล่าวเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในจังหวัด เชียงใหม่จานวน 49,176 คน นอกนี้ยังมีศึกษา เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างอาการที่เกี่ยวข้อง กับสารมลพิษทางอากาศใน 4 ระบบ (วิวรรธนะ เดช และคณะ, 2551) ได้แก่ ระบบทางเดิ น หายใจ หัวใจ หลอดเลือดผิวหนัง และตา จานวน รวม 19 อาการ กับระดับของสารก่อมลพิษแต่ละ ชนิ ด ศึ ก ษาจากประชาชนที่ อ าศั ย อยู่ ใ นเขต จังหวัดเชียงใหม่ และลาพูน เก็บข้อมูล 4 เดือน

ช่วงเดือนมกราคม ถึง เมษายน 121 วัน พบว่า ทุ ก ๆ ระดั บ ของสารมลพิ ษ สามารถก่ อ ให้ เ กิ ด อาการต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้การศึกษานี้ยังแสดง ให้เห็นว่าสารมลพิษหนึ่ง ๆ อาจก่อให้เกิดอาการ ได้มากกว่า 1 อาการ ในระบบเดียวกันหรือหลาย ระบบ สอดคล้องกับการศึกษาของ พัดเกาะ และ คณะ (2556) พบว่ า การสั ม ผั ส หมอกควั น ต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนานตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ท าให้ เ นื้ อ ปอดสู ญ เสี ย ความสามารถในการ ขยายตัวและส่งผลให้ความชุกของผู้ที่มีการจากัด การขยายตัวของทรวงอกเพิ่มสูงขึ้น

ผู้มีส่วนร่วมในการดาเนินนโยบายการแก้ไขปัญหาหมอกควันของจังหวัดเชียงใหม่

ภาพ 1 ผู้ที่มีส่วนร่วมในนโยบายการแก้ไขปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ ปุาไม้ 1 หมายถึง สานักการจัดการปุาไม้ ที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ สบอ. 16 หมายถึง ส านั กบริห ารพื้นที่ อนุรักษ์ที่ 16 จังหวัดเชียงใหม่

ท ส จ . ห ม า ย ถึ ง ส า นั ก ง า น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มจั ง หวั ด เชียงใหม่ อปท. หมายถึ ง องค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่นทุกแห่งในจังหวัดเชียงใหม่


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

หมายเลข 5 หน่ ว ยงานราชการส่ ว น ภูมิภาคในระดับจังหวัดของจังหวัดเชียงใหม่ หมายเลข 6 อ าเภอและหน่ ว ยงาน ราชการส่ ว นภู มิ ภ าคในระดั บ อ าเภอ ทั้ ง 25 อาเภอ หมายเลข 7 กานัน ทุกตาบลในจังหวัด เชียงใหม่ หมายเลข 8 ผู้ ใ หญ่ บ้ า นทุก หมู่ บ้า นใน จังหวัดเชียงใหม่ ลักษณะของเส้น คือการติดต่อ ประสาน ความร่วมมือระหว่างกัน เ ส้ น ------- ห ม า ย ถึ ง ก า ร ติ ด ต่ อ ประสานงานแบบไม่เป็นทางการและไม่สามารถ บอกทิศทางได้ เ ส้ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ติ ด ต่ อ ประสานงานแบบเป็ น ทางการไปและกลั บ ระหว่างกัน เ ส้ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ติ ด ต่ อ ประสานงานแบบไม่เป็ นทางการ แบบไปอย่าง เดียว เ ส้ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ติ ด ต่ อ ประสานงานแบบเป็นทางการ แบบไปอย่างเดียว จาก ภาพ 1 พบว่ า ภาครั ฐ มี บ ทบาท หลั ก ในการด าเนิ น นโยบาย และการติ ด ต่ อ ประสานงานเป็ น การสื่ อสารทางเดียวมากกว่ า การสื่อสารแบบสองทาง (ไป-กลับ) และส่วนใหญ่ ยั ง เป็ น การสื่ อ สารจากบนลงล่ า ง ในขณะที่ ภาคเอกชนและประชาชนนั้น ยังไม่ส ามารถระบุ บทบาทการมีส่วนร่วมได้อย่างชัดเจน ผลจากการ สัมภาษณ์คือ ประชาชนร่วมดาเนินนโยบายกับ ภาครั ฐ เนื่ องจากได้รั บ การร้ องขอความร่ว มมือ และการจะร่วมมือหรือไม่เป็นความสมัครใจของ

ประชาชนเอง ส่ ว นภาคเอกชนสนั บ สนุ น ด้ า น งบประมาณ ในลักษณะของการบริจาคแล้วแต่ ความสมัครใจเช่นกัน และไม่ได้ดาเนินการอย่าง สม่าเสมอ การบริจาคของภาคเอกชนเป็นไปตาม โอกาสที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการริเริ่ม โครงการกลไกการชดเชยตอบแทนคุณค่าระบบ นิเวศในบางพื้นที่ เช่น อาเภอแม่ริม แห่งแรกคื อ ในพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ าแม่ ส า เอกชนที่ เ ข้ า ร่ ว มคื อ เครือข่ายผู้ประกอบการสถานที่ท่องเที่ยว แห่งที่ สองคือ ชุมชนโปุงแยง ดาเนินการมาแล้ ว 2 ปี โดย บริษัท ทิปโก้ ฟู​ูด จากัด (มหาชน) เจ้าของ โรงงานน้ าแร่ อ อร่ า ซึ่ ง เป็ น ผู้ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ าก ทรั พ ยากรธรรมชาติ ได้ ม อบเงิ น สนั บ สนุ น 400,000 บาท โครงการดาเนินงานมาแล้ว 2 ปี โดยให้ชุมชนปลูกปุาและดูแลปุาที่ปลูกไว้ ภายใต้ การแนะนาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้ให้ ความรู้ในการดูแลรักษาปุา กระบวนการดาเนิ นงานของผู้ ที่ มีส่ ว น ร่ ว มในการแก้ ไ ขปั ญ หาหมอกควั น ของจั ง หวั ด เชียงใหม่ การดาเนิ น งานการแก้ไขปั ญหาหมอกควันของ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้สั่งการ แบบ single command ส านั ก งาน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มจั ง หวั ด เชียงใหม่เป็นเลขานุการ หน่ว ยงานที่เกี่ยวข้อง ห ลั ก ไ ด้ แ ก่ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ที่ เ ป็ น หน่ว ยงานที่เป็นตั วแทนของกรมจากส่ว นกลาง และหน่ ว ยงานในสั ง กั ด ฝุ า ยปกครอง ทหาร ต ารวจ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น แผนการ ดาเนินนโยบายเริ่มจากการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน หรือ area base ได้แก่ ดังตารางที่ 2


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561 วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

237

ตาราง 2 การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ พื้นที่ พื้นทีป่ ุา พื้นที่การเกษตร พื้นที่ชุมชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักจัดการทรัพยากรปุาไม้ที่ 1, สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 อุทยานแห่งชาติดอย สุเทพ-ปุย เกษตรจังหวัด, สานักงานปศุสัตว์จังหวัด (โดยมอบหมายหน่วยงานไปตามลาดับใน ระดับอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ศูนย์บัญชาการระดับจังหวัดเป็นทีมสั่งการ คณะท างาน 70 คน จากหน่ ว ยงานปกครอง ทหาร ตารวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ทุ ก ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ จังหวัดเชียงใหม่ มีการประชุมทุกสัปดาห์ ในช่วง ระยะเวลาประกาศห้ามเผาของจังหวัดศู นย์เปิด ทางานตลอด 24 ชั่วโมง มีการใช้แอพลิเคชั่นไลน์ ในการติดต่อประสานงานและในกลุ่มสนทนาจะมี ตัวแทนสาคัญ 4 ฝุาย ได้แก่ ทหาร ตารวจ ฝุาย ปกครองและการปกครองส่วนท้องถิ่น โดยบุคคล ทั้ง 4 สามารถสั่งการหน่วยงานในสังกัดที่ได้กล่าว มาในข้างต้นให้ดาเนินงานได้ทันที ศูนย์ระดับอาเภอ และตาบล ดาเนินการ ดังนี้ นายอาเภอเป็นผู้สั่งการ ศูนย์ระดับอาเภอ มี ชุ ด เคลื่ อ นที่ เ ร็ ว เข้ า ช่ ว ยดั บ ไฟหากศู น ย์ ร ะดั บ ต าบลร้ อ งขอ ศู น ย์ ร ะดั บ ต าบลนายกองค์ ก ร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ นั้ น เป็ น ประธาน กานันหรือปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น เลขานุ การ หน่ ว ยงานราชการที่เ กี่ย วข้อง เช่ น สถานี ควบคุมไฟปุ า จะเข้า ไปประสานกับ ศูน ย์ ระดั บ อ าเภอและต าบลในพื้ น ที่ ข องตน รั บ ฟั ง ค าสั่ ง จากศู น ย์ ดั ง กล่ า ว และด าเนิ น งานตาม ภารกิจของแต่ละหน่วยงาน รวมทั้งจัดฝึกอบรม

ประชาชนในศูนย์ ระดับ ตาบลให้ มีความรู้ ความ เข้าใจในการดับไฟ หมู่บ้านละ 25 คน ซึ่ง เป็นไป ตามนโยบายของจั ง หวั ด ในการสั่ ง การให้ นายอ าเภอมอบหมายนโยบายให้ ก านั น และ ผู้ ใหญ่ บ้ า นในพื้ น ที่ส่ งตั ว แทนประชาชนเข้ า รั บ การฝึกอบรม การชิงเผา ในพื้นที่ปุา ดาเนินการ ช่ว งปลายเดื อนธั นวาคมถึงต้ นเดื อนกุมภาพั น ธ์ ส่ ว นพื้ น ที่ เ กษตรในอ าเภอต่ า ง ๆ จะสลั บ สั บ เปลี่ ย นพื้ น ที่ ใ นการเผาที่ ล ะอ าเภอ โดย แบ่งเป็น 2 โซนคือพื้นที่ทางเหนือและใต้สลับกัน นายอาเภอและองค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่น จะ ร่วมวางแผนการจัดการชิงเผาในพื้นที่ด้วยกัน แต่ พื้นที่ห้ ามเผาเด็ ดขาดคือ พื้นที่อุทยานแห่ งชาติ ดอยสุเทพ-ปุย แม้จะพ้นเวลาในช่วงประกาศห้าม เผาของจังหวัดก็ตาม หลั ก การด าเนิ น นโยบายที่ ส าคั ญ ของ จังหวัดคือ การพยายามดึงมวลชนหรือประชาชน เข้ า มาช่ ว ย โดยให้ ทุ ก หน่ ว ยงานเข้ า ไปสร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนด้วยทุกวิธีการที่จะทา ให้ ชุ ม ชน เลิ ก เผา เน้ น ประชาสั มพั น ธ์ ให้ สั งคม รับรู้ว่าหมอกควันที่เกิดจากการเผาทั้งจากไฟปุา และการเผาในพื้นที่เกษตรและพื้นที่ชุมชน ส่งผล กระทบให้ เ กิ ด ปั ญ หาหลายด้ า นและหน่ ว ยงาน ราชการเอาจริ ง เอาจั ง ต่ อ ปั ญ หานี้ จั ง หวั ด


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เชียงใหม่ยังเน้นบทบาทของนายอาเภอ โดยมอง ว่าเป็น หั ว ใจส าคัญของการแก้ไขปัญหาเป็นผู้ ที่ ประสานกั บ ชุ ม ชนให้ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานได้ งบประมาณในการดาเนินงาน จังหวัดเชียงใหม่ได้ งบประมาณตามแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด ภายใต้ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดกาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม ซึ่งได้มอบให้ 25 อาเภอ ตาม ความเหมาะในการดาเนินงาน เช่น อาเภอที่ไม่มี พื้นที่ปุา ได้รับงบประมาณ 50,000 อาเภอที่เป็น พื้นที่ปุาและมีจุดความร้อน (hot spot) จากสถิติ ของปีที่ผ่านมาสูง จะได้รับงบประมาณ 150,000 บาท เป็ น ต้ น ส่ ว นหน่ ว ยงานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะมีงบตาม แผนงบประมาณปกติของหน่วยงานเนื่องจากเป็น ภารกิจหลักของหน่วยงาน ยกเว้นหน่วยงานของ กรมปุาไม้ไม่มีงบประมาณด้านนี้ องค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ง บประมาณสนั บ สนุ น จากกรม ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นมอบให้องค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี พื้ น ที่ ติ ด ปุ า ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จ านวน 101 แห่ ง แห่ ง ละ 50,000 บาท โดยให้นาไปอบรมอาสาสมัครปูองกันไฟปุา จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการปูองกันไฟปุา อุปกรณ์ดับ ไฟ ค่ า อาหาร ค่ า เบี้ ย เลี้ ย งในการดั บ ไฟ และ ประชาสั มพั น ธ์เรื่ องไฟปุ า ซึ่ งการดาเนิ นงานที่ ผ่านในปี พ.ศ. 2557 ยังแยกกันดาเนินงานเป็น กลุ่ ม ๆ แต่ ใ นปี พ.ศ. 2558 ได้ เ ริ่ ม มี ก าร ประสานกันเป็นเครือข่ายชัดเจนมากขึ้นระหว่าง หน่วยงานราชการต่าง ๆ บริบทของภาคเหนือที่ส่งผลต่อการดาเนิน นโยบายคือ ระบบเศรษฐกิจที่ พึ่งพิงภาคเกษตร จึ ง มี การเผาเพื่อ ท าลายวัช พื ช และเพื่ อ เตรี ย ม พื้นที่เพาะปลูก ประกอบกับสภาพภูมิประเทศที่ ไม่สามารถพัดพาหมอกควันออกจากพื้นที่ได้ เป็น อุปสรรคสาคัญในการแก้ไขปัญหา

การอภิปรายผล สภาพการณ์จริงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน คือ ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ไม่สามารถแก้ไขได้ ปัญหาหมอกควันยังเกิดขึ้นใน พื้ น ที่ ทุ ก ๆ ปี และจากการทบทวนกฎหมาย นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้อง แสดงให้เห็นถึง ความเปลี่ ยนแปลงของภาครัฐ ที่เปิดโอกาส ให้ ภาคเอกชน ภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มากขึ้น สอดคล้อง กับการอธิบายของ กังสนันท์ (2552), ธารง ลักษณ์ (2556) ซึ่งได้กล่าวว่า ภาครัฐได้มีการลด อานาจความเป็นศูนย์กลาง การดาเนินงานต่าง ๆ อยู่ ใ นรู ป แบบเครื อ ข่า ยโดยการประสานความ ร่วมมือจากหลายฝุาย (กังสนันท์ , 2552: 30-32; ธารงลักษณ์ , 2556: 17) แต่ผลการวิจัยกลับ พบว่า ผู้ที่มีส่ วนร่วมในการดาเนินนโยบายส่วน ใหญ่เป็นหน่วยงาน หรือบุคลากรภาครัฐมากกว่า ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่ง ขั ดแย้ง กั บ แนวคิด ของ จารุ ส มบั ติ (2556) และ กมลเวช (2556) ได้กล่าวว่า การเข้าร่วมของประชาชนใน กระบวนการนโยบายสาธารณะจะทาให้นโยบาย ประสบความสาเร็จ เนื่องจาก เป็นผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ทราบถึงพื้นฐานของปัญหาอย่างแท้จริง การ เข้าร่วมของประชาชนนอกจากจะแก้ไขปัญหาได้ ยังสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน (จารุ สมบัติ, 2556: 106-111, กมลเวช, 2556: 5152) เช่นเดียวกับแนวคิดของ ธเนศวร์ เจริญเมือง (2550) John (2001) และ Goss (2001) กล่าว ว่า การแก้ไขปัญหาสาธารณะต่าง ๆ ควรเป็นการ ตัดสินใจร่วมกันของหลาย ๆ ฝุายแบบรวมหมู่ โดยเฉพาะนโยบายทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม มี มิ ติ หลากหลายซับซ้อน การแก้ไขปัญหาและพัฒนา อย่างยั่งยืนต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง สิ่ ง นี้ คื อ การรั บ ข้ อ มู ล จาก


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

ประชาชน (เจริญเมือง, 2550: 44-45; John, 2001: 9-17; Goss, 2001: 11-15) ดังนั้น การ ไม่เข้าร่วมของภาคประชาชนตามผลของการวิจัย จึ ง เป็ นส า เห ตุ ห ลั กให้ น โ ยบ าย ไม่ ป ระส บ ความสาเร็จในการแก้ไขปัญหา ส าหรั บ แนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หา ใน ระยะสั้ น ควรบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายอย่ า งเคร่ ง ครั ด เช่นเดียวกับประเทศออสเตรเลีย ส่วนการแก้ไข ปัญหาในระยะยาวควรเพิ่มหลักสูตรการศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อปลูก จิตสานึกของประชาชน ให้เป็นรากฐานของการมี ส่วนร่วม (รุจิวิชชญ์ และ คณะ 2553) การมีส่วน ร่ ว มของประชาชนโดยความสมั ค รใจ หรื อ ที่ เรี ย กว่ า การระเบิ ด จากข้ า งใน เป็ น แนวคิ ด ที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริทุกโครงการ จะผนวกไว้ ทาให้โครงการในพระราชดาริต่าง ๆ ประสบความสาเร็จเป็นอย่างดี และยังสร้างความ เข้มแข็งแก่ชุมชน ทาให้สามารถพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติได้อย่างยั่งยืน ตัวแปรสาคัญที่ส่งผล ต่ อ ความส าเร็ จ จึ ง อยู่ ที่ ค วามร่ ว มมื อ ของภาค ปร ะชา ช น แม้ ว่ าลั กษณะวั ฒน ธ ร รมของ

239 ประชาชนภาคเหนือจะมีความอ่อนน้อม และเชื่อ ฟังผู้นา เจ้าหน้าที่ราชการต่าง ๆ แต่ผู้นาเหล่านั้น ต้องเป็นบุคคลที่มีความใกล้ชิด กับประชาชนใน พื้ น ที่ ด้ ว ย โดยเฉพาะกานั น ผู้ ใหญ่ บ้ า น ดั งนั้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรติ ด ต่ อ ประสานความ ร่ ว มมื อ กั บ ผู้ น าที่ มี ค วามใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชน เพื่อให้ประชาชนร่วมมือกับภาครัฐในการแก้ไข ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. รั ฐควรประสานงานกับภาคเอกชนให้ เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินนโยบายเพื่อการ แก้ไขปัญหาในระยะยาว เนื่องจากภาคเอกชนมี ความพร้ อ มในด้ า นงบประมาณ และกา ร ด าเนิ น งานที่ร วดเร็ ว กว่ า ระบบราชการซึ่ ง ต้ อ ง ดาเนินงานตามสายการบังคับบัญชา 2. ควรมีการวิ จัย ในนโยบายสิ่ งแวดล้อม ด้ า นอื่ นๆ ในพื้ น ที่ เ พื่ อ น าผลการวิ จั ย มา เปรียบเทียบว่ามีความถูกต้อง แม่นยาหรือไม่ ใน ด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

References Arbex, M. A., et al. (2012). “Air pollution and the respiratory system”. J Bras Pneumol, 38(5), 643-655. Charernmuang, Thaneth. (2548). 100 years of local government. 2440-2540 Bangkok: Kobfai. Charernmuang, Thaneth (2550). Local government and local governance: another dimension of world civilization. Bangkok: Kobfai. Charusombat, Soparat. (2556). Environmental policy in Thumronglux, A. (Ed.), Public Governance: 21st Century Public Administration, Bangkok: Faculty of Political Science, Thammasat University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

Emmerechts, J., Jacobs, L., & Hoylaerts, M. F. (2011). Air pollution and cardiovascular disease. in M. K. Khallaf (Ed.), The impact of air pollution on health, economy, environment and agricultural sources. Shanghai, China: INTECH. Fuangkasem, Korin. (2553). Environmental Management in Singapore. in Sonsri, Srida (Editor)Environmental Management in Southeast Asia. Bangkok: Chulalongkorn University Press. Gauderman, W. J., et al. (2000). “Association between air pollution and lung function growth in southern California children”. American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine, 162, 1383-1390. Goss, Sue. (2001). Making local governance work: Networks, relationships, and the management of change. New York: Palgrave Macmillan. Haze Situation. Available From https://www.prachachat.net/ news_detail. php?newsid= 1459322028. (10/10/2558) John, Peter. (2001). Local Governance in Western Europe. London: SAGE Publications. Kamolvej, Tavida. (2556). Public Policy in the Public Administrative Context. In Thumronglux, A. (Ed.), Public Governance: 21st Century Public Administration, (pp. 35-61). Bangkok: Faculty of Political Science, Thammasat University. Kungsanun, Kovith. (2552). “Governance of Government: Foundations and Challenges Thai government”. King Prajadhipok 's Institute. (2552, January-April), 7(1), 27-46. National Research Council of Thailand. (2554). Research Strategy (2555-2559): Northern Region. Bangkok: National Research Council of Thailand. Northern Economic and Social Development Office. (2552, September). Evaluation Report on the Northern Development Strategy Framework. Chiang Mai. Northern Economic and Social Development Office. (2552, September). Evaluation Report on the Northern Development Strategy Framework. Chiang Mai. Pudkor, Tuswiya and Others. (2556). Effects of Haze on lung volume and lung capacity in normal healthy individuals. Available From http://www.researchgatenet publication236743140_Impacts_of_wildfire_smog_on_lung_volume_and_pulmonry _function_in_healthy_people /file/3deec 51934f19d717c.pdf. (10/8/2558) Pollution Control Department. (2553). Thailand's Pollution Situation Report 2551. Bangkok. Rayanakorn, Mongkol. (2553). Haze and Air Pollution in Chiang Mai. Chiang Mai: Lock In Design Work.


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

241

Rujivith, Kumpol and Others. (2553). Synthesis paper on Japanese environmental management and South Korea guidelines for Thailand: Case study on urban and community environmental management. Available from: http://www.asia.tu.ac.th/research/ Analysis_paper.pdf. (30/5/2558). Sonsri, Srida and Sonsri, Kamolporn. (2553). Environmental Management in Philippines. in Sonsri, Srida (Editor). Environmental Management in Southeast Asia. Bangkok: Chulalongkorn Publisher. Thumronglux, Aumporn. (2556). (Ed.). Public Governance: 21st Century Public Administration. Bangkok: Faculty of Political Science, Thammasat University. Thungsomchai, Chaivut and Klunklin, Piyapun. (2555). Situation and trend of tourism business in upper northern region. Chiang Mai: Chiang Mai University. Wiwathanadeth, Pongthep and Others. (2550). The daily level of dust in the air and the health effects of asthmatic patients in Chiang Mai and Lamphun provinces: Full Research Report. Chiang Mai: Chiang Mai University. Wiwathanadeth, Pongthep and Others. (2551). Establishment of the Northern Air Pollution Information Center. Chiang Mai: Chiang Mai University.


Kasem Bundit Journal Volume 19 Special Edition March 2018 Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

บทวิจารณ์หนังสือ

Shafritz, Jay M. (2004) The Dictionary of Public Policy and Administration. Washington, D.C.): Westview Press, pp.483.

Panida Chinsuvapala1

I

Jay M. Shafritz is a professor of public administration in the Graduate School of Public and International Affairs of the University of Pittsburgh. He is the author or editor of over four dozen text

and reference books including International Encyclopedia of Public Policy and Administration (a four-volume reference). II

The Dictionary of Public Policy and Administration contains more than 1,600 or so entries, and very impressive amount of pertinent information. It gives succinct definitions, and remarkable explanations of both classical and contemporary concepts, ideas, and terms. The following is an example: Public 1) The people in general 2 The citizens of a jurisdiction 3. A subset of a large public such as a novelist’s public (those who read his books) of the reading public (those who regularly read books). Public Administration 1) Whatever government does. As an activity, public administration has no values. It merely reflects the cultural norms, beliefs, and power realities of its society 2) The Law in action. Public administration is inherently the

execution of a public law. 3) Regulation 4) The executive function in government 5) Organizing and managing people and other resources to achieve the goals of government 6) Implementing the public interest 7) the art and science of management applied to the public sector. 8) According to David H. Rosembloom, it is the use of managerial, political, and legal thesis and processes legislative, and judicial governmental mandates for the provision of regulatory and service functions for the society as a whole or for some segments of it, Public Administration,2nd ed. (1989) Public policy 1) A policy made on behalf of a public by means of a public law or regulation that is put into effect by public administration. 2) Decision making by government. Governments are constantly concerned


243

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษเดือน มีนาคม 2561

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

about what they should or should not do. And whatever they do or do not as is

public policy. 3) The implementation of a subset of a governing doctrine. III

In my opnion this dictionary is a tool for all those who want to know about theories, concepts, practices, laws, institutions, literature, and people of the academic discipline and professional practice of public administration.

For this reason this Dictionary should be located on every student’s desk and consulted whenever he needs to know a concise and understandale meaning of concepts, theories. etc in Public Administration.


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

แบบ JKBU-1

แบบฟอร์มนาส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือเพื่อพิมพ์เผยแพร่ใน วารสารเกษมบัณฑิต (ส่งพร้อมกับบทความ/บทวิจารณ์หนังสือ) เรียน บรรณาธิการวารสารเกษมบัณฑิต

วันที่……….เดือน………..……..พ.ศ.………

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................................................. (Mr./Mrs./Ms.)......................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา................................................................................................................. ตาแหน่ง/ตาแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) .................................................................................................... ชื่อหน่วยงาน/สถาบันที่ทางาน................................................................................................................ ขอส่ง บทความจากงานวิจัย บทความวิชาการ บทความปริทัศน์ (review article) บทวิจารณ์หนังสือ (book review) ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ............................................................................................................................. .................................................................................................................... ............................................ ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ......................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาสาคัญ (ภาษาไทย) ............................................................................................................................. Keyword (ภาษาอังกฤษ)....................................................................................................................... ที่อยู่ทีสามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน............................. ตาบล/แขวง....................อาเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์ ................... โทรศัพท์...........................................โทรศัพท์มือถือ........................................โทรสาร.......................... E-mail................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าเพียงผู้เดียว (ไม่ต้องกรอกแบบ JKBU-2 ) เป็นผลงานของข้าพเจ้าและผู้ที่ระบุชื่อในบทความ (กรอกแบบJKBU-2 ด้วย) บทความนี้ไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และจะไม่นาส่งไปเพื่ อพิจารณาลงตีพิมพ์ใน วารสารอื่นๆ อีก นับจากวันที่ข้าพเจ้าได้ส่งบทความฉบับนี้มายังกองบรรณาธิการวารสารเกษมบัณฑิต ลงนาม............................................................ (.........................................................................)


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

245 แบบ JKBU-2

ข้อมูลผู้ร่วมเขียนบทความ (ส่งแนบพร้อมกับบทความ/บทวิจารณ์หนังสือ) ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 1 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)........................................................................................................................................ (Mr./Mrs./Ms.)............................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา........................................................................................................................................ ตาแหน่ง/ตาแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ........................................................................................................................... ที่อยู่ทีสามารถติดต่อได้สะดวก......................................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน.................................... ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/เขต............................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์................................ โทรศัพท์...........................................โทรศัพท์มือถือ................................................โทรสาร.......................................... E-mail.......................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 2 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)....................................................................................................................................... (Mr./Mrs./Ms.).............................................................................................................................................. คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา........................................................................................................................................ ตาแหน่ง/ตาแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ........................................................................................................................... ที่อยู่ทีสามารถติดต่อได้สะดวก......................................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน.................................... ตาบล/แขวง.......................อาเภอ/เขต............................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์................................ โทรศัพท์...........................................โทรศัพท์มือถือ........................................โทรสาร.................................................. E-mail.......................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ หมายเหตุ : ถ้ามีผู้เขียนบทความมากกว่า 2 ท่าน กรุณากรอกรายละเอียดของผู้เขียนบทความร่วมท่านอื่น ๆ ด้วย


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

แบบ JKBU-3 รูปแบบการพิมพ์และการนาเสนอบทความ/บทวิจารณ์หนังสือ 1. การพิมพ์ พิมพ์ต้นฉบับบทความ/บทวิจารณ์หนังสือด้วย Microsoft Word for Windows หรือซอฟต์แวร์อื่นที่ ใกล้เคียงกัน พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 26 บรรทัด ต่อ 1 หน้า ให้พิมพ์ด้วยอักษรTH Saraban ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นฉบับจนจบบทความ ยกเว้นหน้าแรกโดยจัดพิมพ์เป็น 2 คอลัมภ์ สาหรับสาระของบทความ ยกเว้นบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นแบบคอลัมภ์ 2. การนาเสนอบทความ 2.1 บทความทุกประเภททั้งที่เป็นบทความจากงานวิจัย บทความวิชาการ และบทความปริทัศน์ (Article review) มีความยาวประมาณ 12 – 15 หน้า A4 (รวมบทคัดย่อ) 2.2 ชื่อบทความให้ระบุทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.3 ให้ระบุชื่อของผู้เขียนบทความ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใต้ชื่อบทความ และระบุตาแหน่งทาง วิชาการ (ถ้ามี) ตาแหน่งงาน สถานที่ทางานและที่อยู่เบอร์โทรศัพท์ และe-mail ของผู้เขียน โดยเขียนเป็นเชิงอรรถ (footnote) ในหน้าแรกของบทความ 2.4 การนาเสนอบทความให้นาเสนอ โดยมีองค์ประกอบดังนี้  บทคัดย่อ ต้องมีบทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ โดยแต่ละบทคัดย่อมีความยาวไม่ เกิน 1/3 ของกระดาษ A4 (ประมาณ 18 บรรทัด) และให้ระบุคาสาคัญ (Keywords) ในบรรทัด สุดท้ายของบทคัดย่อทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ  1 : บทนา ระบุปัญหา/ความเป็นมา ความสาคัญของปัญหา/ประเด็นที่จะนาเสนอในบทความ และ วัตถุประสงค์ในการวิจัย/การเสนอบทความ  2 : เนื้อหาสาระ นาเสนอประเด็นเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งอาจประกอบด้วยหลายย่อหน้า และในกรณีของ บทความจากงานวิจัย การนาเสนอในส่วนนี้ควรมีส่วนประกอบ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการวิจยั (ถ้ามี) ขอบเขตของการวิจัย แนวคิดทฤษฎีและกรอบความคิดในการวิจัย การ ทบทวนเอกสาร วิธีการดาเนินการวิจัยและผลการวิจัย  3 : สรุป สรุปผลการวิจัย/บทความและข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)  4 : เอกสารอ้างอิง ให้นาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ (เรียงลาดับอักษร) โดยนาเสนอตามตัวอย่าง 3  ภาคผนวก (ถ้ามี)


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

247

(ตัวอย่าง 1) การนาเสนอบทความจากงานวิจัย (Research Article) ชื่อเรื่อง……………………………………………………………………………………………………………… บทคัดย่อ ............................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................... ...................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ คาสาคัญ : ......................................................................................... Title:…………………………………………………………………………………………………………………………………… Abstract ......................................................................................................................... ............................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................. ............................... Keywords: ......................................................................................... บทนา (ส่วนที่1ของบทความ) ระบุประเด็นปัญหาของการวิจัยให้ชัดเจนและปรากฏการณ์โดยสังเขป ในส่วนท้ายของบทนาให้ระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย(เฉพาะการนาเสนอเป็นบทความวิจัยมิใช่ใน วิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

เนื้อหา    

(ส่วนที่ 2 ของบทความ) การทบทวนเอกสาร/งานวิจัย (โดยสังเขป) แนวคิดทฤษฎี/งานวิจัย กรอบความคิดในการวิจัย และสมมติฐาน (ถ้ามี) คาจากัดความของศัพท์/ตัวแปร ระเบียบวิธีวิจัย (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง/วิธีการสร้างเครื่องมือ/วิธีการรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูล)  ผลการวิจัย  ข้อมูลเชิงประจักษ์ การวิเคราะห์ และผลการวิเคราะห์ในรูปตารางที่นาเสนออย่าง กะทัดรัด (Concise)  ผู้เขียนอาจปรับชื่อหัวข้อในเนื้อหาสาระของการนาเสนอได้ตามความเหมาะสม เมื่อขึ้นย่อ หน้าใหม่ ไม่ควรเขียนเป็นข้อ ๆ

สรุปและเสนอแนะ (ส่วนที่ 3 ของบทความ) References (เอกสารอ้างอิง) (ส่วนที่ 4 ของบทความ) (เขียนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด).............................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ภาคผนวก (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

249

(ตัวอย่าง 2) การนาเสนอบทความทางวิชาการ (Academic Article) /บทความปริทรรศน์ (Article Review) บทนา (ระบุประเด็นสาคัญ ความเป็นมา และวัตถุประสงค์ของการนาเสนอ) ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... เนื้อหา (สรุปสาระสาคัญแต่ละบท/ตอน โดยนาเสนอเป็นย่อหน้าได้มากกว่า 1 ย่อหน้า) ......................................................................................................................................... ............ ....................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... สรุปและเสนอแนะ (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ..................................................................................................................................... ........................... ................................................................................................................................................................ References (เอกสารอ้างอิง) (กรณีเป็นบทความปริทรรศน์ ควรมีเอกสารอ้างอิงตามสมควร) (เขียนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด).............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ภาคผนวก (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ... .................................................................................................................................................. ..............


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

(ตัวอย่าง 3) การเขียนเอกสารอ้างอิง (Referecnes) 1. Beek,Thorsten and Demirguc-Kurt,Asli. (2549). “Small and Medium Enterprises: Access to Finance as a Growth Constraint.” Journal of Banking and Finance. Volume 30, 2931-2943. 2. Hughes, Allen. (2540). “Finance for SMEs: A U.K. Perspective.” Small Business Economics. Volume 9, 151-166. 3. Klemke,E.D. at al. (1998). Introductory Readings in the Philosophy of Science. New York: Prometheus Books. การเขียนอ้างอิงภายในสาระบทความ วารสารเกษมบัณฑิตใช้ระบบ นาม-ปี และระบุหน้า (เมื่อเป็นการอ้างอิงเฉพาะประเด็น) ไม่ใช้ ระบบหมายเลขหรือเชิงอรรถะดังนี้ 1............(Beek, and Demirguc, 2549) ……………………. 2............(Hughes,2540: 161-162)


251

วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

3. การเขียนบทวิจารณ์หนังสือ (Book Review) 3.1 ต้องระบุขอ้ มูลเกี่ยวกับหนังสือที่วิจารณ์ ดังนี้  ชื่อหนังสือ  ชื่อผู้เขียน/ผู้แต่ง  ปีที่พิมพ์  สานักพิมพ์/โรงพิมพ์  จานวนหน้า 3.2 การนาเสนอบทวิจารณ์หนังสือควรมีส่วนนา ส่วนเนื้อหา และส่วนสรุป ในทานอง เดียวกับการนาเสนอบทความ (โปรดพิจารณาตัวอย่างที่ 2) 3.3 การนาเสนอสาระสาคัญในแต่ละบทโดยสรุปและวิจารณ์แยกแต่ละบทหรือแต่ละ บทความ (กรณีเป็นหนังสือที่รวบรวมบทความ) 3.4 ความเห็นโดยสรุป (Concluding remarks) 4. การนาเสนอตารางและภาพประกอบ ในกรณีที่มีตารางและภาพประกอบในบทความ ให้นาเสนอดังนี้ 1. การนาเสนอตาราง (ตัวอย่าง) ตารางที่....... : ………………………………(ชื่อตาราง)................................................

ที่มา : …………. (แหล่งที่มา และปี)......................... 2. การนาเสนอภาพประกอบ ภาพกราฟ หรือแผนภูมิต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ตาราง ให้เรียกว่า ภาพประกอบ โดยเขียนกากับใต้ ภาพประกอบและเป็นภาษาอังกฤษ ดังนี้ (ตัวอย่าง) รูปภาพ Figure........ : ………………….(Title).................................... Source : ………………………………………………..(Reference)


Kasem Bundit Journal Volume 19 (Spacial Edition), March 2018

การพิจารณาคัดเลือกบทความ/บทวิจารณ์หนังสือเพื่อพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารเกษมบัณฑิต 1. บรรณาธิการจะมีหนังสือแจ้งให้ทราบว่าได้รับบทความเพื่อพิจารณาลงตีพิมพ์ 2. บรรณาธิการจะพิจารณากลั่นกรองบทความ/บทวิจารณ์ห นังสื อว่ามีรูปแบบการนาเสนอ เป็นไปตามรูปแบบ แบบ JKBU-3 หรือไม่ และสงวนสิทธิ์ที่จะไม่พิจารณาบทความ/บท วิจารณ์หนังสือ ที่การนาเสนอไม่เป็นไปตามรูปแบบ JKBU-3 (โดยไม่ส่งคืนต้นฉบับให้แก่ ผู้เขียน) 3. บรรณาธิการจะน าบทความ/บทวิจ ารณ์ห นังสื อที่ผู้ เ ขียนส่ งมาเสนอต่ อผู้ ทรงคุณวุฒิ เพื่ อ ประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของบทความ/บทวิจารณ์หนังสือ โดยใช้เวลาประมาณ 20-30 วัน โดยมีเงินสมนาคุณผู้ทรงคุณวุฒิ บทความละ 3,000-. บาท (สาหรับผู้เขียนที่มิได้ เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต) 4. บทความ/บทวิจารณ์หนังสือที่จะได้พิมพ์เผยแพร่ในวารสารเกษมบัณฑิต จะต้องได้รับการ ประเมิ นให้ พิ ม พ์เ ผยแพร่ ไ ด้ จ ากกรรมการผู้ ทรงคุ ณ วุฒิ จ านวนไม่ น้ อยกว่ า 2 ใน 3 ของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา 5. ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ ต้องปรับปรุงหรือแก้ไขก่อนพิมพ์เผยแพร่ ผู้เ ขียนจะต้อง ดาเนิ นการให้ แล้ วเสร็จ และส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสื อที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปยัง บรรณาธิการวารสารฯ ภายใน 15 วัน (หรือตามที่บ รรณาธิการกาหนด) นับจากวันที่ได้ รับทราบผลการประเมิน ในกรณีท่านส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือฉบับแก้ไขช้ากว่ากาหนด บรรณาธิ ก ารจะน าไปพิ ม พ์ เ ผยแพร่ ใ นวารสารฉบั บ ต่ อ ไป (โดยผู้ เ ขี ย นจะต้ อ งแจ้ ง ให้ บรรณาธิการทราบว่าประสงค์จะส่งช้า) 6. บทความภาษาอั ง กฤษ จะมี ค่ า ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งทางด้ า นไวยากรณ์ อั ง กฤษ จา ก ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านภาษาอังกฤษ เรื่องละ 3,000.- (บทความไม่เกิน 10 หน้า).


วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ มีนาคม 2561

253

การส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือเพื่อพิมพ์เผยแพร่ในวารสารเกษมบัณฑิต 1. กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มนาส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือฯ (แบบ JKBU-1 ) 2. กรณีมีผ้เู ขียนมากกว่า 1 คน ให้ระบุข้อมูลของผู้ร่วมเขียนทุกคนเพิ่มเติมในแบบ JKBU-2 3. การส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือ กระทาได้ 3 วิธีดังนี้  วิธีที่ 1 : ส่งผ่านระบบ online : www.tci-thaijo.org/index.php/jkbu  วิธีที่ 2 : ส่งผ่าน E-mail journal@kbu.ac.th  วิธีที่ 3 : ส่งทางไปรษณีย์ไปยังอยู่ข้างล่างนี้ บรรณาธิการวารสารเกษมบัณฑิต สานักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลขที่ 1761 ถนนพัฒนาการ แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 กรณีส่ง ทางไปรษณีย์ให้ส่งบทความ/บทวิจารณ์ห นังสือ จานวน 1 ฉบับ พร้อมบันทึก ข้อมูลลงแผ่น CD จานวน 1 แผ่น โดยนาส่งพร้อมแบบ JKBU-1 และแบบ JKBU-2 (ถ้ามี) 4. เมื่อส่งบทความ/บทวิจารณ์หนังสือด้วยวิธีที่ 3 กรุณาโทรศัพท์แจ้งให้บรรณาธิการทราบด้วย วาจา โดยโทรศัพท์ไปที่ 02-3202777 ต่อ 1129


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.