UR POWER DECEMBER 2016

Page 1

ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร



ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัส เกี่ยวกับความสุขในการดําเนินชีวิต



“...พระพุทธเจาทานไดสอนวา สิ่งที่สําคัญที่สุด ถึงเรียกวาเปนอริยสัจ ๔ อยาง ที่เปนสิ่งสําคัญ ถาเราทําบุญดวยประการทั้งปวง คือทําดีดวยความตั้งใจดี แลวก็มีปติ ขึ้นมา ไดรับผลของบุญแลว เราทําสูงขึ้นไป ทําตอไป คิดใหดี ๆ จะเกิดที่เรียกวาปญญา หรือความรู ปญญานี้ ไมไดหมายความวา ใครไปเรียนกลับมาได ดอคตงดอคเตอร ไม ใช นั่นก็เปนปญญาอยางหนึ่ง เปนความรู ความรูที่ทางโลกเขาใช แตปญญาจริง ๆ เห็น อะไรจริง ๆ ที่ ใจจริง ๆ ถาเราทําบุญไปก็จะคอย ๆ เห็นความจริง เปนปญญา เราจะสามารถที่จะควบคุมการเกิดของทุกขที่ ใจ...”

พระราชดํารัส ในโอกาสที่คณะชาวหวยขวาง พญาไท เฝา ฯ ทูลเกลา ฯ ถวายเงิน โดยเสด็จพระราชกุศล และตนเทียนพรรษา ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันพุธ ที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๒๑


“...การใชจายโดยประหยัดนั้น จะเปนหลักประกันความสมบูรณพูนสุข ของผูประหยัดเองและครอบครัว ชวยปองกันความขาดแคลนในวันขางหนา การประหยัด ดังกลาวนี้จะมีผลดีไมเฉพาะแกผูประหยัดเทานั้น ยังจะเปนประโยชนแกประเทศชาติดวย...”

กระแสพระราชดํารัส พระราชทานแกประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปใหม ๒๕๐๓ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๐๒


“...การศึกษาดานศิลปะวัฒนธรรม เปนการศึกษาที่สําคัญ และควรจะดําเนินควบคู กันไปกับการศึกษาดานวิทยาศาสตร เพราะความเจริญของบุคคล ตลอดจนถึงความเจริญ ของประเทศและของโลกโดยสวนรวมดวยนั้น มีทั้งทางวัตถุและจิตใจ ความเจริญทั้งสอง ทางนี้จะตองมีประกอบกัน เกื้อกูลและสงเสริมกันพรอมมูล จึงจะเกิดความเจริญทีแ่ ทจริงได ประเทศทั้งหลายจึงตางพยายามสงเสริมการศึกษาดานศิลปะวัฒนธรรมนี้ พรอมกันไป กับการศึกษาดานวิทยาศาสตร...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ทองพระโรงวังทาพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันพฤหัสบดี ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๑๐



“...ศาสนานั้นเปนสิ่งที่ทราบกันอยูแลววาตองมี และถึงวาศาสนามีความหมายได หลายอยาง ก็ไมจําเปนที่จะตองเปนศาสนาที่มีชอหรือที่ตองเครงครัดตามแนวทาง การสั่งสอนอยางหนึ่งอยางใด เปนแตตองมีแนวความคิดที่แนวแน ที่ดี และไมเบียดเบียน อยางนี้ ก็ถือเปนศาสนาไดทั้งนั้น ในเมืองไทยนี้ ใครจะถือปฏิบั ติตามศาสนาใดก็ไดทั้งนั้น เคยชี้แจงอยูเสมอวาเมืองไทยนี้ที่อยูไดก็เพราะไมมีการกีดกันวาคนโนนศาสนาโนน คนนี้ศาสนานี้ แตวาเปนที่ทราบกันดีวาทุกคนปฏิบั ติศาสนกิจของตน ๆ ดวยความมุงดี หวังดี ตั้งใจที่จะใหเกิดประโยชนตนและประโยชนสวนรวม ศาสนาทุกศาสนาจึงใชไดทั้งนั้น ขอแตเพียงอยาใหเบียดเบียนซึ่งกันและกัน...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกผูแทนองคการศาสนาและผูแทนสถาบันการศึกษาตาง ๆ ที่เขาเฝา ฯ ถวายพระพรชัยมงคล เนองในการเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาผกาภิรมย วันพฤหัสบดี ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๒


“...ในบานเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไมดี ไมมีใครจะทําใหคนทุกคนเปนคนดีไดทั้งหมด การทําใหบานเมืองมีความปรกติสุขเรียบรอยจึงมิใชการทําใหทุกคนเปนคนดี หากแตอยูที่ การสงเสริมคนดี ใหคนดีไดปกครองบานเมือง และควบคุมคนไมดีไม ใหมีอํานาจ ไม ใหกอ ความเดือดรอนวุนวายได...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีเปดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ ครั้งที่ ๖ ณ คายลูกเสือวชิราวุธ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันพฤหัสบดี ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๒




“...การมีเสรีภาพนั้นเปนของดีอยางยิ่ง แตเมอจะใช จําเปนจะตองใช ดวยความระมัดระวังและความรับผิดชอบ มิใหลวงละเมิดเสรีภาพของผูอน ที่เขาก็มีอยูเทาเทียมกัน ทั้งมิใหกระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและความเปน ปรกติสุขของสวนรวมดวย...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกผูบังคับบัญชาลูกเสือ ในโอกาสเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทและรับพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต วันศุกร ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔



“...การลมลางของเกาเพอสรางขึ้นใหมนั้น อาจทําใหสิ่งดีที่มีอยูแลวตองทําลาย ไปดวย และทําใหความเจริญตาง ๆ ตองหยุดชะงักลง การสรางสรรคควรจะกระทําได ดวยวิธีการที่แยบคายกวานั้น โดยรวมกันคิดแกไขปรับปรุงสิ่งที่มีอยูแลวใหดีขึ้น และสรางสิ่งที่ยังขาดอยู ใหสมบูรณขึ้นมา...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วันศุกร ที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๑๕


“...ความสามัคคีนั้นอาจหมายความถึงเห็นชอบเห็นพองกันโดยไมแยงกัน ความจริง งานทุกอยางหรือการอยูเปนสังคมยอมตองมีความแยงกัน ความคิดตางกันซึ่งไมเสียหาย แตอยูที่จิตใจของเรา ถาเราใชหลักวิชาและความปรองดองดวยการใชปญ  ญา การแยงตาง ๆ ยอมเปนประโยชน ถามีรากฐานของความคิดอยางเดียวกัน รากฐานของความคิดนั้นคือ แตละคนจะตองทําใหบานเมืองมีความสุขมีความปกแผน...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกผูเขาเฝา ฯ รับพระราชทานเครองราชอิสริยาภรณชั้นสายสะพาย ณ ศาลาดุสิดาลัย วันอังคาร ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๑๗


“...ความเพียรนั้นคือไมทอถอยในการฝกตนเอง ไมทอถอยในการแผความรู ไมทอถอยในการชวยผูอน วินัยก็คือระเบียบที่มีอยู ในใจของตัวเอง เพอที่จะเลือกเฟน วิชาการมาใชในที่ ๆ เหมาะสม ที่ถูกตอง และวินัยคือควบคุมตัวเองใหอยู ในรองในรอย ไมทําใหเกิดความเสียหายตอตนเอง...”

พระบรมราโชวาท พระราชทานแกคณะครูฝกตํารวจตระเวนชายแดน ณ ศาลาเริง พระราชวังไกลกังวล วันพุธ ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๑๘



“...คําที่ชอบมากในพระพุทธศาสนาคือ “วิริยะ” วิริยะนี้ออกมาในรูป ภาษาพูดธรรมดาก็หมายถึงความอุตสาหะ เพราะเขาใชคําวาวิริยะอุตสาหะ คนนั้นมีความวิริยะมาก หมายความวามีความอุตสาหะมาก มีความขยัน มีความอดทนมาก แตวิริยะกลายมาเปนคนที่มีวีระ เปนคนที่กลา อยางเชน คําวาวีรบุรุษ วีรชน คนที่กลาก็วิริยะนี้ ความอุตสาหะหรือความกลา ก็เปนคําที่สําคัญ ตองกลาที่เผชิญตัวเอง เมอกลาเผชิญตัวเอง กลาทีจ่ ะ ลบลางความขี้เกียจ เกียจครานในตัว หันมาพยายามอุตสาหะก็ไดเปนวิริยะ อุตสาหะ วิริยะในทางที่กลาที่จะคานตัวเองในความคิดพิเรนทร ก็เปนคนที่มี เหตุผล เปนคนที่ละอคติตาง ๆ ก็หมายความวาเปนคนที่คิดดีที่ฉลาด วิรยิ ะ ในทางที่ ไมยอมแมแตความเจ็บปวด ความกลัว จะมาคุกคามก็ทาํ สิง่ ทีถ่ กู ตอง ก็เปนคนกลา ถึงชอบคําวาวิริยะ...”

พระราชดํารัส ในโอกาสที่พระครูวิบูลสารธรรม เจาอาวาสวัดคลอง ๑๘ และคณะ เฝา ฯ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันศุกร ที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๘


“...กายที่มีสุขภาพดีก็หมายความวากายที่แข็งแรง ที่เดินได ยืนได นั่งได มีกําลัง มีทกุ อยาง รวมทัง้ มีความคิดทีด่ ี ถามีสขุ ภาพจิตทีด่ กี ม็ กี าํ ลัง เปนกําลังที่จะแผความเมตตา ใหแกคนอน มีกาํ ลังทีจ่ ะคิดในสิง่ ทีถ่ กู ตอง ทีจ่ ะทําใหมคี วามเจริญรุง เรืองแกตวั และความเจริญ รุงเรืองในสังคม...”

พระราชดํารัส ในโอกาสที่คณะจิตแพทย นักวิชาการสุขภาพจิต อาจารยจากมหาวิทยาลัย และผูทรงคุณวุฒิจากสถาบันตาง ๆ เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน วันอังคาร ที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๐


“...ความรูส กึ ระลึกไดวา อะไรเปนอะไร หรือเรียกสัน้ ๆ วา “สติ” นัน้ เปนสิง่ สําคัญ ทีส่ ดุ อยางหนึ่งที่จะทําใหบุคคลหยุดคิดพิจารณากอนที่จะทํา จะพูด และแมแตจะคิดสิ่งใด สิ่งหนึ่งวาสิ่งนั้นดีหรือชั่ว มีคุณมีประโยชนหรือเสียหาย ควรกระทําหรือควรงดเวน อยางไร เม อยั้งคิดได ก็จะชวยใหพิจารณาทุกสิ่งทุกอยางอยางละเอียดประณีต และสามารถกลั่นกรองเอาสิ่งที่ ไมเปนสาระไมเปนประโยชนออกไดหมด คงเหลือแตเนื้อแท ที่ถูกตองและเปนธรรม ซึ่งเปนของควรคิดควรพูดควรทําแท ๆ...”

พระบรมราโชวาท พระราชทานแกสามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ เพอเชิญไปอานในการประชุมสามัญประจําป ระหวางวันที่ ๑๖ - ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๐



“...ชาตินั้นเปรียบไดกับชีวิตคน. กลาวตามหลักความจริง คนเราประกอบดวย รางกายสวนหนึ่ง จิตใจสวนหนึ่ง ทั้งสองสวนคุมกันอยูบริบูรณชีวิตก็คงอยู. สวนใด สวนหนึง่ ทําลายไป ชีวติ ก็แตกดับ เพราะอีกสวนหนึง่ จะตองแตกทําลายไปดวย. ชาติของเรานัน้ มีผนื แผนดินและประชากรอันรวมกันอยูเ ปนสวนรางกาย มีศลิ ปวิทยา มีธรรมเนียมประเพณี มีความเชอถือและความคิดจิตใจที่จะสามัคคีกันอยูเปนปกแผน ซึง่ รวมเรียกวา “ความเปนไทย” เปนสวนจิตใจ. ชาติไทยเราดํารงมั่งคงอยูก็เพราะยังมีทั้งบานเมืองและความเปนไทยพรอม บริบูรณ. แตถาความเปนไทยของเรามีอันเปนตองเสอมสลายไปดวยประการใดแลว ชาติก็ตองสิ้นสูญ เพราะถึงหากบานเมืองและผูคนจะยังอยู ก็ไมมีสิ่งใดประสานยึดเหนี่ยว ใหรวมกันอยูได จะตองแตกแยกจากกันไปในที่สุด เหมือนสวนตาง ๆ ของรางกาย ที่ตองแตกจากกันเมอสิ้นชีวิต...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี วันศุกร ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๒๑


“...รากฐานที่นับวาสําคัญ คือรากฐานทางจิตใจ อันไดแกความหนักแนนมั่นคง ในสุจริตธรรมอยางหนึง่ ในความมุง มัน่ ทีจ่ ะประกอบกิจการงานใหดจี นสําเร็จอีกอยางหนึง่ เหตุใดจึงตองมีความสุจริตและความมุงมั่น ก็เพราะความสุจริตนั้นยอมกีดกั้นบุคคล ออกจากความชั่วและความเสอมเสียทั้งหมดได จึงชวยใหบุคคลมีโอกาสใชความรู ความสามารถแต ในทางที่ถูกที่เจริญแตเพียงทางเดียว...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ณ อาคารใหม สวนอัมพร วันพุธ ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๒๔


“...คนเราถาทอใจแลวเปนคนอันตราย เพราะวาถาเปนคนที่มีความรูแลวทอใจ ความทอใจนั้นทําใหการควบคุมจิตใจสติของตัวนอยลง เพราะวามันทอ ความทอใจนี้ เปนสิง่ กีดขวางความดีไปไดมาก เพราะวาไมระวังตัว เวลาทอใจก็เกิดนอยใจ นอยใจก็เกิดประชด เปดโอกาสใหจิตใจรับสิ่งที่ ไมดีเขามาในจิตใจได เพราะวามีความฟุงซาน คนไหนถาทอใจ สังเกตดี ๆ พวกเพอน ๆ ที่ทอใจ บางทีคนนั้นพูดฟุงซาน พูดอะไรไมไดเรอง แลวถาใคร มาชักชวนใหทําอะไรก็อาจจะเปนผูรายไปก็ได ทําใหขาดการพิจารณา คือขาดสตินั่นเอง...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกบัณฑิตอาสาสมัคร รุนที่ ๑๓ และคณะกรรมการประจําสํานักบัณฑิตอาสาสมัคร ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันอังคาร ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๔



“...คนที่มีระเบียบมีวินัยนั้นเปนผูที่เขมแข็ง เปนผูที่หวังดีตอตัวเอง เปนผูที่จะมี ความสําเร็จในอนาคต อันนี้เปนระเบียบอยางหนึ่ง เปนวินัยอยางหนึ่ง คือวาถาคนใด มีระเบียบมีวนิ ยั ในรางกาย คือหมายถึงการปฏิบั ติของตัวในกิรยิ ามารยาท ทําใหไมมอี ปุ สรรค ตอการขวนขวายหา จะหาความรูก็ได หาอะไรก็มีความสําเร็จ คือหาสิ่งที่ตัวกําลังมุง ที่จะปฏิบั ติ การปฏิบั ติดวยความมีระเบียบมีวินัย การปฏิบั ตินน้ั สําเร็จ อันนีเ้ ปนระเบียบวินยั ชนิดหนึง่ ระเบียบวินยั อีกชนิดทีก่ ลาวเมอตะกี้ ก็คอื ระเบียบในใจ ในใจนัน้ ก็คอื การกระทําอะไร เราตองคิด เมอมีระเบียบในความคิด คือมีเหตุผล สิง่ ใดทีค่ ดิ ก็คิดออก สมมุตวิ า เราคิด เรองหนึง่ แลวก็ไปคิดถึงอีกเรองหนึง่ ที่ไมเกีย่ วของ แลวไปคิดถึงเรองที่สาม เรองที่สี่ เรองทั้งสามสี่เรองนี้ก็ไมมีความสําเร็จแนนอน เพราะวามันฟุงซาน ฉะนั้นตองมีระเบียบ ในความคิด ที่เรียกวาระเบียบในใจหรือวินัยในความคิด...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต จังหวัดสงขลา ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดสงขลา วันพฤหัสบดี ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๒๔


ความกตัญูกตเวทีคือสภาพจิตที่รับรูความดี และยินดีที่จะกระทําความดี โดยศรัทธามั่นใจ. คนมีกตัญูจึงไมลบลางทําลายความดี และไมลบหลูผูที่ ไดทําความดี มากอน หากเพียรพยายามรักษาความดีทั้งปวงไวใหเปนพื้นฐานในความประพฤติปฏิบั ติ ทุกอยางของตนเอง. เมอเต็มใจและจงใจกระทําทุกสิ่งทุกอยางดวยความดีดังนี้ ก็ยอมมีแตความเจริญมั่นคงและรุงเรืองกาวหนายิ่ง ๆ ขึ้น. จึงอาจกลาวไดวา ความกตัญูกตเวทีเปนคุณสมบติ ั อันสําคัญยิ่งสําหรับนักพัฒนา และผูปรารถนา ความเจริญกาวหนาทุกคน.

พระบรมราโชวาท พระราชทานแกคณะกรรมการวันกตัญูกตเวที สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย เพอเชิญลงพิมพในหนังสือที่ระลึกวันกตัญูกตเวที และ เชิญออกเผยแพรแกประชาชนเปนแนวทางปฏิบั ติ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๖



“...การที่จะใหปราศจากอคตินี้เปนสิ่งที่ยาก เพราะจะตองบังคับจิตใจของตัวเอง อยูตลอดเวลา ทั้งในขณะที่ปฏิบั ติงาน ทั้งนอกเวลาปฏิบั ติงาน เพราะวาจิตใจที่ปราศจาก อคตินั้น ตองฝกฝนและมีอยูตลอดเวลา เพอที่จะใหปราศจากอคติก็จะตองอบรมจิตใจ ของตัวใหดี ใหมคี วามยุตธิ รรมทุกเมอ การอบรมจิตใจของตัวใหมคี วามยุตธิ รรมทุกเมอนัน้ จะตองรักษาสติใหมั่น ตองมีความรูทุกอยาง ไดประสบสิ่งใดจะตองรูวานี่คืออะไร นี่คือ สิง่ ทีค่ วร และอาจจะเห็นดวยวาสิง่ ที่ไมควรมีอะไรบาง ตองเลือกสิง่ ทีค่ วรและละสิง่ ที่ไมควร...”

พระราชดํารัส พระราชทานในโอกาสที่คณะผูพิพากษาประจํากระทรวงเฝา ฯ ถวายสัตยปฏิญาณกอนเขารับหนาที่ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันพุธ ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๒๖


“...การทําความดีนั้น โดยมากเปนการเดินทวนกระแสความพอใจและความตองการ ของมนุษย จึงทําไดยาก และเห็นผลชา แตก็จําเปนตองทํา เพราะหาไม ความชั่ว ซึ่งทําไดงาย จะเขามาแทนที่ แลวจะพอกพูนขึ้นอยางรวดเร็วโดยไมทันรูสึกตัว...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรแกวาที่รอยตํารวจตรี ที่สําเร็จการศึกษาชั้นสูงสุดจากโรงเรียนนายรอยตํารวจ ประจําปการศึกษา ๒๕๒๘ พระราชทานประกาศนียบัตรกับเข็มพิทักษชนาธิปตยแกผูสําเร็จการศึกษา อบรมหลักสูตรการบริหารงานตํารวจชั้นสูง รุนที่ ๒ พระราชทานประกาศนียบัตรกับเข็มสันติพิทักษแกผูสําเร็จการศึกษาอบรมหลักสูตร ผูกํากับการ รุนที่ ๗ และพระราชทานประกาศนียบัตรกับเข็มพิทักษาธิปตย แกผูสําเร็จการศึกษาอบรมหลักสูตรฝายอํานวยการตํารวจ ชุดที่ ๘ ณ อาคารใหม สวนอัมพร วันจันทร ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๒๙



“...ทุกวันนี้ประเทศไทยยังมีทรัพยากรพรอมมูล ทั้งทรัพยากร ธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล ซึ่งเราสามารถนํามาใช้เสริมสร้าง ความอุดมสมบูรณและเสถียรภาพอันถาวรของบานเมืองไดเปนอยางดี. ขอสําคัญเราจะตองรูจ กั ใชทรัพยากรทัง้ นัน้ อยางฉลาด คือไมนาํ มาทุม เทใช ใหสิ้นเปลืองไปโดยไรประโยชน หรือไดประโยชนไมคุมคา หากแตระมัดระวัง ใชดว ยความประหยัดรอบคอบ ประกอบดวยความคิดพิจารณาตามหลักวิชา เหตุผล และความถูกตองเหมาะสม โดยมุงถึงประโยชนแทจริงที่จะเกิดแก ประเทศชาติ ทั้งในปจจุบันและอนาคตอันยืนยาว...”

พระราชดํารัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๒๙ วันศุกร ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๙


“...เมอมีโอกาสและมีงานทํา ก็ควรเต็มใจทํา โดยไมจําตองตั้งขอแมหรือเงอนไข อันใดไวใหเปนเครองกีดขวาง. ขอใหคิดกันเสียใหมวา คนที่ทํางานไดจริง ๆ นั้น ไมวาจะจับงานสิ่งใด ยอมทําไดเสมอ. ถายิ่งมีความเอาใจใส มีความขยัน มีความสังเกต จดจําดี ก็ยิ่งจะชวยใหประสบผลสําเร็จในงานที่ทําสูงขึ้น...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ณ อาคารใหม สวนอัมพร วันพุธ ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐


“...การที่ ไดอุตสาหะศึกษาวิชาความรูตาง ๆ มาเปนอันมาก ทั้งในหลักสูตร และนอกหลักสูตร แทจริงคือการสะสมรวบรวมอุปกรณ และความชํานิชํานาญในการใช อุปกรณนานาชนิดนั้น ๆ ไว สําหรับนําออกใชปฏิบั ติงานเมอสําเร็จการศึกษาแลวนั่นเอง...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแกน ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยขอนแกน วันพฤหัสบดี ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๔



“...ประเทศของเรา ไมใชประเทศของหนึ่งคนสองคน เปนประเทศ ของทุกคน ตองเขาหากัน ไมเผชิญหนากัน แกปญ  หา เพราะวาอันตรายมีอยู เวลาคนเราเกิดความบาเลือด ปฏิบั ติการรุนแรงตอกัน มันลืมตัว ลงทาย ก็ ไมรูวาตีกันเพราะอะไร แลวก็จะแกปญหาอะไร เพียงแตวา จะตองเอาชนะ แลวก็ ใครจะชนะ ไมมีทางชนะ อันตรายทั้งนั้น มีแตแพ คือตางคนตางแพ ผูที่เผชิญหนาก็แพ แลวก็ที่แพที่สุดก็คือประเทศชาติ ประชาชนจะเปน ประชาชนทั้งประเทศ ไมใชประชาชนเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ถาสมมติวา กรุงเทพมหานครเสียหาย ประเทศก็เสียหายไปทัง้ หมด แลวก็จะมีประโยชนอะไร ที่จะทะนงตัววาชนะ เวลาอยูบนกองสิ่งปรักหักพัง...”

พระราชดํารัส ในโอกาสที่นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ประธานองคมนตรี และ พลเอก เปรม ติณสูลานนท องคมนตรี นําพลเอก สุจินดา คราประยูร และพลตรี จําลอง ศรีเมือง เฝาทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันพุธ ที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๕ เวลา ๒๑.๓๐ น.


“...ประเทศไทยเราอาจไมเปนประเทศที่รุงเรืองที่สุดในโลก หรือรวยที่สุดในโลก หรือฟูฟาที่สุดในโลก แตก็ขอใหเมืองไทยเปนประเทศที่มีความมั่งคง มีความสงบได เพราะวาในโลกนี้หายากแลว. เราทําเปนประเทศที่สงบ ประเทศที่มีคนที่ชวยเหลือ ซึ่งกันและกันจริง ๆ เราจะเปนที่หนึ่งในโลกในขอนี้. แลวรูสึกวาที่หนึ่งในโลกในขอนี้ จะดีกวาผูอน จะดีกวาคนที่รวยที่สุดในโลก จะดีกวาคนที่เกงในทางอะไรก็ตามที่สุดในโลก. ถาเรามีความสงบ แลวมีความสบาย ความมั่นคงที่สุดในโลกนั้น รูส กึ จะไมมีใครสูเ ราได...”

พระราชดํารัส ในโอกาสที่ประธานมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ นําคณะกรรมการบริหารมูลนิธิ ฯ และนักเรียนทุนพระราชทาน เขาเฝา ฯ ถวายพระพรชัยมงคลในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป ณ ศาลาดุสิดาลัย วันจันทร ที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๓๙


“...ความคิดนั้นสําคัญมาก ถือไดวาเปนแมบทใหญของคําพูดและการกระทําทั้งปวง. กลาวคือ ถาคนเราคิดดี คิดถูกตอง ทั้งตามหลักวิชาและคุณธรรม คําพูดและการกระทํา ก็เปนไปในทางที่ดีที่เจริญ. แตถาคิดไมดีไมถูกตอง คําพูดและการกระทําก็อาจกอใหเกิด ความเสอมเสียหาย ทั้งแกตัวเองและสวนรวมได. ดวยเหตุนี้ กอนที่บุคคลจะพูดจะทําสิ่งใด จําเปนตองหยุดคิดเสียกอนวา กิจที่จะทํา คําที่จะพูดนั้น ผิดหรือถูก เปนคุณประโยชน หรือเปนโทษเสียหาย เปนสิ่งที่ควรพูด ควรกระทํา หรือควรงดเวน. เมอคิดพิจารณา ไดดังนี้ ก็จะสามารถยับยั้งคําพูดที่ ไมสมควร หยุดยั้งการกระทําที่ ไมถูกตอง พูดและทํา แตสิ่งที่จะสัมฤทธิ์ผลเปนคุณ เปนประโยชน และเปนความเจริญ...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันพุธ ที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๐


“...คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมอมีความโลภนอย ก็เบียดเบียนคนอนนอย. ถาทุกประเทศมีความคิด - อันนี้ ไม ใชเศรษฐกิจ - มีความคิดวา ทําอะไรตองพอเพียง หมายความวา พอประมาณ ไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข. พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตอง ไมไปเบียดเบียนคนอน. ตองใหพอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทําอะไรก็พอเพียง ปฏิบั ติตนก็พอเพียง...”

พระราชดํารัส พระราชทานแกคณะบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝา ฯ ถวายชัยมงคล เนองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ฯ พระราชวังดุสิต วันศุกร ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑


“...การทํางานรวมกับผูอื1นนั้น ที่จะใหเปนไปโดยราบรื1น ปราศจากปญหาขอขัดแยง ยอมเปนไปไดยาก เพราะคนจํานวนมากยอมมีความคิดความตองการที่แตกตางกันไป มากบาง นอยบาง. ทานจะตองรูจักอดทนและอดกลั้น ใชปญญา ไมใชอารมณ ปรึกษากัน และโอนออนผอนตามกันดวยเหตุผล โดยถือวาความคิดที่แตกตางกันนั้น มิใชเหตุที่จะทําให เปนขอขัดแยงโตเถียงเพื1อเอาแพเอาชนะกัน แตเปนเหตุสําคัญที่จะชวยใหเกิดความกระจางแจง ทั้งในวิถีทางและวิธีการปฏิบัติงาน...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแกน ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน วันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๑



“...ความพรอมเพรียงเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกันที่ทุกคนทุกฝายแสดงใหเห็น ทําให ขาพเจาระลึกถึงคุณธรรมขอหนึ่ง ที่อุปถัมภและผูกพันคนไทยใหรวมกันเปนเอกภาพ สามารถธํารงชาติบานเมืองใหมั่งคงเปนอิสระยั่งยืนมาชานาน. คุณธรรมขอนั้นก็คือไมตรี ความมีเมตตาหวังดีในกันและกัน. คนที่มีไมตรีตอกัน จะคิดอะไรก็คิดแต ในทางสรางสรรค ที่เปนประโยชนเกื้อกูลกัน. จะพูดอะไรก็ ใชเหตุผลเจรจากัน ดวยความเขาอกเขาใจกัน. จะทําอะไรก็ชวยเหลือรวมมือกัน ดวยความมุงดีมุงเจริญตอกัน...”

พระราชดํารัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม วันอาทิตย ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒


“...ในชีวิตการงานนั้นทุกคนมีภาระอันหนักที่จะตองกระทํามากมาย ประการแรกคือหนาที่ ในงานอาชีพ ซึ่งควรจะตองปฏิบั ติใหสําเร็จลุลวง ไปดวยดีทุก ๆ อยาง ประการตอไป ไดแกหนาที่ที่จะตองทําประโยชนใหแก สังคมในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของสังคม และเปนผูไ ดรบั ความเกือ้ กูลจากสังคม ทัง้ โดยทางตรงและทางออมอยูต ลอดเวลา นอกจากนัน้ ยังมีหนาทีท่ จ่ี ะตอง ปฏิบั ติรับใชชาติบานเมืองในฐานะที่เปนพลเมืองไทยอีกประการหนึ่งดวย ทานทั้งหลายไดเริ่มตนชีวิตมาดวยดีแลว ขอใหกระทําดีตอไปใหตลอด จงตั้งใจและมั่นใจที่จะทําความเพียรพยายาม ใชความรูความสามารถ พรอมทัง้ กําลังกายกําลังใจและความคิดพิจารณาทีร่ อบคอบ สรางคุณงาม ความดี ประกอบการงานใหบังเกิดประโยชนอันแทจริงและยั่งยืนทั้งแกตน ทั้งแกสวนรวมใหสมกับที่ ไดชอวาบัณฑิต และใหไดประสบความสําเร็จในชีวิต โดยสมบูรณ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ทองพระโรงวังทาพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันอังคาร ที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๒




ขอขอบพระคุณ

สํานักราชเลขาธิการที่ไดใหความอนุเคราะหและสนับสนุนการจัดทําหนังสือนี้อยางดียิ่ง พระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากหอจดหมายเหตุแหงชาติ อางอิงบทความพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัส จากหนังสือ คําพอสอน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ และมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ.--กรุงเทพฯ :


CONTACT CENTRE

King Power Group of Companies 3rd Floor, King Power Downtown Complex, 8 Rangnam Road, Thanon-Phayathai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel: 0 2677 8888 Fax: 0 2677 8900 www.kingpower.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.