วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เจ้าของ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ที่ปรึกษา 1. ดร.วัลลภ สุวรรณดี 2. ดร.เสนีย์ สุวรรณดี 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา กองบรรณาธิการบริหาร 1. ศาสตราจารย์ ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ 2. ศาสตราจารย์ศรียา นิยมธรรม 3. รองศาสตราจารย์ ดร.อารี พันธ์มณี 4. รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ เทวรักษ์ 5. รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์ กองบรรณาธิการวิชาการ 1. ศาสตราจารย์ ดร.จรรจา สุวรรณทัต 2. ศาสตราจารย์ ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ 3. ศาสตราจารย์ศรียา นิยมธรรม 4. รองศาสตราจารย์ ดร.สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต 5. รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิโชค วรานุสันติกูล 6. รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ นนทะสร 7. รองศาสตราจารย์ ดร.วรนุช แหยมแสง 8. รองศาสตราจารย์ ดร.อรพินทร์ ชูชม 9. รองศาสตราจารย์ ดร.นันทา สู้รักษา 10. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา 11. รองศาสตราจารย์ ดร.อารี พันธ์มณี 12. รองศาสตราจารย์ ดร.รัญจวน คาวชิรพิทักษ์ 13. รองศาสตราจารย์มุกดา ศรียงค์ 14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ ศรีเครือดง 15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เย็นใจ เลาหวณิช 16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ ปันนิตามัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กองบรรณาธิการ 1. รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์ 2. นางสาวรัศมีดารา ดารากร ณ อยุธยา
บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ
คณะกรรมการจัดทาวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1. รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ เทวรักษ์ 2. รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์ 3. นางสาวรัศมีดารา ดารากร ณ อยุธยา
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ 1. ศาสตราจารย์ ดร.อารี สัณหฉวี 2. ศาสตราจารย์ ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ 3. ศาสตราจารย์ศรียา นิยมธรรม 4. รองศาสตราจารย์ ดร.สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต 5. รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์ 6. รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิโชค วรานุสันติกูล 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ นนทะสร 8. รองศาสตราจารย์ ดร.สมสรรญก์ วงษ์อยู่น้อย 9. รองศาสตราจารย์ ดร.อรพินทร์ ชูชม 10. รองศาสตราจารย์ ดร.ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ 11. รองศาสตราจารย์ ดร.วรนุช แหยมแสง 12. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา 13. รองศาสตราจารย์ ดร.รัญจวน คาวชิรพิทักษ์ 14. รองศาสตราจารย์ ดร.อารี พันธ์มณี 15. รองศาสตราจารย์ชูศรี วงศ์รัตนะ 16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ ปันนิตามัย 17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เย็นใจ เลาหวณิช 18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พาสนา จุลรัตน์ 19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุสาห์ภรณ์ สุขารมณ์ 20. ว่าที่ร้อยตรี ดร.มนัส บุญประกอบ
นักวิชาการอิสสระ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
กาหนดวันออกวารสาร ปีละ 2 ฉบับ - ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน กาหนดออกวารสาร เดือนมิถุนายน - ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม กาหนดออกวารสาร เดือนธันวาคม
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาค้นคว้า สร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการด้านจิตวิทยา ของคณาจารย์ นักวิชาการและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ผลงานวิชาการและผลงานวิจัยทางจิตวิทยาสู่สาธารณชน 3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านจิตวิทยา ระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานทางวิชาการ หน่วยงานปฏิบัติการและนักวิชาการอิสระทางด้านจิตวิทยา พิมพ์ที่ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลขที่ 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0-2320-2777 โทรสาร 0-2720-4677 ISSN 2286-6663 สานักงาน หลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยา ระดับบัณฑิตศึกษา (ชั้น 3 อาคารเกษมพัฒน์) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตพัฒนาการ โทรศัพท์/โทรสาร 0-2320-2777 ต่อ 1134, 1163 e-mail: journal.psy.kbu@gmail.com http://journal.psy.kbu.ac.th ปีที่พิมพ์ 2558
คานิยม วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตได้เดินทางมาถึงฉบับครบรอบปีที่ 6 แล้ว นับเป็น ประจักษ์พยานแห่งความมุ่งมั่นตั้งใจของคณะบรรณาธิการและผู้จัดทาที่ได้ร่วมแรงร่วมใจกันอย่าง เข้มแข็งเพื่อมุ่งส่งเสริมให้ศาสตร์และวิชาชีพจิตวิทยาได้ขยายขอบข่ายของการศึกษาวิจัยและพั ฒนา องค์ความรู้ในการวิเคราะห์ อธิบาย ทานาย และเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่แท้จริงให้พร้อมเผชิญกับ สภาวะความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและหลากหลายที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน ในนามของหลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ขอแสดง ความชื่นชมและขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์ รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ เทวรักษ์ ผู้ เป็นบรรณาธิการและประธานคณะกรรมการจัดทาวารสาร รวมทั้งท่านผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ และท่ านนั กวิ ชาการผู้ กรุ ณาส่ งบทความที่มี คุ ณภาพ ขอเป็ นก าลั งใจให้ ทุ กท่ านได้ผสานกาลั งเป็ น กัลยาณมิตรในด้านจิตวิทยาให้มนุษย์และสังคมได้มีพัฒนาการอย่างยั่งยืนต่อไป
ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจและใฝ่พัฒนา
(รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการหลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
บรรณาธิการแถลง วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2558 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นฉบับที่ 2 ของปี ในการนาเสนอบทความทางวิชาการและบทความวิจัยทางด้าน จิตวิทยาของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิและนักวิชาการในสาขาวิชาจิตวิทยา จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทร์ วิ โ รฒ มหาวิ ท ยาลั ย รามค าแหง มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช มหาวิ ทยาลั ย เกษมบั ณฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ยราชภั ฏ ล าปาง ซึ่ ง บทความทุ ก ฉบั บได้ รั บ การพิ จ ารณา กลั่ นกรองจากผู้ ทรงคุณวุฒิ ทางด้านจิตวิทยา ด้านสถิติ และการวิจัย ทาให้ เนื้อหาทุกคอลั มน์ของ วารสารมีคุณภาพ เพื่อท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ทางวิชาการและสามารถนาไปเป็นประโยชน์ในการ อ้างอิง และประยุกต์ใช้ในทางวิชาการได้ กองบรรณาธิ การ ขอขอบคุณผู้ เขียนบทความทุกท่ านที่ส่ งบทความมาให้ พิ จารณาตีพิมพ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความที่กรุณาพิจารณาให้ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงแก้ไขบทความให้มี ความถูกต้องทันสมัยตามหลักเกณฑ์ และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตที่ให้การสนับสนุนในการ จั ด ท าวารสารจนส าเร็ จ ลุ ล่ ว งด้ ว ยดี ซึ่ ง กองบรรณาธิ ก ารหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า วารสารจิ ต วิ ท ยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านในการนาไปประยุกต์ใช้และสร้างสรรค์ ผลงานวิชาการทางจิตวิทยาต่อไป หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขอน้อมรับไว้เพื่อการนาไปปรับปรุง แก้ไขต่อไป
(รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์) บรรณาธิการ
สารบัญ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับแกนนาเด็ก และเยาวชนตาบลหลวงใต้ อาจารย์อนงค์รัตน์ รินแสงปิน
หน้า 1-24
การสร้างเสริมการทุ่มเทในการเรียนของนิสิตปริญญาตรีในวิชามนุษยสัมพันธ์ด้วยการ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ Clickere ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี วัฒฑกโกศล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณระพี สุทธิวรรณ
25-32
แรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง อาจารย์ ดร.อุมาภรณ์ สุขารมณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวิไล เรียงวัฒนสุข
33-39
ความยึดมั่นผูกพันในงาน : แนวคิดและการประยุกต์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรพินทร์ ชูชม
40-47
การแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับเด็กและเยาวชนไทย อาจารย์ ดร.นิรนาท แสนสา
48-64
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ : กรอบแนวคิดของการเผชิญปัญหา อาจารย์ผกาพรรณ บุญเต็ม
64-71
ปัญหาและการแก้ปัญหาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ
72-81
ก้าวทันปัญหาอารมณ์สองขั้ว ศาสตราจารย์ศรียา นิยมธรรม
82-87
คาแนะนาสาหรับผู้ส่งบทความวิชาการและบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
88-89
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
1
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้าง ทักษะชีวิตให้กบั แกนนาเด็กและเยาวชนตาบลหลวงใต้ Development of Providing Participatory Learning Activities to Enhance Life Skills for Children and Youth Leaders at Luang Tai Tambonin Lampang Province อนงค์รัตน์ รินแสงปิน1
บทคัดย่อ งานวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เ พื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่ วนร่วมเพื่อเสริมสร้าง ทักษะชีวิตให้กับแกนนาเด็กและเยาวชนและเพื่อ เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ทักษะชีวิตให้กับกลุ่ ม แกนนาเด็กและเยาวชนตาบลหลวงใต้ อาเภองาว จังหวัดลาปาง เป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุตั้งแต่ 10-18 ปีที่อยู่ในทะเบียนกลุ่ม เด็กและเยาวชน เทศบาลตาบลหลวงใต้ เลือกแบบเจาะจงตามระดับ อายุและความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม จานวน 30 คน ในจานวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านปงคก บ้าน น้าจา บ้านทุ่ง บ้านใหม่เจริญสุข บ้านน้าล้อม และบ้านทุ่งสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ คือ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ซึ่งมีผลประเมินกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 0.87 ตามเกณฑ์ที่ สามารถนากิจกรรมไปใช้ได้ 5 กิจกรรม แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัยสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนา กลุ่มแล้วนาผลการวิเคราะห์เชิงสถิติประกอบการบรรยาย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ การเสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้ทักษะชีวิตกลุ่มแกนนาเด็กและเยาวชนตาบลหลวงใต้ โดยประเมินผลการมีส่วน ร่วมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และติดตามผลจากการสัมภาษณ์ เด็กและเยาวชนต่อการอยู่ร่วมกับ ชุมชนอย่ างสร้างสรรค์และแนวทางการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะชีวิต ในด้าน ประสบการณ์ การสะท้อนความคิดเห็นและถกเถียง เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอดในเชิงบวก การ ลองผิดลองถูกในการสร้ างสั มพัน ธภาพกับบุคคลอื่น และประยุกต์ การเรียนรู้แก้ปัญหากับภาวะ ความเครียดจากกิจกรรม ซึ่งการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้จึงส่งผลให้ เด็กและเยาวชนเชื่อ มโยง ทักษะชีวิตให้สามารถพัฒนาตนเองกับชีวิตจริงอย่างมีคุณค่าและดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุขได้ ในระดับมากที่สุดจากค่าเฉลี่ย 4.62 คาสาคัญ: กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม, ทักษะชีวิต, แกนนาเด็กและเยาวชน ____________________________ 1 อาจารย์ประจาหมู่วิชาจิตวิทยาการและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
2
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
Abstract The purpose of this study is to develop the participatory learning activities and enhance life skills for children and youth leaders at Luang Tai Tambon Municipality in Lampang Province. The scope of the study is the 10-18 year-old children and youth leaders who live in Luang Tai Tambon. The selection is the purposive sampling by the age range and the voluntary of the total is 30 participants in 6 villages at Pong Kok, Baan Nam Jam, Baan Tung, Baan Mai Jalearn Suk, Baan Nam Lam and Baan Tung Sum. The instruments used include the average of the evaluation of the providing participatory learning activities from the 5 experts is 0.87. There are 5 activities. The satisfaction assessment on engaging in the activities. The researcher applied the techniques of participant observation, non-participant observation, informal interviews and focus group discussion, with statistical analysis summary. The results of this study are as follows: The strengthening of the life skills learning process of the children and youth leader in Luang Tai Sub District was evaluated through the learning activities participation and the children and youth interviewing about the cohabitation creatively with the community, the learning atmosphere that enhance the life skills related in the experiences, the reflections and the discussions, the positive understanding, the relationship building attempt with the other people, and the strain that occur from the learning to solve the problems. As the result, the strengthening of the life skills learning process enhances the children and the youth can link the life skills in order to develop their lives with the real life worthy. Furthermore, they can happily live in the community as the average 4.62 of this research. Keywords: Providing Participatory Learning Activities, Life Skills, Children and Youth Leaders การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ประเทศไทยจะต้องเผชิญ กับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็วและซับซ้อนมาก ยิ่งขึ้น เป็ นทั้งโอกาสและความเสี่ย งต่อการพัฒ นาประเทศโดยเฉพาะข้อผูกพันที่จะเป็นประชาคม อาเซียนในปี 2558 จึงจาเป็นต้องนาภูมิคุ้มกันที่มีอยู่พร้อมทั้งเร่งสร้ างภูมิคุ้มกันในประเทศให้เข้มแข็ง ขึ้นมาใช้ในการเตรียมความพร้อมให้แก่คนสังคมและระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสมสามารถพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าต่อไปเพื่อ ประโยชน์ สุ ขที่ยั่ งยื น ของสั งคมไทยตามปรั ช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง(ส านั กงานคณะกรรมการ พัฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ, 2555: 12) โดยมี การวางแผนพั ฒ นาคนทุ กช่ ว งทุ ก วั ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนซึ่งการพัฒนาเด็กและเยาวชนจึงสาคัญมากและเป็นกาลังสาคัญที่
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
3
เกี่ ย วโยงกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ สอดคล้ อ งกั บ กระแสพระราชด ารั ส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2547 ความว่า “เด็กและเยาวชนต้องมีความรู้การ ให้การศึกษาเป็นสิ่งสาคัญอีกทั้งผู้ใหญ่ต้องส่งเสริมให้กาลังใจและกระตุ้นเตือนให้เขาเห็นคุณค่าของ ตนเองพลังเยาวชนคนหนุ่มสาวเป็นพลังที่ได้เสริมสร้างกิจกรรมและเสียสละส่วนตนที่เป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาประเทศชาติมาแล้วในอดีตจากเหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์การเมืองไทย” จากข้อมูล วิกฤติการณ์ที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนไทยมีส าเหตุมาจากความอ่อนแอของ สถาบันครอบครัวสถาบันการศึกษาสถาบันศาสนาและชุมชนและอิทธิพลของสื่อสารมวลชนเป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันการศึกษาที่มุ่งเน้นการศึกษาแผนใหม่แยกตัวเด็กและเยาวชนออกจาก วิถีชีวิตส่ งผลให้เด็กและเยาวชนถูกสั งคมตาหนิว่าเป็นผู้ส ร้างปัญหาให้กับสั งคมมากที่สุ ดเด็กและ เยาวชนขาดโอกาสในการแสดงความคิดถูกปิดกั้นโอกาสต่างๆจากสัง คมขาดเวทีสาธารณะที่ให้จะ พัฒนาศักยภาพของตนเองทาให้เด็กและเยาวชนมีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่าและขาดความมั่นใจ ตนเองมีความเห็นแก่ตัวเพิ่มมากขึ้นขาดทักษะในการดารงชีวิตทาให้หยุดกระบวนการเรียนรู้ซึ่งส่งผล ต่อพฤติกรรมของเยาวชนในสังคมทุกวันนี้จะเห็นได้ว่ามีเด็กและเยาวชนไทยจานวนมากอยู่ในภาวะที่ ต้องได้รับการช่วยเหลือและสิ่งที่ควรตระหนักจากการอธิบายสรุปรวมยอดสาเหตุของปัญหาวิธีการ เดียวที่จะเข้าใจการกระทาผิดของเด็กและเยาวชนได้คือการศึกษาอย่างเป็นระบบมิใช่ การแก้ปัญหาที่ ปลายเหตุเพียงอย่างเดียวดังนั้นภารกิจของกระบวนการยุติ ธรรมในการพัฒนาบุคคลคือกลุ่มเด็กและ เยาวชนที่กระทาผิดซึ่งนับวันจะมีความรุนแรงซับซ้อนยากที่จะแก้ไขได้ด้วยการให้ความรู้และการสั่ง สอนในรู ป แบบการฝึ กอาชี พเพีย งอย่างเดีย วแนวทางหนึ่งที่ส ามารถบ าบัดได้คื อการปรั บเปลี่ ย น พฤติกรรมให้มีความสามารถในการจัดการหรือมีภูมิคุ้มกันต่อปัญหารอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันเช่น ปัญหาทางเพศยาเสพติดเอดส์อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนและสื่อมวลชนเป็นต้นหรือมีทักษะชีวิตต่อการ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขนั่นเอง การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมมีความจาเป็นอย่างยิ่งเช่นการ เข้าใจตนเองและผู้อื่นการยอมรับความแตกต่างของบุคคลการมีจริยธรรมและคุณธรรมการมีทักษะใน การสื่ อ สาร ความกล้ าแสดงออกในทางที่ ถู กต้ อ งการมี ทัก ษะในความคิ ดสร้ า งสรรค์แ ละมีค วาม รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่นเป็นต้นจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะทาให้เยาวชนเข้มแข็งขึ้นสามารถ พัฒนาปรับปรุงตนเองให้อยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและช่วยให้เยาวชนปรับเปลี่ยนตนเองให้ มีพฤติกรรมที่ดีได้ (WHO : World Health Organization,1994) การมีทักษะชีวิตช่วยพัฒนาและ เพิ่มพูนอานาจของบุคคลซึ่งช่วยให้เยาวชนสามารถรับผิดชอบตัวเองได้และเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ สร้างเกราะที่ดีในการปูองกันตนเองในภาวะวิกฤตทาให้เยาวชนสามารถเผชิญกับแรงกดดันและความ ท้าทายต่างๆจากกลุ่มเพื่อนครอบครัวและสังคมเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าเยาวชนจาเป็นต้องได้รับการ เสริมสร้างความเข้มแข็งเพื่อให้เผชิญหน้าได้กับความท้าทายหลาย ๆ รูปแบบและสามารถรับมือกับ ปัญหามากมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด , 2549: 56) สิ่งสาคัญของการเรียนรู้ที่จะปรับตัวทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีมีทัศนคติที่ดีต่อการทางาน เป็นทีมสอดคล้องกับ อนันต์ งามสะอาด (2556: ออนไลน์) ได้กล่าวว่าการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning: PL) สามารถเสริมสร้างให้กับเด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ Active Learning ด้วยการจัดกิจกรรมได้แก่ประสบการณ์ (Experience) การสะท้อนความคิด (Reflection)
4
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ความคิดรวบยอด (Concept) และการประยุกต์ใช้ (Application) ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ให้มีส่ว นร่วม ทางด้านจิตใจ ได้รับประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง แสวงหาความรู้ การคิด การจัดการความรู้ และการแสดงออกการสร้างความรู้ใหม่และการทางานร่วมกัน ด้วยเหตุนี้ทักษะชีวิตเป็นยุทธศาสตร์ที่ สามารถนามาใช้เป็นเครื่องมือให้เยาวชนเกิดอาวุธทางปัญญาสามารถที่จะต่อสู้แก้ ไขปัญหาต่างๆใน ชีวิตประจาวันด้วยตนเองได้ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและสร้างภูมิคุ้มกันของสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม นโยบายส าคั ญ ของจั ง หวั ด ล าปางมี ก ารส่ ง เสริ ม เด็ ก และเยาวชนตามแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด ล าปาง พ.ศ.2557-2560 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและ สังคมลาปางให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถดารงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีโครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับเด็กและ เยาวชน ซึ่งมีแนวทางในการดาเนินงาน ได้แก่การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมและ ตระหนักถึงความสาคัญของการมีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมและจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ความ เข้ า ใจและละลายพฤติ ก รรม (คณะกรรมการบริ ห ารงานจั ง หวั ด แบบบู ร ณาการจั ง หวั ด ล าปาง สานักงานจังหวัดลาปาง, 2556: 17) จากข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับประเด็นต่างๆ ของอาเภองาว จากการลงพื้นที่ของโครงการร่วมมือทางวิชาการ “หนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัด ” ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏลาปาง ซึ่งเป็นงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ได้รับความร่วมมือจาก เทศบาลตาบลหลวงใต้ เป็ น หนึ่ งในพื้ น ที่การบริ การวิช าการของมหาวิทยาลั ยราชภัฏ ล าปางแบ่ ง การปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน 1,999 ครัวเรือน จากการลงพื้นที่ภายใต้โครงการ “พี่เลี้ยงน้อง” มี แนวทางเพื่อสร้างนักวิจัยรับใช้สังคมและพัฒนาพื้นที่เปูาหมาย ซึ่งผู้บริหารของเทศบางตาบลหลวงใต้ และชุ ม ชน มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาพื้ น ที่ เ ป็ น อย่ า งมากแต่ ข าดองค์ ค วามรู้ ท างวิ ช าการใน การขับเคลื่อนกระบวนการที่เหมาะสม จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปางในการส่งเสริมพื้นที่ ด้วยองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนด้วยการบริการวิชาการและการวิจัย ให้สามารถดาเนินการ ตามกรอบการสนับสนุนความต้องการของชุมชนด้านการศึกษาในขอบเขตการใช้เวลาว่างของนักเรียน เพื่อแก้ปัญหาการติดเกมส์และยาเสพติด ด้วยการจัดเวทีเสวนาแนวทางการปูองกัน การแก้ปัญหาและ ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาจากกิจกรรมการเปิดโอกาสให้ชุมชนถ่ายทอดข้อมูลแบบมีส่วนร่วม ดังนั้นการสร้ างกระบวนการเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติร่วมกับคณะผู้วิจัย ซึ่งแนวทางต่างๆ ต้องอาศัยกระบวนการชุมชนที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทชุมชนเชื่อมโยงไปสู่การจัดการในระดับ ตาบล ก่อให้เกิดกิจกรรมทักษะชีวิตจากชุมชนของตาบลหลวงใต้ที่ประกอบด้วยสิ่งที่ชุมชนสามารถ ร่ว มปู องกันและแก้ไขปัญหาได้เองโดยจากความร่วมมือ สนับสนุนที่ชุมชนช่วยกันคิด ช่วยกันทา นาไปสู่การปฏิบัติให้ได้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจให้กับเยาวชนสามารถนาแนวทางการ ดาเนิ น ชีวิตในสั งคม คือการเสริ มสร้ างทักษะชีวิต เนื่องจากทักษะชีวิตเป็นความสามารถในการ ปรับตัวเพื่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ทาให้บุคคลสามารถจัดการกับความต้องการ ของตนเองและสิ่งที่ท้าทายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม (World Health Organization, 1997: 46) ในแนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเยาวชนมีความ เข้มแข็งทั้ง ด้านร่ างกายและจิ ตใจ ตลอดจนการพัฒ นาด้านทักษะชีวิตแกนนาเยาวชนได้รับการ เสริ มสร้ างและการพัฒ นาอาจน าไปสู่ พฤติกรรมแบบอย่างที่เหมาะสม ส่ งผลให้ ชุมชนลดปัญหา
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
5
เกี่ยวกับติดยาเสพติด ติดเกมจนส่งผลต่อทั้งร่างกายและจิตใจ การศึกษาเรียนรู้ในโรงเรียนมีคุณภาพ จนกระทั่งสถาบันครอบครัวมีความสุข จากข้อมูล ดังกล่ าวผู้ วิจัย จึงมีความสนใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่ว นร่ว มเพื่อ เสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับแกนนาเด็กและเยาวชนเพื่อให้แกนนาเด็กและเยาวชนในตาบลหลวงใต้ อ าเภองาว จั ง หวั ด ล าปาง ได้ เ สริ ม สร้ า งทั ก ษะชี วิ ต หรื อ พฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ใ นสั ง คม ด้ ว ย กระบวนการทางจิตวิทยาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม ด้วยกระบวนการสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง กระบวนการการเรียนรู้ร่วมกัน และกระบวนการชุมชนในการทากิจกรรมโครงการพัฒนาร่วมกัน เป็น การพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการปูองกันปัญหาในชุมชน ส่งผลทาให้เกิดพลัง อัน เป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึงความเข้มแข็งของชุมชนใน การพัฒนาทักษะชีวิตให้กับเด็กและเยาวชนต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมกับแกนนาเด็กและเยาวชน 2. เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ทักษะชีวิตแกนนาเด็กและเยาวชนในตาบลหลวงใต้ นิยามศัพท์เฉพาะ กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม หมายถึง การเริ่มเข้าร่วมกิจกรรมของแกนนาเด็กและ เยาวชนที่มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการดาเนินงานพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะชีวิต สามารถฝึกทักษะชีวิตในการสร้างศักยภาพการเป็นแกนนาเด็กและเยาวชน ถ่ายทอด ความรู้ ประเมินผลและสะท้อนคิดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะชีวิตของตนเองและผู้อื่น ทัก ษะชีวิ ต หมายถึ ง ความสามารถของบุค คลในการปรับ ตัว ต่อ สิ่ ง แวดล้ อมต่า งๆ ที่ มี ผลกระทบ โดยการใช้ความสามารถที่มีอยู่ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงความรู้สึกนึกคิด และความต้องการ ของตนเองให้ ส ามารถแสดงพฤติ กรรมได้อ ย่า งเหมาะสม ซึ่งยึ ด แนวทางของ World Health Organization (WHO). (1994: 24). องค์การอนามัยโลกได้จัดองค์ประกอบทักษะชีวิต ได้แก่ ด้าน พุทธิพิสัยให้มีความคิดสร้างสรรค์และความคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านจิตพิสัยให้มีความตระหนักใน ตนและความเห็นใจผู้อื่นด้านทักษะพิสัยให้มีการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อ สารการตัดสินใจและ การแก้ไขปัญหาการจัดการกับอารมณ์และความเครียด แกนนาเด็กและเยาวชน หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 12-18 ปี ที่อยู่ในทะเบียนกลุ่มเด็ก และเยาวชน เทศบาลตาบลหลวงใต้ อาเภองาว จังหวัดลาปาง จานวน 30 คน ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. ทาให้ชุมชนและองค์กรของชุมชนได้เห็นและเข้าใจกระบวนการ ความสาคัญของการ วางแผนชีวิตชุมชน และเปูาหมายการพึ่งตนเอง 2. ทาให้องค์การบริหารส่วนตาบลมีส่วนร่วมกับชุมชน และสามารถนาไปปฏิบัติตามแผนและ โครงการซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาเชื่อมโยงการเรียนรู้ในด้านอื่น ๆ ของชุมชน 3. ทาให้นักวิจัยและนักศึกษานาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ชุมชนกับการเรียน การสอนอันสอดคล้องกับภารกิจของสถาบันระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
6
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
4. เป็นแนวทางการพัฒนาบุคคลในชุมชนให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาของ ตนเองและชุมชนต่อไป 5. ได้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมกับชุมชนในการปูองกัน ส่งเสริม และแก้ปัญหา ให้กับเด็กและเยาวชนในชุมชนมีทักษะชีวิตในการดาเนินชีวิตอย่างปกติสุข เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) หลักการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (participatory learning : PL) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2544: 8 - 21) ได้ให้หลักการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมมี พัฒนาการจากการที่นักปรัชญาการศึกษา Deweyian ได้เริ่มใช้วิธีการเรียนรู้จากการกระทา (learning by doing) ซึ่งเป็นพื้นฐานการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ดึงความสามารถของผู้เรียนออกมาในรูปของ การเรียนรู้ ที่เรียกว่า active learning ผู้เรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนมากขึ้น ผู้สอน กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหามากขึ้น และยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมในการเรียนการ สอน ในเวลาต่อมาจึงพัฒนาเป็นรูปแบบการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหา (problem solving) การเรียนรู้ โดยร่วมมือกัน (cooperative learning) เช่น รูปแบบการสอนที่เรียกว่า problem based solving (PBL) ในทศวรรษที่ 80 ได้มีการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (learning process) รูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (experiential learning) ซึ่ง Kolb (1984 อ้างถึงใน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2544: 8) ได้เสนอว่า ประสบการณ์เป็นแหล่งของการเรียนรู้และพัฒนา Kolb’s model เป็ นวงจรของการเรียนรู้ ที่การได้รับความรู้ ทัศนคติ และทักษะจะอยู่ในกระบวนการ 4 องค์ ป ระกอบของการเรี ย นรู้ เ ชิ ง ประสบการณ์ ได้ แ ก่ ประสบการณ์ เ ชิ ง รู ป ธรรม ( concrete experience) การสังเกตอย่างไตร่ตรอง (reflective observation) มโนทัศน์เชิงนามธรรม (abstract conceptualization) และการทดลองปฏิบัติ (active experimentation) Kolb (1984 อ้างถึงในกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2544: 14 -16) ได้กล่าวถึง วงจรการ เรียนรู้เชิงประสบการณ์ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 องค์ประกอบการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ผู้เรียนควรมีทักษะการเรียนรู้ ทั้ง 4 องค์ประกอบ แม้บางคนจะชอบ/ถนัด หรือ มีบางองค์ประกอบมากกว่า เช่น เคยมีประสบการณ์จริง แต่ถ้าไม่ชอบแสดงความคิดเห็นหรือไม่นาประสบการณ์มาร่วมอภิปราย ผู้เรียน นั้นจะขาดการมีทักษะในองค์ประกอบอื่น ฉะนั้น ผู้เรียนควรมีทิศทางการเรียนรู้ทุกด้าน และควรมีพัฒนาการ เรียนรู้ให้ครบทั้งวงจร หรือทั้ง 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. ประสบการณ์ (experience) ในการฝึกอบรมเนื้อหาที่ใช้ในการให้ความรู้ หรือนาไปสู่ การสอนทักษะต่างๆส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องที่ผู้เรียนมีประสบการณ์มาก่อนแล้ว เช่น ฝึกอบรมเกี่ยวกับ การประเมินโครงการให้แก่นักวิชาการ จะเห็นได้ว่าผู้เรียน คือ นักวิชาการ จะมีประสบการณ์เกี่ยวกับ การประเมินในกิจกรรมอื่นๆมาก่อน ซึ่งนามาใช้ในการอบรมครั้งนี้ได้ องค์ประกอบที่เป็นประสบการณ์ นี้ ผู้สอนจะพยายามกระตุ้นให้ผู้เรียนซึ่งมีประสบการณ์ดังที่กล่าวแล้ว ได้ดึงประสบการณ์ของตัวเอง ออกมาใช้ในการเรี ย นรู้ และสามารถแบ่งปันประสบการณ์ของตนเองที่มีให้แก่เพื่อนๆที่อาจมี ประสบการณ์ที่เหมือน หรือต่างไปจากตนเองได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับการใช้กระบวนการกลุ่มของผู้สอน การที่
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
7
ผู้สอนพยายามให้ผู้เรียนได้ดึงประสบการณ์มาใช้ในการอบรมจะทาให้เกิดประโยชน์ทั้งผู้สอนและ ผู้เรียน ดังนี้ 1.1 ผู้เรียน การที่ผู้เรียนได้ดึงประสบการณ์ของตัวเองออกมานาเสนอร่วมกับเพื่อนๆ จะ ทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่าตัวเองได้มีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง มีความสาคัญที่มีคนฟังเรื่องราวของ ตนเอง และได้มีโอกาสรับรู้เรื่องของคนอื่นซึ่งจะทาให้มีความรู้เพิ่มขึ้น ทาให้สัมพันธภาพในกลุ่มผู้เรียน เป็นไปด้วยดี 1.2 ผู้สอน ไม่ต้องเสียเวลาในการอธิบาย หรือยกตัวอย่างให้ผู้เรียนฟัง เพียงแต่ใช้เวลา เล็กน้อยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เล่าประสบการณ์ของตนเอง ผู้สอนอาจใช้ใบชี้แจงกาหนดกิจกรรมของ ผู้เรียนในการนาเสนอประสบการณ์ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่มีประสบการณ์ในเรื่องที่จะสอนหรือมีน้อย ผู้สอนอาจจะยกกรณีตัวอย่าง หรือสถานการณ์ก็ได้ 2. การสะท้อน และอภิปราย (reflection and discussion) เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ ผู้เรียนจะได้แสดงความคิดเห็น และความรู้สึกของตนเองแลกเปลี่ยนกับสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งผู้สอนจะ เป็นผู้กาหนดประเด็นการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ถึงความคิด ความรู้สึกของคนอื่นที่ต่าง ไปจากตนเองจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่กว้างขวางขึ้น และผลของการสะท้อนความคิดเห็น หรือการ อภิปรายจะทาให้ได้ข้อสรุปที่หลากหลาย หรือมีน้าหนักมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ขณะทากลุ่มผู้เรียนจะได้ เรียนรู้ถึงการทางานเป็นทีม บทบาทของสมาชิกที่ดีที่จะทาให้งานสาเร็จ การควบคุมตนเอง และการ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น องค์ประกอบนี้ จะช่วยทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาทั้งด้านความรู้ และเจตคติ ในเรื่องที่อภิปราย การที่ผู้เรียนจะอภิปราย หรือแสดงความคิดเห็นได้มากน้อยแค่ไหน เป็นไปตาม เนื้อหาที่จะสอนหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับใบงานที่ผู้สอนจัดเตรียม ซึ่งประกอบไปด้วยประเด็นอภิปราย หรือตารางการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้เรียนทาได้สาเร็จ 3. ความคิดรวบยอด (concept) เป็นองค์ประกอบที่ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา หรือเป็นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (knowledge) เกิดได้หลายทาง เช่น จากการบรรยายของผู้สอน การมอบหมายงานให้อ่านจากเอกสาร ตารา หรือได้จากการสะท้อนความคิดเห็น และอภิปรายใน องค์ประกอบที่ 2 โดยผู้สอนอาจจะสรุปความคิดรวบยอดให้จากการอภิปราย และการนาเสนอของ ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ผู้เรียนจะเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด ซึ่งความคิดรวบยอดนี้จะส่งผลไปถึงการ เปลี่ยนแปลงเจตคติ หรือความเข้าใจในเนื้อหาขั้นตอนของการฝึกทักษะต่างๆ ที่ช่วยทาให้ผู้เรียน ปฏิบัติได้ง่ายขึ้น 4. การทดลอง/การประยุกต์แนวคิด (experimentation / application) เป็นองค์ประกอบที่ ผู้เรียนได้ทดลองใช้ความคิดรวบยอดหรือผลิตขั้นความคิดรวบยอดในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนา สร้างคาขวัญ ทาแผนภูมิ เล่นบทบาทสมมุติ ฯลฯ หรือเป็นการแสดงถึงผลของความสาเร็จของการเรียนรู้ ในองค์ประกอบที่ 1 ถึง 3 ผู้สอนสามารถใช้กิจกรรมในองค์ประกอบนี้ ในการประเมินผลการเรียนการ สอนได้ เช่น ถ้าวัตถุประสงค์ของการอบรม ตั้งไว้ว่าให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวางแผนประเมิน โครงการได้ กิจกรรมในการเรียนรู้ขององค์ประกอบนี้ ผู้สอนต้องเตรียมใบงานให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ ทดลองทาแผนการประเมินโครงการ ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมจะต้องนาความรู้เกี่ยวกับการประเมินโครงการ จากการเรียนรู้ในองค์ประกอบความคิดรวบยอดมาใช้การเรียนการสอน หรือการอบรมส่วนใหญ่ มักจะ ขาดองค์ประกอบการทดลอง/ประยุกต์แนวคิด ซึ่งถ้าพิจารณาให้ดีจะเห็นได้ว่า เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ
8
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ที่ผู้สอนจะได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รู้จักการประยุกต์ใช้ความรู้ ไม่ใช่เรียนแค่รู้ แต่ควรนาไปใช้ได้จริงใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือการอบรมแบบมีส่วนร่วม จาเป็นต้องจัดกิจกรรมให้ครบทั้ง 4 องค์ประกอบ องค์ประกอบทั้ง 4 มีความสัมพันธ์เป็นไปอย่างมีพลวัต (dynamic) เกี่ยวข้องมีผลถึงกัน ผู้สอนจะเริ่มจากจุดใดก่อนก็ได้ ส่วนใหญ่จะเริ่มจากประสบการณ์ (experience) หรือความคิดรวบยอด (concept) ซึ่งทั้ง 2 องค์ประกอบจะช่วยให้ผู้เรียนได้ดึงข้อมูลเก่าหรือรับข้อมูลใหม่บางส่วนก่อนเพื่อ นาไปสู่การอภิปราย และการประยุกต์ใช้ ระยะเวลาแต่ละองค์ประกอบ ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน ผู้สอนจัดได้ ตามความเหมาะสมของกิจกรรมในแต่ละองค์ประกอบ เช่น ถ้าเนื้อหาที่สาคัญมากก็อาจใช้เวลามาก หรือ ถ้าผู้สอนมีประเด็นในการอภิปรายที่สาคัญและมาก อาจใช้เวลาในการอภิปรายมากกว่าส่วนของ องค์ประกอบความคิดรวบยอด สรุปได้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเป็นรูปแบบการการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพใน การพัฒนาบุคคลทั้งด้านความรู้ ทัศนคติ และทักษะได้ดีที่สุด ผ่านการสังเคราะห์โครงสร้างพื้นฐาน ของการเรี ย นรู้ แ บบมี ส่ ว นร่ ว มที่ ป ระกอบด้ ว ยวงจรการเรี ย นรู้ เ ชิ ง ประสบการณ์ ผ สมผสานกั บ กระบวนการกลุ่ม (group process) เพราะทุกคนมีประสบการณ์จึงสามารถทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด หรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และช่วยกันทาในสิ่งที่ยาก หรือไม่เคยทามาก่อนด้วยความมั่นใจ โดยเฉพาะการฝึกอบรมที่อาจมีข้อจากัดในด้านเวลา การกาหนดบทบาทของสมาชิกในกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การกาหนดบทบาท ในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มให้แก่สมาชิกในแต่ละกิจกรรม เพื่อให้สมาชิก ได้แสดงบทบาทของตนเองตามบทบาทที่ได้รับมอบหมาย และสมาชิกสามารถสับเปลี่ยนบทบาทกันได้ เพื่อให้สมาชิกทุกคนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ในทุกบทบาท ดังนี้ (กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข, 2544 : 21) 1. กาหนดบทบาทในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มให้แก่สมาชิก เพื่อให้สมาชิกได้แสดงบทบาท ของตนเองตามบทบาทที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ 1.1 ผู้ดาเนินรายการ (moderator) เป็นผู้นาในการสื่อสาร เปิดประเด็นในการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์ความรู้ของสมาชิก ตลอดจนเป็นผู้สรุ ปประเด็น ไกล่เกลี่ย เมื่อมีความแตกแยกในความคิด 1.2 ผู้อานวยความสะดวก (facilitator) เป็นผู้สนับสนุนการเรียนแบบร่วมมือของสมาชิก ในกลุ่ม นัดหมายเวลาในการทางานร่วมกันของสมาชิก จัดหาเทคนิค วิธีการ และเทคโนโลยีที่เอื้อต่อ การสื่อสารของสมาชิก และยังเป็นผู้มีหน้าที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ความรู้ของตนเอง ต่อประเด็นดังกล่าวด้วย 1.3 ผู้บันทึก (note taker) เป็นผู้ดาเนินการบันทึกประเด็นสาคัญที่ได้จากการสนทนา อภิปราย หรือการประชุมของสมาชิก และยังเป็นผู้มีหน้าที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ความรู้ของตนเองต่อประเด็นดังกล่าวด้วย 1.4 สมาชิก (member) เป็นผู้มีหน้าที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ความรู้ ของตนเองต่อประเด็นดังกล่าว
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
9
2. สมาชิกทุกคนปฏิบัติตามกติกาในการร่วมกิจกรรมการแบ่งปันความรู้ด้วยวิธีการเรียน แบบร่วมมือ ได้แก่ สมาชิกทุกคนต้องกระตุ้นให้ทุกคนตระหนักและช่วยสร้างสานึกของการมีส่วนร่วม การยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง การเห็นความสาคัญของความหลากหลาย และยอมรับว่าทุกคน ต่างมีความคิด มีศักยภาพและความสาคัญที่เท่าเทียมกัน 3. ให้สมาชิกมีอิสระในการกาหนดขั้นตอน และระยะเวลาในแต่ละครั้งของการเข้าร่วม กิจกรรมกลุ่มของตนเอง สมาชิกสามารถเข้าร่วมกิจกรรมในวันและเวลาใดก็ได้ตามที่สมาชิกส่วนใหญ่ ของกลุ่มสะดวก ทั้งนี้จะต้องบรรลุผลสาเร็จตามใบงานที่มอบหมายให้ทาเป็นผลงานของกลุ่ม และ ส่งผลงานภายในช่วงเวลาที่กาหนดไว้ 4. ให้สมาชิกมีการแบ่งปันความรู้ด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือด้วยการใช้เทคโนโลยีในการ แบ่งปันความรู้ต่างๆ ได้แก่ การใช้โปรแกรมสนทนา (chat) การร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านกระดาน สนทนา (webboard) และการส่งข้อมูลผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e - mail) ฯลฯ 5. ให้สมาชิกสรุปผลงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานเป็นผลงานกลุ่ม และจัดส่งสรุปผลงาน กลุ่มแก่ผู้ดาเนินรายการหลัก จากการกาหนดบทบาทสมาชิกในกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม สรุปได้ว่าเป็นสมาชิกทุก คนได้มีการเรียนรู้ในเชิงประสบการณ์และการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม โดยการนาประสบการณ์ ของตนเองที่ติดตัวออกมาใช้ในการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทาให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ จากเพื่อนในกลุ่มเพิ่มมากขึ้น และช่วยกัน ทางานให้บรรลุผลสาเร็จได้ด้วยดี สมาชิกได้มีส่วนร่วมที่เน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมในการลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองร่วมกับผู้อื่น แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้นา แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 (คณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ,2554: 26-29) ได้ให้หลักการคานึงถึงประโยชน์สูงสุด ทั้งในด้านการ จัดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนา การยอมรับ การคุ้มครองและโอกาสในการมีส่วนร่วมในการ แสดงออกทั้งโดยส่ว นบุคคลและเป็นหมู่คณะในรูปแบบสภาเด็กและเยาวชนในระดับอาเภอ ระดับ จังหวัดและระดับประเทศโดยการสนับสนุนจากทุกภาคส่ วน ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับเด็ก และเยาวชนตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้ 1. ให้เด็กและเยาวชนมีความผูกพันต่อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตย สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัยและรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น รวมทั้งกฎเกณ ฑ์ และกติกาในสังคม 2. ให้มีสุขภาพและพลานามัยแข็งแรง รู้จักปูองกันตนเองจากโรคและสิ่งเสพติด 3. ให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ตามสมควรแก่วัย จริยธรรมและคุณธรรม 4. ให้มีทักษะและเจตคติที่ดีต่อการทางาน มีศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจในการทางานสุจริต 5. ให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและมุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
10
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
6. ให้รู้จักช่วยเหลือผู้อื่นโดยมีจิตสานึกในการให้และการอาสาสมัคร รวมทั้งมีส่วนร่วมใน การพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ 7. ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อส่วนร่วมตามสมควรแก่วัย แนวคิดเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนผู้นา แนวคิดเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนเป็นผู้ที่มีพัฒนาการที่สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้นาตามวัย ด้วยกระบวนการเรียนรการเป็นผู้นา หากมีการส่งเสริมอย่างเหมาะสมสามารถถ่ายทอดการเรียนรู้ได้ ได้มีจิตวิทยาให้แนวทางพัฒนาการเป็นผู้นาหลากหลายลักษณะ ได้แก่ (ธวัช บุณยมณี, 2550: 31-34) Kurt Lewin’s Studies แบ่งลักษณะผู้นาเป็น 3 แบบ คือ 1. ผู้นาแบบอัตถนิยมหรืออัตตา (Autocratic Leaders) จะตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่มีเปูาหมาย หรือวัตถุประสงค์แน่นอนขึ้นอยู่กับตัวผู้นาเอง คิดถึงผลงานไม่คิดถึงคน บางครั้งทาให้เกิดศัตรูได้ ผู้นา ลักษณะนี้จะใช้ได้ดีในช่วงภาวะวิกฤตเท่านั้น ผลของการมีผู้นาลักษณะนี้จะทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่มี ความเชื่อมั่นในตัวเอง และไม่เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. ผู้นาแบบประชาธิปไตย (Democratic Leaders) ใช้การตัดสินใจของกลุ่มหรือให้ผู้ตามมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจ รับฟังความคิดเห็นส่วนรวม ทางานเป็นทีม มีการสื่อสารแบบ 2 ทาง ทาให้เพิ่มผลผลิต และความพึงพอใจในการทางาน บางครั้งการอิงกลุ่มทาให้ใช้เวลานานในการตัดสินใจ ระยะเวลาที่เร่งด่วน ผู้นาลักษณะนี้ไม่เกิดผลดี 3. ผู้นาแบบตามสบายหรือเสรีนิยม (Laissez- Faire Leaders) ให้อิสระกับผู้ใต้บังคับบัญชา เต็มที่ในการตัดสินใจแก้ปัญหาจะไม่มีการกาหนดเปูาหมายที่แน่นอน ไม่มีหลักเกณฑ์ ไม่มีระเบียบทาให้ เกิดความคับข้องใจหรือความไม่พอใจของผู้ร่วมงานได้และได้ผลผลิตต่า การทางานของผู้นาลักษณะนี้เป็น การกระจายงานไปที่กลุ่ม ถ้ากลุ่มมีความรับผิดชอบและมีแรงจูงใจในการทางานสูง สามารถควบคุมกลุ่มได้ ดีมีผลงานและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ William Ouchi เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์และความดีอยู่ในตัว ควรเปิดโอกาสให้ ผู้ปฏิบั ติงานได้มีส่ วนร่วมในการพัฒนางานและมีการกระจายอานาจไปสู่ส่วนล่าง (Decentralization) และพัฒนาถึงคุณภาพชีวิต ผู้นาเป็นเพียงผู้ที่คอยช่วยประสานงาน ร่วมคิดพัฒนาและใช้ทักษะในการอยู่ ร่วมกัน Hersey and Blanchand ได้ยึดหลักการแบบภาวะผู้นาอาจมีประสิทธิผลหรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่ กับสถานการณ์ องค์ประกอบของภาวะผู้นาตามสถานการณ์ตามทฤษฎีของเฮอร์เซย์และบลันชาร์ด ประกอบด้วย ปริมาณการออกคาสั่ง คาแนะนาต่างๆหรือพฤติกรรมด้านงาน ปริมาณการสนับสนุน ทางอารมณ์ สังคม หรือพฤติกรรมด้านมนุษยสัมพันธ์ และความพร้อมของผู้ตามหรือกลุ่มผู้ตาม แบ่ง ภาวะผู้นาออกเป็น 4 แบบ คือ 1. ผู้นาแบบบอกทุกอย่าง (Telling) ผู้นาประเภทนี้จะให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิดและดูแล ลูกน้องอย่างใกล้ชิด เหมาะสมกับผู้ตามที่มีความพร้อมอยู่ในระดับที่ 1 คือ (M1) บุคคลมีความพร้อม อยู่ในระดับต่า 2. ผู้นาแบบขายความคิด (Selling) ผู้นาประเภทนี้จะคอยชี้แนะบ้างว่าผู้ตามขาดความสามารถ ในการทางาน แต่ถ้าผู้ตามได้รับการสนับสนุนให้ทาพฤติกรรมนั้นดดยการให้รางวัลก็จะทาให้เกิดความเต็ม
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
11
ใจที่จะรับผิดชอบงาและกระตือรือร้นที่จะทางานมากขึ้น ผู้บริหารจะใช้วิธีการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง และต้องคอยสั่งงานโดยตรง อธิบายให้ผู้ตามเข้าใจ จะทาให้ผู้ตามเข้าใจและตัดสินใจในการทางานได้ดี เหมาะกับผู้ตามที่มีความพร้อมในการทางานอยู่ในระดับที่ 2 คือ (M2) บุคคลมีความพร้อมอยู่ในระดับต่า ถึงปานกลาง 3. ผู้นาแบบเน้นการทางานแบบมีส่วนร่วม (Participation) ผู้นาประเภทนี้จะคอยอานวย ความสะดวกต่างๆในการตัดสินใจ มีการซักถาม มีการติดต่อสื่อสาร 2 ทางหรือรับฟังเรื่องราว ปัญหา ต่างๆจากผู้ตาม คอยให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆทั้งทางตรงและทางอ้อม ทาให้ผู้ตามปฏิบัติงานได้ เต็มความรู้ความสามารถและมีประสิทธิภาพ เหมาะกับผู้ตามที่มีความพร้อมอยู่ ในระดับ 3 (M3) คือ ความพร้อมของผู้ตามอยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง ซึ่งเป็นบุคคลที่มีความสามารถแต่ไม่เต็มใจที่จะ รับผิดชอบงาน 4. ผู้นาแบบมอบหมายงานให้ทา (Delegation) ผู้บริหารเพียงให้คาแนะนาและช่วยเหลือ เล็ ก ๆน้ อ ยๆ ผู้ ต ามคิดและตัดสิ น ใจเองทุ กอย่ าง เพราะถือ ว่าผู้ ตามที่มี ความพร้อ มในการทางาน ระดับสูงสามารถทางานให้มีประสิทธิภาพได้ดี เหมาะกับผู้ตามที่มีความพร้อมอยู่ในระดับ 4 (M4) คือ ความพร้อมอยู่ในระดับสูง ซึ่งเป็นบุคคลที่มีทั้งความสามารถและเต็มใจหรือมั่นใจในการรับผิดชอบการ ทางาน จากแนวคิดลักษณะผู้นาที่สามารถส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้สามารถถ่ายทอดและขยายผลสู่ชุมชนและกลุ่มชุมชนอื่นตามลักษณะของ เด็กและเยาวชนในแต่ละแบบขึ้นอยู่กับการสร้างบรรยากาศที่แตกต่างกัน ซึ่งการเลือกใช้ลักษณะผู้นาแบบ ใดย่อมขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์ด้วย และสิ่งสาคัญความสามารถด้านอิทธิพลต่อบุคคลใน กลุ่มเพื่อนาไปสู่ความสาเร็ จตามเปูาหมาย ใช้กระบวนการที่มีอิทธิพลต่อผู้อื่น การมีปฎิสัมพันธ์ โดย ถ่ายทอดแนวคิดไปสู่การปฏิบัติ ดังนั้นอาจกล่าว ได้ว่าความเป็นผู้นาของเด็กและเยาวชนนั้นมีปฎิสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่องและพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนต่อไปได้ แนวคิดเกี่ยวกับทักษะชีวิต ความหมายของทักษะชีวิต ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความชานิชานาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งบุคคล สามารถสร้างขึ้นได้จากการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทางานร่วมกับผู้อื่น การอ่าน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร์ ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็น ทักษะภายนอกที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากการกระทาหรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกล่าวนั้น เป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตที่จะทาให้ผู้มีทักษะเหล่านั้น มีชีวิตที่ดี สามารถดารงชีพอยู่ใน สังคมได้โดยมีโอกาสที่ดีกว่าผู้ไม่มีทักษะ ซึ่งทักษะดังกล่าว เรียกว่า ทักษะการดารงชีวิต หรือทักษะ การดารงชีพ หรือทักษะชีวิต (Life skill) (องค์การอนามัยโลก, 1994: 34) องค์การอนามัยโลก (1994: 34) ให้ความหมายของทักษะชีวิตว่าเป็นความสามารถในการ ปรับ ตัว และมีพฤติกรรมไปในทิศทางที่ถูกต้องในการที่จะเผชิญกับสิ่ งท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจาวัน ได้อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถของบุคคลด้านสั งคมและจิตวิทยา (Psychosocial Competence) เป็นความสามารถของบุคคลในการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพกับ
12
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ความต้องการและสิ่งท้าทายต่างๆ ในชีวิตประจาวัน สามารถที่จะรักษาสภาพจิตใจที่สมบูรณ์ รู้จัก แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น หรือในสภาพแวดล้อมต่างๆ ของวัฒนธรรมนั้นๆ กรมสุขภาพจิต (2542: 17) ได้กล่าวถึงทักษะชีวิต ว่าเป็นความสามรถทางด้านสังคมความคิด อ่าน ความพยายามเพิ่มพูนปฏิสัมพันธ์ของตนกับผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ให้ประสบผลสาเร็จ ให้ สามารถแก้ปัญหาในสถานการณ์วิกฤติที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ตลอดจนเป็นความสามารถที่ จะส่งเสริมสุขภาพของบุคคลและชุมชนด้วย กรมอนามัย (2539) ได้ให้ความหมายของทักษะชีวิตว่า เป็นความสามารถอันประกอบด้วย ความรู้ เจตคติ และทักษะในอันที่จะจัดการกับปัญหารอบ ๆ ตัวในสภาพสังคมปัจจุบัน และ เตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ดังนั้น ทักษะชีวิต หรือ Life skill จึงหมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา ที่เป็นทักษะภายในที่จะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ เอดส์ ยาเสพติด ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข หรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญใน ชีวิตประจาวัน เพื่อให้อยู่รอดปลอดภัย และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข องค์ประกอบของทักษะชีวิต World Health Organization (WHO). (1994: 35) องค์การอนามัยโลก ได้จัดองค์ประกอบ ทักษะชีวิตออกเป็น 5 คู่ดังนี้ ด้านพุทธิพิสัย ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์และความคิดอย่างมีวิจารณญาณ ด้านจิตพิสัย ได้แก่ ความตระหนักในตนและความเห็นใจผู้อื่น ด้านทักษะพิสัย มี 3 คู่ ได้แก่ การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสาร การตัดสินใจและการ แก้ไขปัญหา การจัดการกับอารมณ์และความเครียด ประเทศไทยมีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของทักษะชีวิต โดยจัดให้ความคิดสร้างสรรค์ และ ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งเป็นองค์ประกอบด้านพุทธิพิสัย เป็นองค์ประกอบร่วมและเป็นพื้นฐาน ของทุกองค์ประกอบ ส่วนองค์ประกอบด้านทักษะพิสัย คือ การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสาร การ ตัดสินใจและการแก้ไขปัญหา รวมทั้งการจัดการกับอารมณ์และความเครียด ส่วนองค์ประกอบด้านจิต พิสัย คือ ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นนอกจากนี้ยังเพิ่มเจตคติอีก 1 คู่ คือ ความ ภาคภูมิใจในตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่ง กาลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านวิกฤต เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการเรียนรู้ในทักษะเหล่านี้ประกอบด้วย 1. ทักษะความตระหนักรู้ในตน (Self Awareness) เรียนรู้เกี่ยวกับตนเองด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง รู้จุดเด่น จุดด้อย และความสามารถพิเศษของ ตน มีสติและรู้ตัวทุกเมื่อว่ากาลังทาอะไร 2. ทักษะความภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) เป็นความคาดหวังและศักยภาพที่อยากจะมี อนาคต มีความมั่นใจในตนเอง ความเข้มแข็งที่จะทางานได้สาเร็จ มีความพึงพอใจในตนเองมีความ มั่นใจว่าสามารถเป็นแบบอย่าง
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
13
3. ทักษะความเห็นใจผู้อื่น (Empathy) เป็นความเข้าใจและเห็นใจในสภาพหรือความต้องการ ความจาเป็นของบุคคลอื่น เข้าใจหรือเห็นใจความรู้สึกหรืออารมณ์ของผู้อื่น 4. ทักษะความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) คือ ตระหนักว่าตนเองเป็น ส่วนหนึ่งของสังคม รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสังคม มีจิตสานึกที่จะปูองกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา สังคมการพิจารณาถึงผลกระทบของการกระทาของตนเองที่จะเกิดต่อสังคมยอมรับการกระทาของ ตนเองที่มีผลต่อสังคม 5. ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with Emotions) เรียนรู้เกี่ยวกับความแตกต่าง ของอารมณ์เรียนรู้กระบวนการพื้นฐานในการเกิดอารมณ์เข้าใจภาวะอารมณ์ที่มีอิทธิพลต่อการแสดง พฤติกรรมและต่อสุขภาพเรียนรู้วิธีการจัดการและแสดงออกของอารมณ์ที่เหมาะสม 6. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with Stresses) เรียนรู้กระบวนการพื้นฐาน ในการเกิดความเครียดเข้าใจภาวะความเครียดที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมต่อสุขภาพและสังคม ค้นหาสาเหตุของความเครียดสามารถค้นหาสาเหตุและวิธีการจัดการตลอดจนแสดงออกที่เหมาะสม 7. ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) มีทักษะพื้นฐาน ในการสื่อสาร ฟัง พูด อ่าน เขียน แสดงออกประเมินผลการสื่อสารกับบุคคลอื่นและปรับเปลี่ยนการ สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อน และบุคคลอื่นได้ แสดงความรู้สึกของตนเองได้อย่างเปิดเผย โดยไม่ส่งผลเสียหายต่อผู้อื่น 8. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ (Interpersonal Relationship) ตระหนักถึงความสาคัญ และคุณค่าของสัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัว เพื่อนและบุคคลอื่น เห็นประโยชน์ ความจาเป็น ของการสร้างสัมพันธภาพ เรียนรู้ความต้องการ ความสนใจ ความพอใจของบิดา มารดา ครู ญาติพี่ น้องที่ใกล้ชิดและเพื่อน เรียนรู้ที่สร้างสัมพันธภาพกับเพื่อนใหม่ สนใจและใช้วิธีที่จะทาความรู้จักกับ เพื่อนใหม่ปรับตัวให้เข้ากับบุคคลอื่น และสิ่งแวดล้อมเพื่อการมีสัมพันธภาพที่ดีสนใจเรื่องที่เขาชอบ สนับสนุนให้เขาได้ทาในสิ่งที่เขาสนใจ ต้องการที่ถูกต้องพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองไม่ทาตัวแปลก แยกจากคนอื่น สามารถประนีประนอมความคาดหวังของคนอื่นได้ อยู่ร่วมและทางานกับบุคคลอื่นได้ อย่างมีความสุขมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการอยู่ร่วมและทางานร่วมกันไม่สร้างปัญหาขัดแย้งในการอยู่ ร่วมกันพึงพอใจในการอยู่ร่วมกันและทุกคนทางานตามบทบาทหน้าที่ของตน 9. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking ) มีความสนใจและความไวในสิ่งต่างๆรอบตัว มีความสามารถในการจาแนกแยกแยะสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็วและมีความไวในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ สิ่งต่างๆ มีความอยากรู้อยากเห็นและสนใจที่จะทาสิ่งที่ยุ่งยากและซับซ้อนมีความกระตือรือร้นใฝุรู้ในการ ทาสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนแปลกใหม่มีอิสระในการคิด คิดคล่อง คิดแปลกใหม่มีความคิดเห็นเป็นของตนเอง และมีจิตนาการรู้จักคาดการณ์ล่วงหน้า คิดดัดแปลง คิดได้กว้างไกลกว่าคนอื่นและกลุ่ม คิดคล่อง คิด แตกต่างจากคนอื่น 10. ทักษะความคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ (Critical Thinking) จาแนกแยกแยะข้อมูลสิ่งต่าง ๆได้ ใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูลเพื่อแสวงหาทางเลือกและคาตอบที่สมเหตุสมผล คิดละเอียด ลึกซึ้ง รอบคอบ คิดอย่างมีระบบขั้นตอน 11. การตัดสินใจ (Decision Making) ตระหนักถึงความสาคัญของการตัดสินใจ รวบรวม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะตัดสินใจ หาทางเลือกในการตัดสินใจ เลือกทางเลือกในการตัดสินใจที่ดี
14
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ที่สุดเรี ยนรู้กระบวนการตัดสิ นใจของตนเองและกลุ่มรับผิดชอบการตัดสินใจของตนเองและกลุ่ ม ประเมินผลการตัดสินใจ 12. การแก้ไขปัญหา (Problem Solving) รับรู้ปัญหา วิเคราะห์และค้นหาสาเหตุของปัญหา แนวทางในการแก้ไขปัญหา เลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม ประเมินผลในการแก้ไขปัญหา จากองค์ประกอบของทักษะชีวิต ดังกล่าวเป็นการแบ่งพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสั ย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย ซึ่งเป็นแนวทางในการนาไปประยุกต์การจัดกิจกรรมตามพัฒนาการ ของเด็กและเยาวชนให้เกิดการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปัญา ร่วมพัฒนาสร้างสรรค์ทั้งต่อตนเอง บุคคล แวดล้อมและชุมชนด้วยการประยุกต์กระบวนการทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมจานวน 5 กิจกรรม ได้แก่ อารมณ์เชิงบวกช่วยคลายหายเครียด, สายใย ผูกพัน สานสัมพันธ์แกนนาเยาวชน, ฉันกับเธอด้วยความ เข้ าใจ, ตั ดสิ น ใจ ไขปั ญหา พั ฒ นาสั งคมและสานสั มพั นธ์ อย่ างกั ล ยาณมิ ตร ซึ่ งเป็ นกิ จกรรมช่ ว ย เสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญในชีวิตประจาวัน เพื่อให้อยู่รอดปลอดภัย และ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข กลวิธีในการสร้างทักษะชีวิต จากองค์ประกอบของทักษะชีวิตเมื่อนาไปจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับกลุ่ม เปูาหมาย สามารถแบ่งตาม World Health Organization (WHO). (1994: 37) ได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ทักษะชีวิตทั่วไปคือ ความสามารถพื้ นฐานที่ใช้เผชิญปัญหาปกติในชีวิต ประจาวันเช่น ความเครียด สุขภาพ การคบเพื่อน การปรับตัว ครอบครัวแตกแยก การบริโภคอาหาร ฯลฯ 2. ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถที่จาเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่นยาเสพติด โรคเอดส์ ไฟไหม้ น้าท่วม การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ฯลฯ หัวใจส าคัญของการสร้างทักษะชีวิต คือการเรียนรู้แบบมีส่ วนร่วมด้วยกลวิธี ที่เน้นให้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยคานึงการจัดกิจกรรมที่ครบองค์ประกอบ 4 ประการ คือ ประสบการณ์ การ สะท้อนความคิดเห็นและถกเถียง เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด และการทดลองหรือประยุกต์แนวคิด ในการจัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อสอนทักษะชีวิตให้กับเยาวชนนั้นควรคานึงถึงเรื่องประเด็นที่เน้นควรเป็น เรื่องที่นาไปปฏิบัติได้ มีการฝึกทักษะและสามารถเชื่อโยงกับชีวิตจริงได้ง่ายโดยผู้ดาเนินการฝึกอบรม ควรอานวยความสะดวกไปพร้อมๆ กับการสอน สามารถใช้วิธีการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและการ สะท้อนบทเรียน ปล่อยให้เยาวชนเป็นผู้นากิจกรรมได้เท่าที่โอกาสจะอานวย จัดบรรยากาศในการ ฝึกอบรมให้ปลอดภัยและสะดวกสบาย เปิดโอกาสให้ใช้วิธีและบรรยากาศที่สร้างสรรค์ ให้เยาวชนมี ส่วนในการกาหนดแนวทางสาหรับพฤติกรรมกลุ่ม จาไว้ว่าเยาวชนมีวิธีการเรียนรู้ในแบบที่แตกต่างกัน ออกไปฝึ กสอนและสนั บสนุ นเยาวชนตามความจาเป็นของแต่ละคน เคารพสิ ทธิของผู้ เข้ารับการ ฝึกอบรมในการปฏิเสธการเข้าร่วมกิจกรรม พูดเกี่ยวกับประสบการณ์การเรียนรู้หลังจบกิจกรรมและให้ กาลังใจมากๆ จะช่วยให้แกนนาเยาวชนหลวงใต้ได้มีคุณค่าสามารถดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
15
กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม ทาให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมสูงสุด และทาให้บรรลุงานสูงสุด ซึ่งการออกแบบกลุ่ม ซึ่งมีตั้งแต่กลุ่มเล็กสุด คือ 2 คน จนกระทั่งกลุ่มใหญ่ ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมของแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้มี องค์ประกอบที่สาคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1. การกาหนดกิจกรรมให้แบ่งกลุ่มกันอย่างไร เพื่อทาอะไร ใช้เวลามากน้อยแค่ไหน เมื่อบรรลุ งานให้เสนอผลงาน 2. การกาหนดบทบาทของกลุ่มหรือสมาชิกให้ชัดเจน โดยทั่วไปกาหนดบทบาทในกลุ่มย่อย แต่ละกลุ่มมีบทบาทที่แตกต่างกัน เมื่อนามารวมในกลุ่มใหญ่ให้ขยายการเรียนรู้ทาให้ใช้เวลาน้อยในการ เรียนรู้และไม่น่าเบื่อ เช่น เล่นบทบาทสมมุติ เป็นผู้สังเกตการณ์ หรือเป็นตัวแทนกลุ่มในการนาเสนอ ผลงานของกลุ่ม 3. การกาหนดโครงสร้างของงานที่ชัดเจน บอกรายละเอียดของกิจกรรมและบทบาทโดยทา เป็นกาหนดงาน หรือทาเป็นใบกิจกรรมที่มอบให้กับกลุ่ม โดยชี้แจงตามวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มทางาน สาเร็จ โดยมีกรอบการทางานที่ชัดเจน หรือสร้างเป็นตารางการวิเคราะห์ให้กลุ่ม เช่น ใบกิจกรรม เป็น ข้อความกาหนดงานที่มีรายละเอียด เพื่อให้ผู้เรียนซึ่งส่วนใหญ่จะทางานในกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มย่อยระดม สมองทางานกลุ่มได้สาเร็จ ผลงานที่ได้จากการทางานตามที่กาหนดในใบงานจะเป็นข้อสรุปที่มีความ ลึกซึ้งเป็นไปตามประเด็นที่ผู้สอนต้องการ ใบงานใช้มากในกิจกรรมขององค์ประกอบสะท้อน/อภิปราย และการทดลอง/ประยุกต์แนวคิด และมีผลอย่างมากต่อการทีผู้เรียนจะทางานได้สาเร็จในเวลาที่จากัด และตรงตามวัตถุประสงค์ และใบชี้แจง เป็นคาชี้แจงในการทากิจกรรมกลุ่ม มีรายละเอียดไม่มากนัก จึง ไม่จาเป็นต้องจัดทาเป็นใบงาน ผู้สอนอาจจะเขียนกระดานหรือแผ่นใสให้ผู้เรียนอ่านพร้อมกัน ใช้มากใน กิจกรรมขององค์ประกอบประสบการณ์ หรือการประยุกต์แนวคิด ซึ่งใบชี้แจงที่ดี ควรมีลักษณะที่มี ข้อความสั้น กะทัดรั ดได้ใจความและกาหนดกิจกรรมตรงกับองค์ประกอบ เช่น ให้ผู้เรียนได้นาเสนอ ประสบการณ์หรือได้ประยุกต์ความคิดรวบยอด กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่ว มจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่านมี ค่าเฉลี่ย 0.87 ซึ่งมีผลประเมินกิจกรรมตามเกณฑ์ที่สามารถนากิจกรรมไปใช้ได้ โดยลาดับกิจกรรม จานวน 5 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 ฉันกับเธอด้วยความเข้าใจ เป็นกิจกรรมการปรับตัวของบุคคลให้อยู่ในสภาพ สังคมปัจจุบันมีสิ่งที่สาคัญให้บุคคลมีความตระหนักรู้และภาคภูมิใจในตนเองในทางที่ดีและมีคุณค่าเป็น ที่ยอมรับของคนรอบข้างทั้งภายนอกได้แก่ รูปร่าง หน้าตา และและภายในได้แก่ อุปนิสัย ความคิด ความเชื่อ ซึ่งแต่ละคนจะแตกต่างกันตามลักษณะ ด้านร่างกาย จิตใจและสังคมตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อตนเอง รู้จุดเด่นจุดด้อยและความสามารถพิเศษของตนมีสติและรู้ตัว มีความมั่นใจใน ตนเอง ความเข้มแข็งที่จะทางานได้สาเร็จ มีความพึงพอใจในตนเองมีความมั่นใจว่าสามารถเป็น แบบอย่าง ทาให้สามารถแสดงความเห็นอกเห็นใจต่อเพื่อนและมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพกับ
16
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ผู้อื่นได้ เพื่อให้แกนนาเด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักรู้ในตนเอง สร้างความภาคภูมิใจในตนเองและ สามารถรับรู้และเห็นใจผู้อื่น กิ จ กรรมที่ 2 สานสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งกั ล ยาณมิ ต ร เป็ น กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การสื่ อ สารเป็ น กระบวนการในการส่งและรับข่าวสารระหว่างบุคคลทั้งคาพูดหรือไม่ใช่คาพูด จึงมีผลต่อทักษะชีวิต ของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งการพัฒนาทักษะในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่สามารถเกิดขึ้น ได้เอง แต่เกิดจากการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนที่มีโอกาสสังเกตและฝึกฝนโต้ตอบและได้รับการ ตอบกลับจากสมาชิกในครอบครัว เพื่อนและบุคคลอื่น ความรู้สึกของตนเองได้อย่างเปิดเผย โดยไม่ ส่งผลเสียหายต่อผู้อื่นและเป็นประโยชน์การสร้างสัมพันธภาพ เรียนรู้ความต้องการ ความสนใจ ความ พึงพอใจในการอยู่ร่วมกันตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง อีกทั้ง หากเด็กและเยาวชนมีทักษะที่ดีในการ สื่ อ สารอาจช่ ว ยให้ มี ค วามมั่ น ใจที่ จ ะปฏิ สั ม พั น ธ์ แ ละจั ด การกั บ สถานการณ์ ใ นสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจความรู้สึกและ อิทธิพลต่างๆ ในการสื่อสาร และสานสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กิจกรรมที่ 3 อารมณ์เชิงบวกช่วยคลายหายเครียด เป็นอารมณ์เป็นการเกิดการเคลื่อนไหว ภาวะที่ตื่นเต้น หรืออารมณ์เป็นความรู้สึกภายในที่เร้าให้บุคคลกระทาหรือเปลี่ยนแปลงภายในตัวของ เขาเอง ซึ่งความรู้สึกเหล่านี้เป็นความรู้สึกที่พอใจและไม่พอใจหรือรวมกันทั้งสองกรณี อารมณ์เป็นสิ่ง ที่ไม่คงที่มีการแปรเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ทาให้ความแตกต่างของอารมณ์ของบุคคลจึงมีอิทธิพลต่อการ แสดงพฤติกรรมและต่อสุขภาพเรียนรู้วิธีการจัดการและแสดงออกของอารมณ์ที่เหมาะสม โดยเฉพาะ ช่วงวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมที่แสดงอารมณ์หลากหลายกับสิ่งต่างๆ ได้ง่าย ถ้าค้นหาและเข้าใจสาเหตุของ การเกิดอารมณ์นั้นอาจเปลี่ยนเป็นอารมณ์เชิงบวก แต่หากไม่สามารถค้นพบหรือเข้าใจได้จะมีการ สะสมภาวะอารมณ์เชิงลบจะทาให้เกิดความเครียด วัยรุ่นควรมีกระบวนการรับรู้และสร้างทักษะใน การจั ดการกับ สาเหตุที่มีผลกระทบภายในให้ ผ่อนคลายความเครียดลง มีผลทาให้ เกิดการพัฒ นา ตนเองและอยู่ร่วมกับบุคลลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข เพื่อให้แกนนาเด็กและเยาวชนค้นหาสาเหตุ ที่มีอิทธิพลต่อความเครียด สร้างทักษะการจัดการและแสดงออกอารมณ์ที่เหมาะสมและสามารถ เรียนรู้กระบวนการสร้างอารมณ์เชิงบวก กิจกรรมที่ 4 ตัดสินใจไขปัญหาพัฒนาสังคม เป็นการสร้างสถานการณ์หลายสถานการณ์ที่ เป็นปัญหาให้เด็กและเยาวชนกระทาตนเองที่จะก่อผลต่อสังคม สถานการณ์ที่เด็กและเยาวชนสามารถ ยอมรับและรับรู้ปัญหา รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสังคม เพื่อให้สามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ทาให้เด็กและเยาวชนอาศัยหลักคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและหลักกฎหมายในการเลือกตัดสินใจ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะตัดสินใจ หาทางเลือกในการตัดสินใจ เลือกทางเลือกในการ ตัดสินใจที่ดีที่สุดเรียนรู้กระบวนการตัดสินใจของตนเองและกลุ่มรับผิดชอบการตัดสินใจของตนเอง และกลุ่มประเมินผลการตัดสินใจ หากมีการฝึกทักษะการเลือกตัดสินใจและแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องจะ ช่วยให้รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองและมีจิตสานึกที่จะปูองกัน หลีกเลี่ยงและพัฒนาสังคมให้เหมาะสม ต่อไป เพื่อให้แกนนาเด็กและเยาวชนตระหนักถึงปัญหาสังคมปัจจุบัน สามมารถตัดสินใจเลือกวิธีแก้ไข ปัญหาอย่างมีเหตุผลและมีจิตสานึกที่จะปูองกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
17
กิจกรรมที่ 5 สายใยผูกพันสานสัมพันธ์แกนนาเด็กและเยาวชน เป็นการส่งเสริมทักษะการ คิดวิเคราะห์ วิจารณญาณ การจาแนกแยกแยะข้อมูลต่างๆ ใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาทางเลือก และคาตอบที่สมเหตุสมผลอย่างรวดเร็วเกิดจากสิ่งที่ วิเคราะห์นั้นๆ ได้รับความสนใจ การเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของความอยากรู้อยากเห็น หากข้อมูลมีความซับซ้อนควรมีจินตนาการคาดการณ์เพื่อให้ ความซับซ้อนเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายขึ้นอยู่กับการใช้ทักษะการคิดสร้างสรรค์ที่มีกระบวนการคิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดแปลกใหม่และคิดละเอียดลึกซึ้ง รอบคอบอย่างมีระบบขั้นตอน ทาให้การดาเนินการ ต่างๆ สามารถบรรลุเปูาหมายที่กาหนดไว้ เพื่อให้แกนนาเด็กและเยาวชนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีระบบขั้นตอนนาไปประยุกต์สร้างสรรค์แนวคิดอย่างมีวิจารณญาณและร่วมกันสานสัมพันธ์ให้ ชุมชนเป็นสุข จากกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตดังกล่าวได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยว การส่งเสริมแกนนาเยาวชนให้สามารถนากระบวนการประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดและขยายผลต่อกลุ่ม เพื่อนชุมชนอื่น โดยมีหลักการสร้างทักษะชีวิตจากองค์การอนามัยโลกที่เป็นองค์ประกอบร่วมและเป็น พื้นฐานของทุกองค์ประกอบด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย ประกอบกับจัดการเรียนรู้ให้ ความตระหนักรู้ในตน ความภูมิใจในตนเอง ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการกับ อารมณ์ การจัดการกับความเครียด การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างสัมพันธภาพ ความคิด สร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ การตัดสินใจ และการแก้ไขปัญหา จึงเป็นกิจกรรมช่วย เสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญในชีวิต ประจาวัน เพื่อให้อยู่ร อดปลอดภัยและ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สุภาภรณ์ มาชัยวงศ์ (2552) ได้ศึกษาการพัฒนากิจกรรมชุมนุมดีเจน้อยโดยเน้นการมีส่วนร่วม ของชุมชนสาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านสันศรีจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมชุมนุมดี เจน้อยโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและผลการพัฒนากิจกรรม ชุมนุมดีเจน้อยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยมีจานวน 32 คนประกอบด้วยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6 ที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมดีเจน้อยภาคการศึกษาที่1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 6 คนกลุ่มพ่อแม่ ผู้ปกครอง ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมดีเจน้อยจานวน 6 คน ผู้บริหาร สถานศึกษาและครูที่ปรึกษากิจกรรม ชุมนุมโรงเรียนบ้านสันศรีจังหวัดเชียงใหม่อย่างละ 1 คน กานันตาบลสันพระเนตรจานวน 1 คนผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 ตาบลสันพระเนตรจานวน 1 คน เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบลสันพระเนตรจานวน 2 คน อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน จานวน 2 คนอาสาสมัครนักจัดรายการวิทยุชุมชนคลื่น FM ความถี่ 107.0 MHz จานวน 1 คน นายสถานีวิทยุชุมชนคลื่น FM ความถี่ 107.0 MHz จานวน 1 คนและคนในชุมชนที่ รับฟังคลื่น FM ความถี่ 107.0 MHz จานวน 10 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบสารวจความต้องการของชุมชนและนักเรียน 2) แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมชุมนุมดีเจน้อย 3) แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับความสามารถในการสื่อสารของนักเรียน 4) แบบสังเกตทักษะการจัดรายการ วิทยุชุมชนของนักเรียน 5) แบบวัดเจตคติเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าของการเป็นนักจัดรายการวิทยุชุมชนของ นักเรียน 6) แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 7) แบบสอบถามความคิดเห็นของพ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชนบ้านสันศรีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 8) แบบสอบถามความคิดเห็น
18
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ของพ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชนบ้านสันศรีต่อทักษะการจัดรายการวิทยุชุมชนของนักเรียน ผลการวิจัย สรุปผลได้ว่าด้านความสามารถในการสื่อสารพบว่านักเรียนเห็นว่าความสามารถในการสื่อสารและทักษะ การจั ดรายการวิ ทยุ ชุ มชนอยู่ ในระดั บดี แต่ พ่ อแม่ ผู้ ปกครองและชุ มชนบ้ านสั นศรี เห็ นว่ านั กเรี ยนมี ความสามารถในการสื่อสารอยู่ในระดับพอใช้ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนพบว่านักเรียน เห็นว่าตนเองมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากแต่พ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชนบ้านสันศรี เห็นว่า นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง ด้านเจตคติเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าของการเป็น นักจัดรายการวิทยุชุมชนพบว่านักเรียนมีเจตคติเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าของการเป็นนักจัดรายการวิทยุ ชุมชนอยู่ในระดับดี นฤมล ชานิ และคณะ (2551) ศึกษาผลของการใช้กิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิตของนักเรียนกลุ่มควบคุมและ กลุ่มทดลอง โดยใช้ตัวอย่างจานวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มทดลองจานวน 40 คน โดยกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 14 กิจกรรม เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนกลุ่ม ทดลองที่ได้เข้าร่ วมกิจกรรมกลุ่ มเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตมีคะแนนเฉลี่ ยทักษะชีวิตสู งกว่านักเรียนกลุ่ ม ควบคุมที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสาคัญ สมพร ดวงคาฟู (2549) ได้ศึกษาเรื่องการปูองกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนในชุมชน มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมการการปูองกันและการแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนในชุมชนและ เพื่อหาแนวทางในการดาเนิ น งานปู องกั น และแก้ไ ขปัญหานี้ต่อ ไป ผู้ วิจัยใช้กระบวนการวิจั ยเชิ ง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) โดยมีผู้วิจัยและทีมวิจัยในส่วนของชุมชนได้แก่พระสงฆ์ประธานเด็ก และเยาวชนรวมถึงชาวบ้านที่เข้าร่วมในกระบวนการวิจัยซึ่งใช้วิธีการที่หลากหลายในการเก็บรวบรวม ข้อมูลในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจัยได้แก่การสนทนากลุ่มการสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผู้ใหญ่โดยทั่วไปในหมู่บ้านต่างมองว่าเด็ กและเยาวชนมีการ แบ่งเป็นกลุ่มๆตามพฤติกรรมการแสดงออกซึ่งมีทั้งกลุ่มเด็กเยาวชนที่ผู้ใหญ่มองว่ามีพฤติกรรมดีเชื่อฟัง คาสั่งสอนของผู้ใหญ่เด็กและเยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เป็นที่พึงประสงค์ เช่นดื่มเหล้าส่งเสียงดังใน หมู่บ้านมีพฤติกรรมก้าวร้ าวไม่เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใ หญ่เป็นกลุ่ มที่มีอิทธิพลกับเด็กรุ่นน้องเป็น แบบอย่างที่ไม่ดีอีกทั้งสร้างปัญหาความไม่สบายใจ ให้กับครอบครัวและชาวบ้านโดยทั่วไปเช่นเดียว สถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับเด็กเยาวชนหมู่บ้านอื่นๆในพื้นที่ชนบทแต่ชุมชนบ้านปุาจู้ต่างไปจากชุมชนอื่น คือคนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาที่ เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน มีความกระตือรือร้นในการเตรียมการ การปูองกัน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกัน วิภาพร เลิศสุขสถาพร (2546) ได้ศึกษากระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิตในการปูองกันการเสพสารเสพติด ของนักเรียนโรงเรียนศรีธนาพาณิชยการเทคโนโลยีเ ชียงใหม่ ซึ่งมีผู้ที่เกี่ยวข้องในการวิจัยประกอบด้วย ผู้วิจัย ผู้ บริหาร คณะครูจากฝุายงานต่างๆ จานวน 12 คน และนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 จานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย ได้แก่ แบบ บันทึกพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการวิจัย และแบบวัดทักษะชีวิตใน การปูองกันสารเสพติดผลการวิจัยพบว่าการยากระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมไปใช้ใน การวิจัยส่งผลให้นักเรียนที่เข้าร่วมกระบวนการมีคะแนนเฉลี่ยของทักษะชีวิตในการปูองกันการเสพ สารเสพติดและมีพฤติกรรมที่แสดงออกด้านทักษะชีวิตในการปูองกันสารเสพติดเพิ่มขึ้น
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
19
จากงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งดั ง กล่ า วเป็ น กระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ช่ ว ยปู อ งกั น พั ฒ นา เสริมสร้างและแก้ปัญหาให้กับเด็กและเยาวชนในชุมชนด้วยกระบวนการให้ความร่วมมือและการมี ส่วนร่วมจากครอบครัว ชุมชนและสังคมใกล้ตัวกับการพัฒนาให้เด็กเหล่านี้มีทักษะชีวิตที่จะพัฒนาการ เรียนรู้ของตนเองและดารงตนให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไปในอนาคต วิธีการดาเนินการวิจัย วิธีการดาเนินการวิจัยได้มีการประสานงานขอความร่วมมือกับนายกองค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น สาธารณสุขอาเภองาว ชี้แจงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนในการดาเนินการ และขอความร่วมมือ สนับสนุนในการดาเนินงาน ชี้แจงการพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างตลอดจนระยะเวลาในการศึกษา เพื่อร่วมวิเคราะห์ข้อมูลแกนนาเด็กและเยาวชนโดยใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนได้รับทราบวั ตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อขอความร่วมมือ สนับสนุนการ ดาเนินงานและชี้แจงการพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มแกนนาเด็กและเยาวชนตลอดจนระยะเวลาในการวิจัย ซึ่งการกาหนดประเด็นการมีส่วนร่วมร่วมกับแนวทางเสริมสร้างทักษะชีวิต เกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับเด็ก และเยาวชนในชุมชนหลวงใต้ แนวทางปูองกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน แนวคิดการ เสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กและเยาวชน และวิธีการเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กและเยาวชน ผู้วิจัยได้มีส่วนร่วมดาเนินการสนทนากลุ่ม (focus group discussion) สังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่ มีส่ว นร่ว ม การสัม ภาษณ์เชิง ลึก และวางแผนกิจ กรรมกับผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนเกี่ยวกับ กิจกรรมการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน คุณภาพกิจกรรมโดยพิจารณา คุณภาพความตรงของเครื่องมือ คือ ความตรงตามเนื้อหา ประเมินได้โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ ความตรงตาม โครงสร้างประเมินได้หลายวิธี เช่น ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสัมพันธ์กันเกณฑ์หรือการวิเคราะห์ องค์ประกอบ ความตรงเชิงสหสัมพันธ์กับเกณฑ์ ซึ่งประเมินได้โดยเปรียบเทียบผลการวัดจากกลุ่มที่ สภาพจริงต่างกัน สามารถตรวจสอบได้โดยผู้เชี่ยวชาญ โดยมีขั้นตอนในการดาเนินการ ดังนี้ 1. สร้างเครื่องมือโดยวิเคราะห์องค์ประกอบหรือนิยามเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เครื่องมือวัดที่ ต้องการ 2. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบว่ามีความตรงตามเนื้อหาที่ต้องการวัดและโครงสร้างตรงตาม องค์ ป ระกอบหรื อนิ ย ามเชิ งปฏิ บั ติ การให้ ส อดคล้ องระหว่ างวัตถุ ประสงค์ วิธีด าเนินการ เนื้ อหา อุปกรณ์ และการประเมินผล 3. ผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ให้ความเห็นโดยเสนอความเห็นว่าตรง (+1) ไม่ตรง (-1) หรือตัดสินใจไม่ได้ (0) 4. นาความเห็น ของผู้ เชี่ยวชาญมาพิจารณาความสอดคล้ องการประเมินโดยหาค่า IOC (Index of Item-Objective Congruence) 5. นาความเห็นของผู้เชี่ยวชาญไปปรับปรุง และจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อ ส่งเสริมทักษะชีวิตให้กับแกนนาเด็กและเยาวชนกิจกรรมละ 3 ชั่วโมง จานวน 5 กิจกรรม
20
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. รวบรวมข้อมูลจากประสบการณ์การจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมโดยการสังเกตพฤติกรรม และการประเมินแบบสอบถามและแบบทดสอบการมีทักษะชีวิตของแกนนาเด็กและเยาวชน 2. ท าหนั ง สื อ ราชการจากคณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ล าปาง เพื่ อ ขอความ อนุเคราะห์ในการจัดกิจกรรมไปยังเทศบาลตาบลหลวงใต้ อาเภองาว จังหวัดลาปาง และแจ้งผู้ปกครอง แกนนาเด็กและเยาวชนในการเข้าร่วมกิจกรรมตามวันและเวลาที่กาหนด 3. การดาเนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนมีนาคมถึงเมษายน 2557 โดยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลการมีส่วนร่วมของแกนนาเด็กและเยาวชนในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งเป็น กระบวนการของการวางแผน (Planning) การลงมือปฏิบัติตามแผน (Action) การสังเกต (Observation) วิธีการปฏิบัติและผลของการปฏิบัติและการสะท้อนความคิดเห็นร่วมกันระหว่างผู้วิจัยกับแกนนาเด็กและ เยาวชน 4. วิเคราะห์ผ ลการดาเนิน การจัดกิจกรรมและประเมินผลความพึงพอใจในการเข้าร่ว ม กิจกรรมจากแกนนาเด็กและเยาวชน การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ข้อมูลจากการบันทึกการสังเกตแบบประเมินตามสภาพจริงการมีส่วนร่วมของแกนนาเด็ก และเยาวชนในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ การรายงานผลโครงการและเขียนสรุปบรรยายภาพรวม 2. ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นแกนนาเด็กและเยาวชน เป็นแบบสอบถาม ความคิดเห็นจากการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สถานที่ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม อธิบายรูปแบบ ตารางแสดงค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แปลความหมายโดยเทียบ ระดับเกณฑ์การประเมินแปลค่าระดับความคิดเห็น ดังนี้ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด สรุปผลการวิจัย การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับแกนนาเด็กและ เยาวชนตาบลหลวงใต้ อาเภองาว จังหวัดลาปาง จานวน 30 คน แบ่งเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้าน ปงคก มีจานวน 6 คน บ้านน้าจา บ้านทุ่ง บ้านใหม่เจริญสุข บ้านน้าล้อม จานวนหมู่บ้านละ 5 คน และบ้านทุ่งสุ่ม จานวน 4 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจานวน 18 คน และเป็นเพศชายจานวน 12 คน มีอายุระหว่าง 10–16 ปี สถานะทางครอบครัวส่วนให่อยู่ด้วยกัน แยกกันอยู่ และหย่าร้างสภาพการณ์ ทางครอบครัวที่รักใคร่ช่วยเหลือกันดีและทะเลาะกันบ้างบางครั้ง ภายในครอบครัวส่วนใหญ่มีการดื่ม สุราและสูบบุหรี่ ส่วนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่านมีค่า 0.87 แสดงว่าสามารถนากิจกรรมไปใช้ได้ตามลาดับผลการประเมิน ได้แก่ อารมณ์เชิงบวก ช่วยคลายหายเครียด สายใย ผูกพันสานสัมพันธ์แกนนาเยาวชน ฉันกับเธอด้วยความเข้าใจ ตัดสินใจ ไขปัญหา พัฒนาสังคมและสานสัมพันธ์อย่างกัลยาณมิตรเมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมี ส่วนร่วมเด็กและเยาวชนพึงพอใจเกี่ย วกั บผู้นากิจกรรม กระบวนการและขั้นตอนการจัดกิจกรรม คุณภาพกิจกรรมและสิ่งอานวยความสะดวก จึงสรุปผลได้ว่า การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ทักษะ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
21
ชีวิตกลุ่มแกนนาเด็กและเยาวชนตาบลหลวงใต้ โดยประเมินผลการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ความพึ งพอใจจากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะชีวิตแบบมีส่วนร่วมค่าเฉลี่ย 4.62 อยู่ใน ระดั บ มากที่ สุ ด และติ ด ตามผลจากการสั ม ภาษณ์ เ ด็ ก และเยาวชนต่ อ การอยู่ ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนอย่ า ง สร้างสรรค์และแนวทางการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะชีวิต ในด้านประสบการณ์ การสะท้อนความคิดเห็นและถกเถียง เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอดในเชิงบวก การลองผิดลองถูกใน การสร้ างสั ม พัน ธภาพกับ บุ คคลอื่ น และประยุก ต์ การเรีย นรู้ แก้ ปัญ หากับภาวะความเครี ยดจาก กิจ กรรม ซึ่งการเสริมสร้ างกระบวนการเรียนรู้จึงส่งผลให้ เด็กและเยาวชนเชื่อ มโยงทักษะชีวิตให้ สามารถพัฒนาตนเองกับชีวิตจริงอย่างมีคุณค่าและดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุขได้ อภิปรายผล การพัฒนากิจกรรมตามหลักการขององค์การอนามัยโลก (1994: 34) ทาให้แกนนาเด็กและ เยาวชนมีทักษะภายในที่จะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ เอดส์ ยาเสพติด ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพื่อให้สามารถมีชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข หรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิต ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญใน ชีวิตประจาวัน เพื่อให้อยู่รอดปลอดภัย และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข อีกทั้ง ทาให้ กลุ่มแกนนาเด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการปัญหาเป็นแนวคิด พื้นฐานของการจัดการปัญหาคือการช่ว ยให้คนในชุมชนช่วยตนเองได้ ดังนี้ ธีระพงษ์ แก้ว หาวงษ์ (2546 :31) กล่ า วถึ ง ความจ าเป็ น ในการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนว่ า ยิ่ ง ฐานการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชนกว้างขวางมากขึ้นเท่าใดจะทาให้อิทธิพลของประชาชนต่อการกาหนดนโยบายและแผนมี มากขึ้นเพียงนั้น นอกจากนี้ยิ่งฐานการมีส่วนร่วมมากขึ้ น ผู้วางแผนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนาเสนอ ทางเลือกของสังคมมากขึ้นเท่านั้น และทางเลือกดังกล่าวสอดคล้องกับความปรารถนาของสังคมชุมชน และแผนดังกล่าวจะได้รับการสนับสนุนจากมหาชน นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วม ของประชาชนว่ ามี ความส าคั ญในการพั ฒนาเป็ นสิ ทธิ ขั้ นพื้ นฐานและเป็ นสิ ทธิ มนุ ษยชนดั งนั้ นการ ดาเนินการพัฒนาจึงควรให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สอดคล้องกับ อรุณี เวียงแสงและคณะ (2548 :22) กล่าวว่าปัญหาในชุมชนมักเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงสัมพันธ์กันดังนั้น เป็นการยากที่จะ สามารถแก้ไขปัญหาโดยรวมของชุ มชนด้วยบุ คคลใดบุคคลหนึ่งหรื อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหากแต่ต้องมีการ ร่วมมือร่วมใจซึ่งกันและกันในการระดมความคิดเห็นการกระทารวมทั้งการระดมทรัพยากรต่างๆ ที่มีความ จาเป็นต่อการแก้ไขปัญหาของชุมชนและสังคมโดยรวมซึ่งต้องมีกระบวนการตั้งแต่การคิดการวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาสาเหตุและผลกระทบการพิจารณาและตัดสินใจหาทางเลือกที่เหมาะสมในการแก้ไข ปั ญหาและร่ วมกันรั บผิ ดชอบในการปฎิบัติ ภารกิ จที่จะนาไปสู่ เปูาหมายที่วางไว้ร่วมกันโดยชาวบ้าน สามารถเรียนรู้ ได้โดยเร็ วขึ้นในการแก้ไขปัญหาของชุ มชนจากกระบวนการมีส่ วนร่วมที่มีการวางแผน ด าเนิ นการด้ วยตนเองอย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพโปร่ งใสและตรวจสอบได้ จึ งควรมี การน าหลั กการและ กระบวนการของการมีส่วนร่วมให้ส่งเสริมกลุ่มเด็กและเยาวชนสามารถระดมความคิดคือการคิดค้นและ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกันในลักษณะของการร่วมคิดมิใช่จากฝุายหนึ่งฝุายเดียวบนพื้นฐานความศรัทธาว่าทุก
22
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
คนที่เข้ามามีส่วนร่วมนั้นมีศักยภาพการวางแผนดังที่ สุชาดาจักรพิสุทธิ์ (2549: 19) กล่าวว่าการนานาสิ่งที่ ร่วมกันคิดมากาหนดเป็นแผนปฏิบัติการร่วมกันด้วยการระดมทรัพยากรจากทุกฝุาย การลงมือทาคือการ นาแผนงานที่ได้ไปร่วมกันทาหรือแบ่งงานกันรับผิดชอบเพื่อให้เป็นไปตามแผนหรือเปู าหมายที่วางไว้การ ติดตามประเมินผลคือร่วมกันติดตามผลงานที่ทาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทางานร่วมกันคิด พัฒนาปรับปรุงให้งานดีขึ้น การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ทักษะชีวิตให้กับกลุ่มแกนนาเด็กและเยาวชนในตาบลหลวงใต้ สามารถทาให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้กิจกรรมแบบมีส่วนร่วมในการนาวิธีการทักษะชีวิตในการการ ดูแลความใส่ใจ ความเอื้ออาทร การแบ่งปันประสบการณ์และภาระที่เจ็บปุวย การส่งเสริม การกระตุ้น ให้ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งและข้อจากัดทางสังคมเพื่อนาไปสู่การเปิดกว้างและการยอมรับ สามารถ ร่วมกิจกรรมกับชุมชนในการสร้างความแข็งแกร่งให้กับชุมชนโดยการหันหน้าเข้าหากัน ร่วมกันเมื่อ เผชิ ญ กั บ ภั ย คุ ก คามจากภายนอก เช่ น ติ ด ยาเสพติ ด ติ ด เกม ทะเลาะวิ ว าท เป็ น ต้ น ยอมรั บ กา ร เปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ภายใน แทนที่จะเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ถูกยัด เยียดมาจากภายนอก กล่าวคือเป็นการเปลี่ยนแปลงส่วนตัวทั้งวิธีคิดและวิธีทางานในทิศทางที่สอดคล้อง กัน เป็นการเปิดกว้างที่จะเรียนรู้จากประสบการณ์ของชุมชนเพื่อนาการเปลี่ยนแปลงทั้ งในระดับบุคคล องค์กร และชุมชน มีความเข้าใจในความจาเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนคุณค่าเก่า ๆ ให้เข้ากับความเป็นจริง ใหม่ และเป็นการเปลี่ยนแปลงที่หมายถึงการเรียนรู้ร่วมกัน นอกจากนั้นยังจะต้องเปิดกว้างพร้อมที่จะ เปลี่ยนแปลงคือ การยอมรับสิ่งท้าทายและการเปิดกว้างพร้อมที่ จะเรียนรู้จากแหล่งที่ไม่ควรคิดและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการปฏิบัติและดาเนินงานแก้ไขปัญหาโดยรวมของชุมชน กระตุ้นภาวะผู้นาในการ เผชิญหรือจัดการกับปัญหา ความห่วง กังวล ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม ชุมชนและองค์กร ให้ มี ความเชื่อมั่นที่จะเผชิญหรือจัดการกับปัญหาทั้งในปัจจุบันและอนาคต เมื่อกลุ่มเด็กและเยาวชนได้มีการ รวมกลุ่มกันสามารถร่วมกันปูองกัน ความขัดแย้งภายในชุมชนได้ มีการแบ่งสันปันส่วนทรัพยากรใน ชุมชนหรื อลดการเอารั ดเอาเปรี ยบกัน สอดคล้ องกับกลวิธีในการเสริมสร้างทักษะชีวิต ตาม World Health Organization (WHO). (1994: 37) ในลักษณะทักษะชีวิตทั่วไปคือความสามารถพื้นฐานที่ใช้ เผชิญปั ญหาปกติในชีวิตประจ าวันเช่น ความเครียด สุ ขภาพ การคบเพื่อน การปรับตัว ครอบครัว แตกแยก การบริโภคอาหาร ฯลฯ ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถที่จาเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่นยาเสพติด โรคเอดส์ ไฟไหม้ น้าท่วม การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ฯลฯ และการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ นาไปสู่การค้นหาและประสบการณ์ร่วมกัน สามารถประยุกต์ใช้การเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการมองเห็น คุณค่าและความเชื่อมโยงประสบการณ์ที่มีความหลากหลายความเต็มใจ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ต่อไป จากการอภิปรายผลดังกล่าวจึงสรุปได้ว่าการเสริมสร้างกิจกรรมทักษะชีวิต คือการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมด้วยกลวิธีที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยคานึงการจัดกิจกรรมที่ครบองค์ประกอบ 4 ประการ คือ ประสบการณ์ การสะท้อนความคิดเห็นและถกเถียง เข้าใจและเกิดความคิ ดรวบยอด และการทดลองหรือประยุกต์แนวคิดในการจัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อสอนทักษะชีวิตให้กับเยาวชนนั้นควร คานึงถึงเรื่องประเด็นที่เน้นควรเป็นเรื่องที่นาไปปฏิบัติได้มีการฝึกทักษะและสามารถเชื่อโยงกับชีวิต จริงได้ง่ายโดยผู้ดาเนินการอานวยความสะดวกไปพร้อมกับใช้วิธีการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและ จัดบรรยากาศปลอดภัยอย่างสร้างสรรค์และสะดวกสบาย การกาหนดแนวทางสาหรับพฤติกรรมกลุ่ม
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
23
เด็กและเยาวชนมีวิธีการเรียนรู้ในแบบที่แตกต่างกันตามความจาเป็นของแต่ละคนให้มีประสบการณ์ การเรี ย นรู้ ห ลั งจบกิ จ กรรมและให้ กาลั งใจช่ว ยให้ แกนนาเด็กและเยาวชนต าบลหลวงใต้มีคุณค่ า สามารถดารงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการกระตุ้นให้แกนนาได้ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการแสดงออกเกี่ยวกับการ คิดแก้ปัญหาประสบการณ์ตรงถ่ายทอดความรู้และกระบวนการให้กับกลุ่มเพื่อนชุมชนอื่น 2. ควรมีการติดตามผลพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีต่อตนเอง ผู้อื่น และชุมชนกับ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับแกนนาเพื่อเปิดใจซึ่งกันและกัน 3. ควรมีสถานการณ์หรือกรณีตัวอย่างที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น ยาเสพติดหรือการทะเลาะ วิวาทเพื่อให้ฝึกวิเคราะห์และเผชิญกับปัญหาจากการประยุกต์การเรียนรู้ของตนเองและกลุ่ม 4. ควรให้แกนนาวางแผนการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตชุมชน กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2556 เอกสารอ้างอิง กรมสุขภาพจิต. (2542). คู่มือการสอนทักษะชีวิตเพื่อป้องกันสารเสพย์ติดในสถานศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย.กระทรวงสาธารณสุข. คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน แห่งชาติ พ.ศ.2555 – 2559. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกร์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ธวัช บุณยมณี. (2550). ภาวะผู้นาและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2546). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา. ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี : สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี. นฤมล ชานิ และคณะ. (2551). ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนหนองโสนพิทยาคม อาเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. พัฒนา สุขประเสริฐ. (2542). ศักยภาพของเยาวชนไทยกับการพัฒนา. ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศ ศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิภาพร เลิศสุขสถาพร. (2546). กระบวนการวิจัย แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใน การป้องกันการเสพสารเสพติดของนักเรียนโรงเรียนศรีธนาพาณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
24
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
สถาบันส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. การจัดการะบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม. 2544. เชียงใหม่: เชียงใหม่ บี เอส การพิมพ์. สมพร ดวงคาฟู. (2549).การป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนในชุมชน. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สาธารณสุข, กระทรวง.กรมสุขภาพจิต. (2544). คู่มือฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : วงศ์กมล โปรดักชั่น. สุภาพร นกเจริญ. (2551). การใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านการเผชิญกับ อารมณ์ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรม เด็กและเยาวชนบ้านบึงจังหวัดชลบุรี. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุภาภรณ์ มาชัยวงศ์. (2552). การพัฒนากิจกรรมชุมนุมดีเจน้อยโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ชุมชนสาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านสันศรีจังหวัดเชียงใหม่.ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) หาวิทยาลัยเชียงใหม่. สานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติกระทรงยุติธรรม. (2549). คู่มือเทคนิคการ จัดกิจกรรมเพื่อสอนทักษะชีวิตสาหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ : ทีฟิลม์. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 – 2559). สานักงานการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สานักพัฒนาระบบงานยุติธรรมเด็กและเยาวชนกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (2547). คู่มือการจัดกิจกรรมบาบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนยาเสพติดในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ เยาวชน. (ฉบับปรับปรุง 2).กรุงเทพฯ :กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อนันต์ งามสะอาด. (2556). ทักษะชีวิต.[ระบบออนไลน์]แหล่งที่มา www.drrnan.com (29 มิ.ย. 2556). อรุณี เวียงแสง, ตุลวัตร พานิชเจริญ, วราลักษณ์ ไชยทัพ, นัยนา หวายคา. (2548). การติดตามและ ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข. World Health Organization (WHO).(1994). Life skill education in schools.Geneva : World Health Organization/Division of Mental Health. _______. (1997). Life Skills Education for Children and Adolescents in Schools. Geneva : WHO. …………………………………………………….
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
25
การสร้างเสริมการทุ่มเทในการเรียนของนิสิตปริญญาตรีในวิชา มนุษยสัมพันธ์ด้วยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ clickers Enhancing Study Engagement of Undergraduate Students through Clickers in Human Relations Classes เรวดี วัฒฑกโกศล1 พรรณระพี สุทธิวรรณ2
บทคัดย่อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการนา clickers มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างเสริมการทุ่มเทในการเรียนของนิสิตในวิชามนุษยสัมพันธ์ ซึ่งเป็นวิชาเรียนขนาดใหญ่ที่มีนิสิต ลงทะเบียนเป็นจานวนมาก กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตปริญญาตรีที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 3800250 มนุษย สัมพันธ์ (Human Relations) ตอนเรียนที่ 2 และ 3 ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2557 จานวน ทั้งสิ้น 327 คน จาก 17 คณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้วิจัยแจก clickers ให้กับนิสิตเพื่อใช้เป็น อุปกรณ์การเรียนในวิชานี้ในช่วงสัปดาห์ที่ 5-14 ของภาคการศึกษา และประเมินผลการใช้ clickers โดยแบบประเมิ น การทุ่ ม เทในการเรี ย นของนิ สิ ต ที่ ผู้ วิ จั ย พั ฒ นาขึ้ น จากแนวคิ ด ของ (Schaufeli, Salanova, Gonzá lez-Romá, & Bakker, 2002)โดยทาการวิจัยแบบ time series ที่มีการประเมิน 3 ครั้งภายใน 1 ภาคการศึกษา คือ คือ ครั้งที่ 1 (ช่วงก่อนการใช้ clickers ในสัปดาห์ที่ 4) ครั้งที่ 2 (ขณะใช้ clickers ในสัปดาห์ที่ 9) และครั้งที่ 3 (ขณะใช้ clickers ในสัปดาห์สุดท้ายคือสัปดาห์ที่ 14) วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงเปรียบเทียบ one way ANOVA (repeated measures) ผลการวิจัยพบว่า หลังการนา clickers มาใช้ในการเรียนการสอน นิสิตมีคะแนนการทุ่มเทใน การเรียนวิชามนุษยสั มพันธ์สูงขึ้นกว่าก่อนการใช้ clickers อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (F2, 652 = 708.996, p < .001) โดยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการวัดครั้งแรกในสัปดาห์ที่ 4 (Mean1 = 34.45, SD= 7.04) การวัดช่วงกลางภาค ในสัปดาห์ที่ 9 (Mean2 = 46.91, SD=6.94) และสูงมากที่สุดในการ วัดครั้งสุดท้ายช่วงปลายภาคในสัปดาห์ที่ 14 (Mean3 = 49.50, SD= 6.35)
____________________________ 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
Abstract The purpose of this research was to study the use of clickers to enhance study engagement of undergraduate students in the large lecture classroom. Participants were 327 undergraduate students from 17 faculties of Chulalongkorn University who registered in Sections 2 and 3 of the Human Relations classes in the first semester of 2014. The research instruments were the Thai Study Engagement Questionnaire developed by the authors based on Schaufeli, Salanova, Gonzá lezRomá, and Bakker (2002) and the clickers. During the 14-week semester of classroom lectures, clickers were provided to all students as the classroom device during the 5th-14th week of semester. This study was a time series design, measuring study engagement of students at 3 different points of time, which were at the 4th week (before clickers use), the 9th week (during clickers use), and the 14th week of the semester (during clickers use). This study supports the use of clickers in enhancing study engagement of undergraduate students in the large lecture classroom. One-way ANOVA (repeated measures) revealed a significant increase of study engagement scores of undergraduate students from the 4th week (Mean1 = 34.45, SD= 7.04), 9th week (Mean2 = 46.91, SD=6.94), and 14th week (Mean3 = 49.50, SD= 6.35), respectively (F2, 652 = 708.996, p < .001). Keywords: Study engagement, clickers, university students บทนา การเรี ย นในมหาวิ ท ยาลั ย ถื อ เป็ น ช่ ว งการเปลี่ ย นผ่ านของชี วิ ต ที่ส าคั ญ ช่ ว งหนึ่ ง ส าหรั บ พัฒนาการมนุษย์ และเป็นช่วงเวลาที่ท้าทายให้นิสิตนักศึกษาต้องเผชิญกับการปรับตัวและการปฏิบัติ ตนเองตามความคาดหวังใหม่ ๆ จากสังคมที่ต่างจากชีวิตรั้วโรงเรียน นิสิตนักศึกษาต้องปรับตัวให้ได้ เพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงของชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับตัวกับระบบการเรียน แบบ “ผู้ใหญ่” ที่ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองมากขึ้นทั้งในเรื่องความมีอิสระในการเรียน การใช้ ชีวิตในวัยหนุ่มสาว และการคบเพื่อนใหม่ที่หลากหลายมากขึ้นในมหาวิทยาลัย นิ สิตนักศึกษามีโอกาส ที่จะประสบกับความผิดพลาด ความผิดหวัง และความล้มเหลวในเรื่องการเรียนและการใช้ชีวิตใน มหาวิทยาลัยที่อาจจจะเกิดขึ้นได้เสมอตลอดช่วงเวลาของการเป็นนิสิตนักศึกษา
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
27
หากนิสิตนักศึกษาสามารถปรับตัวและรับมือกับความเปลี่ยนแปลงหรือความท้าทายที่เกิดขึ้น ในชีวิตมหาวิทยาลัยได้ และในขณะเดียวกันก็ยังคงเห็นความสาคัญของการเรียน สามารถรักษาการ ทุ่มเทในการเรียน (Study engagement) ไว้ได้โดยไม่เสียสมดุลย์ นิสิตนักศึกษาเหล่านี้ก็จะสามารถ ก้าวผ่านจุดเปลี่ยนผันในชีวิตมหาวิทยาลัยได้อย่างราบรื่น พร้อมกับความสาเร็จทางการศึ กษาที่ได้รับ และนาไปสู่การก้าวออกจากรั้วมหาวิทยาลัยเข้าสู่วัยทางานได้อย่างงดงามและน่าภาคภูมิใจ วิชามนุษยสัมพันธ์ เป็นวิชาบรรยาย 3 หน่วยกิต ในหมวดการศึกษาทั่วไป และเป็นวิชาที่มี นิสิตหลากหลายคณะทั่วมหาวิทยาลัย ให้ความสนใจและลงทะเบียนเรียนอย่างน้อย 200 คนขึ้นไปใน แต่ล ะตอนเรี ย น หรื อประมาณภาคการศึกษาละ 400-500 คน เนื่องจากเป็นวิช าที่นิสิ ตสามารถ นาไปใช้ได้จริงเพื่อช่วยในการปรับตัวกับชีวิตการเป็นนิสิตและชีวิตการทางานในอนาคต พรรณระพี สุทธิวรรณ และคณะ (2558) ได้ทาการศึกษาการทุ่มเทในการเรียนกับนิสิต ปริญญาตรีจานวน 346 คน และรายงานว่า นิสิตระดับปริญญาตรีมีการทุ่มเทในการเรียนโดยเฉลี่ยทุก วิชาอยู่ในระดับกลางๆ (คะแนนเฉลี่ย 29.66 จากคะแนนเต็ม 54.0) ดังนั้น การช่วยให้นิสิตเกิดการ ทุ่มเทในการเรียนในวิชามนุษยสัมพันธ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากวิชานี้อย่างเต็มที่ จึงเป็ น วัตถุประสงค์หลักที่ทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะทาการวิจัยในครั้งนี้ Clickers (ดูรายละเอียดจาก ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558 http://www.lic.chula.ac.th/images/Clickers_2.0.16.pdf) เป็นอุปกรณ์ส่งสัญญานที่มีรูปร่างคล้าย กับ remote control สาหรับส่งคาตอบแบบตัวเลข หรือตัวอักษร ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอนแบบของ Active Learning เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ส่งเสริมให้นิสิตกล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการตอบคาถามหรือทากิจกรรมในชั้น เรียนได้อย่างทั่วถึง นิสิตที่มีการทุ่มเทในการเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ จะได้รับประโยชน์จากการเรียนวิชานี้อย่าง เต็มที่ ได้รับความรู้และเทคนิคด้านมนุษยสัมพันธ์ผ่านกิ จกรรมที่สนุกสนานน่าสนใจ และช่วยให้นิสิต ได้รู้จักและเข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้นจากการทากิจกรรมประเมินตนเองทางจิตวิทยาในด้านต่าง ๆ การทากิจกรรมและจัดการเรียนการสอนโดยใช้ clickers ในวิชามนุษยสัมพันธ์ซึ่งเป็นห้องเรียนใหญ่ที่ มีนิสิตมากกว่า 200 คนจะช่วยให้นิสิ ตได้รับผลปูอนกลับจากการร่วมกิจกรรมหรือการออกความเห็น ในห้องเรียนอย่างรวดเร็วผ่านระบบการประมวลผลจากระบบ clickers และยังช่วยให้นิสิตมีเวลาใน ชั้นเรียนมากขึ้นเพื่อจะใช้ในการทากิจกรรมกลุ่มร่วมกับเพื่อนในห้องเรียนได้อย่างเต็มที่ อันจะนาไปสู่ การเกิดความรู้ความเข้ าใจในการเรียนการสอนได้ดีขึ้น เกิดการช่วยเหลือกันและเรียนรู้ร่วมกันเป็น กลุ่มในขณะทากิจกรรม มีการสร้างเพื่อนกลุ่มใหม่ๆ ได้ง่าย เกิด การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ของ นิสิตที่หลากหลายข้ามกลุ่มคณะ และนาไปถึงการสร้างเครือข่ายการทางานหลังสาเร็จการศึกษากับ เพื่อนๆ ที่เคยเรียนมาด้วยกันต่อไปในอนาคต นอกจากนั้น งานวิจัยทางจิตวิทยายังรายงานว่า บุคคลที่มีการทุ่มเทในการเรียนในระดับ มหาวิทยาลัย มักจะได้รับประโยชน์จากเนื้อหาวิชาที่เรียนอย่างเต็มที่ ส่งผลให้บุคคลมีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเอง สามารถปรับตัวได้ดีเมื่อเผชิญกับปัญหาอุปสรรคต่างๆ มีความตั้งใจ ไม่ท้อแท้ ท้อถอย หรือย่อ ท้อต่ออุปสรรคหรือปัญหาที่เผชิญ และมักจะประสบผลสาเร็จในการเรียนและการทางานในอนาคตได้ ต่อไป (Schaufeli, Salanova, et al. 2002)
28
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาผลของการใช้ clicker เพื่อช่วยเสริมสร้างการทุ่มเทใน การเรียน ในวิชามนุษยสัมพันธ์ โดยทาการวิจัยในรูปแบบของ time series design ตลอด 1 ภาค การศึกษา วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการทุ่มเทในการเรียนของนิสิตในวิชามนุษยสัมพันธ์ ก่อนและหลัง การนา clickers มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน วิธีการดาเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในงานวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป็ น นิสิ ต ระดับ ปริ ญ ญาตรี ที่ เ รีย นวิ ช า 3800250 มนุ ษ ย สัมพันธ์ ตอนเรียนที่ 2 และ 3 ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2557 จาก 17 คณะ/สานักวิช า จานวนทั้งสิ้น 327 คน ที่กาลังเรียนในชั้นปีที่ 1- ปีที่ 5 เป็นนิสิตหญิง 189 คน และนิสิตชาย 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบวัดการทุ่มเทในการเรียน ใช้แบบวัดของ พรรณระพี สุทธิวรรณ และคณะ (2558) ซึ่งพัฒนามาจากแบบวัดการทุ่มเท ฉบับนักเรียน (The engagement scale – student version) ของ Schaufeli, Salanova และคณะ (2002) กับแบบวัดการทุ่มเทในการทางาน Utrecht ฉบับสั้น (The Utrecht work engagement scale – short version) ของ Seppälä และคณะ (2009) แบบวัดการทุ่มเทในการเรียน เป็นมาตร rating scale ประเมินความถี่ในการทาพฤติกรรม 7 ระดับ โดยที่ 0 หมายถึง ไม่เคยเลย และ 6 หมายถึง เป็นประจา มีข้อคาถามทั้งหมด 9 ข้อ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ องค์ประกอบละ 3 ข้อ ดังนี้ 1) ความรู้สึกเปี่ยมไปด้วยพลัง (Vigor) เป็นข้อทางบวก 3 ข้อ 2) ความรู้สึกทุ่มเทอุทิศให้ (Dedication) เป็นข้อทางบวก 3 ข้อ 3) ความรู้สึก เป็นหนึ่งเดียวกับการเรียน (Absorption) เป็นข้อทางบวก 3 ข้อ พรรณระพี สุทธิวรรณ และคณะ (2558) ได้ศึกษาค่าความสอคคล้องภายในของการวัดตัว แปรแฝง (Omega coefficient; Raykov, 2001) และได้รายงานค่าความสอคคล้องภายในของการ ทุ่มเทในการเรียน เท่ากับ .74 สาหรับนิสิตระดับปริญญาตรี 2. อุปกรณ์ clickers อุปกรณ์ Clickers ที่ใช้ในงานวิจัยนี้ เป็น clickers ของ Flow version 2.0.16 จากศูนย์ นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ดูรายละเอียดจาก ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558 http://www.lic.chula.ac.th/images/Clickers_2.0.16.pdf)
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
29
การเก็บข้อมูล 1. วิชามนุษยสัมพันธ์ ตอนเรียนที่ 2 และ 3 จัดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 15 สัปดาห์ ใน 1 ภาคการศึกษา ผู้วิจัยนา clickers ไปใช้ในวิชามนุษยสัมพันธ์ทั้ง 2 ตอนเรียน ทั้งหมด 10 ครั้ง คือฝึก การใช้ clickers ในสัปดาห์ที่ 4 หนึ่งครั้ง และใช้ clickers ทุกครั้งนับแต่สัปดาห์ที่ 5 จนถึงสัปดาห์ สุดท้ายของการเรียน คือ สัปดาห์ที่ 14 (ยกเว้นช่วงสอบใน สัปดาห์ที่ 7 และ 15) 2. วัดการทุ่มเทในการเรียน (Study Engagement) ของนิสิตโดยใช้ clickers จานวน 3 ครั้ง และเก็บข้อมูลด้วยโปรแกรมควบคุมระบบ clickers ในคอมพิวเตอร์ในห้องเรียน คือ วัดครั้งที่ 1 ก่อน การใช้ clickers ในสัปดาห์ที่ 4 วัดครั้งที่ 2 ขณะใช้ clickers ในสัปดาห์ที่ 9 และวัดครั้งที่ 3 ขณะใช้ clickers ในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนคือสัปดาห์ที่ 14 ผลการวิจัย เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิชามนุษยสัมพันธ์ของนิสิตจากการ วัดแบบ time series 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ก่อนการใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 4 ของการเรียน) ครั้งที่ 2 ขณะใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 9 ของการเรียน) และครั้งที่ 3 ขณะใช้ clickers (สัปดาห์สุดท้ายคือ สัปดาห์ที่ 14 ของการเรียน) โดยสถิติ one way ANOVA (repeated measures) ดังแสดงในตาราง ที่ 1 2 และ 3 ตาราง 1 คะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิช ามนุษ ยสั มพั นธ์ข องนิสิ ตก่อ นการใช้ และขณะใช้ clickers (N = 327) การทุ่มเทในการเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ ครั้งที่ 1 ก่อนการใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 4) ครั้งที่ 2 ขณะใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 9) ครั้งที่ 3 ขณะใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 14)
Mean 34.45 46.91 49.50
SD 7.04 6.94 6.35
ตาราง 2 เปรี ย บเที ย บความแตกต่ างคะแนนเฉลี่ ย คะแนนการทุ่ ม เทในการเรี ย นในวิ ช ามนุ ษ ย สัมพัน ธ์ของนิ สิตในระยะก่อนการใช้ clickers (สัปดาห์ ที่ 4) และขณะใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 14) โดยใช้สถิติ Repeated measure ANOVA (N = 327) แหล่งความแปรปรวน เวลา ความคลาดเคลื่อน *p<.001
Sum of Square 42330.361 19463.711
df 2 652
Mean Square 21165.181 29.852
F 708.996*
30
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ตาราง 3 การวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ของค่าเฉลี่ยคะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิชา มนุษยสัมพันธ์ของนิสิตก่อนการใช้ และขณะใช้ clickers (N = 327) การทุ่มเทในการเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ Mean Difference ครั้งที่ 1 (34.45) ครั้งที่ 2 (46.91) -12.455* ครั้งที่ 1 (34.45) ครั้งที่ 3 (49.50) -15.050* ครั้งที่ 2 (46.91) ครั้งที่ 3 (49.50) -2.595* *p<.001
SE .469 .440 .367
จากตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนการทุ่มเทในการเรียนของนิสิต และตาราง 2 แสดงผล การเปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนเฉลี่ยคะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิชามนุษยสัมพันธ์ของ นิสิตในระยะก่อนการใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 4) และขณะใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 14) โดยใช้สถิติ Repeated measure ANOVA รวมทั้ง ตาราง 3 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ ระหว่างคะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิชามนุษยสัมพันธ์ของนิสิตแต่ละครั้งของการใช้ clickers ใน แสดงให้เห็นว่า เมื่อมีการใช้ clickers ในการเรียนการสอนวิชามนุษยสัมพันธ์ตอนเรียนที่ 2 และ 3 ใน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2557 นิ สิ ตมีค่า เฉลี่ ยคะแนนการทุ่มเทในการเรียนในวิช ามนุษ ย สัมพันธ์ เพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการใช้ clickers และเพิ่มสูงที่สุดในสัปดาห์สุดท้ายของการใช้ clickers อย่างต่อเนื่อง และมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p<.001 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยสนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งไว้ คือ เมื่อมีการนา clickers มาใช้ในวิชามนุษย์สัมพันธ์ นิสิตจะมีคะแนนการทุ่มเทในการเรียนวิชานี้ เพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนใช้ clickers โดยค่าเฉลี่ยคะแนนการ ทุ่มเทในการเรียนในวิชามนุษยสัมพันธ์ของนิสิต ในช่วงก่อนใช้ clickers (สัปดาห์ที่ 4) ช่วงที่ใช้ clickers กลางภาคการศึกษา (สัปดาห์ที่ 9) และสัปดาห์สุดท้ายของภาคการศึกษา (สัปดาห์ที่ 14) มีการเพิ่มขึ้น ของคะแนนอย่างชัดเจนและเพิ่มขึ้นโดยต่อเนื่องเป็นลาดับอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p<.001 จึงสรุปได้ว่า clickers เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยสร้างเสริมการทุ่มเทในการเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ ของนิสิตปริญญาตรีได้จริง ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับกับงานวิจัยของ Ellozy (2007) และ Terriona และ Acetib (2012) ที่ทดลองใช้ clickers ในห้องเรียน และรายงานว่า การใช้ clickers ทาให้นักศึกษามีการทุ่มเท ในการเรียนมากขึ้น และสนับสนุนผลการศึกษาของ Rice และ Bunz (2006) ที่รายงานว่า clickers สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมพฤติกรรม ทุ่มเทในการเรียนของผู้เรียนได้ดี เนื่องจากการใช้ clickers ทาให้ผู้เรียนรู้สึกอยากทุ่มเทในการเรียน มากขึ้น สนุกที่จะเรียนรู้มากขึ้น และส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการเรียนดีขึ้นในที่สุด ทั้งนี้ การที่ clickers สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพได้ นั้น สามารถอธิบายได้ดังข้อสรุปงานวิจัยของ Schaufeli, Martinez, Marques Pinto, Salanova,
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
31
และ Bakker (2002) ที่รายงานว่า ปัจจัยที่ช่วยสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนที่สนุกและน่าสนใจ สร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้นิสิตนักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนได้อย่างทั่วถึง มีการจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน-ผู้เรียน และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ถือเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้ให้นิสิตนักศึกษามีการทุ่มเทในการเรียนได้มากขึ้น ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการเสริมสร้างการทุ่มเทในการเรียนกับวิชา อื่นๆ ที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรี ยนขนาดใหญ่ได้ เนื่องจากการใช้ clickers มาใช้ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ช่วยให้การเรียนการสอนน่าสนุกและน่าสนใจ ช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนกล้าแสดงความคิดเห็นในห้องเรียนมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการตอบคาถามหรือทากิจกรรม ในชั้นเรียนได้อย่างทั่วถึงและเป็นส่วนตั วโดยไม่ต้องแสดงตัวต่อหน้าเพื่อนในห้อง และไม่ต้องรอคิว ตอบทีละคนซึ่งจะกินเวลามากสาหรับห้องเรียนขนาดใหญ่ที่มีนักศึกษาจานวนมาก หรือต้องเลือกให้มี โอกาสตอบได้เพียงบางคน เพราะเวลาไม่พอ จึงทาให้นิสิตสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ การใช้ clickers ยังช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนได้รับผลปูอนกลับทันที โดยผ่าน ระบบการประมวลผลจากระบบ clickers ในห้องเรียนที่แสดงผลขึ้นจออย่างชัดเจนและรวดเร็ว อัน จะช่วยให้เกิดการอภิปรายผลที่น่าสนใจระหว่างผู้เรียนและผู้สอนได้โดยทันทีและต่อเนื่องในห้องเรียน Schaufeli, Martinez และคณะ (2002) เอกสารอ้างอิง พรรณระพี สุทธิวรรณ สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์. เรวดี วัฒฑกโกศล. ชวัลณัฐ เหล่าพูนพัฒน์. และสักกพัฒน์ งามเอก. รายงานสรุป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาวะความสุขของนิสิต โครงการปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขในนิสิตและบุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. (อัดสาเนา). ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2558). คู่มือการใช้งานอุปกรณ์ Clickers Version 2.0.16 Retrieved January 22, 2015 from http://www.lic.chula.ac.th/images/Clickers_2.0.16.pdf Ellozy, A. (2007). New Initiative: Clickers in our classrooms. New Chalk Talk, 6, 1-2. Raykov, T. (2001). Estimation of congeneric scale reliability using covariance structure analysis with nonlinear constraints. British Journal of Mathematical and Statistical Psychology, 54, 315-323. Rice, R. & Bunz, U. (2006). Evaluating a wireless course feedback system: the role of demographics, expertise, fluency, competency, and usage. Studies in Media and Information Literacy Education. Retrieved January 22, 2015 from http://www.comm.ucsb.edu/faculty/rrice/A85RiceBunz2006.pdf Schaufeli, W.B., Martinez, I.M., Marques Pinto, A., Salanova, M., & Bakker, A.B. (2002). Burnout and engagement in university students: A cross-national study. Journal of Cross-Culture Psychology, 33, 464-481.
32
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
Schaufeli, W. B., Salanova, M., Gonzá lez-Romá, V., & Bakker, A. B. (2002). The measurement of engagement and burnout: A two sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3, 71-92. doi: 10.1023/A:1015630930326 Seppälä, P., Mauno, S., Feldt, T., Hakanen, J., Kinnunen, U., Tolvanen, A., & Schaufeli, W. (2009). The construct validity of the Utrecht work engagement scale: Multisample and longitudinal evidence. Journal of Happiness Studies, 10, 459-481. doi: 10.1007/s10902-008-9100-y Terriona, J.L. & Aceti, V. (2012). Perceptions of the effects of clicker technology on student learning and engagement: a study of freshmen Chemistry students. Research in Learning Technology, 20, 16150 - DOI: 10.3402/rlt.v20i0.16150. …………………………………………………….
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
33
แรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคาแหง Intrinsic Learning Motivation of Lower Secondary School Students of Ramkhamhaeng University Demonstration School อุมาภรณ์ สุขารมณ์1 สุวิไล เรียงวัฒนสุข2
บทคัดย่อ การวิจัย เรื่องแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยรามคาแหง มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิ ทยาลัยรามคาแหง (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ แรงจู ง ใจภายในในการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรีย นชั้ น มั ธ ยมศึก ษาตอนต้ น โรงเรี ย นสาธิต มหาวิ ท ยาลั ย รามคาแหง จาแนกตามระดับชั้น และอาชีพของผู้ปกครอง กลุ ่ม ตัว อย่า งมีจ านวน 278 คนจากนัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น จานวน 913 คน การวิจัยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ที่พัฒนา โดยอุมาภรณ์ สุขารมณ์ (2550) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสาเร็จรูป คานวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของระดับแรงจูงใจภายในในการเรี ยนรู้ของนักเรียน จาแนกตาม ระดับชั้นและอาชีพผู้ปกครอง โดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า แรงจู ง ใจภายใน ในการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น โรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิทยาลัยรามคาแหงจาแนกตามระดับชั้นพบว่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนมีแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้อยู่ในระดับปาน-กลาง เท่ากัน โดยมี ค่าเฉลี่ย 3.42, 3.44 และ 3.45 ตามลาดับ นักเรียนที่มีระดับชั้นปีที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจ ภายในในการเรียนรู้ ไม่แตกต่างกัน
____________________________ 1 ดร., อาจารย์ประจาภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์, รองอธิการบดีประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง
34
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
แรงจู ง ใจภายใน ในการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น โรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิทยาลัยรามคาแหงจาแนกตามอาชีพผู้ปกครอง พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีแรงจูงใจภายใน ในการ เรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.40 – 3.43 ส่วนนักเรียนที่ผู้ปกครองมีอาชีพ ลูกจ้างบริษัทเอกชน มีแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 อาชีพ ผู้ปกครองของนักเรียนที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ: แรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตรามคาแหง อาชีพของผู้ปกครอง ระดับชั้น Abstract This research entitled “Intrinsic Learning Motivation of Lower Secondary School Students of Ramkhamhaeng University Demonstration School,” examined (1) the levels of intrinsic learning motivation from selected lower secondary school students at Ramkhamhaeng University Demonstration School (RUDS), and compared the levels of intrinsic learning motivation by of year of study and parental occupation. The sample comprised 278 lower secondary school students from RUDC. The instrument of research used to collect data was a form with a five-rating scale allowing the five possible responses of “true,” “somewhat true,” “uncertain,” “somewhat untrue,” and “untrue.” This data were analyze by using percentage, mean and standard deviation. In comparing the levels of intrinsic learning motivation by year of study and parental occupation, the researchers utilized the one-way analysis of variance (ANOVA) technique. Regarding the levels at which the intrinsic learning motivation, it was found that lower secondary school (Year Seventh to Ninth) students exhibited intrinsic learning motivation at a moderate level with the means being 3.42, 3.44, and 3.45, respectively. The students who differed in year of study were not significantly different in levels of intrinsic learning motivation. Regarding the parental occupation, it was found that most of the sample has the intrinsic learning motivation at a moderate level with the means between 3.40 and 3.43. The students whose parents were private company employees evinced intrinsic learning motivation at a high level with the mean being 3.50. The students who differed in parental occupation did not show differences at the statistically significant in respect to the levels at which intrinsic learning motivation. Key words: Intrinsic Learning Motivation, Lower Secondary School, Ramkamhaeng University Demonstration School, Parental occupation, Year of Study.
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
35
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา พฤติก รรมส่ว นใหญ่ข องมนุษย์เกิดจากการเรียนรู้ ไม่ว่า จะเป็นพฤติกรรมในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน เช่น การแต่งกาย การทาอาหาร การใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการดารงชีวิต และพฤติกรรม ด้านการศึกษาเล่ าเรี ย น เช่ น การอ่าน การเขียน การคิ ดตัว เลขฯ แม้แ ต่พฤติกรรมการทางานก็ เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้เกี่ยวกับกฎ ระเบียบขององค์กร การใช้เทคโนโลยีต่างๆ การใช้ เครื่องมือในการประกอบอาชีพ เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่าในการดาเนินชีวิตของบุคคลตั้งแต่วัยเด็กจนวัย ชราย่อมผ่านการเรียนรู้มากมาย การทาความเข้าใจเรื่องการเรียนรู้จึงเป็นสิ่งสาคัญ เพราะการเรียนรู้ เป็น การเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรเนื่องจากประสบการณ์ (มุกดา ศรียงค์และคณะ, 2554, หน้า 169) และการเรียนรู้จะไม่เกิดขึ้นหากพัฒนาการด้ านต่างๆ ยังไม่ถึงระดับวุฒิภาวะ การ เรียนรู้ที่ได้ผลดีคือ ในเวลาที่เกิดวุฒิภาวะนั้น ถ้าเลยเวลาของวุฒิภาวะนั้นๆ แล้ว การเรียนรู้เกิดได้ยาก บางครั้งจะไม่เกิดการเรียนรู้เลย (กันยา สุวรรณแสง, 2540, หน้า 46-47) แม้การเรีย นรู้จ ะเกิดขึ้น ตลอดช่ว งอายุของคน แต่ช่วงการเรียนรู้ส่งผลต่อพฤติกรรมของเรา มาก คือ ช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นซึ่งเป็นช่วงชีวิตที่มีการพัฒนาการและการเรียนรู้ต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับ บุคคลเกิดขึ้นมากมาย งานวิจัยฉบับนี้กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีอายุระหว่าง 14-15 ปี อยู่ในวัยทีเ่ ป็นหัวเลี้ยวหัวต่อในการปรับตัวทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และต้องปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ เรื่องการเรียนยังจะต้องมีการตัดสินใจในการเลือกเรียน สายวิชาใดวิชาหนึ่งให้เหมาะกับตัวเองทาให้เกิดความแข่งขันสูง ทาให้เด็กเกิดปัญหาทางด้านการเรียน ส่งผลให้เด็กขาดแรงจูงใจในการเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเรียนรู้จากการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน และนอกระบบการเรีย นรู้ใ นระบบโรงเรีย นนั้น กระทรวงศึกษาธิการได้เน้นการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยถือว่าเปูาหมายสาคัญของการจัดการศึกษาคือ การพัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์และ สมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีความรู้ ความสามารถ เจตคติ และค่านิยมที่จะพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีคุณลักษณะเป็น พลเมืองดี คือ เป็นคนดี คนเก่งและคนมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ 2544, อ้างถึงใน อุมาภรณ์ สุขารมณ์, 2550, หน้า 54) นอกจากนั้น นักจิตวิทยา ได้มีความเห็นตรงกันว่า ผู้เรียนเป็นองค์ประกอบ หนึ่งที่สาคัญในการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนจะประสบความสาเร็จได้นั้น ผู้สอนต้อง รู้ จั กภู มิห ลั ง ของผู้ เ รี ย น ต้อ งมี วิ ธีก ารสอนที่ ดี ต้ องตั้ง จุด มุ่ง หมายให้ ผู้ เรี ยนเกิ ด การเปลี่ ยนแปลง พฤติกรรมหลังเรียน และทาการทดสอบว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ ในด้านผู้เรียนหรือ นักเรียนนั้นการจะประสบความสาเร็จในการเรียนรู้หรือไม่ขึ้ นอยู่กับแรงจูงใจในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสิ่ง สาคัญอย่างยิ่งในกระบวนการเรียนรู้ เพราะจะทาให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรีย น เนื่องจาก แรงจูงใจเป็นแรงกระตุ้นที่ทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา เพื่อให้บรรลุเปูาหมายตามที่แรงจูงใจ นั้นต้องการ (มุกดา ศรียงค์และคณะ, 2554, หน้า 225) แรงจูงใจ ประกอบด้วย แรงจูงใจภายนอกและแรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอก หมายถึง แรงจูงใจที่ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น กระทาพฤติกรรมเพื่อจะได้รับรางวัล ทางาน เพื่อให้ได้โบนัสหรือเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ ส่วนแรงจูงใจภายในเป็นแรงจูงใจที่เกิดขึ้ นภายในตัว บุคคล โดยไม่ต้องมีสิ่งเร้าจากภายนอกมาล่อใจ เป็นแรงจูงใจที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมต่างๆ ท าให้ บุ ค คลเกิ ด การเรี ย นรู้ พั ฒ นาตนเอง มี ค วามอยากรู้ อ ยากเห็ น ต้ อ งการค้ น คว้ า ทดลอง
36
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
กระตือรือร้นในการเรียนรู้ เรียนด้วยความสนใจ สนุกในการเรียนรู้และ ต้องการบรรลุจุดมุ่งหมายใน ด้านการจัดการเรียนการสอนนั้น (อรพินทร์ ชูชมและคณะ, 2543, หน้า 3, Deci & Ryan, 1990, p.25 and Harter, 1981, p.20 อ้างถึงใน อุมาภรณ์ สุขารมณ์, 2550) นักจิตวิทยามีความเห็นพ้อง กันว่า แรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ มีบทบาทสาคัญต่อพฤติกรรมการเรียนรู้และความสาเร็จของ ผู้เรียนมากที่สุด เพราะแรงจูงใจภายในจะทาให้เกิดความกระตือรือร้น สนใจ ขยันและเพียรพยายาม ในการเรี ย นรู้ มี ค วามอยากรู้ อ ยากเห็ น ชอบงานท้ า ทาย มี ค วามเป็ น อิ ส ระ มี ค วามทุ่ ม เทและ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย การเสริมสร้างแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนจึงเป็นสิ่ง สาคัญ ที่จะทาให้ผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและทาให้ผู้เรี ยนเรียนรู้ และประสบความสาเร็จในการเรียน ด้วยความสาคัญดังกล่าวข้างต้น จึงทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา แรงจูงใจภายใน ในการ เรี ย นรู้ ของนั กเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลั ยรามคาแหง โดยเปรียบเทียบ นักเรียนในแต่ละชั้นปี ตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อีกทั้งเปรียบเทียบแรงจูงใจ ภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนที่ผู้ ปกครองมีอาชีพแตกต่างกันด้วย เพราะการที่ผู้ ปกครองมีอาชีพ แตกต่างกัน อาจทาให้การเรียนรู้ ประสบการณ์ต่างๆ และความคาดหวังที่นักเรียนได้รับแตกต่างกันทา ให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้แตกต่างกันได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อ ศึก ษาระดับ แรงจูง ใจภายในในการเรีย นรู้ข องนัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคาแหง 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคาแหง จาแนกตามระดับชั้น และอาชีพของผู้ปกครอง วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อศึกษาแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคาแหง โดยมีขั้นตอน การดาเนินการ ดังนี้ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้ที่พัฒ นา โดยอุมาภรณ์ สุขารมณ์ (2550) มีค่าความเชื่อมั่นเท่ ากับ 0.92 แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1: เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับรายละเอียดส่วนตัวของนักเรียน ได้แก่ ชื่อ รหัสนักเรียน ชั้นเรียน เพศ และอาชีพผู้ปกครอง ซึ่งเป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ (checklist) และเป็นข้อคาถามปลายเปิด
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
37
ตอนที่ 2: เป็ นแบบประเมินระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งเป็นชนิด มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ (rating scale) คือ จริง ค่อนข้างจริง ไม่แน่ใจ ค่อนข้างไม่จริงและไม่ จริงเป็นข้อความเชิงนิมาน 26 ข้อ และข้อความเชิงนิเสธ 14 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับรายละเอียดส่วนตัวของนักเรียนที่ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการ แจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ และใช้สถิติ ANOVA ในการเปรียบเทียบจาแนกตามระดับชั้นและ อาชีพของผู้ปกครอง สรุปผลการวิจัย 1. ลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า จานวน นักเรียนที่ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ นักเรียนเพศชายมีจานวนมากที่สุด 140 คน คิดเป็นร้อยละ 50.4 นักเรียนเพศหญิง จานวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 49.6 สาหรับจาแนกตามอาชีพของผู้ปกครอง ผู้ปกครองที่มีอาชีพธุรกิจส่วนตัวมีจานวนมากที่สุด 114 คน คิดเป็นร้อยละ 41.0 รองลงมาคือ อาชีพรับ ราชการ/รัฐวิสาหกิจมีจานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 21.2 อาชีพลูกจ้างบริษัทเอกชนมีจานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5 และน้อยที่สุดคืออาชีพอื่นๆ มีจานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 17.3สาหรับผลการ วิเคราะห์ข้อมูลแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้โดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง มีค่า เท่ากับ 3.44 โดยด้านความสนใจ-เพลิดเพลินมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.93 ในขณะที่ด้านความ มุ่งมั่นมีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด มีค่าเท่ากับ 3.20 ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยรายด้านส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่างอยู่ใน ระดับปานกลาง. 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 2.1 แรงจู งใจภายในในการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนชั้ นมั ธยมศึกษาตอนต้น โรงเรี ยนสาธิ ต มหาวิทยาลัยรามคาแหงจาแนกตามระดับชั้นพบว่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนมีแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง เท่ากัน โดยมี ค่าเฉลี่ย 3.42, 3.44 และ 3.45 ตามลาดับ 2.2 แรงจู งใจภายในในการเรี ยนรู้ ของนั กเรียนชั้ นมั ธยมศึ กษาตอนต้ น โรงเรี ยนสาธิ ต มหาวิทยาลัยรามคาแหงจาแนกตามอาชีพผู้ปกครอง พบว่าส่วนใหญ่มีแรงจูงใจภายใน ในการเรียน รู้อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.40 – 3.43 ส่วนนักเรียนที่ผู้ปกครองมีอาชีพลูกจ้าง บริษัทเอกชน มีแรงจูงใจภายใน ในการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 3. เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้โดยจาแนกชั้นปีและอาชีพผู้ปกครอง 3.1 นักเรียนที่มีระดับชั้นปีที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน 3.2 อาชีพผู้ ปกครองของนักเรียนที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ ไม่ แตกต่างกัน
38
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัย พบว่า นักเรียนที่มีระดับชั้นปีที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยตามชั้นปีทุกชั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โดยชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 3.42 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ค่าเฉลี่ย 3.44 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 3.45 กล่ าวคื อค่ าเฉลี่ ยในแต่ ละชั้ นปี มี ค่ าเฉลี่ ยแตกต่ างกั นเล็ กน้ อย ทั้ งนี้ อาจเป็ นผลมาจากนั กเรี ยนชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 อยู่ในวัยใกล้เคียงกัน ซึ่งเข้าสู่วัยรุ่นตอนต้นถึงวัยรุ่นตอนกลาง ความใส่ใจในการ เรียนรู้รวมถึงแรงจูงใจในการเรียนรู้จึงยังมีไม่มากนัก การเรียนที่เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและบรรลุเปูาหมายนั้น นักเรียนจะต้องกาหนดเปูาหมายเพื่อรู้ จะเป็นคนที่มุ่งเพิ่มพูนความรู้และปรับปรุงพัฒนาศักยภาพตนเองให้ก้าวหน้า อีกทั้งอิทธิพลของผู้ปกครอง ที่มีต่อการศึกษาของนักเรียนเป็นสิ่งแวดล้อมสาคัญอย่างหนึ่งที่นอกเหนือจากโรงเรียน และเพื่อนที่จะมีผล ต่อการเรียนของเด็ก (Alyssa, 2005) กล่าวว่า ผู้ปกครองที่มีส่วนร่วมในการศึกษาของเด็ก ตัวอย่างเช่น ใช้ เวลาสอนการบ้าน ติดตามการเรียนรู้ และสอนให้เด็กรู้จักคุณค่าของการศึกษา จะช่วยให้เด็กมีแรงจูงใจทั้ง ภายในและภายนอก รวมทั้งประสบความสาเร็จในการศึกษาที่โรงเรียนเนื่องจากเมื่อเด็กรับรู้คุณค่าของ ความพยายามและความสาเร็จด้านการศึกษาจากผู้ปกครอง เด็กก็จะให้ความสาคัญต่อความสามารถทาง วิชาการ การตั้งใจเรียน และเกรดเป็นอันดับสูง ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อแรงจูงใจของ นอกจากนี้อาชีพผู้ ปกครองของนักเรียนที่แตกต่างกันมีระดับแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ ไม่ แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาตามอาชีพผู้ ปกครอง พบว่า มี 3 อาชีพที่มีเฉลี่ ยอยู่ในระดับปานกลาง โดย ผู้ปกครองที่รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีค่าเฉลี่ย 3.43 ธุรกิจส่วนตัว มีค่าเฉลี่ย 3.43 และอาชีพอื่นๆ มี ค่าเฉลี่ย 3.40 ส่วนผู้ปกครองที่มีอาชีพลูกจ้างบริษัทเอกชน มีค่าเฉลี่ย 3.50 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากนักเรียนที่ มีพ่อแม่ที่มีอาชีพเป็นลูกจ้างบริ ษัทเอกชน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีการ แข่งขันและต้องมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบเอกชน จึงส่งผล ทาให้พ่อแม่อาชีพลูกจ้างบริษัทเอกชนมีแนวโน้มที่จะให้ความสาคัญต่อการศึกษาและมีความคาดหวังสูง กว่าพ่อแม่ที่มีอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว และอาชีพอื่นๆ ซึ่งส่งผลทาให้เด็กเห็นคุณค่า ของการศึกษา และมีความพยายามเป็นพิเศษ นอกจากนี้การเป็นลูกจ้างบริษัทเอกชนอาจมีความคาดหวัง ต่อเด็กสูงกว่าการรับราชการ/รัฐวิสาหกิจหรือทาธุรกิจส่วนตัว ซึ่งมีความรู้สึกมั่นคงในอาชีพ ความคาดหวัง ที่สูงกว่าย่อมทาให้เด็กมีแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ที่สูงมาก (Tim, 2007) ส่วนผู้ปกครองที่มีอาชีพธุรกิจส่วนตัวมีจานวนมากที่สุด 114 คน คิดเป็นร้อยละ 41.0 ซึ่งอาชีพ ดังกล่าวเป็นอาชีพที่ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความเคร่งเครียดในการทางาน จนไม่มีโอกาสใกล้ชิดกับบุตร และ ไม่สามารถให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเรียนแก่บุตรได้ ดังนั้น นักเรียนจึงต้องมีการเรียนรู้จากประสบการณ์ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เมื่อผู้ปกครองมีส่วนร่วมในด้านการศึกษากับบุตรน้อยกว่า บุตรจึงมีแรงจูงใจภายใน ในการศึกษาน้อยกว่า (Tim, 2007)
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
39
เอกสารอ้างอิง กันยา สุวรรณแสง. (2540). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์วังบูรพา. เพิ่มวุธ บุบผามะตะนัง. (2542). “ครูไทยในสหัสวรรษใหม่,” ประชากรศึกษา. 50 (1) (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2542): 22-26 สิริพร ดาวัน. (2540). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความขยันหมั่นเพียรในการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพิบูลย์วิทยา จังหวัดลพบุรี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2542). ผลของรางวัลภายนอกและการรับรู้ความสามารถของตนที่มีต่อแรงจูงใจ ภายในของนักเรียน. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มุกดา ศรียงค์และคณะ. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. อรพินทร์ ชูชม และอัจฉรา สุขารมณ์. (2543). การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแรงจูงใจ ภายใน: ปัจจัยที่มีสัมพันธ์กับแรงจูงใจภายใน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุมาภรณ์ สุขารมณ์. (2550). การศึกษาและการสร้างโปรแกรมการพัฒนาแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าระดับความสามารถ. ปริญญานิพนธ์ (จิตวิทยาการแนะแนว). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุไรวรรณ สีชมภู. (2542). การเปรียบเทียบความเข้าใจและแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธี DR-TV กับการสอนอ่านตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา), บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Anderson. (1995). Effects of classroom Social Climate on Individual Learning. American Education Research Journal.7(1): 15-33 Barnard. (1960). The Functions of the Executive. Massachusetts: Harward Bacon. Kaplen (1959). The year Everything Changed Patriciacohen Published. Tim (2007, et al.) Student’ perceptions of family influences on their academic motivation: A qualitative analysis. European Journal of Psychology of Education.
…………………………………………………….
40
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ความยึดมั่นผูกพันในงาน : แนวคิดและการประยุกต์ Work Engagement : Concepts and Applications อรพินทร์ ชูชม1
บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้นาเสนอแนวคิดความยึดมั่นผูกพันในงาน โดยมีการประมวลรูปแบบความ ยึดมั่น ผูกพัน ในงานที่ครอบคลุ มปั จจั ยเชิงเหตุและผลของความยึดมั่นผู กพันในงาน พร้อมกับมีการ เสนอแนะแนวทางการส่ งเสริ มให้ บุ คคลมีมีความยึดมั่นผู กพันในงาน และข้อเสนอแนะแนวทางใน การศึกษาต่อไป คาสาคัญ: ความยึดมั่นผูกพันในงาน รูปแบบ ผลการปฏิบัติงาน Abstract This article presents an overview of work engagement concepts. The models of work engagement are also reviewed. The empirical findings of antecedents and consequences of work engagement are summarized. Furthermore, the paper identifies directions for individuals’ work engagement enhancement and suggest further studies. Keywords: Work Engagement, Model, Performance คานห์ (Kahn, 1990) เป็นบุคคลแรกคนหนึ่งที่ให้แนวคิดเกี่ยวกับความยึดมั่นผูกพันในงาน โดย นิยามว่าพนักงานที่มีความยึดมั่นผูกพันในงานจะปฏิบัติงานตามบทบาทที่ตนได้รับอย่างเต็มที่ทั้งทางด้าน กาย การรู้คิด และอารมณ์ ความยึดมั่นผูกพันจึงหมายถึงการใช้พลังมุ่งตรงไปยังเปูาหมายขององค์การ เช่นเดียวกับที่เมย์ และคณะ (May, Gilson & Harter, 2004) นิยามความยึดมั่นผูกพันในงานไว้ค่อนข้าง คล้ายคลึงกับคานห์ โดยระบุว่าความยึดมั่นผูกพันในงานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบได้แก่ องค์ประกอบ ทางกาย (physical component) เป็ นการใช้ พลั งงานในการท างาน องค์ ประกอบทางอารมณ์ (emotional component) เป็ นการใส่ จิ ตใจให้ กับงาน และองค์ ประกอบทางการรู้ คิ ด (cognitive component) เป็นการจดจ่ออยู่กับงาน ในขณะที่ ชอยฟีลิ และคณะ (Schaufeli et al., 2002) ได้เสนอ นิ ยามความยึ ดมั่ น ผู กพั น ในงานหมายถึ ง สภาวะทางจิ ตทางบวกที่ สั มพั นธ์ กั บงานที่ ประกอบด้ ว ย คุณลักษณะ 3 ประการ ได้แก่ 1) ความกระตือรือร้น (vigor) หมายถึงการมีพลังในการทางานและยืดหยุ่น ทางจิตใจสูงในขณะทางาน เต็มใจที่จะใช้ความพยายามในการทางาน และมีความเพียรพยายามในการ ____________________________ 1 รองศาสตราจารย์ ดร., ประจาสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
41
ทางาน แม้จะเผชิญอุปสรรค 2) การทุ่มเทอุทิศ (dedication) หมายถึงความรู้สึกเต็มใจ ภูมิใจ มีแรง บันดาลใจ และรู้สึกท้าทายในการทางาน และ 3) ความจดจ่อใส่ใจ (absorption) หมายถึงความรู้สึกมุ่งมั่น และเป็นสุขในการทางาน ยากที่จะถอนตัวออกจากงาน เหมือนเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว กล่าวโดยสรุป บุคคลที่มีความยึดมั่นผูกพันในงานนั้น มีพลังในการทางานสูง มีความกระตือรือร้น ในการทางาน และมุ่งมั่นทุ่มเทให้กับงานอย่างเต็มที่ทั้งกาย ปัญญา และจิตใจ แนวคิดรูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงาน นักวิชาการหลายท่านได้เสนอรูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงานไว้หลายท่านที่ครอบคลุมเรื่อง โครงสร้าง สาเหตุและผลของความความยึดมั่นผูกพันในงาน เช่น ชอยฟีลิ และคณะ (Schaufeli et al., 2002) ในระยะแรกได้ เ น้ น ข้ อ สมมติ ก ารท างานให้ มี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด ในรู ป ของสภาวะของบุ ค คล คุณลักษณะเริ่มแรกของความยึดมั่นคือการมีพลัง และผูกพันกัน โดยที่ความยึดมั่นผูกพันในงานเป็นส่วน หนึ่งของทรัพยากรที่ขับเคลื่อนแรงจูงใจในการทางาน ความยึดมั่นผูกพันในงานเป็นตัวคั่นกลางที่เชื่อม ระหว่างปัจ จัยการทางาน-ชีวิต และผลลั พธ์การทางาน โดยที่ความยึดมั่นผู กพันในงานได้แก่ ความ กระตือรื อร้ น การทุ่มเทอุทิศ และความจดจ่อใส่ ใจ มีลั กษณะที่เ ด่นเฉพาะในแต่ล ะมิติและมีความ เกี่ยวข้องกันดังปรากฎในภาพประกอบ 1 ความกระตือรืนร้น
ความจดจ่อใส่ใจ
4. มีพลังมาก
1. สมาธิจดจ่อในงาน
5. เต็มใจที่จะใช้พลังในการทางาน
2. ความรู้สึกว่าเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว การทุ่มเทอุทิศ
1. มีความทุ่มเทงาน 2. มีความรู้สึกภาคภูมิใจ 3. มีความท้าทายในงาน ภาพประกอบ 1 องค์ประกอบของแนวคิดความยึดมั่นผูกพันในงาน (Schaufeli et al., 2002) แซคส์ (Saks, 2006) ได้กาหนดให้ความยึดมั่นผูกพันของพนักงาน (employee engagement) ประกอบด้ ว ยความยึ ดมั่ น ผู กพั นในงาน(job engagement) และความยึ ดมั่ นผู กพั นในองค์ การ (organization engagement) โดยสาเหตุของความยึดมั่นผูกพันของพนักงานประกอบด้วยคุณลักษณะ งาน การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ การรับรู้การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา รางวัลและการยอมรับ ความยุติธรรมด้านกระบวนการและความยุติธรรมด้านผลตอบแทน สาหรับผลของความยึดมั่นผูกพันของ
42
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
พนักงานประกอบด้วยความพึงพอใจในงาน ความผูกพันในองค์การ (organizational commitment) ความตั้งใจที่จะเลิกทางาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ดังปรากฏในภาพประกอบ 2 สาเหตุ คุณลักษณะงาน
ผล
การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ
ความยึดมั่นผูกพันของพนักงาน
ความมั่นคงในงาน
การรับรู้การสนังบสนุนจากผู้บังคับบัญชา
ความยึดมั่นผูกพันในงาน
ความผูกพันในองค์การ
รางวัลและการยอมรับ
ความยึดมั่นผูกพันในองค์การ
ความตั้งใจที่จะเลิกทางาน
ความยุติธรรมด้านกระบวนการ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
ความยุติธรรมด้านผลตอบแทน
ภาพประกอบ 2 รูปแบบสาเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันของพนักงาน (Saxs, 2006) ผลการทดสอบรูปแบบสาเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันของพนักงานที่เสนอโดยแซคส์ (Saxs, 2006)พบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันในงานได้ร้อยละ 30 และความยึดมั่นผูกพันในองค์การได้ร้ อยละ 39 โดยตัวพยากรณ์ความยึดมั่นผู กพันในงานที่มี นัยสาคัญทางสถิติได้แก่ คุณลักษณะงาน และการสนับสนุนขององค์การ และพบว่าความยึดมั่นผูกพัน ของพนั กงานมีอิทธิพลต่อตัวแปรผลลั พธ์ทุกตัวตามที่เสนอไว้ โดยที่ความยึดมั่นผูกพันในงานและ องค์การทาหน้าที่คั่นกลางบางส่วนระหว่างความสัมพันธ์ปัจจัยเชิงสาเหตุและผล ฮาคาเนน และคณะ (Hakanen, Bakker & Schaufeli, 2006) ได้นาเสนอรูปแบบความ กดดันจากงาน-ทรัพยากรงาน (JD-R model) ซึ่งเป็นรูปแบบทั่วไปไม่จากัดอาชีพ ดังภาพประกอบ 3 สามารถแบ่งคุณลักษณะงานเป็น 2 ประเภทได้แก่ ความกดดันจากงานและทรัพยากรงาน โดยความ กดดันจากงาน (job demand) เป็นลักษณะงานด้านกายภาพ ด้านจิตใจ ด้านสังคม หรือด้านองค์การ ที่ต้องการทักษะหรือความพยายามทางสรีระ และหรือความพยายามทางจิตใจ(ปัญญา และอารมณ์)ที่ สัมพันธ์กับทุนทางกายและจิตใจบางอย่าง ความกดดันจากงานอาจเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียดใน สถานการณ์ที่ต้องใช้ความพยายามสูงเพื่อให้ได้ผลการทางานที่คาดหวังไว้ และทรัพยากรงาน (job resource) หมายถึง ลักษณะงานด้านกายภาพ ด้านสังคม หรือด้านองค์การที่อาจ 1) ช่วยลดความ กดดันจากงาน 2) ช่วยในการทางานใหับรรลุเปูาหมาย และ 3) ช่วยกระตุ้นการเติบโต การเรียนรู้และ พัฒนาการของบุคคล ทรัพยากรงานแสดงบทบาทการจูงใจภายในและบทบาทการจูงใจภายนอก โดย บทบาทการจูงใจภายในนั้นทรัพยากรงานช่วยส่งเสริมการเติบโต การเรียนรู้และพัฒนาการของบุคคล ด้ ว ยการเติ ม เต็ ม ความต้ อ งการพื้ น ฐานของมนุ ษ ย์ ได้ แ ก่ ค วามต้ อ งการมี อิ ส ระ ความต้ อ งการ ความสัมพันธ์ ความต้องการมีความสามารถ สาหรับบทบาทการจูงใจภายนอกของทรัพยากรงานใช้
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
43
เป็นเครื่องมือในการบรรลุเปูาหมายการทางาน เนื่องมาจากสภาพแวดล้อมการทางานที่จัดสรรทรัพยากร ต่างๆ นั้นเอื้อให้บุคคลเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามและความสามารถในการทางาน (Meijman & Mulder, 1998) รวมทั้งรูปแบบความกดดันจากงาน-ทรัพยากรงานนี้กาหนดให้ความกดดันจากงานและ ทรั พยากรงานอาจก่ อให้ เกิ ดกระบวนการที่ ต่ างกั น 2 กระบวนการที่ มี ความสั มพั นธ์ กั นได้ แก่ (1) กระบวนการที่มีพลัง (energetic process) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อความกดดันจากงานมีมาก ส่งผ่านความท้อแท้ เหนื่อยหน่ายไปยังสุขภาพที่ไม่ดี และ (2) กระบวนการจูงใจ (motivational process) โดยทรัพยากร งานส่งเสริมความยึดมั่นผูกพันและความผูกพันในองค์การ
ภาพประกอบ 3 รูปแบบความกดดันจากงาน-ทรัพยากรงาน (Hakanen,Bakker & Schaufeli, 2006) ฮาคาเนน และคณะ (Hakanen, Bakker, & Schaufeli, 2006) ได้ตรวจสอบรูปแบบความ กดดั น จากงาน-ทรั พ ยากรงาน ในกลุ่ ม ตั ว อย่ า งครู ช าวฟิ น แลนด์ จ านวน 2,038 คน เพื่ อ ดู ว่ า กระบวนการคู่ขนานสองกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะการทางานของครูได้แก่ กระบวนการที่มี พลัง (ความกดดันจากงาน ความท้อแท้เหนื่อยหน่าย สุขภาพที่ไม่ดี) และกระบวนการจูงใจ (ทรัพยากรงาน ความยึดมั่นผูกพันในงาน ความผูกพันในองค์การ) การศึกษาครั้งนี้ได้กาหนด สาเหตุห ลั ก ของความเครี ย ดของครูที่มาจากความกดดั นจากงานไว้ 3 ด้านได้แก่ (1) พฤติกรรม นักเรียนที่ไม่เหมาะสม (2) ภาระงานที่มากเกินไป และ (3) สภาพแวดล้อมการทางานทางกายภาพที่ ไม่ดี และกาหนดแหล่งทรัพยากรงานในการจูงใจหลักที่จะเพิ่มความยึดมั่นผูกพันไว้ 5 ด้านได้แก่ (1) การควบคุมงาน (2) การเข้าถึงข้อมูล (3) การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา (4) บรรยากาศโรงเรียนที่ ริเริ่ม และ (5) บรรยากาศทางสังคม และกาหนดไว้ว่าถ้าขาดทรัพยากรผลเหล่านี้จะก่อให้เกิดความ ท้อแท้เบื่ อหน่าย ผลการวิจัย ยืน ยั นว่ามีทั้งสองกระบวนการปรากฏอยู่ กล่าวคือ (1) ความท้อแท้ เหนื่อยหน่ายคั่นกลางระหว่างอิทธิพลของความกดดันจากงานสูงที่มีผลต่อสุขภาพที่ไม่ดี (2) ความยึด มั่นผูกพันในงานคั่นกลางระหว่างอิทธิพลของทรัพยากรงานที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การ และ (3) ความเหนื่อยหน่าย ท้อแท้ คั่นกลางระหว่างอิทธิพลของการขาดแคลนทรัพยากรงานที่มีผลต่อความ ยึดมั่นผูกพันในงานที่น้อยลง เบคเคอร์ และคณะ (Bakker & Demerouti, 2008) ได้เสนอรูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงาน ในภาพรวม โดยอิงมาจากแนวคิดรูปแบบความกดดันจากงาน - ทรัพยากรงาน (job demands – resources model หรือ JD-R model) โดยเพิ่มในส่วนที่เป็นทรัพยากรบุคคล ซึ่งทรัพยากรบุคคล (personal resource) เป็นการประเมินตนเองทางบวกที่เชื่อมกับความยืดหยุ่น (resiliency) และ
44
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ความสามารถของบุ ค คลที่ จ ะควบคุม และมีผ ลต่อสภาพแวดล้ อมได้ อย่า งประสบผลส าเร็ จ โดยที่ ทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรงานต่างมีความสัมพันธ์กัน และทรัพยากรบุคคลสามารถเป็นตัวพยากรณ์ ความยึดมั่นผูกพันในงาน กล่าวคือพนักงานที่มีการมองโลกในแง่ดี มีการรับรู้ความสามารถตนเอง มี ความยืดหยุ่น และการเห็นคุณค่าในตนเองสูงแล้ว จะสามารถช่วยขับเคลื่อนทรัพยากรงานได้เป็นอย่างดี และพนักงานจะมีความผูกพันธ์ในงานยิ่งขึ้น โดยมีทรัพยากรในการทางาน เช่น การสนับสนุนทางสังคม จากเพื่อนร่วมงานและหัวหน้า และลั กษณะงานที่มีความเป็นอิสระ เป็นจุดเริ่มต้นกระบวนการจูงใจที่ นาไปสู่ความยึดมั่น ผูกพัน ในงาน และส่ งผลที่ตามมาคือ การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภ าพ ในขณะที่ ทรั พยากรในการทางานจะมีความโดดเด่นและมีศักยภาพจูงใจมากยิ่งขึ้นเมื่อพนักงานเผชิญกับข้อ เรียกร้องจากงาน (เช่น ภาระงาน ความกดดันทางอารมณ์ และจิตใจ) รูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงาน กาหนดให้ทรัพยากรงานและทรัพยากรบุคคลมีความเป็นอิสระหรือร่วมกันพยากรณ์ความมยึดมั่นผูกพัน ในงาน เมื่อความกดดันในงานในงานมีสูง และความยึดมั่นผูกพันในงานมีผลกระทบทางบวกต่อผลการ ปฏิบัติงาน(performance) นอกจากนี้ ผลการปฏิบัติงานยังส่ งผลย้อนกลั บเป็นวงจรไปยังทรัพยากร บุคคลและทรัพยากรงาน ดังปรากฏในภาพประกอบ 4 ความกดันจากงาน -
ความกดดันงาน ความกดดันอารมณ์ ความกดดันจิตใจ ความกดดันกายภาพ อื่น ๆ
ทรัพยากรงาน -
อิสระ ข้อมูลปูอนกลับการปฏิบตั ิงาน การสนับสนุนทางสังคม การแนะนาของหัวหน้า อื่น ๆ ทรัพยากรบุคคล
-
การมองโลกในแง่ดี การเชื่อมั่นในความสามารถ ความยืดหยุ่น การเห็นคุณค่าตนเอง อื่น ๆ
ผลการปฏิบัติงาน ความยึดมั่นผูกพันในงาน - ความกระตือรือร้น - การทุ่มเทอุทศิ - ความจดจ่อใส่ใจ
-
การปฏิบัติงานตามบทบาท การปฏิบัติงานนอกบทบาท การสร้างสรรค์ การแปลี่ยนงาน อื่น ๆ
ภาพประกอบ 4 รูปแบบทรัพยากรบุคคลและงานของความยึดมั่นผูกพันในงาน (Bakker & Demerouti, 2008)
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
45
ส าหรั บ รู ป แบบภาพรวมของความยึดมั่นผู กพันในงานนั้น ได้มีการศึกษาวิจัยบางส่ ว นของ รูปแบบนี้ เช่น งานวิจัยของ ฮัว ชอยฟีลิ และ ทาริส (Hu, Schaufeli, & Taris, 2011) ที่ทาการ วิเคราะห์อิทธิพลรวม (additive effect) และอิทธิพลร่วม (moderating joint effects) ของความ กดดัน จากงาน และทรั พยากรงานกับกลุ่ มตัว อย่างชาวจีนที่ เป็นพนักงานระดับ ล่ าง 625 คน และ พนั กงานวิชาชีพสุขภาพจ านวน 761 คน ผลจากการวิจัยพบว่ามีกระบวนการสองกระบวนการที่ สนับสนุน JD-R model ได้แก่ (1) กระบวนการความเครียดมีจุดกาเนิดจากความกดดันจากงานและ นาไปสู่ความท้อแท้เหนื่อยหน่ายและส่งผลทางลบต่อองค์การ ความตั้งใจในการเปลี่ยนแปลง และความ ผูกพันในองค์การน้อย และ (2) กระบวนการจูงใจมีจุดกาเนิดจากทรัพยากรงานและนาไปสู่ความยึดมั่น ผูกพันในงาน และส่งผลต่อผลลัพธ์องค์การในทางบวก ผลการวิจัยพบว่าอิทธิพลรวมของ JD-R model แต่ ห ลั ก ฐานที่ แ สดงอิ ท ธิ พ ลร่ ว มระหว่ า งความกดดดั น จากงานและทรั พ ยากรงานยั ง ไม่ ห นั ก แน่ น นอกจากนี้มีงานวิจัยหลายเรื่องที่แสดงให้เห็นว่าความยึดมั่นผูกพันในงานมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การทางานของบุคคลและผลผลิตขององค์การ (Rich, Lepine, & Crawford, 2010; Saks, 2006) ความผูกพันต่องานยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นทั้งในระดับตัว บุคคลและองค์การ มากกว่ากรณีของบุคคลที่มีความยึดมั่นผูกพันในงานต่าจะไม่เห็นความสาคัญของ งานและไม่กระตือรืนร้นหรือทุ่มเทในการทางาน (Harter, Schmidt and Hayes, 2002) อย่างไรก็ตามมีงานวิจัยหลายเรื่องที่สนับสนุนอิทธิพลร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างความกดดัน จากงานและทรั พยากรงานที่มีผ ลต่อความยึดมั่นผู กพันในงาน เช่นผลการวิจัยในกลุ่ มพนักงานที่ ให้บริการลูกค้าในการตรวจสอบสมมุติฐานที่ปกปูอง(ทรัพยากรงานปกปูองอิทธิพลของความกดดัน ทางอารมณ์ที่มีผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน) พบว่าความกดดันทางอารมณ์มีความสัมพันธ์ทางลบ กับความยึดมั่นผูกพันในงานเมื่อพนักงานมีการรับรู้ความสามารถตนเองต่า และสมมุติฐานที่ส่งเสริม (อิทธิพลความกดดันจากงานส่งเสริมอิทธิพลของทรัพยากรงานที่มีต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน) พบว่า การรับรู้ความสามารถตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันในงานเมื่อมีความกดดันจาก งานมาก (Xanthopoulou, Bakker, Fischbach, 2013) สอดคล้องกับงานวิจัยที่ศึกษากับครูประถม ครูมัธยม และครูวิชาชีพชาวฟินแลนด์จานวน 805 คนพบว่ามีปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างทรัพยากรงาน และความกดดัน จากงาน(พฤติกรรมที่ไม่ดีของนักเรียน)ที่มีผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของครู กล่าวคือทรัพยากรงานส่งเสริมความยึดมั่นผูกพันในงานเมื่อมีความกดดันจากงานมาก และทรัพยากร งานยังทาหน้าที่ปกปูองหรือกันชนระหว่างความสัมพันธ์ทางลบระหว่างความกดดันจากงานและความ ยึดมั่นผูกพันในงาน กล่าวคือความสัมพันธ์ระหว่างความกดดันจากงานและความยึดมั่นผูกพันในงานมี น้อยลงเมื่อครูมีทรัพยากรงานจานวนมาก นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังพบว่ามีอิทธิพลหลักของความกดดัน จากงานส่งผลทางลบต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน (Bakker et al., 2007) แต่งานวิจัยที่ศึกษากับกลุ่ม ตัว อย่างข้าราชการครู ประถมศึกษาในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลโดยตรงใน ทางบวกต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของข้าราชการครูได้แก่ ทรัพยากรบุคคล (ภูมิคุ้มกันทางจิต และ แรงจูงใจในการทางาน) และทรัพยากรงาน (การรับรู้ความยุติธรรม สัมพันธภาพกับนักเรียน การ สนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน และการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา) โดยทั้งทรัพยากรบุคคล และ ทรัพยากรงานร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันในงานได้ร้อยละ 23 ในขณะที่ ความกดดันจากงานนั้นไม่มีผลโดยตรงต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน (อรพินทร์ ชูชม, 2557)
46
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
กล่าวโดยสรุปรูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงานlแสดงใหัเห็นว่าความยึดมั่นผูกพันในงานได้รับ อิทธิพลจากปัจจัยบุคคล และปัจจัยสภาพแวดล้อมการทางาน โดยที่ความยึดมั่นผูกพันในงานจะเป็น กลไกสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทางาน แนวทางการส่งเสริมความยึดมั่นผูกพันในงาน การส่งเสริมให้บุคลากรในองค์การมี ความยึดมั่นผูกพันในงานนั้น ผู้บริหารสามารถประยุกต์ แนวคิด และผลการวิจั ย ที่เกี่ย วข้องกับ ความยึดมั่นผู กพันในงานมาใช้ให้ เหมาะสมกับบุคคลและ สถานการณ์ต่างๆ ของหน่วยงาน ได้หลายแนวทางดังนี้ เช่น 1. หน่วยงานควรมีการสารวจระดับความยึดมั่นผูกพันในงานของบุคลากรและหาแนวทาง ส่งเสริมให้กับบุคลากรที่มีความยึดมั่นผูกพันในงานอยู่ในระดับต่า โดยอิงแนวคิดและงานวิจัยความยึด มั่นผูกพันในงาน โดยทั่วไปแนวทางหนึ่งที่เป็นไปได้คือทรัพยากรงานที่หน่วยงานมีอยู่ต้องอยู่ในรูป กระบวนการจูงใจที่จะเพิ่มความยึดมั่นผูกพันในงานและนาไปสู่พฤติกรรมการทางานที่พึงปราถนา เช่น หน่ ว ยงานต้องมีความยุ ติ ธ รรม มีก ารสนั บสนุ นทางสั งคมจากบุคคลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นจาก องค์การผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงาน รวมทั้งลดความกดดันจากงาน เช่น การทางานที่ควบคุมไม่ มีอิสระ ภาระงานที่มาก และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีปัญหา 2. จากแนวคิ ด และผลการวิ จั ย ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ในงาน แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง อิ ท ธิ พ ลของ ทรัพยากรบุคคลทรัพยากรงาน และความกดดันจากงาน ที่มีผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน และ พฤติกรรมการทางาน ดังนั้นในการวางแนวทางหรือมาตรการใดๆ ที่จะให้บุคคลากรมีความยึดมั่น ผู ก พั น ในงาน ควรจะต้ อ งพิ จ ารณาปั จ จั ย ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งนี้ ใ ห้ ค รบถ้ ว น โดยมี ก ารส ารวจว่ า คุณลักษณะทางบวกอะไร และทรัพยากรงานลักษณะไหนทีเป็นที่ต้องการของบุคลากรในหน่วยงาน และส่งเสริมให้บุคคลมีความยึดมั่นผูกพันในงาน ตลอดจนปัจจัยอะไรที่สร้างความกดดันในการทางาน 3. ในการสร้างเสริมให้บุคลากรมีความยึดมั่นผูกพันในงาน อาจทาได้ตั้งแต่เริ่มต้นในการ คัดเลือกบุคคลเข้าทางานอาจพิจารณาคุณลักษณะทางบวกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความยึดมั่นผูกพัน ในงาน เป็นส่วนประกอบในการคัดเลือกด้วย สรุปและข้อเสนอแนะในการศึกษาเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ความยึดมั่นผูกพันในงาน โดยทั่วไปแนวคิดรุปแบบความยึดมั่นผูกพันในงานที่นาเสนอในลักษณะสาเหตุและผลของ ความยึ ดมั่ น ผู กพัน ในงานได้มี การน าไปศึ กษาวิ จัยและตรวจสอบรู ปแบบนั้ นโดยส่ ว นใหญ่ ใช้แบบ แผนการวิจัยแบบภาคตัดขวาง (cross-sectional design)ที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะเวลา เดียวกัน ดังนั้นจึงมีความจากัดในการอ้างอิงเชิงเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันในงาน การศึกษา ต่อไปจึงควรเป็นการศึกษาระยะยาวและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง และควรมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยเพื่อช่วยในการอธิบายกระบวนการที่ทาให้บุคคลมีความยึดมั่นผูกพันในงานได้อย่างลุ่มลึก และครอบคลุมยิ่งขึ้น และควรมีการต่อยอดแนวคิดรูปแบบความยึดมั่นผูกพันในงาน โดยเฉพาะการ ศึกษาวิจัยพหุระดับ ที่ใช้ขัอมูลทั้งระดับบุคคล และระดับกลุ่ม/องค์การ เช่น ความยึดมั่นผูกพันในงาน ร่วมกันของกลุ่ม และนาเสนอปัจจัยสาเหตุอื่นๆที่น่าจะส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานนอกเหนือจาก ปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยงาน เช่นปัจจัยครอบครัว รวมทั้งควรมีการตรวจสอบสาเหตุและผลของ ความยึดมั่นผูกพันในงานของบุคลากรวิชาชีพต่างๆ หรือองค์การต่างๆ นอกจากนี้ควรศึกษาในลักษณะ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
47
การวิจัยเชิงทดลองเพื่อยืนยันสาเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันในงาน โดยอาจพัฒนาทรัพยากร บุคคลที่เป็นปัจจัยเชิงสาเหตุของความยึดมั่นผูกพันในงาน ประกอบกับการลดความกดดันจากงาน ควบคู่ไปกับการส่งเสริมทรัพยากรงาน เอกสารอ้างอิง อรพินทร์ ชูชม. (2557). การวิเคราะห์โครงสร้างความยึดมั่นผูกพันในงาน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 11(2), 75-79. Bakker, A.B., & Demerouti, E. (2008). Towards a model of work engagement. Career Development International, 13(2). 209 – 223. Bakker, A. B., Hakanen, J.J., Demerouti, E. & Xanthopoulou, D. (2007). Job resources boost work engagement particularly when job demand are high. Journal of Educational Psychology, 99(2), 274284. Hakanen, J.J., Bakker, A.B., & Schaufeli, W.B. (2006). Burnout and work engagement among teachers. Journal of School Psychology, 43, 495-513. Harter, J. K., Schmidt, F. L.,& Hayes, T. L. (2002). Business-unit-level relationship between employee satisfaction, employee engagement, and business outcome: A meta-analysis. Journal of Applied Psychology, 87(2), 268-279. Hu, Q., Schaufeli, W. B., & Taris, T. W. (2011). The job demands-resources model. An analysis of additive and joint effects of demands and resources. Journal of Vocational Behavior, 79, 181-190. Kahn, W.A. (1990). Psychological conditions of personal engagement and disengagement at work. Academy of Management Journal, 33, 692-724. May, D.R., Gilson, R.L., & Harter, L.M. (2004). The psychological conditions of meaningfulness, safety and availability and the engagement of the human spirit at work. Journal of Occupational and Organizational Psychology, 77, 11-73. Meijman, T. F., & Mulder, G. (1998). Psychological aspects of workload. In Drenth, P.J., Thierry, H. and de Wolff, C. J. (Eds), Handbook of Work and Organizational Psychology (pp.5-33), Erlbaum: Hove. Rich, B.L., Lepine, J.A., & Crawford, E., R. (2010). Job engagement : Antecedents and effects on job performance. Academy of Management Journal, 53 (3), 617 – 635. Saks, A. M. (2006). Antecedents and consequences of employee engagement. Journal of Managerial Psychology, 21(7), 600-619. Schaufeli, W.B., et al. (2002). The measurement of engagement and burnout: A two-sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3, 71-93. Xanthopoulou, D., Bakker, A. B., & Fischbach, A. (2013). Work engagement among employees facing emotional demands: The role of personal resources. Journal of Personnel Psychology, 12(2), 74-84.
48
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
การแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับเด็ก และเยาวชนไทย Guidance to Enhance Career Development for Thai Children and Youths นิรนาท แสนสา1
บทคัดย่อ อาชีพ เป็นภารกิจสาคัญที่บุคคลต้องทาเพื่อการเลี้ยงชีพ ในทุกสังคมจะมีการถ่ายทอดความรู้ ความชานาญในงานอาชีพแก่สมาชิกอยู่เสมอ ด้วยความมุ่งหวังให้ทุกคนประกอบอาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต สร้างคุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคม การแนะแนวอาชีพ นับเป็นกิจกรรมสาคัญที่ช่วยให้เด็กและ เยาวชนไทยรู้จักและเข้าใจตนเอง รู้จักโลกของอาชีพ สามารถพิจารณาตัดสินใจเลือกอาชีพและเตรียม ความพร้อมเข้าสู่อาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจะส่งเสริมพัฒนาการดังกล่าวนั้นจาเป็นต้ องอาศัย แนวคิ ด ทฤษฎี พั ฒ นาการทางอาชี พ และทฤษฎี ก ารเลื อ กอาชี พ มาเป็ น แนวทางจั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลาย ประกอบด้วย 1) กิจกรรมแนะแนวอาชีพในชั้นเรียน 2) ปูายสนเทศเกี่ยวกับอาชีพ 3) สื่อ สิ่งพิมพ์/โสตทัศนวัสดุเกี่ยวกับอาชีพ 4) แหล่งข้อมูลอาชีพที่เป็นสื่อออนไลน์ 5) นิทรรศการอาชีพ 6) เยี่ ยมชมสถานประกอบอาชีพ 7) รายการเสี ยงตามสายเกี่ยวกับอาชีพ 8) การบรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับอาชีพ 9) การให้การปรึกษาด้านอาชีพ และ10) การฝึกประสบการณ์อาชีพ คาสาคัญ: อาชีพ การแนะแนวอาชีพ พัฒนาการทางอาชีพ เด็กและเยาวชนไทย
____________________________ 1
อาจารย์ประจาหลักสูตรการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
49
Abstract A career is the most important function that a person has to perform in order to earn his/her living. In every society there will always be the imparting of knowledge and skills in each career to society members with the expectation that every person will be engaged in an honest career that will benefit both oneself and the society. Career guidance is considered as an important activity that will enable Thai children and youths to know and understand themselves, to be acquainted with the world of occupations, to consider and make decisions to choose their own career, and to prepare themselves to efficiently take up their career. In order to enhance career development of children and youths, we need to apply the career development theory and the career choice theory as the guidelines for organizing diversified activities comprising (1) career guidance activities in the classroom, (2) information boards on careers, (3) printed media/audio-visual materials on careers, (4) on-line information sources on careers, (5) exhibitions on careers, (6) study-visits to occupation enterprises, (7) closed-circuit broadcasting programs on careers, (8) lecturing and discussions on careers, (9) career counseling, and (10) career practicum. Keywords: Career, Career guidance, Career development, Children and Youths บทนา สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556: 17-18) ได้กาหนดแผน ยุทธศาสตร์การแนะแนวระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) โดยมีจุดมุ่งหมายให้การแนะแนวเป็นกระบวนการที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนไทยได้ รู้ จั ก เข้าใจ รั กและเห็ นคุณค่าในตนเองและผู้ อื่น คิดเป็ น ใช้ชี วิตเป็ น สามารถตั ดสิ นใจและวางแผน การศึกษา อาชีพ และปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย (2556: 10-12) ได้นาจุดมุ่งหมายของแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว มากาหนดเป็นมาตรฐานการแนะแนวเพื่อใช้เป็นแนวทางให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พัฒนา คุณภาพการจั ดกิ จกรรมแนะแนวให้ มี ประสิ ทธิ ภาพ ส่ งเสริ มให้ เด็กและเยาวชนไทยมีคุ ณลั กษณะที่ เหมาะสมกับช่วงวัยของแต่ละบุคคล คุณลักษณะที่มุ่งหวังสาคัญประการหนึ่งของมาตรฐานการแนะแนว คือ การพัฒนาให้ผู้เรียนที่ เป็นเด็ กและเยาวชนไทยเป็นผู้ที่สามารถคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และวางแผนด้ านอาชีพได้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถในศึกษาเรียนรู้เพื่อทาความรู้จักและเข้าใจตนเองเกี่ยวกับอาชีพ เช่น ความถนัด ความสนใจ เจตคติ ค่านิยม บุคลิกภาพที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ รวมทั้งรู้จักและเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพ เช่น ลักษณะ การทางานอาชีพ ความต้องการของตลาดแรงงาน คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพ ตลอดจนการเตรียมตัว
50
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
เพื่อเข้าสู่อาชีพได้อย่างประสบผลสาเร็จ ซึ่งการจะบรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าวได้นั้น การแนะแนวอาชีพถือ ว่าเป็นกิจกรรมสาคัญที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพแก่เด็กและเยาวชนได้ จุดมุ่งหมายของบทความนี้ มุ่งนาเสนอ 4 ประเด็นหลัก คือ 1) แนวคิดเกี่ยวกับอาชีพ 2) ความหมายและความสาคัญของการแนะแนวอาชีพ 3) ทฤษฎีสาคัญเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ และ 4) แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพ แต่ละประเด็นมีสาระสาคัญ ดังนี้ แนวคิดเกี่ยวกับอาชีพ "อาชี พ" หมายถึ ง การเลี้ ย งชี วิ ต การท ามาหากิ น หรื องานที่ ท าเป็ นประจ าเพื่ อเลี้ ยงชี พ (พจนานุ กรมฉบั บราชบั ณฑิ ตยสถาน. 2556: 1403) ในทุ กสั งคมจะมี การอบรมถ่ ายทอดความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพแก่สมาชิกของสังคม ด้วยความมุ่งหวังให้ทุกคนเป็นผู้มีความรู้ มีทักษะ ความชานาญ สามารถประกอบอาชีพด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต สร้างคุณประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม แนวคิดเกี่ยวกับอาชีพที่สังคมมีความคาดหวั งต่อสมาชิกของสังคมสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประการ (Sommers. 2005: 171) ดังนี้ ประการแรก บุคคลควรได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการทางาน อาชีพ เพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงานและการมีงานทา (Workforce Development and Jobs Search) แนวคิดนี้ให้ความสาคัญกับอาชีพของบุคคลเพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจ มุ่งเน้นการเตรียมกาลังคนเข้าสู่ ตลาดแรงงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ ซึ่งเป็นแนวคิดที่ได้รับการสนับสนุน อย่างมากในปัจจุบันที่เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร มุ่งส่งเสริมการพัฒนาคนให้มีความรู้ความสามารถ และมี ทักษะอาชีพเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ประการที่สอง บุคคลควรได้รับการพัฒนาให้สามารถดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพด้วยการมีพัฒนาการ อย่างสมวัยทั้งด้านการประกอบอาชีพ และความเป็นมนุษย์ (Career and Human Development) โดย มุ่งเน้นที่การเจิญเติบโตและการมีพัฒนาการอย่างเหมาะสมตลอดทุกช่วงวัย ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ใช่ แต่ เฉพาะเรื่ องอาชี พเท่ านั้ น แต่ ยั งหมายรวมถึ งการมี บทบาทหน้ าที่ ในการด าเนิ นชี วิ ตในด้ านอื่ นๆ นอกเหนือจากการทางานอาชีพด้วย กล่าวได้ว่า อาชีพ เป็นสิ่งมีคุณค่าที่ทุกคนควรยึดถือปฏิบัติ ทามาหาเลี้ยงชีพ ฝึกฝนพัฒนาตน ให้เป็นกาลังแรงงานที่มีศักยภาพ ช่วยให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างราบรื่นเจริญก้าวหน้านามา ซึ่งความผาสุก อยู่ดี กินดีของคนในสังคมนั้นๆ รวมทั้ง อาชีพยังเป็นพัฒนาการของบุคคลแต่ละคนที่ ต้องเรียนรู้พัฒนาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ความสามารถ และทักษะในการทางานเพื่ อการมีชีวิต อยู่อย่างมีคุณภาพ เป็นประโยชน์สุขทั้งต่อตนเอง และสังคมโดยรวม การที่จะช่วยให้บุคคลในสังคมมีพัฒนาการด้านอาชีพ สามารถบรรลุตามจุดมุ่งหมายดังกล่าว ได้นั้น "การแนะแนวอาชีพ" เป็นกิจกรรมสาคัญที่สามารถช่วยให้เด็กและเยาชนได้เติบโต และมี พัฒนาการทางอาชีพที่เหมาะสมตามวัย
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
51
ความหมาย และความสาคัญของการแนะแนวอาชีพ 1. ความหมายของการแนะแนวอาชีพ ในทัศนะของแฟรงค์ พาร์สันส์ (Fank Parsons cited in Creager and Deacon. 2012: 45) การแนะแนวอาชีพ หมายถึง กระบวนการที่ผู้ให้บริการ จัดกิจกรรมต่างๆ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้รับบริการสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อเข้า สู่อาชีพ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ 1.1 รู้จักและเข้าใจตนเองด้านอาชีพ เช่น ความถนัด สนใจ เจตคติ ค่านิยม บุคลิกภาพของตนเองที่เกี่ยวข้อง กับอาชีพ 1.2 รู้ จัก และเข้ า ใจโลกของอาชีพ เช่น ชื่ ออาชี พ ลักษณะการทางานของอาชีพ คุณค่าของอาชีพที่มีต่อ ตนเอง ครอบครั ว สั งคมประเทศชาติ ข้อดี /ข้ อจ ากั ด ตลาดแรงงาน สิ่ ง แวดล้ อ มในงาน คุ ณ ลั ก ษณะของผู้ ประกอบอาชีพที่ประสบความสาเร็จ ภาพที่ 1 การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการ ช่วยให้ผู้รับบริการเตรียมความพร้อม เข้าสู่อาชีพ
1.3 การตัดสินใจและเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพ เป็นการนาข้อมูลการรู้จักตนเองและรู้จักโลกของอาชีพ มาพิจารณาใคร่ครวญเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง และวางแผนเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่อาชีพได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
การแนะแนวอาชีพ จึงเป็นการจัดมวลประสบการณ์ที่หลากหลายเพื่อช่วยให้เด็กและเยาวชน รู้จักและเข้าใจตนเองด้านอาชีพ รู้จักและเข้าโลกของอาชีพ รวมทั้งช่วยให้สามารถพิจารณาตัดสินใจ เลือกอาชีพและเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่อาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ความสาคัญของการแนะแนวอาชีพ การจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพที่มีคุณภาพมี ความสาคัญต่อบุคคลและฝุายต่างๆ ดังภาพต่อไปนี้
52
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ภาพที่ 2 ความสาคัญของการแนะแนวอาชีพ จากภาพดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพที่มีคุณภาพจะช่วยส่งเสริมให้เด็ก และเยาวชนมีพัฒนาการด้านอาชีพที่เหมาะสมตลอดทุกช่วงวัย กล่าวคือ รู้จักและเข้าใจตนเอง รู้จัก โลกของอาชีพ สามารถนาข้อมูลการรู้จักตนเอง และการเข้าใจโลกของอาชีพมาพิจารณาตัดสินใจ เลือกและวางแผนเข้าสู่อาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ครอบครัว พ่อแม่/ผู้ปกครองมีบุตร หลานที่ ดี มีค วามรั บ ผิ ดชอบ มีอ าชีพการงาน สร้างความภาคภู มิใจและหารายได้เ พื่อช่ว ยเหลื อ ครอบครัว และมีคุณภาพชีวิตที่ดีในการดาเนินชีวิต นอกจากนี้ ก ารที่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นและเยาวชนได้ รั บ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการด้ า นอาชี พ อย่ า ง เหมาะสม ย่ อ มมี ค วามมุ่ ง มั่ น ในการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นจนส าเร็ จ การศึ ก ษาสามารถมี ง านท า บรรลุ จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาที่มุ่งให้ผู้สาเร็จการศึกษาไม่ว่าในระดับใด "จบการศึกษาแล้วมีงาน ท า" ซึ่ ง นั่ น หมายถึ ง การส่ ง เสริ ม ให้ ส มาชิ ก ของชุ ม ชน/สั ง คมได้ รั บ การพั ฒ นาเป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพที่ซื่อสัตย์ สุจริต สร้างความเจริญก้าวหน้า คุณประโยชน์ และ ความสงบสุขแก่สังคม ท้ายที่สุด การที่ประเทศชาติมีพลเมืองที่มีความรู้ มีทักษะความสามารถในการประกอบอาชีพ ย่อมเป็นกาลังสาคัญในการนาพาประเทศชาติเข้าสู่การแข่งขันกับนานาชาติได้อย่างเต็มศักยภาพ สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนให้แก่ประเทศชาติต่อไป ทฤษฎีสาคัญเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ ทฤษฎีสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการแนะแนวอาชีพเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับ เด็ก และเยาวชนที่จะกล่าวถึงในที่นี้ ประกอบด้วย 1) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของกินซ์เบิร์ก และ 2) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลล์แลนด์ ในแต่ละทฤษฎีมีสาระสาคัญที่มีประโยชน์ต่อการนาไปใช้เป็น แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพ ดังนี้
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
53
1) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของกินซ์เบิร์ก หรือ Ginzberg's Theory ได้กล่าวถึง พัฒ นาการทางอาชีพของเด็กและเยาวชน โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ แต่ล ะระยะมีลั กษณะของ พัฒ นาการด้ า นอาชี พ ที่น าไปสู่ ก ารจั ดกิ จ กรรมแนะแนวให้ เหมาะสมกั บ วั ยของเด็ก และเยาวชน (Ginzberg et al. cited in Shen-Miller, McWherter and Bartone, 2013) ดังนี้ ระยะที่ 1 ช่วงวัยเด็กตอนต้น (อายุก่อน 11 ปี) เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษา เป็นวัยที่ อยู่ในช่วงที่เรียกว่า ระยะคิดฝันหรือจินตนาการ (Fantasy Period) เด็กจะมีความสนใจหรือคิดฝัน ถึงอาชีพที่ตนอยากเป็นในอนาคตโดยยังไม่ได้คานึงถึงเหตุผลและสภาพความเป็นจริ งของตน แต่จะ เลือกตามความคิดจินตนาการ และการได้รับอิทธิพลจากการพบเห็นกิจกรรมต่างๆเกี่ยวกับอาชีพที่อยู่ รอบๆ ตัวของพวกเขา ลักษณะของพัฒนาการดังกล่าวนี้ ครู แนะแนวและบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งจึ ง ควรจั ด กิ จ กร รม ที่ ช่ ว ย ส่ ง เส ริ ม กา รคิ ดฝั นแ ล ะ จินตนาการทางอาชีพ เช่น การแนะนาให้รู้จัก อาชี พ ต่ า งๆ การน าเที่ ย ว เยี่ ย มชมกิ จ กรรม ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อาชี พ การชี้ ช วนมอง อาชี พ รอบๆ ตั ว ทั้ ง อาชี พ ในบ้ า น ในชุ ม ชน รวมทั้งการจัดกิจกรรมในโรงเรียน หรือในชั้น ภาพที่ 3 การสวมบทบาทสมมติ เรี ย นที่ มุ่ ง เน้ น จั ด บรรยากาศให้ เ ด็ ก ได้ แสดงออกโดยการเล่น การสวมบทบาทสมมติ ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางอาชีพ ในอาชีพต่างๆ เช่น การสวมบทบาทเป็นครูกับ นักเรียน หมอ/พยาบาลกับคนไข้ พนักงานขายกับลูกค้า ตารวจ ทหาร ดารา ศิลปิน นักข่าว และ อาชีพอื่นๆ ที่เด็กมีความคิดฝันอยากจะเป็น การสร้ า งโอกาสให้ เ ด็ ก ได้ ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยกระตุ้ น ให้ เ ด็ ก มี ค วามคิ ด จินตนาการ เกิดการสารวจความสนใจที่มีต่ออาชีพของตนเองทีละเล็กละน้อย อย่างไรก็ตาม ความ สนใจในอาชีพในช่วงวัยนี้จะยังมีลักษณะการคิดฝัน โดยไม่ได้คานึงถึงเหตุผ ลและสภาพความเป็นจริง ของตน ซึ่งก็ถือได้ว่าเป็นพัฒนาการช่วงหนึ่งของการวางแผนเข้าสู่อาชีพต่อไปในอนาคต ระยะที่ 2 ช่วงวัยเด็กตอนปลายและวัยรุ่น (อายุประมาณ 11-18 ปี) เป็นนักเรียนตั้งแต่ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย และระดับมัธยมศึกษา เป็นวัยที่อยู่ในช่วงที่เรียกว่า ระยะทดลองเลือก อาชีพ (Tentative Period) พัฒนาการทางอาชีพในช่วงวัยนี้จะเริ่มมีการเลือกอาชีพตาม ประสบการณ์ของแต่ละคนที่ได้ประสบ ซึ่งกินซ์เบิร์ก และคณะ ได้แบ่งพัฒนาการที่มีการเปลี่ยนแปลง ออกเป็น 4 ขั้นตอนย่อย ดังนี้ ขั้นที่ 1 ช่วงวัยเด็ก (อายุประมาณ 11-12 ปี) เป็นช่วงวัยของนักเรียนระดับประถมศึกษา ตอนปลาย จะมีพัฒนาการทางอาชีพที่เรียกว่า ขั้นความสนใจ (Interest Stage) เด็กจะเริ่มมีความ สนใจต่ออาชีพต่างๆที่ตนได้ประสบ และเริ่มเรียนรู้ว่าตนเองชอบหรือไม่ชอบอาชีพอะไร การจัดกิจกรรมแนะแนวจึงควรเปิดโอกาสให้เด็กนักเรียนได้สัมผัสเรียนรู้กับอาชีพต่าง ๆ เช่น การได้เข้าไปอยู่ร่วมในบรรยากาศของสิ่งแวดทางอาชีพทั้งลักษณะอาชีพในสถานการณ์จริง และอาชีพ
54
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ในสถานการณ์จาลอง มีการทดลองหยิบจับ สัมผัสอาชีพต่าง ๆ หรืออาจมีการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน โดยผ่านใช้กิจกรรม และสื่อต่าง ๆ เพื่อให้นักเรี ยนที่อยู่ในช่วยวัย 11-12 ปี ที่กาลังเรียนอยู่ในระดับ ประถมศึก ษาตอนปลายได้มีโ อกาสเรี ย นรู้ จักลั กษณะของอาชีพที่แ ตกต่างหลากหลาย และย้อ น พิจารณาใคร่ครวญดูตนว่ามีความรู้สึกนึกคิดที่มีต่องานอาชีพต่าง ๆ อย่างไร จนสามารถบอกกับ ตนเองได้ว่าชอบหรือไม่ชอบในอาชีพใด ขั้ น ที่ 2 ช่ ว งวั ย รุ่ น ตอนต้ น (อายุ ป ระมาณ 13-14 ปี ) เป็ น ช่ ว งวั ย ของนั ก เรี ย นระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น จะมีพัฒนาการทางอาชีพที่เรียกว่า ขั้นความสามารถ (Capacity Stage) ในขั้น นี้นักเรียนที่เป็นวัยรุ่นตอนต้นจะเริ่มตระหนักถึงความสามารถของตนเองเมื่อเปรียบเทียบกับความ ต้องการความรู้ ความสามารถของผู้ ที่จ ะประสบความส าเร็จ ในการประกอบอาชีพนั้ น ๆ นั่นคื อ นอกจากนักเรียนจะรู้จักตนเองเกี่ยวกับความชอบความสนใจแล้ว นักเรียนจะเริ่มหันมาสารวจตนเอง ว่ามีความสามารถในการเข้าสู่อาชีพที่ตนเองชอบหรือสนใจนั้นหรือไม่ การจั ดกิจ กรรมแนะแนวสาหรั บนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นนี้ จึงควรเป็นไปเพื่อให้นักเรียนได้ ทดสอบความรู้ ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่จะชี้ให้เห็นว่า นักเรียนมีความสามารถในเรื่องใดเป็น จุ ด เด่ น และในเรื่ อ งใดเป็ น จุ ด ด้ อ ย ซึ่ ง หากครู ผู้ ป กครอง และตั ว นั ก เรี ย นเองตระหนั ก ชั ด ใน ความสามารถที่มีอยู่ ก็จะสามารถดึงเอาศักยภาพด้านนั้นมาพัฒนาให้เต็มที่ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการ วางแผนเพื่อเข้าสู่อาชีพที่นักเรียนมีความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขั้น ที่ 3 ช่วงวัยรุ่ น ตอนกลาง (อายุประมาณ 15-16 ปี) เป็นช่ว งวัยของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จะมีพัฒนาการทางอาชีพที่เรียกว่า ขั้นค่านิยม (Values Stage) นักเรียนวัยรุ่นที่มีพัฒนาการสมวัยจะเริ่มพิจารณาถึงค่านิยมและ จัดลาดับความสาคัญของค่านิยมในชีวิตของตนเอง รวมทั้งคานึงถึงวิถีชีวิตในการประกอบอาชีพว่า อาชีพใดจะเติมเต็มความต้องการ และสอดคล้องกับค่านิยมของตน การจัดกิจกรรมแนะแนวสาหรับนักเรียนวัยรุ่นตอนกลางนี้จึงควรมุ่งเน้นช่วยให้สารวจค่านิยม ในอาชีพซึ่งต้องคานึงถึงคุณค่าที่มีต่อสั งคมและการพัฒ นาตนเอง ตลอดจนสามารถเลื อกอาชีพที่ สอดคล้องกับค่านิยมของตนเองได้ ขั้นที่ 4 ช่วงวัยรุ่นตอนปลาย (อายุประมาณ 17-18 ปี) เป็นช่วงวัยของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จะมีพัฒนาการทางอาชีพที่ เรียกว่า ขั้นการเปลี่ยนแปลง (Transition Stage) เป็นช่วงวัยที่เริ่มตัดสินใจเลือกอาชีพ และได้เริ่ม ทดลองลงมือปฏิบัติจริง ตลอดจนเริ่มมีความรับผิดชอบต่อผลดีผลเสียที่เกิดจากการทดลองทาอาชีพ นั้นๆของตนด้วย การจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับนักเรียนในช่วงวัยนี้จึงควร ส่งเสริมให้ได้ทดลองประสบการณ์ในการทางาน เช่น การฝึกงานในสถานศึกษา การฝึกงานในสถาน ประกอบการ การฝึกทางานอาชีพในครอบครัว ตลอดจนแหล่งงานต่าง ๆ ที่มีความสะดวก ปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมายสาหรับนักเรียนวัยรุ่น การฝึกประสบการณ์อาชีพดังกล่าวนี้อาจเป็นการ ทางานเต็มเวลาในช่วงปิ ดภาคเรีย น หรือทางานในช่วงเวลาพิเศษหลั งเลิ กเรียน หรือช่วงวันเสาร์ อาทิตย์ก็ได้ขึ้นอยู่กับความหมาะสม ทั้งนี้มีจุดมุ่งหมายสาคัญคือให้ได้มีประสบการณ์ตรงในการทดลอง ลงมือปฏิบัติจริงในอาชีพที่ตนเองเลือกนั้น
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
55
กล่ า วได้ ว่ า พั ฒ นาการทางอาชี พ ในระยะ ทดลองเลือกอาชีพ (Tentative Period) ตามแนวคิด ของกิ น ซ์เ บิ ร์ ก และคณะ เกิ ด ขึ้ น ในช่ ว งวั ย เด็ ก จนถึ ง วัยรุ่นตอนปลาย อยู่ในช่วงอายุก่อน 11 ปี จนถึงอายุ 18 ปี ซึ่ ง เป็ น วั ย ของผู้ เ รี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษา จนถึงมั ธ นมศึ กษาตอนปลาย หรื อ ระดั บ ปวช.และ ปวส. ช่วงวัยดังกล่าวจึงเป็นช่วงเวลาอันสาคัญและมี คุณค่าอย่างยิ่งต่อการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านอาชีพให้พวกเขาได้เรียนรู้ว่าตนเองชอบ ห รื อ ไ ม่ ช อ บ อ า ชี พ อ ะ ไ ร ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม รู้ ภาพที่ 4 การฝึกงานช่วยส่งเสริมพัฒนาการอาชีพ ความสามารถของตนเองที่มีอยู่และพิจารณาว่าตนเอง จะสามารถท าอาชี พ อะไรได้ ห รื อ ไม่ ไ ด้ ภ ายใต้ ค วาม สนใจที่ ต นเองมี ต่ อ อาชี พ นั้ น ๆ สามารถจั ด ล าดั บ ความสาคัญของค่านิยมในอาชีพของตนเอง รวมทั้งสามารถพิจารณาว่าอาชีพใดจะสามารถช่วยเติม เต็มให้บรรลุถึงค่านิยมของตนเองได้ ตลอดจนสามารถตัดสินใจเลือกและเริ่มทดลองลงมือปฏิบัติจริง ในอาชีพที่ตนเลือกนั้น ระยะที่ 3 ช่วงวัยรุ่นตอนปลายจนถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น (อายุระหว่าง 19-21 ปี) ซึ่งเป็น นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา หรือผู้ที่เริ่มเข้าสู่งานอาชีพ เป็นวัยที่อยู่ในช่วงที่เรียกว่า ระยะพิจารณา เลือกตามความเป็นจริง (Realistic Period) บุคคลจะเริ่มมีความชัดเจน และสามารถระบุอาชีพที่ ตนสนใจได้อย่างเฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น ในระยะนี้มีขั้นตอนย่อย 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ขั้นสารวจ (exploration Stage) หลังจากสารวจข้อมูลอาชีพที่เป็นตัวเลือก หลายๆอาชีพแล้ว บุคคลที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนปลายจนถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นจะจากัดทางเลือกอาชีพ ให้แคบลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจ ทักษะและความสามารถของแต่ละบุคคลที่มีต่ออาชีพต่างๆ ขั้นที่ 2 ขั้นตกผลึก (crystallization Stage) เป็นพัฒนาการที่วัยรุ่นตอนปลายจนถึงวัย ผู้ใหญ่ตอนต้นจะมีความชัดเจนในอาชีพและมีความมุ่งมั่นที่จะเข้าสู่สาขาอาชีพที่เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 3 ขั้นพัฒนาลักษณะเฉพาะของอาชีพ (specification Stage) บุคคลจะแสวงหา ประสบการณ์ด้านการทางานหรือหลักสูตรฝึกอบรมที่ต้องใช้ในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้เพื่อการเข้าสู่ อาชีพอย่างประสบผลสาเร็จ และบรรลุเปูาหมายในอาชีพที่เขาได้เลือกไว้ 2) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลล์แลนด์ เป็นแนวคิดที่ฮอลล์แลนด์ ได้วิเคราะห์และ จาแนกประเภทของบุคคลและลักษณะงานอาชีพให้เป็นหมวดหมู่ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ดังภาพต่อไปนี้
56
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ภาพที่ 5 โครงสร้างภาพหกเหลี่ยมลักษณะอาชีพของฮอลล์แลนด์ ที่มา : Holland. 1997 cited in Creager and Deacon. 2012: 48 ฮอลล์แลนด์ (Holland. 1959 cited in Creager and Deacon. 2012: 46-48) มีแนวคิด สาคัญว่า บุคคลโดยส่วนใหญ่ในสังคมสามารถจาแนกออกเป็น 6 ประเภท และ ลักษณะงานอาชีพใน สังคมส่วนใหญ่ก็จาแนกออกเป็น 6 ประเภทเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ในแต่ละบุคคลจะไม่มีเพียง ลักษณะใดลักษณะหนึ่งเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะประกอบด้วยหลายลักษณะในบุคคลเดียวกัน แต่ อาจจะมีลักษณะที่โดดเด่นอยู่อย่างใดอย่างหนึ่งใน 6 ประเภทนั้น ซึ่งบุคคลแต่ละคนจะพยายามค้นหา งานอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพของตนเพื่อจะ ได้ทางานอาชีพได้อย่างประสบความสาเร็จและมีความสุขในการดาเนินชีวิต ลักษณะของบุคคลและลักษณะงานอาชีพ 6 ประภท มีดังนี้ บุคคลประเภทที่ 1 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานสภาพเป็นจริง หรือ Realistic (R) เป็น บุคคลผู้ชอบลงมือทาสิ่งต่างๆ (Doer) มีบุคลิกภาพแบบจริงจัง ไม่คิดฝัน นิยมความจริง และสิ่งที่เป็น รูปธรรม ชอบงานการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร สิ่งที่เป็นรูปธรรม จับต้องได้ งานประเภทที่ 1 เป็นอาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพเป็นจริง จับต้องได้เป็นรูปธรรม เช่น วิศวกร ช่างเทคนิค นักบิน ประมง ปุาไม้ เกษตรกร สัตวแพทย์ นักกายภาพบาบัด ผู้ฝึกกีฬา ครูสอนพลศึกษา ช่างฝีมือ ช่างเครื่องยนต์ ช่าง เจียระไน ช่างเชื่อม ช่างทอ ช่างปัก ช่างก่อสร้าง ช่างซ่อม ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ฯลฯ บุคคลประเภทที่ 2 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานศึกษาค้นคว้า หรือ Investigative (I) เป็น บุคคลผู้ชอบคิดในสิ่งต่างๆ (Thinker) มีบุคลิกภาพแบบใช้เชาวน์ปัญญา ความคิด และการแสวงหา ความรู้ ชอบงานการสืบสวนสอบสวน แก้ไขปัญหา งานทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ งานประเภทที่ 2 เป็ น อาชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษาค้ น คว้ า เช่ น แพทย์ ทั น ตแพทย์ สั ต วแพทย์ เภสั ช กร นั กวิท ยาศาสตร์ การแพทย์ นั กวิท ยาศาสตร์ นัก รัง สี เทคนิค นั กคณิ ตศาสตร์ นักวิ เคราะห์ ระบบ คอมพิวเตอร์ นักเคมี นักฟิสิกส์ นักเขียนเศรษฐศาสตร์ นักเขียนรายงานวิชาการ นักโบราณคดี ฯลฯ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
57
บุคคลประเภทที่ 3 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานศิลปะ หรือ Artistic (A) เป็นบุคคลผู้ชอบ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ (Creator) ชอบการสร้างสรรค์กิจกรรมในงานศิลปะ ภาษา และดนตรี มองตนเอง ว่าเป็นผู้แสดงออกทางความคิดและความรู้สึก อย่างอิสระ งานประเภทที่ 3 เป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานศิลปะ เช่น สถาปนิก มัณฑนากร จิตรกร ประติมากร นักเขียนการ์ตูน นักออกแบบ นักถ่ายภาพ นางแบบ ศิลปิน นักดนตรี นักประพันธ์ นักแสดง ครูสอนศิลปะ นักหนังสือพิมพ์ นักประชาสัมพันธ์ นักแต่งเพลง ครูสอนดนตรี เต้นรา ละคร ฯลฯ บุคคลประเภทที่ 4 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานสังคม หรือ Social (S) เป็นบุคคลผู้ชอบ ช่วยเหลือผู้อื่น (Helper) ชอบงานการช่วยเหลือผู้คน งานด้านการศึกษา ด้านสวัสดิการสังคม งาน ประเภทที่ 4 เป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับสังคม เช่น นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา นักแนะแนว ครู/ อาจารย์ นั ก ปกครอง พยาบาล เจ้ า หน้ า ที่ ฝุ า ยบุ ค คล ผู้ จั ด การโรงแรม นั ก จั ด รายการ นั ก ประวัติศาสตร์ พัฒนากร บรรณารักษ์ พนักงานต้อนรับ ตารวจ พ่อบ้าน แม่บ้าน ช่างเสริมสวย ฯลฯ บุคคลประเภทที่ 5 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานวิสาหกิจ หรือEnterprising (E) เป็นบุคคลผู้ ชอบเชิญชวนจูงใจผู้อื่น (Persuader) มีบุคลิกภาพแบบกล้าคิดกล้าทา ชอบการวางแผน ชอบค้าขาย สนใจกิจกรรมทางด้านธุรกิจหรือการเมือง ชอบงานการจัดการ การเป็นผู้นา การโน้มน้าวจูงใจ การ ขายทั้ งความคิด และสิ่ งของ มองตนเองว่าเป็ นผู้ เ พิ่มพลั ง และสร้ างแรงบรรดาลใจให้ ผู้ อื่น งาน ประเภทที่ 5 เป็ น อาชีพที่เกี่ย วข้ องกับวิส าหกิจ เช่น นักธุรกิจ นายธนาคาร พ่อค้า นักการเมือ ง นายหน้า พิธีกร โฆษกวิทยุ ผู้พิพากษา ทนายความ นักจัดรายการ พนักงานขาย ผู้บริหาร ฯลฯ บุคคลประเภทที่ 6 ลักษณะของบุคคลที่ชอบงานระเบียบแบบแผน หรือ Conventional (C) เป็นบุคคลผู้ชอบจัดสิ่งต่างๆ ให้เป็นระบบระเบียบ (Organizer) ชอบงานที่มีความชัดเจนเป็น ระบบระเบียบแบบแผน งานตัวเลข งานบันทึก งานบัญชี งานประเภทที่ 6 เป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ งานที่เป็นระเบียบแบบแผน เช่น นักบัญชี สมุห์บัญชี เจ้าหน้าที่การเงิน การธนาคาร ผู้ตรวจสอบบัญชี เจ้าหน้าที่งบประมาณ พนักงานสินเชื่อ นักวิเคราะห์การเงิน เลขานุการ เสมียน เจ้าหน้าที่ธุรการ ยาม พนักงานเก็บเงิน พนักงานพิมพ์ดีด ฯลฯ แนวคิดของฮอลล์แลนด์ที่มีการจัดกลุ่มบุคคลและลักษณะงานอาชีพดังกล่าวข้างต้น สามารถ นามาเป็นความรู้พื้นฐานเพื่อช่วยให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักและเข้าใจลักษณะของตนเองที่เกี่ยวข้องกับ อาชีพ อีกทั้งช่วยให้รู้จั กลักษณะของอาชีพต่าง ๆ ได้อย่างรอบด้าน ทั้งนี้เพื่อจะได้นามาพิจารณา ตัดสินใจเลือกเพื่อวางแผนและเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่อาชีพต่อไปได้ อย่ า งไรก็ ต ามเนื่ อ งจากลั ก ษณะของอาชี พ ในปั จ จุ บั น มี ค วามซั บ ซ้ อ นหลากหลายและ เปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมาก ดังนั้นครูแนะแนวและบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรมีการศึกษาข้อมูลเพิ่ม เพิ่ม พร้อมทั้งคิดค้นวิธีการจัดกิจกรรมแนะแนวที่มีความหลากหลายและมีคุณภาพเพื่อช่วยให้เด็กและ เยาวชนมีพัฒนาการทางอาชีพและสามารถเลือกอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับเด็กและเยาวชน การจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพของเด็กและเยาวชนสามารถจัดได้ อย่างหลากหลาย ซึ่ง มีแนวทางพอสรุปได้ดังภาพต่อไปนี้ (นิรนาท แสนสา. 2558)
58
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ภาพที่ 6 แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับเด็กและเยาวชน การจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสาหรับเด็กและเยาวชน ต้องจัดให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัยของผู้รับบริการ ยึดหลักการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการแนะแนวทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา มีจานวนกิจกรรมที่ครอบคลุมเพียงพอ และให้บริการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งต้องถือเอาประโยชน์ของผู้รับบริการเป็นสาคัญด้วยหลักการประโยชน์สูง-ประหยัดสุด ซึ่งแต่ละ แนวทางมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1. กิจกรรรมแนะแนวอาชีพในชั้นเรียน เป็นวิธีการพื้นฐานที่ครูแนะแนวจัดขึ้นเพื่อช่วยให้ ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รู้จักโลกของอาชีพ เป็นวิธีที่ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้พร้อมกันคราวละ หลายๆ คน โดยที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้เปิดโอกาส ให้ครูแนะแนวจัดกิจกรรมแนะแนวให้แก่ผู้เรียน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งถือว่าเป็นโอกาสดีที่ทั้งครูและ ศิษย์จะได้ใช้ช่วงเวลาให้เกิดคุณค่าต่อการเรียนรู้จักตนเองและโลกของอาชีพร่วมกัน ซึ่งในปัจจุบัน ลักษณะของอาชีพได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ที่เชื่อมเข้าหากันอย่างไม่หยุดยั้ง แนวทางที่ ค รู แ นะแนวจะสามารถสร้ า งและพั ฒ นาให้ มี กิ จ กรรมแนะแนวที่ มี คุ ณ ภาพ ประกอบด้วย 1) สารวจความต้องการข้อมูลด้านอาชีพของผู้รับบริการ 2) กาหนดหัวข้อ/ชื่อกิจกรรม แนะแนว 3) จัดลาดับหัวข้อกิจกรรมแนะแนวอาชีพให้สอดคล้องและมีลาดับก่อนหลังที่ เหมาะสม 4) กาหนดระยะเวลาที่ใช้จัดกิจกรรมแนะแนวให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเนื้อหาของกิจกรรม 5) จัดทาแผนกิจกรรมแนะแนวตามหัวข้อต่าง ๆ ที่ได้กาหนดไว้ 6) ดาเนินการจัดกิจกรรมแนะแนว เพื่อให้ผู้รับบริการได้รู้จักตนเอง และรู้จักโลกของอาชีพ เพื่อการตัดสินใจและวางแผนเข้าสู่อาชีพอย่าง มีประสิทธิภาพ และ 7) ประเมินผลการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงคราวต่อไป 2. ป้ายสนเทศเกี่ยวกับอาชีพ แม้ว่าในปัจจุบันจะมีสื่อออนไลน์ที่ผู้รับบริการสามารถเข้าถึง ได้อย่ างแพร่หลาย แต่ก็ยังมีกลุ่มเปูาหมายอีกจานวนมากที่ไม่ สามารถเข้าถึงสื่ อเหล่านั้นได้ ทั้งนี้
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
59
เนื่ องจากผู้ รั บ บริ การบางคนอาจอยู่ในพื้นที่ ห่ างไกลและไม่ส ามารถใช้สื่ อออนไลน์เหล่ านั้น หรื อ แม้กระทั่งผู้ที่อยู่ในเขตเมืองที่สามารถเข้าถึงสัญญาณของสื่อออนไลน์ แต่หากขาดแคลนทุนทรัพย์ก็ เป็นอุปสรรคในการรับข้อมูลเกี่ยวกับโลกของอาชีพได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นการจัดปูายสนเทศเกี่ยวกับ อาชีพจึงยังคงมีความสาคัญและจาเป็นสาหรับกระตุ้นพัฒนาการด้านอาชีพให้ผู้รับบริการตระหนักถึง ความสาคัญของอาชีพ และได้รับทราบข้อมูลความจริงเกี่ยวกับโลกของอาชีพที่กว้างขวางยิ่งขึ้น แนวทางในการจัดทาปูายสนเทศเกี่ยวกับอาชีพ ประกอบด้วย 1) วางแผนการจัดทาปูาย สนเทศเกี่ยวกับอาชีพ 2) ดาเนินการจัดทาปูายสนเทศเกี่ยวกับอาชีพ โดย กาหนดหัวเรื่องในปูาย สนเทศ กาหนดเนื้อหา และรายละเอียดของเนื้อหา พิจาณาการใช้ภาพวาด ภาพถ่าย หรือแผนภูมิ และ การจัดวางองค์ประกอบของปูายสนเทศให้เ หมาะสมกับวัยของกลุ่มเปูาหมาย 3) จัดแสดงปูาย สนเทศเกี่ยวกับอาชีพ และ 4) ประเมินผลการจัดปูายสนเทศเกี่ยวกับอาชีพเพื่อนาผลมาปรับปรุงใน การจัดทาครั้งต่อไป 3. สื่อสิ่งพิมพ์/โสตทัศนวัสดุเกี่ยวกับอาชีพ สื่อสิ่ งพิมพ์เกี่ยวกับอาชีพ ในที่นี้ หมายถึง หนังสือ วารสาร แผ่นพับ ฯลฯ ซึ่งบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ ที่ผู้รับบริการสามารถศึกษาค้นคว้า เพื่อทาความรู้จักรายละเอียดของอาชีพต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางและลุ่มลึกตามความสนใจของแต่ละคน สาหรับ โสตทัศนวัส ดุเกี่ย วกับอาชีพ หมายถึง วีดิทัศน์ สไลด์ ภาพยนตร์ ฯลฯ ซึ่งมี เนื้อหานาเสนอเกี่ยวกับเรื่องราวของการประกอบอาชีพต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งภาพและเสียงให้ผู้รับบริการ ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพต่างๆได้อย่างละเอียดชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งครูแนะแนวควร จัดหา รวบรวม รวมทั้งอาจผลิตขึ้นเองในบางส่วนเพื่อให้เหมาะสมกับผู้รับบริการ แนวทางในการให้ ข้ อ มู ล ด้ า นอาชี พ ในรู ป แบบสื่ อ พิ ม พ์ แ ละโสตทั ศ นวั ส ดุ ประกอบด้ ว ย 1) วางแผนการให้บริการสื่อสิ่งพิมพ์ และโสตทัศนวัสดุเกี่ยวกับอาชีพ 2) ดาเนินการจัดหา/ผลิต สื่อ สิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุเกี่ยวกับอาชีพ 3) ให้บริการสื่อสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุเกี่ ยวกับอาชีพ และ 4) ประเมินผลการบริการสื่อสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุเกี่ยวกับอาชีพเพื่อการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น 4. แหล่งข้อมูลอาชีพที่เป็นสื่อออนไลน์ ในปัจจุบันมีสื่อออนไลน์ที่ผู้รับบริการสามารถเข้าถึง ได้โดยง่าย และมีอยู่อย่างแพร่หลาย โดยมีอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้แก่ คอมพิวเตอร์ Smartphone และ Tablet ที่เป็นช่องทางที่ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีปฏิสัมพันธ์กันอยู่ เป็นจานวนมาก ซึ่งสื่อออนไลน์เหล่านี้นอกจากบุคคลจะใช้เป็นช่องทางการเข้าถึงเรื่องราวบันเทิง ติดต่อสื่ อสารกับสมาชิกในครอบครั ว เพื่อนฝู ง หรือเป็นแหล่งซื้อขายสิ นค้าแล้ ว ยังเป็นช่องทาง สาหรับศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับโลกของอาชีพด้วย แนวทางในการให้ แ หล่ ง ข้ อ มู ล อาชี พ ที่ เ ป็ น สื่ อ ออนไลน์ ประกอบด้ ว ย 1) วางแผนการ ให้บริการแหล่งข้อมูลอาชีพที่เป็นสื่อออนไลน์ 2) ดาเนิน การจัดหาแหล่งสืบค้นข้อมูลอาชีพที่เป็นสื่อ ออนไลน์ไว้ให้บริการ 3) ให้บริการแหล่งสืบค้นข้อมูลอาชีพบนสื่อออนไลน์ และ 4) ประเมินผลการ ให้บริการแหล่งสืบค้นข้อมูลอาชีพด้วยสื่อออนไลน์ 5. นิทรรศการอาชีพ การจัดนิทรรศการอาชีพ เป็นการให้ข้อมูลด้านอาชีพแก่ผู้รับบริการ และเป็นการส่งเสริมให้ผู้รับบริการมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต โดยใช้วิธีการผสมผสาน ทั้ง การเชิญวิทยากรมาบรรยายหรือสาธิตเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับประสบการณ์ตรง การจัดปูายสนเทศ
60
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
การจัดฉายภาพยนตร์ หรือสไลด์ การแจกเอกสารเกี่ยวกับอาชีพรวมทั้งการประกวดและจาหน่าย ผลผลิตของผู้รับบริการที่ทาขึ้นมาจากการฝึกงานหรือทางานอดิเรก เป็นต้น แนวทางในการแนะแนวอาชีพโดยจัดนิทรรศการอาชีพ ประกอบด้วย 1) ประชุมเพื่อปรึกษา หรือและวางแผนการจัดนิทรรศการอาชีพ 2) สารวจความสนใจของผู้รับบริการ 3) ขอความร่วมมือ จากคณะครู และเจ้าหน้าที่ของโรงเรียนในการมีส่วนร่วมในการเตรียมงาน 4) ขอความร่วมมือจาก ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า บุคคลและหน่วยงานในชุมชนร่วมจัดงาน 5) เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วม รับผิดชอบในการจัดนิทรรศการอาชีพ 6) ประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการ ครู ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและ บุ ค คลในชุ มชน ได้ ท ราบอย่ างทั่ ว ถึง 7) ด าเนิน งานให้ บ ริก ารนิท รรศการอาชี พ ในวั น จริ ง 8) ประเมินผลการจัดนิทรรศการอาชีพ และ 9) แสดงความขอบคุณต่อผู้มีส่วนร่วมจัดนิทรรศการอาชีพ 6. เยี่ยมชมสถานประกอบอาชีพ เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรั บผู้รับบริการ เนื่องจากการได้ออกไปสัมผัสอาชีพต่างๆ ด้วยประสบการณ์ตรง จะช่วยให้รู้จักโลกของอาชีพได้อย่าง ถูกต้องตามความเป็นจริงยิ่งขึ้น เกิดความกระตือรือร้นและสนใจใคร่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพที่กว้างขวาง และทราบถึงโอกาสและแนวทางในการประกอบอาชีพมากขึ้น ซึ่งบรรยากาศดังกล่าวนี้อาจจะไม่ สามารถจาลองให้เกิดขึ้นในชั้นเรียนหรือในโรงเรียนได้ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องคานึงถึงเป็นอย่างยิ่ง คือ ก่อนที่จะนาผู้รับบริการออกนอกสถานที่เพื่อ เยี่ยมชมสถานประกอบอาชีพ ต้องศึกษากฎระเบียบของหน่วยงานต้นสังกัดทั้งระดับสถานศึกษา และ ระดับที่สูงขึ้นไปเช่น ระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ ว่ามีข้อกาหนดไว้อย่างไรบ้างเกี่ยวกับการนา ผู้รับบริการออกนอกสถานที่ ซึ่งต้องดาเนิ นการตามระบียบโดยเคร่งครัดเพื่อปูองกันปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นได้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง แนวทางในการแนะแนวอาชี พ โดยจั ด เยี่ ย มชมสถานประกอบการอาชี พ ประกอบด้ ว ย 1) วางแผนการจัดกิจกรรมเยี่ยมชมสถานประกอบอาชีพ 2) ติดต่อขอเข้าเยี่ยมชมสถานประกอบ อาชีพ 3) จัดเวลาและกาหนดการเยี่ยมชม 4) จัดพาหนะสาหรับเดินทาง 5) ขออนุญาตผู้ปกครอง 6) ประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมของผู้รับบริการ 7) จัดประชุมอภิปรายและสรุปผลหลังจากการ เยี่ยมชมสถานประกอบอาชีพ 8) ประเมินผลการเยี่ยมชมสถานประกอบอาชีพ และ 9) จัดทาจดหมาย ขอบคุณเจ้าของสถานประกอบอาชีพ 7. รายการเสียงตามสายเกี่ยวกับอาชีพ การจัดรายการเสียงตามสายเพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ ย วกั บ อาชี พ เป็ น วิ ธี ก ารช่ ว ยให้ ผู้ รั บ บริ ก ารได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า นอาชี พ ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ที่ หลากหลายทันต่อเหตุการณ์ เพิ่มเติมจากการสืบค้นข้อมูลจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือโสตทัศนวัสดุต่างๆ แนวทางในการแนะแนวอาชีพโดยจัดรายการเสียงตามสายเกี่ยวกับอาชีพ ประกอบด้วย 1) วางแผนการจัดรายการเสียงตามสาย 2) กาหนดช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการจัดรายการเสียงตามสาย 3) ดาเนินการจัดรายการเสียงตามสายตามช่วงเวลาที่กาหนดไว้อย่างเหมาะสม และ 4) ประเมินผล การจัดรายการเสียงตามสายเพื่อนามาพัฒนาการบริการให้ดียิ่งขึ้น 8. การบรรยาย อภิปรายเกี่ยวกับอาชีพ การจัดกิจกรรมที่มีการบรรยาย หรืออภิ ปราย เกี่ย วกับ อาชีพ เป็ น การให้ ข้อมู ล ด้านอาชี พที่ล ะเอียดเฉพาะด้า นตามหั ว ข้ อที่ครู และผู้ รับบริการ สามารถร่วมกันกาหนดขึ้นได้ การจัดกิจกรรมดังกล่าวจะทาให้ได้ทรรศนะที่หลากหลายจากวิทยากรที่
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
61
มีความรู้และประสบการณ์เป็นที่ยอมรับในสาขาอาชีพนั้นๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริก ารรู้จักโลกกว้างทาง อาชีพมากยิ่งขึ้น แนวทางในการแนะแนวอาชีพ โดยจั ดบรรยาย อภิ ปรายเกี่ย วกับอาชีพ ประกอบด้ ว ย 1) กาหนดหัวข้อการบรรยาย อภิปราย 2) สรรหาวิทยากรที่เหมาะสมกับประเด็นการบรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับอาชีพ 3) ทาจดหมายเชิญ และ ประสานงานกับวิทยากร 4) ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ผู้รับ บริการเข้าร่วมฟังบรรยาย อภิปราย 5) ดาเนินการจัดกิจกรรมการบรรยาย อภิปรายตาม กาหนดการ และ 6 ) ประเมินผลการจัดกิจกรรมบรรรยาย อภิปราย 9. การให้การปรึกษาด้านอาชีพ เป็นบทบาทสาคัญของผู้ให้การปรึกษา ที่จะช่วยให้ผู้รับการ ปรึกษารู้จักและเข้าใจตนเอง รู้จักโลกของอาชีพ สามารถนาข้อมูลที่ได้มาพิจารณาตัดสินใจเลือกอาชีพ ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับตนเอง การให้การปรึกษาด้านอาชีพ มีแนวทางสาคัญ คือ 1) การเตรียมการให้การปรึกษาด้านอาชี พ แก่ผู้รับบริการโดยการประชาสัมพันธ์ กาหนดช่วงเวลา สถานที่ และบุคลากรที่พร้อมให้บริการปรึกษา 2) ดาเนินการให้บริการปรึกษาอาชีพตามช่วงเวลาและความต้องการของผู้รับบริการที่กาหนดไว้อย่าง เหมาะสม และ 3) ประเมินผลการให้บริการปรึกษาอาชีพเพื่อนามาพัฒนาการบริการให้ดียิ่งขึ้น 10. การฝึกประสบการณ์อาชีพ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้รับบริการได้มีโอกาสสัมผัสกับ ลักษณะการทางาน และอยู่ในสภาพแวดล้อมจริงของอาชีพ ทาให้ได้ฝึกเผชิญกับปัญหาอุปสรรคใน การทางานต่างๆ ที่ทาให้เกิดความเข้าใจในอาชีพนั้น ๆ อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในการจั ด กิจ กรรมเพื่อ ฝึ ก ประสบการณ์อ าชีพ นั้น อาจจะมีรู ปแบบที่ แตกต่ างกัน ไปตาม เงื่อนไขของการจั ดการศึกษาในแต่ล ะระดับ เช่น ระดับประถมศึกษาและมัธ ยมศึกษาตอนต้นซึ่ง ผู้รับบริการยังอยู่ในวัยเด็ก และวัยรุ่นตอนต้น การฝึกประสบการณ์อาจเป็นเพียงระยะสั้น และเป็น กิจกรรมที่อยู่ในความดูแลของผู้ใหญ่อย่างใกล้ชิด ส่วนในวัยรุ่นตอนปลาย และวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวศึกษา หรือระดับอุดมศึกษา การฝึกประสบการณ์ในวิชาชีพจะมีความ เข้มข้นยิ่งขึ้นและมีช่วงเวลาในการฝึกงานมากกว่า ซึ่งจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ใน ทักษะวิชาชีพ มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น เป็นการสร้างลักษณะนิสัยของการทางาน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่ดีต่อพัฒนาการทางอาชีพต่อไปในอนาคต แนวทางของการแนะแนวอาชีพด้วยกิจกรรมการฝึกประสบการณ์อาชีพ ประกอบด้วย 1) สารวจความต้องการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2) จัดหาแหล่งฝึกประสบการณ์ 3) จัดส่งผู้รับบริการ เข้าฝึกในสถานประกอบอาชีพ 4) นิเทศติดตามการฝึกประสบการณ์อาชีพ 5) จัดประชุมอภิปราย และสรุปผลหลังจากการฝึกประสบการณ์อาชีพ 6) ประเมินผลการฝึกประสบการณ์อาชีพ และ 7) จัดทาจดหมายขอบคุณหน่วยงาน สถานประกอบการอาชีพ จากที่กล่าวมาทั้งหมด ผู้เขียนเห็นว่า หากบุคคลทุกฝุายเห็นความสาคัญของการแนะแนว อาชีพ มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพ และการ เลือกอาชีพ ตลอดจนมีความมุ่งมั่นพัฒนากิจกรรมแนะแนวให้มีคุณภาพ มีความหลากหลาย และ ให้บริการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ก็เป็นที่หวังได้ว่าเด็กและเยาวชนไทยจะได้รับการพัฒนาให้เป็นผู้ที่ รู้จักและเข้าใจตนเอง รู้จักและเข้าใจโลกของอาชีพ สามารถตัดสินใจเลือกอาชีพและเตรียมความ
62
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
พร้อมเพื่อเข้าสู่อาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลที่ได้นั้น นอกจากจะส่งผลดีต่อตัวเด็กและเยาวชน โดยตรงแล้ว ยังส่งดีต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติสืบไปในอนาคตด้วย เอกสารอ้างอิง เจียรนัย ทรงชัยกุล. (2557). "การจัดงานแนะแนวของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้าน อาชีพของเด็กและเยาวชน" ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและระบบงานแนะแนวใน สถานศึ กษา. ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ครั้ งที่ 1 หน่ว ยที่ 10. นนทบุรี : สาขาวิ ช าศึก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________ . (2558). "ทฤษฎีแ ละเทคนิคการปรึ กษาแบบวิเ คราะห์ลักษณะบุค คลและ องค์ประกอบ และทฤษฎีพัฒนาการด้านอาชีพของซุเพอร์" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา เทคนิคการปรึ กษาเบื้องต้ น. ฉบั บปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่ว ยที่ 5. นนทบุรี : สาขาวิช า ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นิรนาท แสนสา. (2557). "การประสานงานและการสร้างเครือข่ายงานแนะแนวในสถานศึกษาและ ชุมชน" ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและระบบงานแนะแนวในสถานศึกษา. ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 6.นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________ . (2557). “กิจกรรมและเครื่องมือแนะแนวเพื่อสารวจความสนใจในอาชีพ ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชากิจกรรมและเครื่องมือแนะแนว. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 7. นนทบุรี : สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________ . (2558). “การวางแผนอาชีพกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ” ใน เอกสารการสอนชุด วิชาการแนะแนวกับคุณภาพชีวิต. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 3. นนทบุรี : สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. __________ . (2558). “การแนะแนวด้านอาชีพ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์ วิชาชีพการแนะแนว. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 หน่วยที่ 6. นนทบุรี : สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ราชบัณฑิตยสถาน (2556) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพมหานคร บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จากัด มหาชน สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2556). มาตรฐานการแนะแนว. กรุงเทพฯ : สมาคมแนะแนว แห่งประเทศไทย. ส านั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). แผนยุทธศาสตร์การแนะแนวระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. Creager, Marie F. Shoffner. and Deacon, Mary M. (2012). "Trait and Factor, Developmental, Learning, and Cognitive Theories" in Career Counseling : Foundation, Perspective, and Applications. 2nded. Chapter 2. New York : Routledge.
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
63
Cupuzzi, David. And Stauffer, D. Mark. (2012). Career Counseling : Foundation, Perspective, and Applications. 2nded. New York : Routledge. Diemer,M. A., Wang, Q., and Smith, A.V. (2010). Vocational Interests and Prospective College Majors among Youth of Color in Poverty. Journal of Career Assessment, 18(1), 97-100. Erik J. Porfeli, Bora lee and Fred W.Vondracek. (2013). Identity Development and Careers in Adolescents and Emerging Adults : Content, Process, and Structure. In Handbook of Vocational Psychology. 4thed. New York : Routledge. Ginzberg, E., Ginsburg, S.W., Axelrad, S., & Herma, J.L. (1951). Occupational Choice: an approach to a general theory. New York, Columbia University Press. Jayasinghe, Migel. (2001). Counseling In Careers Guidance. Open University Press; Buckingham: Philadeiphia. Kidd, Jennifer M. Understanding Career Counselling Theory, Research and Practice. (2006). California: SAGE Publications Ltd. Osborn, Debra S. and Zunker, Vernon G. (2006). Using Assessment Results for Career Development. 7thed. U.S.A.,Thomson Brooks/Cole. Sharf, Richard S. (2013). "Advances in Theories of Career Development" in HandBook of Vocational Psychology. 4thed. Chapter 1. New York : Routledge. Shen-Miller, David S., McWritter, Ellen Hawley. and Bartone, Anne S. (2013). "Historical Influencess on the Evolution of Vocational Counseling" in Career Counseling : Foundation, Perspective, and Applications. 2nded. Chapter 1. New York : Routledge. …………………………………………………….
64
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ : กรอบแนวคิดของ ความเครียดและการจัดการกับปัญหา Depression in Pregnant Adolescents : Conceptual Framework of Transaction model of stress and coping ผกาพรรณ บุญเต็ม1
บทคัดย่อ ภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเป็นปัญหาทางจิตวิทยาและสาธารณสุขที่สาคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถส่งผลกระทบได้ทั้งต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม ในการศึกษาครั้งนี้ได้นาเสนอในส่วนของ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ที่จะส่งผลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์ วัยรุ่น โดยใช้กรอบแนวคิดของการเผชิญปัญหาและจัดการกับความเครียด (Transaction model of stress and coping) มาเป็นแนวทางในการวิเคราะห์เพื่อให้บุคลากรทางแพทย์และสาธารณสุขได้ให้ ความสาคัญเกี่ยวกับปัจจัยและแนวคิดดังกล่าว เพื่อจะนาไปสู่การค้นหากลยุทธ์ในการปูองกันการเกิด ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ และกาหนดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือต่อไป คาสาคัญ: กรอบแนวคิดของความเครียดและการจัดการกับปัญหา, ภาวะซึมเศร้า, หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น Abstract Depression in pregnant adolescents is an important public health because it can affect family, community, and society. In this study, it is presented in part of literature review about factors relevant to or causing depression in pregnant adolescents, using transaction model of stress and coping to conduct analysis. The results in this study are presented for health professionals to focus on this problem to find out strategies for preventing depression in pregnant adolescents, and ways to help them. Keyword: transaction model of stress and coping, depression, pregnant adolescents
____________________________ 1
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
65
บทนา ในปัจจุบันนี้ โลกของเราได้ก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการติดต่อสื่อสารไร้พรมแดน ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์ โทรศัพท์ สื่อระบบสาย สื่อไร้สาย รวมถึงอุปกรณ์สื่อสารส่วนบุคคล ที่นับวันแต่จะรวดเร็ว ซับซ้อน มาก ไปด้วยรูปแบบ และ สูงยิ่งด้วยประสิทธิภาพ มีพัฒนาการก้าวล้าเกิดกว่ายุคสมัยใด ๆ ที่เคยมีมาในอดีต บนโลกใบนี้ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่จะนาไปสู่ผลกระทบต่าง ๆ มากมาย ทั้งในด้านดีและด้านเสีย ซึ่งยากที่จะ หลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ ปัญหาอย่างหนึ่งที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นผลกระทบมาจากการความสะดวกและ ความหลากหลายของระบบสื่อเหล่านั้น ก็คือการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมซึ่ง มีสถิติที่น่าตกใจ เช่นตามสถิติของกรมอนามัย แสดงให้เห็นว่าในประเทศไทยมีอัตราการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบสัดส่วนตามอายุกับวัยผู้ใหญ่ และจากสถิติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2549 – 2554 ซึ่งประมาณการว่า มีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.7, 15.3, 16.8 17.5, 18.5 และ 18.94 ตามลาดับ (กรมอนามัย, 2555) ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงกว่าอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่องค์การอนามัยโลก ได้กาหนดไว้ กล่าวคือไม่เกินร้อยละ 10 ดังนั้นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงถือเป็นปัญหาที่สาคัญทางด้าน สาธารณสุขอย่างหนึ่ง เหตุที่กล่าวเช่นนั้น เพราะนอกเหนือจากอัตราที่ สู งกว่าเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่ องค์การอนามัยโลกกาหนดแล้ว การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังส่งผลกระทบต่อทั้งมารดาและทารก ทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ เนื่องจากวุฒิภาวะที่ยังไม่พร้อมสาหรับการมีบุตรและการเลี้ยงดูบุตร ซึ่งจะส่งผล กระทบในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม ต่อไป ผลกระทบทางด้านร่างกายนั้นเป็นที่ทราบกันดีว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีความเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะโลหิตจางหรือขาดธาตุเหล็ก จากสภาพร่างกายที่ยังไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้ทารกในครรภ์มีน้าหนัก น้อย และ ยังมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิษแห่งครรภ์ได้สูงกว่าในวัยผู้ใหญ่ นอกจากนี้วัย รุ่นที่ตั้ง ครรภ์ส่วนใหญ่ต้องได้รับการผ่าคลอดทางหน้าท้อง มากกว่าการคลอดทางช่องคลอดเนื่องจากอุ้งเชิง กรานไม่เหมาะสมกับการคลอดทางช่องคลอด แต่ที่สาคัญยิ่งไปกว่านั้นคือ ผลกระทบทางด้านจิตใจ ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้า เป็นภาวะทางจิตเวชที่มีอารมณ์ซึมเศร้า รู้ สึกเบื่อ รู้สึกผิดหรือไร้ค่า เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ ไม่มีเรี่ยวแรง สมาธิลดลง โดยอาการอาจเป็นเรื้อรัง หรือเป็นซ้า นาไปสู่ความบกพร่องใน การดาเนินชีวิต(WHO, 2012) จะเห็นได้ว่าอาการภาวะซึมเศร้ามีลักษณะคล้ายคลึงกับอาการทั่วไปที่จะ พบได้ในหญิงตั้งครรภ์ เช่น อาการนอนไม่หลับ คลื่นไส้อาเจียน ที่เป็นผลมาจากฮอร์โมน ดังนั้นจะทาให้ ประเมินค่อนข้างยาก ในบางครั้งมีอาการซึมเศร้าเกิดขึ้นแล้วจึงจะสามารถประเมินได้ ไม่เหมือนกับการ ประเมินอาการทางด้านร่างกาย ซึ่งจะมีเครื่องมือที่สามารถวัดและประเมินได้ตั้งแต่ในระยะแรก ๆ จึง สามารถให้การดูแลรักษาได้ทันท่วงที ยิ่งไปกว่านั้น การรักษาภาวะซึมเศร้าในระหว่างตั้งครรภ์มีความ เสี่ ย งและอาจเป็ นอั นตรายค่อนข้างสู ง ทั้ งอาจส่ งผลกระทบถึงทารกในครรภ์ได้ (Kimberly K. McClanahan, 2009) การรักษาจึงทาได้เพียงแค่ประคับประคองด้วยวิธีที่ไม่ใช้ยา การศึกษาใน ต่างประเทศพบว่า กลุ่มวัยรุ่นตั้งครรภ์มีภาวะซึมเศร้าสูงถึงร้อยละ 25.9-47 ซึ่งสูงกว่าอัตราการเกิด ภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่ถึงสองเท่า (Piyasil, 1998) ดังนั้น จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เพื่อเป็นการค้นหาหรือคัดกรองผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าก่อนที่จะ เกิดอาการ จึงควรที่จะทาการสืบค้นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ โดยนา
66
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
กรอบแนวคิดของความเครียดและการเผชิญปัญหาของ ลาซารัส และฟอล์คแมน (Lazarus and Folkman, 1984) มาใช้ในการอธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น ซึ่งจากการ ทบทวนวรรณกรรมพบว่า ในประเทศไทย มีการศึกษาของ เนตรชนก แก้วจันทา (2555) ได้นาเสนอ เกี่ยวกับปัจจัยที่สัมพันธ์หรือมีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ โดยใช้ทฤษฏีทาง สังคม (Social Theory) ของ บราวน์ และ แฮริส (Brown and Harris, 2009) มาอธิบาย ซึ่งเมื่อทา การทบทวนต่อเนื่องจากการศึกษาดังกล่าว ยังพบอีกว่า กรอบแนวคิดของ ลาซารัส และ ฟอล์คแมน (Lazarus and Folkman, 1984) สามารถอธิบายปัจจัยการเกิดภาวะซึมเศร้าได้ ทาให้เพิ่มโอกาสใน การนาไปเป็นแนวทางในการปูองกันภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นและแนวทางในการให้ความช่วยเหลือต่อไป กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการเผชิญความเครียดและการจัดการกับปัญหา กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการเผชิญความเครียดและการจัดการกับปัญหา (Transaction model of stress and coping) ของลาซารัส และ ฟอล์คแมน (Lazarus and Folkman, 1984) กล่าวไว้ว่า เมื่ อ บุ ค คลได้ ป ระสบกั บ เหตุ ก ารณ์ ใ ดเหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง เกิ ด ขึ้ น กั บ ชี วิ ต เขาก็ จ ะเกิ ด ความคิ ด ใน กระบวนการประเมินปัญหา ซึ่งจะนาไปสู่การคิดหาวิธีจัดการกับปัญหา ซึ่งตามกรอบแนวคิดนี้ จะมีวิธี จัดการกับปัญหา 2 รูปแบบคือ 1) วิธีการจัดการแบบมุ่งแก้ไขที่ตัวปัญหา (Problem-focused style) หรือ 2) วิธีการจัดการแบบมุ่งการปรับสภาวะทางอารมณ์ (Emotion-focused style) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ สภาวะของแต่ละบุคคล (Personal factors) และ สภาวะปัจจัยแวดล้อม (Environmental factors) เมื่ อ บุ ค คลสามารถจั ด การกั บ ปั ญ หาได้ อ ย่ า งเหมาะสม ก็ จ ะประสบความเป็ น อยู่ ป กติ สุ ข ในการ ดารงชีวิต แต่ถ้าหากจัดการกับปัญหาไม่ได้ หรือได้แต่ไม่เหมาะสมก็จะได้รับอันตรายและผลเสียต่างๆ ตามมา อย่างเช่น ความเจ็บปุวยด้านจิตใจ ซึ่งได้แก่ ความเครียด ภาวะซึมเศร้า และอาการทางจิต รูปแบบอื่นๆ หรือแม้แต่ อาจจะมีอาการทางร่างกายร่วมด้วย เช่นนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร น้าหนักลด หรือเพิ่ม ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นต้น Environmental Factors
(ปัจจัยสิ่งแวดล้อม) Panel 1
Personal Factors (ปัจจัยส่วนบุคคล) Panel 2
Panel 3 Life Crisis (วิกฤตของชีวิต) & Transitions (การเปลี่ยนผ่าน)
Panel 4 Cognitive Appraisal (ประเมินการรู้คิด) & Coping Responses (ตอบสนองการเผชิญปัญหา)
Panel 5 Health and well-being (สุขภาพและความปกติสุข)
Figure 1. A general conceptual framework of coping process (Moos & Shaefer, 1993). Source: Holahan, Moos, and Schaefer (1996). Coping, Stress Resistance, and Growth: Conceptualizing Adaptive Functioning. In M.Zeidner & N.S.Endler (Eds), The Handbook of coping. Theory, Research, Applications (pp.25-43). New York: Wiley.
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
67
จากรูปที่ 1 ที่แสดง Lazarus’ metatheoretical principles ใน 5 ระบบอธิบายได้ดังนี้ Panel 1 (ระบบสิ่งแวดล้อม) ประกอบด้วยสิ่งที่เป็นตัวแปรทางเกี่ยวกับ life stressor (แรง กดดั น ในชีวิต ), ความเครี ย ด, และ แหล่ งทรัพยากรในการจัดการด้ านสั งคม (social coping resources) เช่น การได้รับคาแนะนาจากสมาชิกในครอบครัว, เพื่อน, คู่สมรส หรือกลุ่มองค์กรต่างๆ Panel 2 (ระบบด้านบุคคล) ประกอบด้วย ลักษณะประชากร, และแหล่งทรัพยากรในการ จัดการส่วนบุคคล เช่น ความมั่นใจในความสามารถของตนเอง, การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความ เชื่อ และมิติอื่นๆที่เกี่ยวข้องในตนเอง Panel 3 Panel นี้เกิดขึ้นเมื่อ ระบบสิ่งแวดล้อมและระบบบุคคลมีอิทธิพลกับภาวะวิกฤตของ ชีวิตหรือช่วงเปลี่ยนผ่านของชีวิต ซึ่งจะส่งผลต่อประสบการณ์ของบุคคล Panel 4 อิทธิพลของระบบด้านบุคคลและระบบด้านภาวะแวดล้อม มีอิทธิพบทั้งทางตรง และทางอ้อมต่อ กระบวนการรู้คิดและการจัดการต่อปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อไปยัง Panel 5 ด้วย Panel 5 อิทธิพลของระบบด้านบุคคลและระบบด้านภาวะแวดล้อม จะเป็นตัวกาหนด ภาวะ สุขภาพและความผาสุก จากทั้ง 5 Panel systems นั้นเป็นกระบวนการที่สามารถย้อนกลับ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ใน แต่ละขั้นตอนของกระบวนการ Environmental Factors (ปัจจัยสิ่งแวดล้อม)
-Stress (ความเครียด) -Social Support (การสนับสนุนทางสังคม) -Stressful Life-events (เหตุการณ์กดดันในชีวิต)
Life Crisis
(ประเมินการรู้คิด)
& Transitions
& Coping Responses
(วิกฤตของชีวิต)
Personal Factors
Cognitive Appraisals
(การเปลีย่ นผ่าน)
(ปัจจัยส่วนบุคคล)
DEPRESSION (ภาวะซึมเศร้า)
(ตอบสนองการเผชิญปัญหา)
-Self-efficacy
(การรับรู้ความสามารถของตน)
Figure 2 Conceptual framework of coping process and depression
จากกรอบแนวคิด ในรูปที่ 2 นั้นจะอธิบายปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในหญิง ตั้งครรภ์วัยรุ่น โดย มีปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยส่วนบุคคลที่สามารถทานายการเกิดภาวะ ซึมเศร้ าในหญิงตั้งครรภ์ วัย รุ่ น โดยที่ปัจจัย ความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัย ด้านภาวะแวดล้ อมนั้นคื อ เหตุการณ์ที่หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นประเมินว่ามีผลต่อสวัสดิภาพของตนเอง และต้องใช้แหล่งสนับสนุน ทางสังคมที่มีอยู่ในการเผชิญกับเหตุการณ์ ตามความสามารถของตนเองและแหล่งสนับสนุนทางสังคม
68
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ซึ่งหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นต้องอาศัยทั้งความสามารถของตนเอง และ การได้รับการช่วยเหลือจากแหล่ง สนับสนุนทางสังคมที่มีอยู่เพื่อให้เผชิญกับช่วงการตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ที่ประเมินว่า การเผชิญกับช่วงเปลี่ยนผ่านนี้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียด และไม่มีความสามารถที่จะ ควบคุมหรือจัดการกับปัญหาได้ ประกอบกับการรับรู้ความสามารถในตนเองน้อย ได้รับแรงสนับสนุน ทางสั ง คมต่ า และเคยเผชิ ญกั บ เหตุ การณ์ที่ ก ดดั นในช่ว งชีวิ ต ที่ผ่ า นมา ทั้ งพ่ อ แม่ ต นเองหย่ าร้ า ง ครอบครัวประสบปัญหาการทะเลาะกัน หากหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นไม่สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพจะทาให้รู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง มีความรู้สึกทางลบต่อตนเองสะสมมากขึ้น จนอาจนาไปสู่ การเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอดได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ 1.1 ความเครียด (stress) ภาวะซึมเศร้าหรือโรคซึมเศร้ามักเกิดร่วมกับเหตุการณ์หรือสภาวการณ์ที่มาคุกคามการ ดาเนินชีวิตประจาวันของบุคคลส่งผลให้เกิดความยุ่งยาก ลาบากใจ จนเกิดความเครียด ความเครียด สามารถร่วมทานายการเกิดภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ ( t=3.64, p< o.oo1) (พรพรรณ อินต๊ะ และคณะ,2558) และในการศึกษาของ สมศรี นวรัตน์ และคณะ (2556) ตัวแปรความเครียด ของ วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์เกิดจาก การที่หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นต้องเปลี่ยนบทบาทจากวัยรุ่นมาเป็นคุณแม่วัยรุ่น ทาให้ ไม่สามารถยอมรับกับบทบาทที่เปลี่ยนไปได้ ได้รับความอับอาย ต้องออกจากโรงเรียน ได้รับผลกระทบจาก สังคม รวมทั้งแม่วัยรุ่นส่วนใหญ่มีความกลัวการคลอด กลัวพ่อ แม่ดุด่า และการตั้งครรภ์ในวัยเรียนส่งผล ให้ไม่มีเงิน ไม่มีงานทา มีผลให้วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ทุกข์ใจ มีความเครียดสูงสะสม สุขภาพจิตไม่ดี ทาให้เกิด ภาวะซึมเศร้าของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (Boland- Prom, Kimberly Wynn, 2004) ในสั งคมไทย ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด บทบาทหน้าที่ในการเลี้ยงดูบุตรเป็นหน้ าที่ของ ผู้หญิง ในบางครอบครัวที่มีความพร้อมหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นก็จะไม่ได้เป็นผู้เลี้ยงดูบุตรของตนเอง อาจเป็น มารดา หรือย่า ยาย เป็นผู้เลี้ยงดู แต่ในบางครอบครัวที่ไม่พร้อม หรือในการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผนไว้ ล่วงหน้า หรือการตั้งครรภ์ที่ยังไม่ได้แต่งงานส่งผลให้เกิดความเครียดและความกดดันเพิ่มมากขึ้น ดังเช่นใน การศึกษาของ Muangpin S, Tiansawad S, Kantaruksa K, Yimyam S & Vonderheid SC (2010) พบว่าวัยรุ่นตั้งครรภ์ไทยที่ไม่ได้แต่งงานจะมีความวิตกกังวล รู้สึกเป็นการถูกลดคุณค่าและสิ้นสุดชีวิต ความเป็นวัยรุ่น กลัวการถูกประนามจากคนในชุมชน เนื่องจากการตั้งครรภ์ก่อนการแต่งงานเป็นเรื่องที่ขัด กับความคิด ความเชื่อ ค่านิยม การขัดเกลาของสังคมไทยที่มองว่าเป็นผู้หญิงต้องรักนวลสงวนตัว ห้ามชิง สุกก่อนห่าม อธิบายตามกรอบแนวคิดการเผชิญปัญหาและการจัดการกับความเครียด คือ การ ตั้งครรภ์ถือเป็นสภาการณ์หรือเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้นมาและก่อให้เกิดการกดดันกับหญิงตั้งครรภ์ วัย รุ่น โดยที่เป็น วัยที่ยังไม่พร้ อมสาหรับ การตั้งครรภ์และมีบุตร ดังนั้นเมื่อมีส ภาวการณ์นี้ เกิดขึ้น แน่นอนว่า หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นต้องเกิดแรงกดดันภายในสะสมจนก่อเกิดเป็นความเครียด พยายามคิด หาวิธีการแสดงออกมากับการจัดการกับความเครียด ซึ่งอาการแสดงออก เป็นได้ทั้งทางร่างกายและ ความคิด เช่นอาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ วิตกกังวล ขณะเดียวกันยังพบว่า ความเครียด (stress) การ จัดการกับความเครียด (coping) การปรับตัวในระหว่างตั้งครรภ์ของแม่วัยรุ่นไม่ดี การเป็นแม่โดยไม่ตั้งใจ ทาให้เกิดความทุกข์จากการตั้งครรภ์ การปรับตัวไม่ได้บางคนใช้กลยุทธ์ในเชิงลบโดยการถอยหนีออกจาก
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
69
สังคม การรับประทานอาหารมาก การใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ ความเหงาระดับสูง ส่งผลต่อความเครียด ของวัยรุ่นตลอดการตั้งครรภ์ (Borcherding, 2005; Golden, 2006; Smith, 2007). 1.2 แรงสนับสนุนทางสังคม (social support) แรงสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมทานายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ โดยอธิบายการทานายคือ ถ้าหญิงตั้งครรภ์มีแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับสูงจะมีโอกาสเกิดภาวะ ซึมเศร้าต่ากว่าหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับต่า ซึ่งแรงสนับสนุนทางสังคม ส่วนใหญ่ได้มาจากบุคคลในครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเอง สอดคล้องกับการศึกษาของ รุ่งทิพย์ กาศักดิ์ และคณะ(2013) พบว่า การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะ ซึมเศร้าในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม จากบิดา มารดา สามีทาให้ ห ญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นรับรู้ว่าตนเองไม่ได้เผชิญกับการตั้งครรภ์นี้เพียงล าพั ง และ เนื่องจากวัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องการความรักความเอาใจใส่ดูแลจากคนรอบข้าง เป็นวัยที่มีสังคม มีเพื่อน แรงสนั บ สนุ น ทางสังคมตามกรอบแนวคิดของลาซารัส และฟอล์ คแมน เป็นเสมือนแหล่งที่ให้ การ สนับสนุน (resource) สาหรับให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นที่พึ่งและยึดเหนี่ยวเพื่อช่ วยในการแก้ไข ปัญหานั่นเอง 1.3 เหตุการณ์กดดันในชีวิต (stressful life-events) เหตุการณ์กดดันในชีวิต สามารถร่วมทานายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ โดยอธิบายการทานายคือ เมื่อหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นมีเหตุการณ์กดดันในชีวิตในระดับสูง จะมีโอกาสเกิด ภาวะซึมเศร้าสูงตามไปด้วย ซึ่งเหตุการณ์กดดันในชีวิตส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับในครอบครัว เช่น บิ ด ามารดา หย่ า ร้ า งกั น บิ ด ามารดาทะเลาะกั น ฯลฯ เป็ น ต้ น ส่ ง ผลให้ ห ญิ ง ตั้ ง ครรภ์ วั บ รุ่ น เก็ บ เหตุการณ์เหล่านั้นมาเป็นการกดดันตนเอง ทาให้เกิดความเครียดจนกลายเป็นภาวะซึมเศร้า 2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ 2.1 การรับรู้ความสามารถแห่งตน (Self efficacy) การรับรู้ความสามารถแห่งตน สามารถร่วมทานายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้ งครรภ์ วัยรุ่นได้ โดยอธิบายการทานายคือ เมื่อหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นมีการรับรู้ความสามารถของตนเองใน ระดับสูง จะมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าต่ากว่าหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีการรับรู้ความสามารถของตนใน ระดับต่า ซึ่งปัจจัยด้านนี้ ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีใครกล่าวถึงมากนัก มีแต่การศึกษาในต่างประเทศที่พบว่า การรับรู้ความสามารถแห่งตนมีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Leahy-Warren, McCarthy, & Corcoran, 2012) กรอบแนวคิดของลาซารัสและฟอล์คแมนนั้น กล่าวถึงปัจจัยภายในตัวบุคคล ซึ่งในที นี้ก็คือ การรับรู้ความสามารถของตนเองในหญิงตั้งครรภ์ (Bandura, 1997) เป็นการรับรู้ว่าตนเอง สามารถจะเผชิญกับปัญหาหรือสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นก็คือการตั้งครรภ์นั่นเอง และเมื่อรับรู้ว่าตนเองจะ สามารถก้าวผ่านเหตุการณ์นี้ได้ด้วยการ มาตรวจตามนัดทุกครั้ง การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ต่อตนเองและทารกในครรภ์ ก็จะทาให้เกิดความมั่นใจว่าตนเองจะดาเนินการตั้งครรภ์นี้ได้โดยไม่เกิด ผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจ
70
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
2.2 วิธีการจัดการกับปัญหา (Coping styles)) วิธีการจัดการกับปัญหา แบ่งเป็นการจัดการกับปัญหาที่มุ่งเน้นที่ปัญหา (Problemfocused) และ การจัดการกับปัญหาที่มุ่งเน้นอารมณ์ (Emotion-focused) พบว่า Emotionfocused สามารถร่วมทานายภาวะซึ มเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ และ Problem-focused สามารถร่วมทานายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ การอธิบายตามกรอบแนวคิดของลาซารัสและฟอล์คแมน คือรูปแบบของการเผชิญ ปัญหาที่มุ่งที่อารมณ์สามารถร่วมทานายการเกิ ดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ได้ (Koponda, 1996 อ้างใน เนตรชนก แก้วจันทา และคณะ, 2014) เนื่องจาก กลุ่มวัยรุ่นตั้งครรภ์ที่มีรูปแบบการเผชิญ ปัญหาด้านอารมณ์สูง จะมีการคิดทบทวนวนเวียนอยู่กับปัญหาจนเกิดความเครียดและวิตกกังวลต่อ ปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งบางคนอาจจะใช้ วิธีการจัดการปัญหาโดยหันไปใช้สิ่งเสพติดเพื่อลดความเครียด ความกดดัน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาว่า พฤติกรรมการใช้สารเสพติด เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อ การเกิดภาวะซึมเศร้าได้ (Marcus SM, 2008; Hodgkinson SC, Colantuoni E, Roberts D, BergCross L & Belcher HM, 2010). กล่ า วโดยสรุ ป คื อ ปั จ จั ย ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม และปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล เป็ น ปั จ จั ย ที่ มี ความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์ และสามารถร่วมกันทานายภาวะซึมเศร้าใน หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ โดยพบว่ า ความเครียดเป็นปัจจัย ทานายภาวะซึมเศร้า เมื่ออธิบายตามกรอบ แนวคิด ของ Transaction model of stress and coping ของลาซารัสและฟอล์คแมน (1984) ก็ พบว่า ความเครียด เป็นภาวะคุกคามที่ เกิดขึ้นมาในชีวิตและบุคคลรับรู้ ความเครียดนั้นและหาทางใน การจัดการกับความเครียด ซึ่งถ้าสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสมก็จะไม่เกิดผลกระทบใดๆ แต่ถ้ามี วิธีการจัดการที่ไม่เหมาะสม ความเครียดนั้นไม่สามารจัดการได้บุคคลนั้นก็จะมีโอกาสได้รับผลกระทบ จากความเครี ย ดนั้ น ซึ่ ง จากการศึก ษาพบว่ า ภาวะซึ มเศร้ าเป็ น ภาวะหนึ่ งและเป็ น สิ่ ง ที่ส าคั ญ ที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆ มากมายโดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นซึ่งเป็นวัยที่ยังไม่พร้อ มกับการ ตั้งครรภ์และการเลี้ยงดูบุตร ดังนั้นในการพัฒนาเครื่องมือในการประเมินหรือคัดกรองภาวะซึมเศร้าใน หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ควรคานึงถึงปัจจัยดังกล่าว และนามาสร้างเป็นแบบประเมินต่อไป ซึ่งถือว่าเป็น การปูองกันภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ เอกสารอ้างอิง กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. (2555). สถิติสาธารณสุข. กทม. กุศลาภรณ์ วงษ์นิยม และสุพร อภินันทเวช. (2557). ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะ ซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ โรงพยาบาลศิริราช. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59 (3): 195-205. เนตรชนก แก้วจันทา. (2555). ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์: ปัจจัย ผลกระทบ และการป้องกัน. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35(1): 83-90.
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
71
เนตรชนก แก้วจันทา และคณะ. (2557). ความชุกของภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์ในคลีนิค ฝากครรภ์ โรงพยาบาลประจาจังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสาร สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59(3): 207-220. พรพรรณ อินต๊ะ และคณะ (2558). อิทธิพลของความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกไม่ มีคุณค่าในตนเอง และความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดา วัยรุ่น, วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9 (1) :95-104. สมศรี นวรัตน์ วรรณโณ ฟองสุวรรณ และ บัณฑิต ผังนิรันดร์ .(2556). การพัฒนาตัวแบบสมการ โครงสร้ า งเชิงเส้น ของตั วแปรที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้ า ในระหว่า งตั้งครรภ์ของวัยรุ่ น ไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, ปีที่ 18 (2). Boland-Prom. K (2004). Control and Social support variables during pregnancy and the development of depressive symptoms during the postpartum period. (Doctoral dissertation, Portland State University. Borcherding. K.E. (2005). Coping in healthy pregnant women. Saint Loius University. Kimberly K McClanahan. (2009). Depression in Pregnant Adolescents : Considerations for Treatment. Journal of Pediatric Adolescents Gynecology, 22: 59-64. Lazarus, R.S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal, and coping. New York: Springer. Leahy-Warren, Patricia, McCarthy, Geraldine, & Corcoran, Paul. (2012). First-time mothers: social support, maternal parental self-efficacy and postnatal depression. Journal of Clinical Nursing, 21(3/4), 388-397. doi: 10.1111/j.13652702.2011.03701.x. Muangpin S, Tiansawad S, Kantaruksa K, Yimyam S, and Vonderheid SC. (2010). Northeastern Thai adolescent’s perceptions of being unmarried and pregnant. Pacific Rim International Nursing Research, 14 (2), 149-61. Piyasil V. (1998). Anxiety and depression in teenage mothers: a comparative study. Journal of Medicine Association Thailand, 81:125-9. World Health Organization. Depression [Internet]. 2012 [cited2012 February18]. Available from http://www.who.int/mental_health/management/depression/definition/en/. …………………………………………………….
72
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ปัญหาและการแก้ปัญหาการทางานของบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย Workplace Problems and Solutions of Staff Development in a University ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ1
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาการทางานของบุคคลสายสนับสนุนวิชาการ และเพื่อ ศึกษาการแก้ปัญหาการทางานบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นของ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการจานวน 32 คน เป็นหญิง 27 คน ชาย 5 คน อายุงานตั้งแต่ 25 วัน ถึง 16 ปี งานวิจัยนี้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบปลายเปิด ร่วมกับการสนทนากลุ่ม ที่ให้บุคลากร สายสนับสนุนวิชาการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่ ตนรับผิดชอบ ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการสรุปอุปนัยเพื่อสังเคราะห์ปัญหาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่เกิดขึ้น จากการให้บริการนิสิต คณาจารย์ และเพื่อนร่วมงาน เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยนาไปใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการประสบปัญหาด้านบุคลากร เช่น มีความ ขัดแย้งในการทางาน ขาดการให้ความช่วยเหลือและร่วมมือในการทางาน ปัญหาทางกายภาพ ได้แก่ อุปกรณ์ชารุด หรือขาดแคลน และปัญหาด้านการจัดการ ระบบงาน และวิธีการทางาน ได้แก่ การ บริหารเวลา การปรับปรุงงาน การลดขั้นตอนการทางาน การบริหารคุณภาพ อย่างไรก็ตามบุคลากร สายวิชาการได้สะท้อนว่าตนมีความใส่ใจและมีความรักในงานที่รับผิดชอบ มีความต้องการให้ผู้บริหาร คณาจารย์ และนิ สิ ตของมหาวิทยาลั ย ตระหนักถึ งความส าคัญบุ คลากรสายวิช าการ โดยให้ การ สนับสนุนช่วยเหลือและให้การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการอย่างต่อเนื่อง คาสาคัญ: ปัญหาการทางาน, การแก้ปัญหา, บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย
____________________________ 1
รองศาสตราจารย์ ดร., ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
73
Abstract This research studies work-related problems and obstacles of university staff in order to find and the method of problem-solving at their workplace. Participants were 32 university staff; 27 females and 5 males with work experiences ranging from 25 days to 16 years. The methods used open-ended questionnaires and focus group interview. The data was analyzed with inductive reasoning to look for problems that occur when they give service to students, faculty and peers. The information was helpful for university administrative to improve university staff workplace. The results showed that university staff faced problems in the human resource area such as conflicts between co-workers and lack of cooperation, physical problems such as lack of equipments and problems in management, work system and work style such as time management, work improvement and quality control. However, we found that university staff paid attention to their work and loved their work. They desired for being recognized by the university executives, faculty and students and getting continuous support from the university. Keywords: Work-related problems, problem-solving method, university staff บทนา เมื่อได้บุคคลเข้ามาเป็นสมาชิกในองค์การแล้ว องค์การมีหน้าที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การ พัฒนาบุคคลนั้นให้ดารงความสามารถและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้องค์การ การพัฒนาบุคคล ด้ ว ยการฝึ ก อบรมจึ ง เป็ น กระบวนการที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม และปรั บ ปรุ ง ทั ก ษะการท างาน เพื่ อ ความ เจริญก้าวหน้าในชีวิต รวมทั้งเพื่อความอยู่รอดขององค์การเองด้วย ดังนั้น การค้นหาปัญหาหรือ อุปสรรคของบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ในองค์การ จะทาให้มองเห็นภาพชัดเจนว่าบุคลากรในองค์การมี ความรู้ความสามารถระดับใด มีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร ควรได้รับการพัฒนาหรือฝึกอบรมเรื่องอะไร เมื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการทางานมาแล้ว จาเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูลว่ามี ภารกิจใด มีพฤติกรรมประเภทใดบ้างที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข หรือต้องการให้บุคคลในองค์การ ได้เพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ประสบการณ์ ทั้งนี้ส ภาพการณ์ที่เป็นปัญหาอาจมีทั้งที่ปรากฏ ชัดเจน หรือบางครั้งอาจเป็นสภาพการณ์ที่ซับซ้อน จึงจาเป็นต้องวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญ หาซึ่ง วิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์หาแนวทางการพัฒนาบุคลาการสามารถทาได้ในหลายๆ วิธีการ เช่น การ สัมภาษณ์ สารวจ การสังเกตการณ์ การทดสอบ การประชุม การประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจน เสียงสะท้อนจากลูกค้า เป็นต้น เนื่องจากการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการ ทางานของบุคคลเพื่อให้มีผลงานและความรู้ความสามารถในงานปัจจุบันที่ได้รับมอบหมายให้บรรลุ
74
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
เปูาหมายตามที่ผู้บังคับบัญชาคาดหวังและต้องการ รวมทั้งช่วยให้องค์การเจริญเติบโตบรรลุเปูาหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลากรมีความสาคัญ คือ ช่วยให้บุคคลมีขวัญกาลังใจในการ ปฏิบัติงาน เกิดความจงรักภักดีต่อองค์การ ช่วยพัฒนาให้องค์การเจริญเติบโต เพราะการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับแผนกต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทาให้ องค์การเจริญเติบโตและพัฒนายิ่งขึ้น และช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่สังคมและประเทศชาติ ปูองกัน ความขัดแย้งระหว่างองค์การและผู้ ปฏิบัติงาน รวมทั้งยังช่ว ยทาให้ ส ภาพสังคมโดยรวมมี ความสุข มีความเข้าใจกัน (ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ, 2556: 29, 59) การปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย เป็นภาระหน้าที่ในการให้ การสนับสนุนงานตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้บริการแก่ นิสิต คณาจารย์ และผู้มาติดต่องานด้านต่างๆ เช่น งานบริหารและธุรการ งานบริการการศึกษา งาน การเงิน งานสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา งานอาคารสถานที่ งานประชาสัมพันธ์ เป็นต้น จาก งานวิจั ย ของ ภรณี วาจาสั ตย์ และฉัฐ วีณ์ สิ ทธิ์ศิรอรรถ (2552) พบว่า ปัญหาในการทางานของ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมีความหลากหลาย ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะสาหรับการบริหารงาน บุคลากรกลุ่มนี้ว่า ควรให้จัดทาคู่ในงานที่รับผิดชอบเพื่อให้สามารถทางานแทนกันได้ ควรมีการจัด สวัสดิการเพื่อบารุงขวัญกาลังใจ รวมทั้งควรมีการพัฒนาบุคลากรเป็นระยะๆ จากงานวิจั ย ที่ผ่ านมาเป็ น การศึกษาสภาพปัญหาจากการปฏิบัติห น้าที่ของบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัยของรัฐ สาหรับงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ทางาน และศึกษาแนวทางพัฒนาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติหน้าที่ใน มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง อุทัย ดุลยเกษม (2556: 107) มีข้อคิดเห็นว่ามหาวิทยาลัยอุดมศึกษา เอกชนมีข้อเสียเปรียบกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐในหลายๆ ด้าน เช่น เรื่องงบประมาณ เรื่องอาคาร สถานที่ เรื่องเครื่องมือและอุปกรณ์การศึกษาราคาแพงๆ แน่นอนว่ามหาวิทยาลัยเอกชนแต่ละแห่งก็มี ข้อได้เปรี ย บเสี ยเปรี ย บต่อมหาวิทยาลั ย ของรัฐ ในประเด็นที่แตกต่างกันไป ซึ่งไม่ว่าบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการจะทางานในมหาวิทยาลัยของรัฐหรือเอกชนก็ต้องทาหน้าที่ตอบสนองต่อพันธกิจการ เรียนการสอนของมหาวิทยาลัย ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการทางานบริการ นักศึกษา คณาจารย์ เพื่อนร่วมงาน และผู้บริหาร รวมทั้งสนใจศึกษาวิธีการแก้ปัญหาการทางานของ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สามารถ นาไปใช้ในการพัฒนาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัยให้สามารถบริการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถบริการลูกค้าทุกคนทั้งนิสิต คณาจารย์ และผู้มาติดต่อ ให้ได้รับความ พึงพอใจ และตอบสนองต่อภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัญหาการทางานของบุคคลสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาการแก้ปัญหาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัย
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
75
ประโยชน์ของการวิจัย ผลการวิจัยเรื่องนี้จะทาให้ได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ปัญหาในการทางานของบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติงานให้มหาวิทยาลัยในการบริการนักศึกษา คณาจารย์ เพื่อนร่วมงาน และผู้บริหาร เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สามารถนาไปใช้ในการช่วยปูองกัน และแก้ปัญหา รวมทั้งได้แนวทางที่จะนาไปใช้พัฒนาการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัยให้ สามารถบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถบริการลูกค้าทุกคนทั้งนิสิต คณาจารย์ และผู้มาติดต่อ ให้ได้รับความพึงพอใจ และตอบสนองต่อภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง สถานทีป่ ฏิบัติงานของบุคลากรฝุายสนับสนุนภารกิจต่างๆ ในองค์การต่างๆ คือ สานักงาน ซึ่ง เป็นสถานที่ทีใช้สาหรับปฏิบัติงานในด้านเอกสาร หนังสือหรือข้อมูลข่าวสาร บุคลากรที่ปฏิบัติงานใน สานักงานถือว่าเป็นเสมือนหัวใจและมันสมองของการบริหารงานทั่วๆ ไปในวงราชการ เอกชน และ รัฐวิสาหกิจ เพราะเป็นศูนย์รวมของการบริหารงานด้านต่างๆ เช่น งานสารบรรณ งานบัญชี ฯลฯ บทบาทหน้าที่หลักของบุคลากรประจาสานักงาน คือ การทาหน้าที่อานวยความสะดวก รับเรื่องราว เอกสารการติดต่อต่างๆ ปูอนข่าวสารข้อมูลให้กับผู้บริหาร ตลอดจนอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้แก่บุคคลภายในและบุคคลภายนอกที่มาติดต่อ ซึ่งจะช่วยให้ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (เนตร์พัณณา ยาวิราช 2548: 1, 3) พรรณี ประเสริฐวงษ์ (2538) และ วิชัย โถสุวรรณจินดา (2551) กล่าวถึง ลักษณะสาคัญของ สานักงาน ซึ่งทาหน้าที่ให้บริการบุคคลและหน่วยงานอื่นๆ ที่มาติดต่อ สรุปได้ดังนี้ 1. ให้บริการแก่หน่วยงานต่างๆ เป็นวัตถุประสงค์หลัก และมีงานที่สาคัญลาดับรองลงมา คือ การพิจารณาค่าใช้จ่ายและการพิจารณาด้านประโยชน์ให้แก่องค์การ 2. ขนาดของงานให้ บ ริ การในส านัก งานขี้นอยู่กับ ปัจจั ยภายนอกองค์ การซึ่งไม่ส ามารถ ควบคุมได้ เช่น จานวนจดหมายติดต่องาน จานวนบุคลากรที่มาติดต่อ ฯลฯ 3. งานสานักงานไม่อาจคานวณหากาไรได้โดยตรง เพราะเป็นการให้บริการแก่หน่วยงาน หลัก งานสานักงานมีส่วนร่วมทางอ้อมในการทากาไรให้ธุรกิจ 4. งานสานักงานมีลักษณะแตกต่างจากงานอื่นๆ คือ เป็นงานเกี่ยวกับการบันทึกขีดเขียน หรืองานหนังสือ หรืองานข่าวสารข้อมูล หรืองานสารสนเทศ สรุปว่าการทางานของสายสนับสนุนวิชาการภายในสานักงานจึงเกี่ยวข้องกับการให้บริการ โดยตรงกับผู้ ที่มาติดต่อ การดูแลระบบงานสาคัญๆ ได้แก่ งานเอกสาร งานงบประมาณ งานเบิก จ่ายเงิน งานอาคาร สถานที่ งานระบบสารสนเทศของหน่วยงาน เป็นต้น ซึ่งจะต้องอานวยความ สะดวกให้แก่ผู้บริหารของหน่วยงานในด้านข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ ให้บริการข้อมูล ข่าวสารให้แก่ สมาชิกของหน่วยงานอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย การค้นหาสภาพการณ์หรือปัญหาของบุคคลในการทางานได้ตรงประเด็น เพื่อการพัฒนา บุคลากรให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเพื่อให้องค์การสามารถดาเนินงานไปสู่ เปูาหมาย จากการศึกษาเอกสารที่ระบุถึงปัญหาข้อขัดข้องและอุปสรรคที่พบในการปฏิบัติงานภายใน สานักงาน และแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวสรุปได้ดังนี้ (DeCenzo, D.A., & Robbins, S.P., 1999 ;
76
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
Stone, R.J., 1998 ; Byars, L.L., & Rue, L.W., 1994 ; Singer, M.G., 1990 ; ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ, 2556: 63-64 ; สุรัสวดี ราชกุลชัย, 2546 : 308-309) 1. ปั ญ หาด้ า นบุ ค ลากร เช่ น บุ ค ลากรไม่ เ พี ย งพอหรื อ มี บุ ค ลากรมากเกิ น ไป ขาดความรู้ ความสามารถ ขาดทักษะ ขาดความรับผิดชอบ มีอัตราการลาออก ขาดงานสูง อุบัติเหตุในการทางาน สูงขึ้น มีอัตราการร้องทุกข์สูง บุคลากรมีความเจ็บปุวยทางอารมณ์ เครียด ขาดแรงจูงใจในการทางาน มีพฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม เป็นต้น แก้ปัญหาด้วยวิธีการดังนี้ 1.1 สร้ างบรรยากาศการทางานให้ รื่นรมย์ เพลิ ดเพลิ น ไม่เคร่งเครียด จัดโปรแกรม สุขภาพสาหรับพนักงาน จัดโครงการลดความตึงเครียดจากการทางาน หรือมีบริการที่ ปรึกษาสภาวะ ทางจิตโดยบุคคลภายนอกซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 1.2 ปรับปรุงชั่ วโมงการทางานให้ เหมาะสม และมีทางเลือกในการทางาน เช่น Parttime, Job Sharing 2. ปัญหาทางกายภาพ เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ อุปกรณ์เก่า ชารุด ล้าสมัย หรือเครื่องมือ ไม่เพียงพอ ขาดความปลอดภัยในที่ทางาน สถานที่ทางานคับแคบ ร้อนอบอ้าว เป็นต้น แก้ปัญหาด้วย วิธีการ ดังนี้ 2.1 จัดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยเพื่อเป็นการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการ ทางาน มีระบบการปูองกันภัยล่วงหน้า 2.2 สร้างแรงจูงใจในการทางาน ไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายหรือเหนื่อยต่อการทางาน รวมทั้งให้ผลตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม 3. ปัญหาด้านการจัดการ ระบบงาน และวิธีการทางาน เช่น การบริหารเวลา การปรับปรุง งาน การลดขั้นตอนการทางาน การบริหารคุณภาพ เป็นต้น แก้ปัญหาด้วยวิธีการดังนี้ 3.1 การบริหารคุณภาพ (Total Quality Management: TQM) 3.2 การจัดหาอุปกรณ์ได้ในเวลาที่ต้องการและทันเวลา (Just-in-time) 3.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Kaizen) 3.4 การบริหารเวลา (Time Management) การแก้ปัญหาการทางานได้ผลดีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ปัญหาได้ อย่างตรง ประเด็น มีสภาพแวดล้อมเอื้ออานวยในการแก้ปัญหา มีความสามารถในการแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะ หน้ า ได้ ดี การมี ค วามคิ ด เชิ ง เหตุ ผ ล ความคิ ด สร้ า งสรรค์ การเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามสามารถ และมี ประสบการณ์ในการแก้ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหาที่พบจากการทางานจะช่วยให้บุคคลได้ หนทาง ปรับปรุงงานอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ได้ผลงานคุณภาพดีและมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ องค์การ นิยามศัพท์ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ หมายถึง บุค คลที่ปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจด้านต่างๆ ของ มหาวิทยาลัย มีบทบาทหน้าที่อานวยความสะดวก รับเรื่องราวเอกสารการติดต่อต่างๆ ให้ข่าวสาร ข้อมูลให้กับผู้รับบริการ ตลอดจนอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้แก่ บุคคลที่มาติดต่อทั้งภายใน และบุคคลภายนอก ซึ่งจะช่วยให้ดาเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
77
ปัญหาการทางาน หมายถึง อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทาหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในภาระงานและ อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทางานที่ได้รับมอบหมาย ทาให้ผู้ปฏิบัติไม่สามารถดาเนินงานไปสู่เปูาหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาการทางาน หมายถึง วิธีการที่บุคคลใช้จัดการกับปัญหาที่เผชิญระหว่างการ ปฏิบั ติงาน รวมทั้งการปรั บ ปรุ งงานที่ต นรั บผิ ด ชอบให้ ได้ผ ลงานที่ มี คุณ ภาพและมีป ระสิ ทธิ ภ าพ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ขององค์การ ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร ประชากรเป็นบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ที่ปฏิบัติงาน ในปีการศึกษา 2557 จานวน 32 คน เป็นหญิง 27 คน ชาย 5 คน อายุงานตั้งแต่ 25 วัน ถึง 16 ปี ซึ่ง ปฏิบัติงานในตาแหน่งเลขานุการคณะ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่สื่อโสตทัศนูปกรณ์ เจ้าหน้าที่บริหารการศึกษา เจ้าหน้าที่งานทะเบียน บรรณรักษ์และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์วิทยบริการ เจ้าหน้าที่ธุรการและงานสารบรรณ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่ประจาห้องพยาบาล และแม่บ้าน แบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้จัดใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการ สนทนากลุ่ม (Focus group) ซึ่งมีเปูาหมายของการวิจัยเพื่อบรรยายสภาวะของความรู้สึก การให้ ความหมาย การรับรู้ปรากฏการณ์ที่เป็นอยู่ การสนทนากลุ่ม จึงเป็นเทคนิควิธีการหนึ่งที่ทาให้ได้รับ ทราบถึงความคิดเห็นของผู้ที่มารับบริการอย่างตรงไปตรงมา เนื่องจากการสนทนากลุ่มย่อยเป็นวิธีการ ดาเนิ นกิจ กรรมที่ให้ กลุ่ มเปู าหมายซึ่งเป็นผู้ที่มีส่ วนได้ส่ว นเสียจากการดาเนินงานขององค์การได้ สะท้อนความคิดเห็นอย่างอิสระ และได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน เทคนิคนี้จึงเป็นวิธีการ สื่อสารแบบสองทาง (Two-way communication) อย่างแท้จริง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามแบบปลายเปิด และการสนทนากลุ่ม (Focus group) เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน สายสนับสนุนวิชาการได้มีโอกาสความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบของตนสู่ผู้บริหารสถานศึกษา ตัวอย่างข้อคาถาม ช่วงแรกผู้วิจัยให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทาแบบสอบถามแบบปลายเปิด ต่อมาใช้การสนทนากลุ่มซึ่งใช้คาถามเดียวกับคาถามปลายเปิด โดยจัดให้ บุคลากรที่ปฏิบัติงานที่ ใกล้ เคีย งกัน อยู่ กลุ่ มเดีย วกัน คาถามที่ใช้ได้แก่ ท่านมีความคิดเห็ นหรือรู้สึ กอย่างไรในงานที่ท่าน รับผิดชอบขณะนี้? ท่านประสบปัญหาอะไรจากการให้บริการนักศึกษา คณาจารย์ เพื่อนร่วมงาน หรือ ผู้บริหาร? ท่านแก้ปัญหาเหล่านั้นอย่างไร? ท่านต้องการได้รับความช่วยเหลือ พัฒนา หรือฝึกอบรม เรื่องอะไร? การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการสรุปอุปนัยเพื่อสังเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็น เกี่ยวกับงานที่บุคคลากรสายสนับสนุนวิชาการรับผิดชอบ ซึ่งการสรุปอุปนัยเป็นการหาข้อสรุปหรือ ข้อเท็จจริงจริงจากหลักฐานที่ปรากฎ โดยพิจารณาจากจานวนข้อมูล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นที่เป็น ตัวแทนที่ดีในการให้ข้อสรุป
78
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ผลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากความคิดเห็น ของผู้ปฏิบัติสายสนับสนุนวิชาการ ซึ่งปฏิบัติงานใน ตาแหน่งเลขานุการคณะ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่สื่อโสตทัศนูปกรณ์ เจ้าหน้าที่ บริหารการศึกษา เจ้าหน้าที่งานทะเบียน บรรณรักษ์และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์วิทยบริการ เจ้าหน้าที่ ธุรการและงานสารบรรณ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่ประจาห้องพยาบาล และแม่บ้าน สรุปได้ดังนี้ ตาแหน่งงาน บรรณรักษ์ และเจ้าหน้าที่ ประจาสานักวิทยาการ ให้บริการด้านการยืม-คืน สารสนเทศ
เจ้าหน้าทีธ่ ุรการประจา สานักงาน
เลขานุการสานักงาน
ปัญหาการทางาน -การทาหนังสือหาย ไม่คืน หนังสือตามระยะเวลาที่กาหนด -การใช้ระบบค้นหาทรัพยากร และสืบค้นหนังสือไม่เป็น -การไม่ทาตามข้อปฏิบัติการใช้ ห้องสมุด ห้องเรียน ฯลฯ -การไม่รับฟังข้อมูลข่าวสารที่ ควรรับทราบ และการใช้ อารมณ์ส่วนตัวในการมาติดต่อ ขอรับบริการ
การแก้ไขปัญหา -แจ้งเตือนก่อนถึงกาหนดคืน -แบ่งให้มีการผ่อนจ่ายหรือเอา หนังสือเรียนมาใช้แทนค่าปรับ -ให้เอาหนังสือวิชาการมาใช้ ทดแทนหนังสือที่หายไป ถ้า ส่งคืนเกินกาหนดจะทาการ บันทึกค่าปรับในการคืนหนังสือ ล่าช้าลงในระบบ -แนะนาการใช้คอมพิวเตอร์และ แนะนาการใช้ระบบสืบค้น ทรัพยากร -มีช่องว่างในการทางานร่วมกัน -จัดทาเอกสารหรือขั้นตอนใน เช่น อาวุโส แต่ละเรื่อง/แต่ละปัญหาที่พบ -ตารางงานไม่เป็นไปตามงานที่ เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน รับผิดชอบ ไม่มีภาระงานเป็น -ประชุมแบ่งงานให้มีหน้าที่ หลัก รับผิดชอบโดยหลักที่ชัดเจน -ปัญหาเรื่องการประสานงาน -แจกเอกสารเชิญประชุมและ เอกสารจากหน่วยงานอื่นๆ เอกสารสาคัญต่างๆ เป็น ล่าช้า รายบุคคลโดยให้ลงนามไว้ -ปัญหาการเชิญประชุมต่างๆ ไม่ เป็นหลักฐาน ค่อยมีผู้เข้าร่วมประชุม โดย -จัดระบบของตนเอง บอกว่าไม่รู้ เมื่อส่งเอกสารให้ก็ ทางานที่สาคัญก่อน ทาหายและแจ้งไม่ได้รับ -ใช้การติดต่อหลายช่องทางและ -ขาดการวางระบบการทางาน ติดตามเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ระบบงานไม่ค่อยชัดเจน หย่อน ยาน และขาดการตรวจสอบ -ปริมาณงานมาก มีหัวหน้า หลายคน
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ตาแหน่งงาน
เจ้าหน้าที่ห้องพยาบาล
เจ้าหน้าทีส่ ื่อโสตทัศนูปกรณ์
งานทะเบียน
ปัญหาการทางาน -ติดต่ออาจารย์ผู้สอนไม่ได้ ปัญหาการติดตามงานจาก อาจารย์ผู้สอนยาก เนื่องจาก การส่งงานไม่ตรงตามระยะเวลา ทีก่ าหนด เช่น มคอ.3 มคอ. 5 ข้อสอบ และผลการเรียน ทาให้ ประกาศผลการเรียนล่าช้า -นักศึกษาไม่รับประทานอาหาร เช้าทาให้เป็นลม -รถรับส่งเพื่อนานักศึกษาไป โรงพยาบาลล่าช้ามาก -ปัญหาผู้ใช้งานไม่ดูแลรักษา อุปกรณ์การเรียน/ใช้อุปกรณ์ สนับสนุนการศึกษาไม่คล่อง -ผู้รับบริการต้องการให้ช่วย แนะนาการทางานหรือซ่อมแซม อุปกรณ์อย่างรวดเร็ว แต่หลาย ครั้งไม่สามารถบริการได้ เนื่องจากกาลังปฏิบัติงานอยู่ -ไม่เข้าใจในระบบงานทะเบียน ออนไลน์ -ไม่เข้าใจในขั้นตอนการเขียนคา ร้อง -การลงทะเบียนเรียนผิด รายวิชา ลงทะเบียนผิดกลุ่ม -การขาดความเข้าใจในระเบียบ การเทียบโอนหน่วยกิต
79
การแก้ไขปัญหา
-แนะนาให้นักศึกษารับประทาน อาหารเช้าหรือดื่มนมก่อนเข้า เรียน -ประสานงานขอให้รถรับส่งอยู่ ใกล้ๆ กับห้องพยาบาล -จัดลาดับการให้บริการ
-จัดทาคู่มือ อธิบายขั้นตอน ระบบงานทะเบียน และให้ คาแนะนาที่กระชับ เข้าใจง่าย และตรงกับคาถาม
การอภิปรายผล จากผลการวิจัยข้างต้นจะเห็นได้ว่า การทางานของสายสนับสนุนวิชาการจะเกี่ยวข้องกับการ ให้บริการโดยตรงกับผู้ที่มาติดต่อ ทั้งนักศึกษา คณาจารย์ เพื่อนร่วมงาน และผู้บริหาร ซึ่งจะต้อง อานวยความสะดวกให้แก่ผู้มารับบริการของหน่วยงานในด้านต่างๆ จึงพบปัญหาการทางานทั้งปัญหา ด้านบุคลากร ปัญหาด้านกายภาพ และปัญหาด้านการจัดการ โดยผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ประสบการณ์ของ ตนในการแก้ปัญหา (DeCenzo, D.A., & Robbins, S.P., 1999 ; Stone, R.J., 1998 ; Byars, L.L., &
80
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
Rue, L.W., 1994 ; Singer, M.G., 1990 ; ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ, 2556: 63-64 ; สุรัสวดี ราชกุลชัย, 2546: 308-309) และงานวิจัยนี้พบผลการวิจัยที่สอดคล้องกับงานวิจัยของ ภรณี วาจาสัตย์ และฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ (2552) พบว่า ปัญหาในการทางานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมีความหลากหลาย เนื่องจากลักษณะสาคัญของการให้บริการของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ เป็นงานที่ให้บริการบุคคล และหน่วยงานอื่นๆ ที่มาติดต่อ ซึ่งแม้ว่าไม่ใช่งานที่สามารถนามาคานวณหากาไรได้โดยตรงเพราะเป็น การให้บริการเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่หน่วยงานหลัก แต่ก็มีส่วนร่วมทางอ้อมในการทากาไรให้แก่ องค์ ก าร (พรรณี ประเสริ ฐ วงษ์ (2538) และ วิ ชั ย โถสุ ว รรณจิ น ดา (2551) ดั ง นั้ น การค้ น หา สภาพการณ์หรือปัญหาของบุคคลในการทางานได้ตรงประเด็น เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้สามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเพื่อให้องค์การสามารถดาเนินงานไปสู่เปูาหมาย ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่า บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติหน้าที่ในมหาวิทยาลัยทุกคนมี ความใส่ใจและมีความรักในงานที่รับผิดชอบ ซึ่งสะท้อนจากความพยายามแก้ปัญหาต่างๆ ด้วยตนเอง ตามหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ เพื่อแบ่งเบางานให้คณาจารย์และผู้บริหารของมหาวิทยาลัย เช่น หาก คณบดีหรือท่านผู้บริหารติดประชุมของมหาวิทยาลัยหรือกาลังสอน ซึ่งนักศึกษาที่มาติดต่อต้องการขอ พบ ก็ จ ะแนะน าให้ ฝ ากเอกสารไว้ แ ละขอหมายเลขโทรศั พ ท์ เ พื่ อ ติ ด ต่ อ กลั บ หรื อ หากงานที่ ต น รับผิดชอบไม่เสร็จในเวลาก็จะขออนุญาตผู้บริหารนาเอกสารไปทาต่อที่บ้านในช่วงค่าและในวันหยุด เป็ น ต้น บุ คลากรสายสนั บ สนุ น วิช าการได้ส ะท้อนความคิดเห็ นว่า เพิ่มเติมว่า ต้องการให้ ผู้ บริห าร คณาจารย์ และนิ สิ ตของมหาวิทยาลั ย ตระหนักถึ งความส าคัญบุ คลากรสายวิช าการ โดยให้ การ สนับสนุนช่วยเหลือ และให้การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการอย่างต่อเนื่อง เช่น ให้คาแนะนา ในการแก้ปัญหาของนักศึกษา ช่วยให้แนวทางในการตอบคาถามจากกรณีต่างๆ ที่พบ และให้การ ฝึ กอบรมเพื่อ ช่ว ยลดปั ญหาการใช้เทคโนโลยีให้ แก่คณาจารย์ บุคลากร และนั กศึกษา ในการใช้ อุปกรณ์สื่อโสตทัศนูปกรณ์ที่มหาวิทยาลัยติ ดตั้งไว้ในห้องเรียนต่างๆ รวมทั้งฝึกอบรมการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่มหาวิทยาลัยวางระบบไว้ เช่น การส่งผลการเรียน เป็นต้น ดังนั้นหน่วยงานทุกแห่งจาเป็นต้องบริหารและพัฒนาบุคลากรของตนให้มีประสิทธิภาพอยู่ เสมอ เนื่องจากการบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นการวางแผน การกาหนดคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ ของบุคลากร ตั้งแต่ก่อนเริ่มต้นที่จะเข้ามาเป็นสมาชิกขององค์การ จากนั้นก็ใช้งาน ให้ผลประโยชน์ ดูแลรักษาไว้ รวมถึงการพ้นจากงานด้วย การบริหารทรัพยากรบุคคลมีวัตถุประสงค์ เพื่อสรรหาและ คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาทางานในองค์การ เพื่อใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อ บารุงรักษาพนักงานที่มีความสามารถให้อยู่กับองค์การนานๆ และเพื่อพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล จึงเป็ นการส่งเสริมหรือเพิ่มพูนคุณสมบัติที่มีอยู่ในตัวบุคคลโดยใช้ เทคนิควิธีต่างๆ เช่น การฝึกอบรม การฝึกปฏิบัติในงาน การศึกษาดูงาน การศึกษาต่อ ฯลฯ ดังนั้นหาก ผู้ บ ริ ห ารต้ องการจะพั ฒ นาบุ คลากรให้ ส ามารถตอบสนองภารกิ จของหน่ ว ยงานได้ อย่ างเต็ มตาม ศักยภาพของบุคคลผู้นั้นก็จาเป็นต้องวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างตรงประเด็น ซึ่งจะช่วยให้บุคลากรมี ทัศนคติที่ดี มีทักษะ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนอาจช่วยสร้าง รายได้ให้แก่หน่วยงานได้เพิ่มมากขึ้นโดยไม่คาดคิด
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
81
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป อาจทาวิจัยเชิงปริมาณ โดยศึกษาทั้งปัจจัยภายใน เช่น ทัศนคติต่องาน และความพึงพอใจ ความผูกพันในการทางาน และปัจจัยภายนอก เช่น ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ทาเลที่ตั้ง เพื่อศึกษาว่า ปัจจัยเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับปัญหาในการทางานหรือไม่ หรืออาจทาการวิจัยด้วยการ ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการให้มีเครื่องมือที่จะนาไปใช้แก้ปัญหาการทางาน เพื่อ ช่วยให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสุขในการ ทางานเพิ่มขึ้น รวมทั้งองค์การก็สามารถบรรลุผลสาเร็จตามเปูาหมายได้ด้วย เอกสารอ้างอิง ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ. (2556). การฝึกอบรม (Training). กรุงเทพฯ : ที-บุ๊คส์. ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ. พรรณี ประเสริฐวงษ์. (2535). การบริหารสานักงาน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ภรณี วาจาสัตย์ และฉัฐวีณ์ สิทธิ์ ศิรอรรถ. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาปัญหาและแนว ทางแก้ ไขปัญหาของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สานักงานคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). การบริหารสานักงาน. กรุงเทพฯ : เซ็นทรัลเอ็กเพรส. วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2551). ครบเครื่องเรื่องงานธุรการ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน). สุรัสวดี ราชกุลชัย. (2546). การบริหารสานักงาน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุทัย ดุลยเกษม. (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2556). “ยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว.” วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 6 (2) : 105-109. DeCenzo, D.A., & Robbins, S.P. (1999). Human Resource Management. 6th ed. New York : John Wiley & Sons, Inc. Byars, L.L., & Rue, L.W. (1994). Human Resource Management. 4th ed. Boston Singer, M.G. (1990). Human Resource Management. New York : PWS-KENT. Stone, R.J. (1998). Human Resource Management. 3rd. edition. Singapore : Jacaranda Wiley LTD. …………………………………………………….
82
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ก้าวทันปัญหาอารมณ์สองขั้ว Bipolar Disorder Update ศรียา นิยมธรรม1
บทคัดย่อ บทความนี้นาเสนอเรื่องอารมณ์สองขั้วในแง่ของความหมาย สาเหตุ ลักษณะ การวินิจฉัย และการดูแลรักษา ทั้งในเชิงการแพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนงานวิจัยที่นาผลมาใช้ในการช่วยเหลือและ วิธีอยู่ร่วมกับผู้เป็นโรคอารมณ์สองขั้ว คาสาคัญ: อารมณ์สองขั้ว Abstracts This article presents an overview of bipolar disorder including the information on bipolar disorder about definition, signs and symptoms, causes, diagnosis, treatments. Research finding to improve treatments for bipolar disorder, the way to live with are also included. Keywords: bipolar disorder บทนา ท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในโลกยุคดิจิตอล ผู้คนในสังคมต้องปรับตัว ไปตามยุคสมัยความก้าวหน้า ความสะดวกของเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ ไม่อาจหยุดยั้งปัญหาด้าน สุขภาพทั้งกายและสุขภาพจิตของมนุษย์ได้ เราพบวิธีบาบัดรักษาในหลายรูปแบบ ทาให้การค้นพบ โรคใหม่ๆหลายชนิด แต่โรคทางอารมณ์หรือทางจิตนั้นมีการพัฒนาไปไม่เด่นชัดเท่ากับโรคทางกาย ปัญหาทางจิตใจเป็นเรื่องเข้าใจยากกว่าปัญหาที่พบจากโรคทางกาย อารมณ์และจิตใจส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ความมากน้อยของปัญหาก็วินิจฉัยได้ยากกว่า โรคทางอารมณ์ ประเภทที่มีมาเนิ่ นนาน คือ โรคอารมณ์ส องขั้ว ซึ่งเป็นโรคทางจิตเวชที่ผู้ ปุว ยมีความผิดปกติทาง อารมณ์อย่างรุนแรง คืออารมณ์สุข และอารมณ์เศร้าที่เกิดสลับกันไปมา และอาจมีช่วงเวลาที่อารมณ์ สงบปกติปานกลาง จนยากที่จะระบุชัดว่าเป็นโรคทางจิตหรือเป็นลักษณะนิสัยเจ้าอารมณ์ แต่อารมณ์ ส่งผลต่อพฤติกรรมบุคลิกภาพและการดาเนินชีวิตของบุคคล นอกจากนี้การมีอารมณ์สองขั้วส่งผลเสีย ต่อการมีสัมพันธภาพกับบุคคล เพื่อนร่วมงาน แม้แต่การทางานหรือส่งผลเสียต่อการเรียนหากอยู่ใน ____________________________ 1
ศาสตราจารย์, หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
83
วัยเรียน ถ้าเป็นมากอาจถึงขั้นฆ่าตัวตายได้ นักจิตวิทยาและจิตแพทยซึ่งให้ ความสาคัญต่อเรื่องนี้และ ได้หาวิธิบาบัดรักษาจนพบว่า หากมีการช่วยเหลือ อย่างทันท่วงทีและได้รับการบาบัดรักษาถูกทางจะ ทาให้ผู้ปุวยหายจากโรคนี้ได้ โรคอารมณ์สองขั้วคืออะไร โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) เดิมรู้จักกันในชื่อโรคอารมณ์แปรปรวน (Manic Depressive illness) เป็นความผิดปกติของสมองที่ ก่อให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์และระดับ กิจกรรมที่กระทาตลอดจนความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวัน อาการของอารมณ์สองขั้วเป็นไป อย่างรุนแรง ซึ่งแตกต่างจากการที่คนปกติมีอารมณ์ผันผวนขึ้นๆลงๆในบางเวลา สาหรับประเทศไทย นพ.มาโนช หล่อตระกูล (2005) จาก ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศ ไทยได้ให้ความหมายของโรคอารมณ์สองขั้วว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ โดยผู้ที่เป็นจะมีอารมณ์ และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปอย่างชัดเจน 2 แบบ แบบแรกมีลักษณะอารมณ์ และพฤติกรรมแบบ ซึมเศร้า แบบที่สองมีลักษณะคึกคักพลุ่งพล่านซึ่งเรียกว่า เมเนีย และยังพบอีกว่าคนเรามีโอกาสปุวย เป็นโรคนี้ประมาณร้อยละ 1 และเกิดในเพศหญิงและชายได้พอๆกัน มักพบมีอาการครั้งแรกระหว่าง อายุ 15-24 ปี ส่ว นนพ.วรวุฒิ เจริญศิริ และศ.นพ.สเปญ อุ่นอนงค์ (ม.ป.ป.) จากสถาบันจิต เวชศาสตร์ สมเด็จเจ้าพระยา ได้อธิบายว่าโรคไบโพลาร์เป็นโรคที่อยู่ในกลุ่มโรคทางด้านอารมณ์กลุ่มเดียวกับโรค ซึมเศร้า โดยมีอารมณ์ชัดเจนที่เมื่อเศร้าแต่โรคไบโพลาจะมีช่วงอารมณ์อีกช่วงหนึ่งที่มีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับกับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง นพ.เจษฎา โชคดารงสุข อธิบดีกรมสุขภาพจิตกล่าวว่า วันที่ 30 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันไบ โพลาโลก (World Bipolar Day) เพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาสร้างความรู้ความเข้าใจช่วยให้ลดตราบาป ทางสังคมที่มีต่อโรคนี้ ซึ่งโรคไบโพลาร์หรือโรคอารมณ์สองขั้วเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบ ผู้ปุวยทั่วโลกประมาณ 1-2 % และอาจสูงถึง 5 % ขณะที่องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า โรคไบโพลาร์ เป็นโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียเนื่องจากการเจ็บปุวยหรือความพิการอันดับที่ 6 ของโลก โรคนี้พบในผู้หญิงและผู้ชาย ในอัตราเท่ากัน มักเริ่มมีอาการในช่วงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นและมัก เกิดร่วมกับปัญหาสุขภาพจิตหรือและในทางจิตเวชอื่นด้วย ไม่ว่าจะเป็นการใช้สารเสพติด ภาวะเครียด หรือโรควิตกกังวล อีกทั้งยังพบว่า โรคนี้ทาให้ผู้ปุวยมีอัตราการพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าประชาชน ทั่วไปอย่างชัดเจน อาการ โรคอารมณ์ส องขั้ว คือ โรคทางจิตเวช ซึ่งผู้เป็นโรคนี้จะมีความผิด ปกติทางอารมณ์อย่าง รุนแรง และจะแสดงออกมาทั้งในด้านอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมอย่างชัดเจน อารมณ์รุนแรง 2 แบบ เด่นๆ คือ อารมณ์ สุข สนุกสนาน คึกคักเกินพอดี (Mania) และอารมณ์เศร้าอย่างรุนแรง หรือ ซึมเศร้า (Depression) อารมณ์ทั้งสองแบบนี้จะเกิดสลับกันไป หรือแบบหนึ่ งมากกว่าอีกแบบหนึ่ง โดยจะมีช่วงเวลาที่อารมณ์เป็นปกติคั่นกลาง ซึ่งจะดูเป็นคนปกติ สามารถเรียนหนังสือ และทางานได้ เป็นปกติ (สุชาติ ตรีทิพยธิคุณ : 2558) ระยะเวลาของอาการเหล่านี้จะมีเวลานานหลายสัปดาห์จน อาจถึงหลายเดือน หากไม่ได้รับการรักษา (มาโนช หล่อตระกูล : ดังแสดงในภาพประกอบ)
84
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
ในระยะที่มีอารมณ์สุขสุดขีด (Mania) เขาจะมีอาการมั่นใจตัวเองมาก รู้สึกว่าตัวเองเก่ง ความคิดต่างๆ และการพูด จนคนตามไม่ทัน พูดจาลื่นไหลคล่องแคล่ว มนุษยสัมพันธ์ดี เจอใครก็เข้า ไปทักทาย ช่วงนี้จะใช้จ่ายเกินตัว บริจาคเงิน หรือจัดเลี้ยง มีพลังเหลือเฟือ นอนดึก สนใจสิ่งต่างๆ มากมาย มีเรื่องให้ทาเยอะแยะไปหมด แต่ไม่เสร็จเป็นชิ้นเป็นอันสักอย่าง ความยับยั้งชั่งใจน้อยมาก อยากทาอะไรจะทาทันที หากมีผู้ทักท้วงจะโกรธรุนแรง อาการในระยะนี้ถ้าเป็นมากจะพูดไม่หยุด เสียงดัง เอาแต่ใจตนเอง โกรธแรงถึงกับอาละวาดได้ อาการระยะนี้จะเกิดขึ้นรวดเร็วและเป็นมาอยู่ เรื่อยๆจนผู้อยู่ด้วยรับไม่ไหวต้องพาไปโรงพยาบาล ในทางตรงข้ามระยะซึมเศร้า (Depression) จะรู้สึกเบื่อหน่ายไปหมด แม้แต่กิจกรรมที่เคยชอบก็ ไม่สนใจ บางคนมีอารมณ์อ่อนไหวง่าย ร้ องไห้ เป็นว่าเล่ น บางคนจะหงุ ดหงิด ขวางหู ข วางตาไปหมด ราคาญเสียงดัง ไม่อยากพูดกับใคร บางคนกินอาหารไม่ได้ บางคนน้าหนักลดสัปดาห์ละ 2-3 กก. จะ นั่งเฉยๆอยู่ได้เป็นชั่วโมง ความจาหลงๆลืมๆเพราะใจลอย ตัดสินใจอะไรไม่ได้ไม่มั่นใจ มองโลกในแง่ ลบไปหมด เช่น คิดว่าตัวเองเป็นภาระของคนอื่น ไม่มีใครสนใจตนเอง ถ้าตายคงจะดีจะพ้นทุกข์เสียที อาการซึมเศร้าจะเกิดขึ้น แบบค่อยเป็นค่อยไป มักเป็นหลังมีเรื่องกระทบกระเทือนใจ เช่น สอบตก เปลี่ยนงาน มีปัญหาครอบครัว แต่จะต่าจากปกติคือเศร้าไม่เลิก ทางานทาการไม่ได้ ขาดงาน บ่อยเป็นเดือนๆ อาการในระยะสุขสนุกคึกคัก (Mania) รู้สึกมีความสุขอย่างมาก มีอารมณ์ครื้นเครง แสดงออกเต็มที่ หรือ อาจหงุดหงิดมากเกินปกติ รู้สึกว่าตนเองเก่งหรือมีความสาคัญมาก มีความมั่นใจสูงผิดปกติ ไม่รับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น ต้องการนอนน้อยลง ความคิดพรั่งพรูรีบเร่ง อยากทาหลายอย่างในเวลาเดียวกัน มีพลังมีกิจกรรมโครงการต่างๆมากมาย วอกแวกสนใจไปทุกสิ่งทุกอย่างหุนหันพลันแล่น ใช้จ่ายฟุุมเฟือย พูดมาก พูดไม่หยุด ไม่ตระหนักว่าตนเองผิดปกติ ไปจากเดิม
อาการในระยะซึมเศร้า (Depression) มีอาการเบื่อหน่าย ความสนใจต่อสิ่งต่างๆลดลง อารมณ์หดหู่ รู้สึกว่าตนเองไร้ค่าเป็นภาระหรือรู้สึกผิด อยากร้องไห้ โดยไม่มีสาเหตุ นอนไม่หลับหรือนอนมากกว่าปกติ เชื่องช้า หรือกระวนกระวาย อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง ลังเลใจ สมาธิลดลง คิดอยากตาย เบื่ออาหาร ผอมลง หรือบางรายรับประทาน อาหารมากเกินไป
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
85
สาเหตุ โรคอารมณ์สองขั้ว เกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมองจากการมีสารสื่อประสาทที่ ไม่สมดุลและสารเคมีในสมองซึ่งทาหน้าที่สื่อสารระหว่างเซลล์ประสาทแปรปรวนไป และมีข้อสังเกต ว่ามีปัจจัยทางพันธุกรรมมาเกี่ยวข้องค่อนข้างมาก โดยพบว่าในครอบครัวที่มีผู้ปุวยเป็นโรคนี้ หรือโรค ทางจิตอย่างอื่น จะมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป ประมาณ 8 เท่า ดังนั้นโรคอารมณ์สองขั้วไม่ได้ เกิดจากการที่บุคคลมีจิตใจอ่อนแอ คิดมาก อย่างที่มักเข้าใจกันโดยทั่วไปอย่างไรก็ดีข้อค้นพบว่าคนที่ อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ มักมีแนวโน้มที่มีเหตุกดดันทางจิตใจ เช่น การตกงาน การเสียชีวิต ของผู้เป็นที่รัก หรือการเสพยาก็จะไปกระตุ้นให้เกิดโรคที่แฝงอยู่แสดงออกมา การวินิจฉัย ข้อมูลหลักในการวินิจฉัยโรคอารมณ์สองขั้ว คือ การซักประวัติอาการความเป็นไปของโรค ความเจ็บปุวยทางจิตในญาติ การใช้ยา และสารต่างๆ ตลอดจนโรคประจาตัว เพราะยาบางอย่างหรือ โรคทางร่างกายบางโรค อาจมีอาการทางจิตเหมือนกับโรคอารมณ์สองขั้วได้ แพทย์จะนาข้อมูลที่ได้ จากผู้ปุวยหรือญาติไปวิเคราะห์ร่วมกับการตรวจร่างกายและตรวจสภาพจิตเพื่อทาการวินิจฉัย แต่ยัง ไม่มีการตรวจพิเศษเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคนี้ ในสหรัฐอเมริกาสถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ได้ กล่าวถึงการวินิจฉัยโรคอารมณ์สองขั้วว่า แพทย์ผู้วิ นิจฉัยจะใช้แนวทางจากคู่มือการวินิจฉัยและ ใน เรื่องความผิดปกติ (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders-DSM) การวินิจฉัย ดูจากความผิดปกติของการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และพฤติกรรมซึ่งอาจแยกย่อยลงไปอีก 4 คือ แบบแรก เรียกว่า “Bipolar I Disorder” หมายถึง การมีอารมณ์เริงร่า (Manic) ที่เกิด ติดต่อกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ หรือมีลักษณะอารมณ์สุขสุดขีด เช่น อยากพูด หัวเราะ ตลอดเวลา ไม่ รับฟังความคิดผู้อื่น มักคิดว่าตนเองสาคัญ มีอานาจกว่าความเป็นจริง แต่ก็อาจเปลี่ยนจากอาการดี เป็นหงุดหงิดก้าวร้าวซึมเศร้าได้ แบบที่ 2 เรียกว่า “Bipolar II Disorders” ลักษณะประเภทนี้ จะมีอารมณ์ ซึมเศร้า เด่นชัด อาจมีอารมณ์ดีบ้างแต่ไม่เด่นชัด แบบที่ 3 เรียกว่า “Bipolar Disorder Not Otherwise Specified (BP-NOS) มีลักษณะ อารมณ์แกว่งไกวแต่ไม่ชัดว่าจะเป็นแบบที่หนึ่งหรือแบบที่สอง แต่อาการที่ปรากฏก็เห็นได้ชัดว่าต่างไป จากพฤติกรรมของคนปกติทั่วไป แบบที่ 4 เรียกว่า “Cyclothymic Disorder” หรือ Cyclothymic เป็นโรคอารมณ์สองขั้ว แบบอ่อนๆ คนที่เป็นแบบนี้จะมีลักษณะสุขสันต์และซึมเศร้าสลับกันเช่นมีอาการดังกล่าวนี้ต่อเนื่องเป็น เวลา 2 ปี เป็นอย่างน้อย อย่างไรก็ดี อาการจะไม่ถึงขั้นที่จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคอารมณ์สองขั้วแบบอื่น หากมีอาการรุนแรงจะเรียกว่า “Rapid-Cycling Bipolar Disorder” ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคล มีอาการซึมเศร้าและสุขสุดขีด หรือผสมผสนากันตลอดปี โรคอารมณ์สองขั้วแบบนี้มักเกิดกับคนที่เคย เป็นโรคนี้ตั้งแต่อายุยังน้อย และมักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เมื่อพบผู้ปุวยมีอากาดังกล่าวแพทย์จะทาการตรวจสภาพทางร่างกายประกอบด้วยเช่นกัน (NIMH : 2015)
86
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
การให้ความช่วยเหลือและการรักษา หากพบว่าตัวเราหรือผู้ใกล้ชิดมีปัญหาด้านสุขภาพจิต แม้จะไม่แน่ใจว่าเป็นโรคอารมณ์สองขั้ว หรือไม่ก็ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือจิตแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย และรักษาได้ทันท่วงที ปัจจุบันมีรายงานจากงการจิตแพทย์หลายแห่งที่พบว่า โรคนี้รักษาได้ ญาติ หรือผู้ใกล้ชิดควร นาผู้ที่มีอาการต่างๆดังที่กล่าวมาข้างต้นไปพบแพทย์โดยด่วน การรักษาในระยะอาการกาเริบในปัจจุบันแพทย์จะให้ยาช่วยควบคุมอาการทางอารมณ์ การ กินยาต้องมีความต่อเนื่อง ถึงแม้ผู้ปุวยจะมีอาการปกติแล้วทั้งนี้เพื่อปูองกันการกาเริบในระยะยาว ทั้งนี้แพทย์จะมีการตรวจปรับยาเป็นระยะๆ นอกจากนี้ยังมีวิธีการรักษาด้วยไฟฟูา ซึ่งจะใช้ในกรณีที่การรักษาด้วยยาไม่ได้ผล และการ รักษาด้วยไฟฟูาในปัจจุบันก็ปลอดภัยกว่าสมัยก่อนมาก ผลกระทบระยะสั้นคือการสูญเสียความจา แต่ ก็จะกลายเป็นปกติในระยะยาว อย่างไรก็ดีการให้ความรู้แก่ผู้ปุวยและญาติก็เป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้การรักษาดาเนินไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ข้อควรระวัง การดูแลเรื่องการนอน การผ่อนคลาย และการหลีกเลี่ยง สารเสพติด ทุก ชนิดรวมถึงเครื่องดื่มและยา การช่วยเหลือโดยการทาจิตบาบัด (Psychotherapy) เมื่อไปพบแพทย์ และรั บ ยาจากการวินิจฉัยของแพทย์แล้ ว การทาจิตบาบัดก็เป็นอีก วิธีการวิธีการที่ช่วยให้การบาบัดรักษาโรคอารมณ์สองขั้วได้ดีขึ้น วิ ธีนี้เป็นการให้การศึกษาแก่ผู้ปุวย และครอบครัว วิธีการทางจิตบาบัดที่เคยใช้รักษาผู้ปุวยโรคอารมณ์สองขั้ว ได้แก่ Cognitive Behaving therapy (CBT) วิธีนี้ช่วยให้คนที่มีอาการสองขั้วเรียนรู้ที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมและความคิดเชิงลบ หรือ ความคิดที่เป็นอันตราย ครอบครัวบาบัด (Family-focused let therapy) วิธีนี้ เกี่ยวข้องกับสมาชิกในครอบครัว โดยช่วยให้ทุกคนช่วยกันดูแลแก้ไขปัญหาของ บุคคลอันเป็นที่รัก การบาบัดแบบนี้จะช่วยแก้ไขการสื่อสารกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว เท่าๆกับ การแก้ปัญหา Interpersonal and interpersonal and social rhythm therapy วิธีนี้ จะช่ว ยให้ คนที่มีอารมณ์ส องขั้ว มีสัมพันธภาพกับคนอื่นดีขึ้น และจัดการกับการ ดาเนินชีวิตประจาวันของตนเองได้ รวมถึงการดูแลปัญหาเรื่องการนอน จิตวิทยาการศึกษา (Psycho Education) วิธีนี้จะช่วยสอนคนที่มีอารมณ์สองขั้วในเรื่อง ของโรคและการบาบัดรักษา จิตวิทยาการศึกษาสามารถช่วยให้ระลึกได้ถึงสัญญาณของอารมณ์ที่แกว่ง ไกว ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปุวยแสวงหาวิธียับยั้งได้โดยเร็ว ก่อนที่จะมีอาการรุนแรงมากขึ้น ปกติวิธีนี้จะทา เป็นกลุ่ม นักจิตวิทยาการศึกษาอาจช่วยสมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลได้ มีงานวิจัยที่ศึกษาถึงการทาจิตบาบัดผู้มีอารมณ์สองขั้ว โดยแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกใช้วิธี ร่วมมือกับนักจิตวิทยา การศึกษา 3 ครั้ง ในเวลา 6 อาทิตย์ อีกกลุ่มใช้การรักษาด้วยการใช้ยาและการ ทาจิตบาบัดอย่างเข้มข้น คือ 30 ครั้ง ตลอด 9 เดือน โดยใช้ CBT และ interpersonal และ social
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
87
rhythm therapy หรือ family focused therapy ผลการวิจัยพบว่าวิธีที่สองได้ผล และมีความ คงทนยาวนานกว่า นักจิตวิทยาที่มีใบอนุญาต (Incensed) นักสังคมสงเคราะห์หรือนักให้คาปรึกษา (Counselor) ปกติ จ ะได้ รั บ การฝึ ก ในเรื่ องจิ ตบ าบั ด มาด้ ว ย จึ ง ควรท างานร่ ว มกั บจิ ต แพทย์ อ ย่ างใกล้ ชิ ด เพื่ อ ประสิทธิภาพของการบาบัด (NIMH : 2015) เอกสารอ้างอิง เจษฎา โชคดารงสุข. (2557). ไบโพลาร์ โรคอารมณ์สองขั้ว รักษาถูกวิธีหายได้อย่างสร้างสุขภาพ สสส. เว็บไซด์ www.thaihealth.or.th มหาวิทยาลัยมหิดล. (2005). โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว. กรุงเทพฯ. http//inmu.mahidol.ac.th มาโนช เหล่าตระกูล. (2515). โรคอารมณ์สองขั้ว. ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ. www.rcpsycht.org. วราวุฒิ เจริญศิริ และ สเปญ อุ่นอนงค์. (ม.ป.ป.). โรคไบโพลาร์หรือโรคอารมณ์สองขั้ว. www.somdet.go.th สสส. (2557). “ไบโพลาร์” โรคอารมณ์สองขั้วรักษาถูกวิธีหายได้. กรุงเทพฯ. www.thailand.org.th สุชาติ ตรีทิพยธิคุณ. (2558). โรค “อารมณ์สองขั้ว” วารสารโรงพยาบาลวิภาราม กรกฎาคมกันยายน 2558. กรุงเทพฯ. www.vibharam.com เอเอสทีวีผู้จัดการออนไลน์. (2558). รับมือกับโรคไบโพลาร์อารมณ์สองขั้วที่เป็นมากในไทย. กรุงเทพฯ. pantip.com/topic/31388720.thailand. National Instituted of Mental Health. (2012). Bipolar Disorder. www.nimph.gor/health/topic. 9/26/15 National Instituted of Mental Health. (2012). Bipolar Disorder in Adults U.S. Department Health and Human Saviors. www.nimph.gov/heath/publication. National Instituted of Mental Health. (2012). The N/MH booklist Bipolar Disorder in Children and Adolescent. U.S. Department of Health and Human Services. www.nimph.gov/health/publication.org. Wikipedia. (2015). Bipolar disorder. http//enwikipedia.org …………………………………………………….
88
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
คาชี้แจงสาหรับผู้ส่งบทความวิชาการและบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์ในวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เป็นวารสารเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาค้นคว้าสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการด้านจิตวิทยา บทความทุกเรื่องที่ตีพิมพ์จะต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รายละเอียดมีดังนี้ 1. ลักษณะบทความที่ตีพิมพ์ 1.1 บทความทางวิชาการ/บทความทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา 1.2 บทความวิจัย/บทความวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา 2. ส่วนประกอบของบทความ 2.1 บทความทางวิชาการ ความยาวเรื่องละไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย 2.1.1 ชื่อเรื่อง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2.1.2 ชื่อผู้แต่ง 2.1.3 สถาบันที่ผู้เขียนสังกัด 2.1.4 บทคัดย่อ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2.1.5 บทนา เนื้อเรื่องและสรุปสาระสาคัญ 2.1.6 เอกสารอ้างอิง (ตามระบบ APA) 2.2 บทความวิจัย/บทความวิทยานิพนธ์ ความยาวเรื่องละไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย 2.2.1 ชื่อเรื่อง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2.2.2 ชื่อผู้แต่ง 2.2.3 สถาบันที่ผู้เขียนสังกัด 2.2.4 บทคัดย่อ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2.2.5 คาสาคัญ (Key words) 2.2.6 เนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 1) บทนา 2) วัตถุประสงค์ 3) นิยามศัพท์ 4) วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 5) ระเบียบวิธีวิจัย ประกอบด้วย - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - การวิเคราะห์ข้อมูล
วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)
89
6) ผลการวิจัย - บทสรุป - ข้อเสนอแนะ 7) เอกสารอ้างอิง (ตามระบบ APA) 3. การจัดพิมพ์ 3.1 พิมพ์ลงหน้ากระดาษขนาด A4 3.2 พิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Office Word 2003 3.3 รูปแบบตัวอักษร TH SarabunPSK 3.4 ลักษณะและขนาดตัวอักษร 3.4.1 ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ตัวหนาขนาด 26 3.4.2 ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ตัวหนาขนาด 26 3.4.3 ชื่อผู้เขียน ตัวหนาขนาด 16 3.4.4 หัวข้อใหญ่ ตัวหนาขนาด 16 3.4.5 เนื้อหา ตัวปกติขนาด 16 4. การจัดส่งบทความ 4.1 จัดส่งเอกสาร ดังนี้ 4.1.1 ต้นฉบับบทความ จานวน 3 ชุด 4.1.2 CD บันทึกบทความ จานวน 1 แผ่น 4.1.3 แบบฟอร์มส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 4.2 จัดส่งบทความ ดังนี้ กองบรรณาธิการวารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต หลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยา ระดับบัณฑิตศึกษา ชั้น 3 อาคาร 1 เลขที่ 1761 ซอยพัฒนาการ 37 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 e-mail: journal.psy.kbu@gmail.com 4.3 มีข้อสงสัยกรุณาติดต่อ รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ เทวรักษ์ โทร.0-2320-2777 ต่อ 1163, 089-929-9705 รองศาสตราจารย์อัจฉรา สุขารมณ์ โทร.0-2320-2777 ต่อ 1134, 081-921-7903 5. เงื่อนไขการตีพิมพ์บทความ 5.1 เป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารอื่นมาก่อน 5.2 เป็นบทความที่ผ่านการพิจารณาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ (Peer review) ของวารสาร จิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บทความละ 2 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเชิงวิชาการ 5.3 เป็นบทความที่ได้ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิเรียบร้อยแล้ว 5.4 บทความที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ เผยแพร่ ใ นวารสารจิ ต วิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย เกษมบั ณ ฑิ ต เจ้าของบทความจะได้รับวารสารฉบับนั้น จานวน 3 เล่ม
…………………………………………………..