เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
สรุปการบรรยายกฎหมายสิง่ แวดล้อม
(กิตติบดี ใยพูล)
หลักคิด 1. การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม) 2. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ + ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม + เศรษฐกิจเสรี หลักสากล United Nations Conference on Sustainable Development 2012 “การพัฒนาที่ยั่งยืน” เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นจากความตระหนักถึงผลกระทบทางลบที่เกิดจากการ พัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบจากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเสรีนิยมต่อสิ่งแวดล้อมและ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การประชุมสหประชาชาติเรื่องสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ ” (The United Nations Conference on Human Environment – UNCHE โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environmental Programme - UNEP) ในปี ค.ศ.1973 ปี ค.ศ.1987 ในรายงานเรื่อง “Our Common Future” ที่จัดทาโดยคณะกรรมาธิการโลกว่าด้วย สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission on Environment and Development - WCED) ปี ค.ศ.1992การประชุมองค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (United Nations Conference on Environment and Development - UNCED) หรือที่เรียกว่า “Earth Summit” ที่นครริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล (1) ปฏิญญาริโอว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (Rio Declaration on Environment and Development) ซึ่งเป็นหลักการเกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบของสหประชาชาติในการดาเนินงาน พัฒนาเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชน (2) แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) เพื่อเป็นแผนแม่บทของโลกในการดาเนินงานเพื่อการ พัฒนายั่งยืน ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม (3) แถลงการณ์เกี่ยวกับหลักการด้านป่าไม้ (Statement of Forest Principle) รวมทั้ งอนุสั ญญาอีก 2 ฉบับ ได้แก่ (1) กรอบอนุ สัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change UNFCCC) และ (2) อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity - CBD) ปี ค.ศ.2002 มีการประชุม The World Summit on Sustainable Development (WSSD) หรือ การประชุม Rio+10 ณ กรุงโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เพื่อทบทวนความก้าวหน้าการ ดาเนินงานด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนของแต่ละประเทศตามแผนปฏิบัติการ 21 ในรอบสิบปีที่ผ่านมา และ มุ่ ง เป้ า หมายไปที่ เ รื่ อ งการแก้ไ ขปั ญ หาความยากจน การรั กษาระดั บ การพั ฒ นาและการอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม
1
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
ปี ค.ศ.2012 จัดการประชุม “United Nations Conference on Sustainable DevelopmentUNCSD” หรือ “Rio+20” โดยมีหัวข้อการประชุมหลัก (Theme) 2 เรื่องได้แก่ (1) Green Economy in the Context of Sustainable Development and Poverty Eradication และ (2) Institutional Framework for Sustainable Development เศรษฐกิจสีเขียว หมายถึง “ระบบเศรษฐกิจที่นาไปสู่การยกระดับคุณภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ เพิ่ม ความเป็นธรรมทางสังคม และในขณะเดียวกันก็สามารถลดความเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม และปัญหา ความขาดแคลนของทรัพยากรลงได้” เช่น การปลดปล่อยคาร์บอนในระดับที่ต่า การใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ การลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียวยังไม่ควรจะถูกจากัดเฉพาะ เรื่องของการแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมเท่านั้น หากควรครอบคลุมจุดประสงค์ในด้าน อื่น เช่น ความเป็นธรรมระหว่างคนในสังคม และการขจัดความยากจนด้วย - 1) การเพิ่มประสิทธิภาพทางนิเวศ (Eco-Efficiency) เช่น การให้แรงจูงใจแก่หน่วยผลิตเพื่อ ลดการใช้ทรัพยากรลงเหลือเพียงระดับที่สมเหตุสมผลในการผลิต ซึ่งอาจทาให้สังคมได้ประโยชน์ จากการที่มีทรัพยากรเหลือมากขึ้น เช่น ในพื้นที่ที่มีแหล่งน้าจากัด และยังช่วยลดการปล่อยมลพิษ ของเสียจากกระบวนการผลิตลง โดยอาจใช้แรงจูงใจต่างๆ ควบคู่ไปด้วย เช่น มาตรการให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยต่าแก่หน่วยการผลิตที่มีรายจ่ายค่าไฟฟ้าต่า เป็นต้น - 2) การจัดสรรรายจ่ายรัฐบาลเพื่อกระตุ้นภาคเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green-Stimulus Package) เนื่องจากประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตการณ์ทางการเงินหลายประเทศ จาเป็นต้อง อาศัยนโยบายด้านรายจ่ายของรัฐบาลเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจอยู่แล้ว รัฐบาลอาจใช้รายจ่ายนี้ส่วน หนึ่งจัดสรรให้เกิดประโยชน์ต่อการอนุรักษ์และกระตุ้นเศรษฐกิจไปพร้อมกัน ยกตัวอย่างเช่น กรณี ของประเทศสหรั ฐ อเมริ กาที่ ล งทุ น ในภาคพลั ง งานหมุ น เวี ย น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ธุร กิจ แผงพลั ง งาน แสงอาทิตย์เติบโตขึ้น - 3) การสนับสนุนให้เกิดตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม และการจัดซื้อของภาครัฐสี เขียว (Greening of Markets and Public Procurement) รัฐบาลอาจออกมาตรการที่ระบุ เงื่อนไขในการจัดซื้อสินค้าบางประเภท เช่น สินค้าที่มีฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อม สินค้าเกษตรที่มาจาก วิถีการผลิตที่ยั่งยืน หรือผลิตโดยกลุ่มผู้ผลิตรายย่อยที่ยากจน เพื่อให้สินค้าเหล่านี้มีตลาดจาหน่าย และสามารถแข่งขันได้ต่อไปในอนาคต - 4) การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม (Investment in Green Infrastructure) รัฐบาลควรสนับสนุนการลงทุนในนวัตกรรมโดยให้ความสาคัญต่อการสร้างประโยชน์ร่วม (Cobenefits) ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม หรือการสร้างงาน ในการประเมินผลได้ผลเสียของ โครงการด้วย ยกตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีด้านพลังงานหมุนเวียน การก่อสร้างอาคารประหยัด พลังงาน การวางผังเมืองแบบบูรณาการเพื่อสิ่งแวดล้อม ระบบขนส่งมวลชนที่เน้นการอนุรักษ์ พลังงานและคานึงถึงการกระจายการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง - 5) การฟื้นฟูและขยายเพิ่มระดับของทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติ (Restoration and Enhancement of Natural Capital) ได้แก่ มาตรการต่างๆเพื่อปรับปรุงกฎเกณฑ์ หรือกลไก เชิงสถาบันที่เพิ่มความสามารถของชุมชนและภาครัฐในการจัดการทรัพยากรทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ เป็นต้น - 6) การกาหนดราคาหรือต้นทุนที่เหมาะสมของทรัพยากร (Getting Prices Right) โดย การทาบัญชีทางเศรษฐกิจที่คานึงถึงมูลค่าของระบบนิเวศหรือความหลากหลายทางชีวภาพที่จะมี
2
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
ต่อระบบเศรษฐกิจทั้งในระดับพื้นที่และในระดับชาติ หรือมีการหักผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ออกจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างที่ดีเช่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งสามารถถึงขั้น กาหนดเป็นยุทธศาสตร์การเจริญเติบโตสีเขียว (National Green Growth Strategy) ได้ นอกจากนั้นยังควรมีระบบการจัดสรรการจ่ ายเงินเพื่อการบริการทางระบบนิเวศ (Payment for Eco-system Services) ซึ่งจะสามารถเอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจให้กับกลุ่มคนที่มีรายได้น้อย และเป็นประโยชน์ในการอนุรักษ์ได้ในขณะเดียวกัน - 7) การปฏิรูประบบภาษีเพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Tax Reform) ทาง UN ได้อ้างอิงว่ามีงาน ศึกษาจานวน 61 ฉบับ (Patuelli et al., 2005) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมไม่มี ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสาคัญ แต่ส่งผลต่อปริมาณการปล่อยมลพิษ ที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด ภาษีสิ่งแวดล้อมนี้อาจอยู่ในรูปของภาษีทางตรงที่เก็บจากสินค้าและบริ การ หรือภาษีทางอ้อมที่เก็บจากปัจจัยการผลิตที่มีผลเชื่อมโยงกัน ทั้งนี้ ควรครอบคลุมการยกเลิกการ อุดหนุนสินค้าที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม (Environmentally Harmful Subsidies) ด้วย กรอบเชิงสถาบันเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง กลุ่มโครงสร้าง องค์กร เครือข่าย และรูปแบบ การจัดการความสัมพันธ์ต่างๆทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางซึ่งเกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน และนานโยบายเหล่านั้นไปปฏิบัติ ซึ่งอาจครอบคลุมตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ภูมิภาค ไปจนถึงระดับโลก และรวมถึงภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคธุรกิจที่รวมกัน ในรูปแบบของเครือข่ายที่มีบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้วย 3
หลักกฎหมาย กฎหมาย
รายละเอียด
เรื่อง
รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย
มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ ภาคของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง มาตรา 26 การใช้ อ านาจโดยองค์ ก รของรั ฐ ทุ ก องค์ ก ร ต้ อ ง คานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้โดยชัดแจ้ง โดยปริยายหรือโดยคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ย่อมได้รับความ คุ้มครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตาม รัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐโดยตรง ในการตรากฎหมาย การใช้บังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมาย ทั้งปวง มาตรา 28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและ เสรีภาพของตนได้เท่าที่ ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไม่ เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน บุ ค คลซึ่ ง ถู ก ละเมิ ด สิ ท ธิ ห รื อ เสรี ภ าพที่ รั ฐ ธรรมนู ญ นี้ รั บ รองไว้ สามารถยกบทบั ญญั ติแ ห่ง รัฐ ธรรมนู ญนี้ เพื่ อใช้สิทธิ ทางศาลหรื อ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลย่อมสามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติตาม บทบัญญัติในหมวดนี้ได้ โดยตรง หากการใช้สิทธิและเสรีภาพใน เรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแห่งการใช้สิทธิและเสรีภาพ ตามที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้แล้ว ให้การใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่อง
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
พระราชบั ญ ญั ติ สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2550
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ รั ก ษ า คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม แห่งชาติ พ.ศ. 2535
นั้นเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือจากรัฐ ในการใช้สิทธิตามความในหมวดนี้ มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชน ท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วม ในการจั ด การ การบ ารุ ง รั ก ษา และการใช้ ป ระโยชน์ จ าก ทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง ความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการ อนุรักษ์ บารุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อ ให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและ ต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตาม ความเหมาะสม การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุ ข ภาพ จะกระท ามิ ไ ด้ เว้ น แต่ จ ะได้ ศึ ก ษาและประเมิ น ผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วน ได้ เ สี ย ก่ อ น รวมทั้ ง ได้ ใ ห้ อ งค์ ก ารอิ ส ระซึ่ ง ประกอบด้ ว ยผู้ แ ทน องค์ ก า ร เอ ก ช น ด้ า น สิ่ งแว ดล้ อ มแล ะ สุ ขภ า พ แล ะ ผู้ แทน สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ จั ด การการศึ ก ษาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ ทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมี การดาเนินการดังกล่าว สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรั ฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง มาตรา 5 บุ ค คลมี สิ ท ธิ ใ นการด ารงชี วิ ต ในสิ่ ง แวดล้ อ มและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ บุ ค คลมี ห น้ า ที่ ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ในการด าเนิ น การให้ เ กิ ด สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง “สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่าง สมดุล “ปัญญา” หมายความว่า ความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่าง แยกได้ในเหตุผลแห่งความดี ความชั่ว ความมีประโยชน์และความมี โทษ ซึ่งนาไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มาตรา 46 เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ รั ฐ มนตรี โ ดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนด ประเภทและขนาดของโครงการ หรื อ กิ จ การของส่ ว นราชการ รั ฐ วิ สาหกิ จ หรื อ เอกชนที่ มีผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ต้ อ งจั ด ท า รายงานการวิ เคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อ ม เพื่อ เสนอขอ ความ เห็นชอบตาม มาตรา 47 มาตรา 48 และ มาตรา 49
สิทธิชุมชน
ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ประเมินผลกระทบต่อ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม แ ล ะ สุ ข ภ า พ ข อ ง ประชาชน 4
สิทธิในการดารงชีวิต ในสิ่ ง แวดล้ อ มและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขภาพ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
รายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (ป้องกันดีกว่าแก้ไข)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ ง ให้ ก าหนดหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร ระเบียบ ปฏิบัติ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่ง แวดล้ อ ม ตลอดจน เอกสารที่ เ กี่ย วข้ องซึ่ ง ต้อ งเสนอพร้อ มกั บ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม สาหรับโครงการหรือ กิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใดหรือที่จะจั ดตั้ง ขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็น มาตรฐาน ที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาด เดียวกันหรือในพื้นที่ ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติอาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษาก าหนดให้โ ครงการหรือ กิจ การ ในท านองเดีย วกั นได้รั บ ยกเว้นไม่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมก็ได้ แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติ ตามมาตรการต่ า ง ๆ ที่ ก าหนดไว้ ใ นการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ สิ่ง แวดล้อ มสาหรั บ โครงการหรื อ กิจ การนั้น ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละ วิธีการที่รัฐมนตรีกาหนด "สิ่งแวดล้อม" หมายความว่า สิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพ และชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ ได้ทาขึ้น "คุณภาพสิ่งแวดล้อม" หมายความว่า ดุลยภาพของธรรมชาติ อัน ได้แก่ สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ และสิ่งที่มนุษย์ได้ ทาขึ้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดารงชีพของประชาชนและความ สมบูรณ์สืบไปของ มนุษยชาติ "มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม" หมายความว่า ค่ามาตรฐาน คุณภาพ น้า อากาศ เสียง และสภาวะอื่น ๆ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่ง ก าหนดเป็ น เกณฑ์ ทั่ ว ไปส าหรั บ การส่ ง เสริ มและรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อม มาตรา 96 แหล่งกาเนิดมลพิษใดก่อให้เกิดหรือเป็นแหล่งกาเนิด ของการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษอันเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ อั น ตราย แก่ ชี วิ ต ร่ า งกายหรื อ สุ ข ภาพอนามั ย หรื อ เป็ น เหตุ ใ ห้ ทรัพย์สินของผู้อื่นหรือของ รัฐเสียหายด้วยประการใด ๆ เจ้าของ หรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษนั้น มีหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ค่า สินไหมทดแทนหรือค่าเสียหายเพื่อการนั้น ไม่ว่าการ รั่วไหลหรือ แพร่ ก ระจายของมลพิ ษ นั้ น จะเกิ ด จากการกระท าโดยจงใจหรื อ ประมาทเลินเล่อของเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษ หรือไม่ก็ตาม เว้นแต่ในกรณีที่พิสูจน์ได้ว่ามลพิษเช่นว่านั้นเกิดจาก (1) เหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม (2) การกระทาตามคาสั่งของรัฐบาลหรือเจ้าพนักงานของรัฐ (3) การกระทาหรือละเว้นการกระทาของผู้ที่ได้รับอันตรายหรือ ความเสียหายเองหรือของบุคคลอื่น ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หรือโดยอ้อม ในการรั่วไหลหรือการแพร่กระจายของมลพิษนั้น ค่าสิ นไหมทดแทนหรือ ค่า เสีย หาย ซึ่งเจ้า ของหรื อผู้ ครอบครอง แหล่ง กาเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง หมายความ รวมถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมด ที่ทางราชการต้องรับภาระจ่ายจริงในการ ขจัดมลพิษที่เกิดขึ้นนั้นด้วย มาตรา 97 ผู้ใดกระทาหรือละเว้นการกระทาด้วยประการใด โดย
5
หลักผู้ก่อมลภาวะ เป็นผู้รับผิดชอบ Polluter Pay Principle หลัก 3 P
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม พ.ศ. 2555)
มิ ช อบด้ ว ยกฎหมายอั น เป็ น การท าลายหรื อ ท าให้ สู ญ หายหรื อ เสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นของรัฐ หรือเป็นสาธารณ สมบัติของแผ่นดิน มีหน้าที่ ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่รัฐ ตามมูลค่าทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติ ที่ถูกทาลาย สูญหาย หรือเสียหายไปนั้น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ มาตรา 32 เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โรงงาน พ.ศ. 2535 ความมั่นคง ความปลอดภั ยของประเทศหรือของสาธารณชน ให้ รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอานาจกาหนดโดยประกาศในราช กิจจานุเบกษาในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) กาหนดจานวนและขนาดของโรงงานแต่ละประเภทหรือชนิดที่จะ เศรษฐกิจกับ ให้ตั้งหรือขยาย หรือที่จะไม่ให้ตั้งหรือขยายในท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง สิ่งแวดล้อม (2) กาหนดชนิด คุณภาพ อัตราส่วนของวัตถุดิบ แหล่งกาเนิดของ วัตถุดิบและหรือปัจจัยหรือชนิดของพลังงานที่จะนามาใช้หรือผลิตใน โรงงาน (3) กาหนดชนิดหรือคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงานที่จะให้ ตั้งหรือขยาย (4) กาหนดให้น าผลผลิตของโรงงานที่จ ะให้ ตั้งหรือขยายไปใช้ใ น อุตสาหกรรมบางประเภท หรือให้ส่งผลผลิตออกนอกราชอาณาจักร ทั้งหมดหรือบางส่วน มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดให้โรงงาน ตามประเภทชนิดหรือขนาดใดเป็นโรงงานจาพวกที่ 1 โรงงานจาพวก ที่ 2 หรือโรงงานจาพวกที่ 3 แล้วแต่กรณี โดยคานึงถึงความจาเป็น ในการควบคุมดูแล การป้องกันเหตุเดือดร้อนราคาญ การป้องกัน ความเสียหาย และการป้องกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของ ผลกระทบที่จะมีต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งออกเป็นดังนี้ การประกอบกิจการ (1) โรงงานจาพวกที่ 1 ได้ แก่ โรงงานประเภท ชนิ ด และขนาดที่ โรงงาน สามารถประกอบกิ จการโรงงานได้ทั นทีตามความประสงค์ของผู้ ประกอบกิจการโรงงาน (2) โรงงานจาพวกที่ 2 ได้แก่โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่เมื่อ จะประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน (3) โรงงานจาพวกที่ 3 ได้แก่โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การ ตั้งโรงงานจะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะดาเนินการได้ เมื่อมีประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา 32 (1) ให้โรงงานที่กาหนด ในประกาศดังกล่าวเป็นโรงงานจาพวกที่ 3 ด้วย
อ้างอิงจาก 1. 2. 3. 4. 5.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เอกสารประกอบการประชุมเวทีสาธารณะ Rio+20 มูลนิธิสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม
6