บทที่ ๓ ผูท้ รงสิทธิตามกฎหมาย ผู ท้ รงสิ ทธิ ถือเป็ นประธานแห่งสิ ทธิ ตามกฎหมายในฐานะผู ม้ สี ิ ทธิ และใช้สิทธิ ตามกฎหมาย ซึ่งสามารถ แบ่งเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ (๑) บุคคลธรรมดา (๒) นิ ติบุคคล ๓.๑
บุคคลธรรมดา ๓.๑.๑ สภาพบุคคล กฎหมายได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาถึงการเริ่ มต้นสภาพบุ คคล (การเกิด) และการ
สิ้นสุ ดสภาพบุคคล (การตาย) ของบุคคลธรรมดาไว้ในมาตรา ๑๕ “สภาพบุคคลย่อมเริ่ มแต่เมื่ อคลอดแล้วอยู่ รอดเป็ นทารก และสิ้ นสุดลงเมื่ อตาย” ซึ่งการกาหนดหลักเกณฑ์ในเรื่ องดังกล่าวนั้น เพื่อเป็ นการรับรองสิทธิ และความสามารถในการมีสิทธิตา่ ง ๆ ของบุคคลทุกคนเมื่อเริ่ มต้นมีสภาพบุคคลดังกล่าว ความสามารถในการมีสิทธิของบุ คคลได้รับการรับรองไม่เฉพาะจากประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์เท่านั้น รัฐธรรมนู ญยังได้มกี ารกาหนดรับรองสิทธิไว้ แม้วา่ จะไม่ได้บญ ั ญัติ ชดั เจนตรง ๆ ว่า “บุ คคลทุกคน มีสิทธิตามกฎหมาย” แต่รัฐธรรมนู ญได้บญ ั ญัติรับรองสิทธิของบุคคลทุกคนให้มสี ิทธิเท่าเทียมกัน “บุคคลย่อมเสมอ กันในกฎหมายและได้รับความคุม้ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน” นัยแห่งมาตราดังกล่าวพิจารณาได้วา่ บุ คคลทุก คนมีสิทธิเท่าเทียมกันในทางกฎหมาย และมีบญ ั ญัติวา่ “การจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนู ญรับรอง ไว้จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนู ญนี้กาหนดไว้และ เท่าที่จาเป็ นเท่านั้ น และจะกระทบกระเทือนสาระสาคัญแห่งสิ ท ธิ และเสรี ภาพนั้นมิ ได้” จากบทบัญ ญัติแห่ง รัฐธรรมนู ญเมื่อพิจารณาตามลายลักษณ์อกั ษรประกอบกับเจตนารมณ์ท่ มี ุ ง่ คุ ม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของบุ คคล (มนุ ษย์) ตามหลักสิทธิมนุ ษยชนแล้ว ย่อมพิจารณาได้วา่ “บุคคลทุกคนเมื่อเกิดขึ้นมาเป็ นมนุ ษย์ตามกฎหมายย่อม ได้รับสิทธิตา่ ง ๆ เสมอกัน” การที่บุคคลมีสิทธินั้น จึงเป็นให้มคี วามสามารถตามมา กล่าวคือ ความสามารถในสิทธิ ต่าง ๆ เหล่านั้น ขอให้ทา่ นสังเกต คาที่ผูเ้ ขียนขีดเส้นใต้ “มนุ ษย์ตามกฎหมาย” หมายความว่า บุคคล (มนุ ษย์) ที่มี สภาพบุ ค คลตามที่กฎหมายก าหนดหลัก เกณฑ์เ ท่า นั้น ที่เ ป็ นเช่นนี้ เพราะนวัตกรรมทางวิ ทยาศาสตร์ปัจจุ บ นั สามารถสร้างมนุ ษ ย์ดว้ ยวิธีการอื่นนอกจากธรรมชาติได้ คื อ การโคลนนิ่ ง ซึ่ งมนุ ษ ย์ท่ เี กิ ดจากกรรมวิ ธีท าง วิทยาศาสตร์น้ ียอ่ มไม่มคี วามสามารถในการมีสิทธิตา่ ง ๆ ตามที่กฎหมายรับรอง ซึ่งยังเป็ นข้อขัดแย้งที่มิอาจหาข้อ
ยุติตรงกันได้วา่ แล้วมนุ ษย์วิทยาศาสตร์นั้น ไม่มสี ภาพเป็ นมนุ ษย์ใช่หรื อไม่ เพราะโดยความเป็ นจริ งแล้ว ก็ไม่มี ความแตกต่างอะไรกับมนุ ษย์โดยธรรมชาติเลย ด้วยเหตุน้ ีเอง แม้วา่ กฎหมายจะไม่รับรองให้มสี ภาพบุ คคลอันจะ ยังให้เกิดสิ ทธิ ตา่ ง ๆ ให้แก่มนุ ษย์ทางวิทยาศาสตร์ แต่ทว่าในเชิ งศีลธรรมและหลักสิ ทธิ มนุ ษยชนย่อมให้ความ คุ ม้ ครองว่ามีคุณสมบัติเป็ นมนุ ษย์ซ่ ึงทาให้มนุ ษย์ทางวิทยาศาสตร์น้ ีมศี กั ดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ (Human Dignity) เช่นเดียวกับมนุ ษย์โดยธรรมชาติ แต่ถึงกระนั้นก็ยงั ถกถียงกันอยู ว่ า่ เมื่อมีศกั ดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์แล้ว จะรับรอง ให้มสี ิทธิและหน้าที่เหมือนกับมนุ ษย์โดยธรรมชาติหรื อไม่ ฝ่ ายแรก เห็นว่า ควรให้มนุ ษย์ทางวิทยาศาสตร์มสี ิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับมนุ ษย์โดยธรรมชาติ โดยให้เหตุผลว่ามนุ ษย์ไม่วา่ มีท่ มี าจากที่ใดหรื อกรรมวิธใี ดก็มคี วามหมายเป็นมนุ ษย์ ฝ่ ายที่สอง เห็นว่า ไม่ควรให้มนุ ษย์ทางวิ ทยาศาสตร์มีสิทธิ และหน้าที่เช่นเดียวกับมนุ ษย์โดย ธรรมชาติ เนื่ องจาก กฎหมายกาหนดเรื่ องสภาพบุ คคลไว้วา่ “คลอดและอยูร่ อดเป็ นทารก” “คลอด” ยอมรับว่า ต้องเป็นการคลอดโดยธรรมชาติเท่านั้น นอกจากนี้มเี หตุผลเรื่ องสาคัญที่วา่ หากยอมรับให้มนุ ษย์ทางวิทยาศาสตร์ มีสิทธิ และหน้าที่เท่ากับเป็ นการสนับสนุ นให้มกี ารทาการโคลนนิ่ งมนุ ษย์ในโลก ซึ่งจะทาให้เกิดปั ญหาทางด้าน ศีลธรรมของมนุ ษย์ตามมาภายหลังได้ แต่การที่กฎหมายยอมรับให้มนุ ษย์ทางวิ ทยาศาสตร์น้ ี มีศกั ดิ์ศรี ความเป็ นมนุ ษย์นั้น เนื่ องด้วย ต้องการคุม้ ครองมิให้ถูกเอารัดเอาเปรียบหรื อถู ก มนุ ษย์โดยธรรมชาติแสวงหาประโยชน์ในชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ อนามัย และ/หรื ออื่นใดที่มลี กั ษณะไม่พึงกระทาต่อมนุ ษย์ดว้ ยกัน ซึ่งความเห็นของฝ่ ายที่สองได้รับการสนับสนุ นมากในเวลานี้ และประเทศไทยก็ยึดตามแนวทางนี้ มาตลอด จึงสรุ ปได้วา่ บุคคลธรรมดาที่กฎหมายบัญญัติรับรองเรื่ องความสามารถในการมีสิทธิและหน้าที่ตอ้ งเป็ น บุคคลที่มสี ภาพบุคคลตามมาตรา ๑๕ เท่านั้น นอกจากนี้ บุ คคลเท่านั้นที่กฎหมายบัญญัติรับรองให้มคี วามสามารถในการมีสิทธิ และหน้าที่ สัตว์และ/หรื อสิ่ งของอื่นใดที่กฎหมายเรียกว่า ทรัพย์หรื อทรัพย์สินย่อมไม่มคี วามสามารถในกา รเป็ นผู ท้ รงสิ ทธิ ต่าง ๆ ได้ เช่น คุณปู่วัย ๙๐ ปียกทรัพย์สมบัติทงั้ หมดที่ตนมีอยูโ่ ดยทาเป็นพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่สุนัข เพราะ ลูกหลานไม่มาดูแล จะเห็นได้วา่ พินัยกรรรมนั้นเสียเปล่าไปเพราะกฎหมายไม่รับรองให้สุนัขมีสิทธิตา่ ง ๆ (ในทาง กฎหมายพิจารณาเป็นเพียงทรัพย์เท่านั้น) เป็นต้น เพราะฉะนั้น ขอให้ทา่ นพึงระลึกไว้เสมอว่า เมื่อมีสภาพบุ คคลแล้ว บุ คคลทุกคนย่อมสามารถมี สิทธิอย่างเท่าเทียมกัน
มีบางกรณีท่ กี ฎหมายกาหนดเงื่ อนไขด้านอายุ ให้บุคคลจะมีสิทธิ ได้ ต่อเมื่ อมีอายุ ครบตามที่ กฎหมายกาหนด หรื อกฎหมายจากัดความสามารถมีสิทธิ แก่บุคคลบางจาพวก สิ ทธิ ตา่ ง ๆ บุ คคลจะมีตอ่ เมื่อเข้าเงื่ อนไขเรื่ องอายุ ตามกฎหมาย เช่น มาตรา ๑๔๔๘ “การ สมรสจะทาได้ตอ่ เมื่อชายและหญิงมีอายุสิบเจ็ดปีบริ บูรณ์แล้ว ” หรื อ มีสิทธิในการทาพินัยกรรมต่อเมื่ออายุสิบห้าปี บริ บูรณ์ หรื อ ผูร้ ับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ ากว่ายี่สิบห้าปี และต้องมีอายุแก่กว่าผู ท้ ่ จี ะเป็ นบุ ตรบุ ญธรรมอย่าง น้อยสิบห้าปี กฎหมายจากัดความสามารถมีสิทธิแก่บุคคลบางจาพวก เช่น เมื่อผูใ้ ช้อานาจปกครองถู กศาลสั่ง ถอดถอนอานาจปกครอง ความสามารถมีสิทธิเหนื อบุตร ย่อมสิ้นสุ ดลง ๓.๑.๒ ความสามารถของบุคคล ในเรื่ องความสามารถของบุ คคลธรรมดานั้น อาจกล่าวได้วา่ ความสามารถของบุ คคล หรื อ capacity หมายถึง สภาพการณ์ท่ บี ุ คคลจะพึงมีสิทธิ และหน้าที่หรื อใช้อานาจแห่งสิ ทธิ ท่ มี อี ยู ไ่ ด้ กล่าวคือ เมื่อมี สภาพบุ คคลความสามารถของบุ คคลก็จะเกิดมีข้ ึนทันทีโดยอัตโนมัติอนั เป็ นผลมาจากการที่กฎหมายบัญญัติ รับรองสิ ทธิ ไว้ และในประเด็นเรื่ องความสามารถของบุ คคลต้องไม่ลืมว่า บุ คคลตามกฎหมายนั้นได้แก่ บุ คคล ธรรมดาและนิ ติบุคคล ดังนั้น บุ คคลธรรมดาและนิ ติบุคคลเมื่อเริ่ มต้นมีสภาพบุ คคล ความสามารถในการมีสิทธิ ต่าง ๆ ย่อมเกิดขึ้น และจากการที่ทา่ นได้ศึกษามาแล้วจะพบว่า สิ ทธิ ตา่ ง ๆ ของบุ คคลธรรมดากับนิ ติบุคคลตาม กฎหมายบัญญัติไว้ในมาตรา ๖๗ บัญญัติวา่ “ภายใต้บงั คับมาตรา ๖๖ นิ ติบุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุ คคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิ และหน้าที่ซ่ ึงโดยสภาพจะพึงมีพึงได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น ” ซึ่งมีขอ้ พิจารณาอยูว่ า่ แม้กฎหมายจะรับรองให้บุคคลสามารถมีสิทธิได้ตามกฎหมายตาม ๓.๑ แต่ทว่าประเด็นปั ญหาเรื่ องการใช้สิทธิ (Usage) ตามกฎหมายได้ถูกบัญญัติให้บุคคลย่อมสามารถใช้สิทธิแตกต่าง กัน กล่าวคือ มีบุคคลบางประเภทถู กจากัดในการใช้สิทธิ กล่าวคือ กฎหมายบัญญัติไม่ให้บุคคลบางกลุ ม่ บาง จาพวกสามารถใช้สิทธิได้เต็มที่หรื อถูกจากัดไม่ให้ใช้สิทธิตามกฎหมายได้ และไม่เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนู ญมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ เนื่ องจากการจากัดการใช้สิทธิ ดงั กล่าวตัง้ อยู บ่ นรากฐานหรื อที่เรี ยกว่า “คุณธรรมทาง กฎหมาย” ในการคุม้ ครองบุคคลบางประเภทหรื อบางจาพวกเหล่านั้นไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบในสังคม เนื่ องจาก บุคคลบางประเภทดังกล่าวมีขอ้ จากัดหรื อข้อเสียเปรียบโดยสภาพซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้
๑. วัยวุฒิ ๒. สติสมั ปชัญญะ ๓. พฤติกรรม ดังนั้น สรุ ปได้วา่ เหตุแห่งความไม่สามารถในการใช้สิทธิ อาจเป็นเหตุใหญ่ ๒ ประการได้แก่ ๑. เหตุเนื่ องจากสภาพโดยธรรมชาติ กล่าวคือ สภาพโดยธรรมชาติของบุ คคลนั้นยังขาดสภาพในอันจะเป็ นผู ท้ รงสิทธิและใช้สิทธิของ ตนได้ เช่น เด็กที่ยงั ไม่รูเ้ ดียงสา ผูเ้ ยาว์ท่ ยี งั อ่อนด้อยทางประสบการณ์ในการใช้ชวี ิต หรื อเป็นคนที่มสี ติสมั ปชัญญะ ไม่สมบูรณ์ หรื อไม่มสี ติสมั ปชัญญะ เป็นต้น ๒. เหตุเนื่ องจากคุณธรรมทางกฎหมาย กล่าวคือ กฎหมายต้องการคุม้ ครองบุคคลบางประเภท เพราะได้คานึ งแล้วว่าหากปล่อยให้บุคคล เหล่านี้ไปและให้มคี วามสามารถในการใช้สิทธิเหมือนบุคคลธรรมดาทัว่ ไป อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ตวั เขาได้ ดังนั้ น กฎหมายจึ งต้องหาทางช่วยเหลือ บุ คคลเหล่านั้นให้มีค นเข้ามาคอยช่วยเหลือ และ/หรื อ กลั่นกรองการ ตัดสินใจ ฉะนั้น เรื่ องของการจากัดความสามารถในการใช้สิทธิของบุคคลจึงเป็นบทกฎหมายที่กาหนดขึ้น เพื่อใช้กบั บุคคลธรรมดาเท่านั้น เพราะสภาพต่าง ๆ ข้างต้น จะพึงมีพึงได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น ๓.๑.๓ บุคคลที่ถกู จากัดความสามารถในการใช้สิทธิ บุคคลที่ถูกกฎหมายจากัดความสามารถในการใช้สิทธิมอี ยู ่ ๓ ประเภท ได้แก่ ๑. ผูเ้ ยาว์ (Minor) ๒. คนไร้ความสามารถ (Incompetent) ๓. คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi Incompetent) ขอให้ทา่ นลองพิจารณาว่า เบื้องหลังของคุ ณธรรมทางกฎหมายที่จากัดความสามารถในการใช้ สิทธิของกลุม่ บุคคลต่าง ๆ ข้างต้น มีเหตุผลอะไร
๓.๑.๓.๑
ผูเ้ ยาว์ (Minor)
ผูเ้ ยาว์ มาตรา ๑๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ บัญญัติวา่ “บุ คคลย่อมพ้นจาก ภาวะผูเ้ ยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุย่ สี ิบปีบริ บูรณ์” มาตรา ๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ บัญญัติวา่ “ผู เ้ ยาว์ยอ่ มบรรลุ นิ ติภาวะเมื่อทาการสมรส หากการสมรสนั้นได้ทาตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๔๘”
บุคคลว่ามีอยู ่
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายข้า งต้น เป็ นการก าหนดถึ งการบรรลุ นิติภาวะของ ๒ กรณี ได้แก่ ๑. การบรรลุนิติภาวะโดยเกณฑ์อายุ ๒. การบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส ซึ่ งสามารถพิ จารณาได้ว ่า “ผู เ้ ยาว์คื อบุ คคลที่มีอ ายุ ต่ า กว่า ๒๐ ปี บริ บูร ณ์
และ/หรื อบุคคลที่มอี ายุต่ ากว่า ๒๐ ปีบริ บูรณ์ยงั ไม่ได้สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย” คุ ณธรรมทางกฎหมายมุ ง่ คุ ม้ ครองบุ คคลกลุ ม่ นี้ เพราะเล็งเห็นว่าโดยส่วนใหญ่ของ ผู เ้ ยาว์เป็ นบุ คคลที่ออ่ นต่อความเจนจัดของโลก อ่อนด้อยทางด้านประสบการณ์ ความนึ กคิด ซึ่งหากปล่อยให้ บุ ค คลดัง กล่า วสามารถใช้สิ ท ธิ ไ ด้อ ย่า งกับ บุ ค คลทั่ว ไปที่ไ ด้บ รรลุ นิ ติ ภาวะแล้ว อาจก่อ ใ ห้เ กิ ด ความเสียหาย เสียเปรียบ หรื อถู กเอารัดเอาเปรียบได้ กฎหมายจึงต้องตีกรอบการใช้สิทธิของผู เ้ ยาว์ ให้มบี ุ คคลคอยเข้ามาดูแล และมีอ านาจในการตัดสิ นใจแทนจนกว่าผู เ้ ยาว์จะสั่งสมประสบการณ์และ/หรื อองค์ความรู ต้ า่ ง ๆ ให้มีความ เข้มแข็งเพียงพอแล้ว จึ งจะหลุ ดพ้นจากอานาจดัง กล่าว กฎหมายจึงเรี ยกบุ คคลที่เข้ามามีอานาจคุ ม้ ครองดู แล ผู เ้ ยาว์วา่ “ผู แ้ ทนโดยชอบธรรม” ซึ่งประกอบด้วย ๑.ผู ใ้ ช้อานาจปกครอง และ๒. ผู ป้ กครอง ซึ่งจะได้กล่าวถึงใน ลาดับถัดไป แต่ ณ ที่น้ ี ขอให้ทา่ นสังเกตว่า การที่กฎหมายเรียกว่า “ผู แ้ ทนโดยชอบธรรม” ก็เพราะบุ คคลที่เข้ามา คุม้ ครองนั้นกระทาการใด ๆ ต่างเป็นผูแ้ ทนของผูเ้ ยาว์ และที่สาคัญคาว่า “โดยชอบธรรม” คือ ความชอบธรรมโดย กฎหมาย กล่า วคื อ มีขอบเขตกว้า งขวางกว่า ชอบธรรมตามธรรมชาติ เนื่ องจากผู ม้ ีอ านาจเหนื อ ผู เ้ ยาว์โดย ธรรมชาติ คือ บิดามารดา แต่กฎหมายคานึ งต่อไปอีกว่าบิดามารดาบางรายก็ ไม่มคี ุ ณสมบัติเพียงพอที่จะปกป้อง คุม้ ครองบุตรผูเ้ ยาว์ของตนได้ จึงกาหนดให้หมายความรวมถึง บุ คคลอื่นที่ได้รับการมอบหมายและ/หรื อแต่งตัง้ ให้ มาคุม้ ครองผูเ้ ยาว์ซ่ ึงได้แก่ ผูป้ กครอง
เมื่อท่านพิจารณาได้วา่ บุคคลธรรมดาจะบรรลุนิติภาวะได้ ๒ กรณี จึงสรุ ปได้ ว่าระยะเวลาแห่งการเป็นผูเ้ ยาว์ คือ “ระยะเวลาตัง้ แต่เริ่ มต้นมีสภาพบุ คคล (วันที่ ๑ เมื่อเริ่ มคลอดและอยูร่ อดเป็ น ทารก) จนกระทัง่ มีอายุครบยี่สิบปีบริ บูรณ์” จุ ดแรกคือการเริ่ มต้นสภาพบุ คคล (คลอดและอยูร่ อดเป็ นทารก) จุ ดปลายคือ อายุครบยี่สิบปี บริ บูรณ์ แต่ชว่ งระยะเวลาที่แสดงข้า งต้นนั้น ท่านพอจะเห็นภาพในความเป็ นจริ งใช่ไหมว่า ผู เ้ ยาว์ ตามกฎหมายความเป็ นจริ งแล้วแบ่งออกเป็ นหลายช่วงเวลาด้วยกัน ซึ่ งแต่ละช่วงเวลาสภาพทางความคิดและ สภาพการณ์ดา้ นประสบการณ์ยอ่ มแตกต่างกันไป ท่านลองใคร่ครวญดูวา่ จากจุ ดแรกจนถึงประมาณจุ ดกึ่งกลาง กล่าวคือ ระยะเวลาเริ่ มต้นสภาพบุคคลเป็นทารกและเป็นเด็กเล็ก ๆ จะเห็นได้วา่ ผู เ้ ยาว์ในช่วงเวลานี้โดยส่วนใหญ่ ไม่อยูใ่ นภาวการณ์ท่ จี ะสามารถในการใช้สิทธิได้เลย เพราะสภาพโดยธรรมชาติของมนุ ษย์ในช่วงเวลาดังกล่าว เป็น ระยะเวลาที่ยงั ไม่มคี วามรู ส้ ึกผิดชอบ ชัว่ ดี ในที่น้ ีจะขอเทียบเคียงกับกฎหมายอาญา เช่น ทารกคนหนึ่ งใช้น้ ิ วมือไปแหย่ โดนลู ก นั ยน์ ตาของทารกอีก คนหนึ่ ง จะถื อ ว่า ทารกรายนั้นมีค วามผิดฐานท าร้า ยร่ า งกายมิ ได้เ นื่ องจากไม่มี องค์ประกอบทางด้านจิตใจ กล่าวคือ ทารกยังไม่รูส้ ึ กผิดชอบชั่วดีอย่างไรฉันใด ความสามารถในการใช้สิทธิ นั้น บุคคลจะใช้สิทธิของตนได้ตอ้ งรู ว้ า่ ตนได้กระทาการใด ๆ ไปที่เรียกว่า “การแสดงเจตนา” เมื่อทารกและ/หรื อเด็ก ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวยังไม่มคี วามรู ส้ ึ กผิดชอบชัว่ ดีจึงถือได้วา่ ผู เ้ ยาว์ไม่มคี วามสามารถในการแสดงเจตนาได้ อย่างไร เมื่อไม่มกี ารแสดงออกของเจตนา จึงไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิ ท่านต้องพึงระลึกไว้เสมอว่า การใช้สิทธิของ บุ คคลใด ต้องใช้สิทธิ ไปโดยที่มเี จตนาสมบู รณ์ เพราะเมื่อท่านได้ศึกษาในวิชานิ ติกรรมสัญญา ท่านจะพบว่า แม้ บุ คคลนั้นจะได้แสดงเจตนาทานิ ติกรรมสัญญา แต่เป็ นการแสดงไปด้วยความวิปริ ต เช่น สาคัญผิด ซ่อนเร้น ถู ก ข่มขู ่ ถูกกลฉ้อฉล เป็นต้น กฎหมายก็ได้บญ ั ญัติคุม้ ครองให้นิติกรรมสัญญานั้น ๆ มีผลเป็นโมฆียะ แล้วระยะเวลาที่ผูเ้ ยาว์มคี วามสามารถในการแสดงเจตนาจะเริ่ มต้นเมื่ อใด หรื อจะกล่าวอีกนัยหนึ่ งได้วา่ ระยะเวลาที่ยงั ไม่มคี วามรู ส้ ึกผิดชอบจะสิ้นสุ ดลงเมื่อใดนั้น ไม่มกี ฎหมายกาหนดไว้วา่ ให้ถือเอาอายุเกณฑ์ใดระหว่าง ๐-๒๐ เป็ นบรรทัดฐาน ทัง้ นี้ คงจะต้องอาศัยการพิจารณาจากข้อเท็จจริ งเป็ นราย กรณี ๆ ไป แต่พอจะเทียบเคียงได้กบั กรณีอ่ ืน ๆ ที่กฎหมายใช้เกณฑ์อายุเป็นหลักในการพิจารณา เช่น ประมวลกฎหมายอาญา ใช้เ กณฑ์อ ายุ ไม่เ กิ น ๗ ปี ที่ก ระท าความผิดทาง อาญา เด็กผู น้ ั้นไม่ตอ้ งรับโทษโดยมิได้กาหนดวางเงื่อนไขให้ตอ้ งกระทาประการใด หรื อ เด็กอายุ เกินกว่า ๗ ปี บริ บู ร ณ์ แต่ไม่เ กิ น ๑๔ ปี บ ริ บู ร ณ์ ได้ก ระท าความผิด เด็ก ไม่ตอ้ งรั บ โทษ แต่ก าหนดให้ศ าลวางเงื่ อนไขเพื่ อ
ดาเนิ นการบางประการก็ได้ เช่น ว่ากล่าวตักเตือน หรื อมอบตัวให้ผูป้ กครองไปดู แลโดยมีขอ้ กาหนดบางประการ เมื่อนามาพิจารณาเทียบเคียง ก็จะเห็นต่อไปอีกว่า คงมิอาจนามาปรับใช้ได้อย่างเต็มที่สกั เท่าใด เพราะในความเป็ น จริ งเด็กอายุ ๗ ปี อาจมีความคิดความอ่านดีกว่าเด็กอายุ ๑๔-๑๕ ปีกไ็ ด้ หรื อ ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์มีก ารใช้เ กณฑ์อ ายุ ม าบัญ ญัติ ไ ว้ เช่นกัน เช่น มาตรา ๒๕ บัญญัติไว้วา่ “ผูเ้ ยาว์อาจทาพินัยกรรมได้ เมื่อมีอายุสิบห้าปีบริ บูรณ์” และมาตรา ๑๗๐๓ “พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มอี ายุยงั ไม่ครบสิบห้าปีบริ บูรณ์ทาขึ้นนั้นเป็นโมฆะ” บทบัญญัติมาตรา ๒๕ และมาตรา ๑๗๐๓ ข้างต้นพอสัณฐานประมาณให้ เห็นได้วา่ กฎหมายแพ่งถือเอาอายุ ๑๕ ปี เป็ นเกณฑ์ (กฎหมายแพ่ง ๑,มหาวิ ทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, หน้า ๑๕๖) ซึ่ งในการทาพินัยกรรมที่กฎหมายวางเกณฑ์อายุ ท่ ี ๑๕ ปี จะเห็นได้วา่ เป็ นเงื่อนไขสาคัญถึงขนาดทาให้ พินัยกรรมนั้น ๆ เป็นอันไร้ผล หรื อที่ภาษากฎหมายเรียกว่า โมฆะ แต่การแปลความหรื อการสื บเจตนาดังกล่าวย่อมไม่อาจฟันธงให้ชดั ว่าเกณฑ์ อายุ ๑๕ ปี นั้น เป็ นเกณฑ์อายุ ของผู เ้ ยาว์ท่ จี ะทาให้ผูเ้ ยาว์รูส้ ึ กผิดชอบ ว่าอะไรควรกระทา อะไรไม่ควรกระทา เพราะมีขอ้ สังเกตปรากฏตามมาตรา ๑๕๙๘/๕ บัญญัติถึงเรื่ องการใช้สิทธิของผูป้ กครองว่า “ถ้าผูอ้ ยู่ในปกครองรูจ้ กั ผิดชอบและมีอายุไม่ตา่ กว่าสิบห้าปี บริบูรณ์ เมือ่ ผูป้ กครองจะทากิจการใดทีส่ าคัญให้ปรึกษาหารือผูอ้ ยู่ในปกครองก่อนเท่าทีจ่ ะทาได้” จะเห็น ว่า การที่ก ฎหมายบัญ ญัติไ ว้เ ช่น นั้น เท่า กับ เป็ น การยื นยันว่า แม้ อานาจปกครองของผู เ้ ยาว์ซ่ ึงมีทงั้ อานาจปกครองเรื่ องส่วนตัวและ/หรื อเรื่ องทรัพย์สิน แต่หากจะทากิจการใดที่ สาคัญซึ่งเกี่ยวกับผูเ้ ยาว์ กฎหมายบัญญัติไว้ชดั เจนว่า ถ้าผูอ้ ยูใ่ นปกครอง “รูจ้ กั ผิดชอบ” และ อายุไม่ต่ ากว่า ๑๕ ปี ผู ป้ กครองต้องปรึ กษาผู เ้ ยาว์ จึงเท่ากับว่า กฎหมายได้อาศัยหลักการพื้นฐานเพื่อพิจารณาความรู ผ้ ิดชอบของ ผูเ้ ยาว์ไว้ท่ ี ๑. อายุ คือ ไม่ต่ ากว่า ๑๕ ปีบริ บูรณ์ และ ๒. สภาพการณ์ท่ รี ู จ้ กั ผิดชอบ ดังนั้น ผูเ้ ยาว์อายุเกินกว่า ๑๕ ปีอย่างเดียวไม่เพียงพอต้องมีองค์ประกอบด้าน ความคิ ดความอ่า นของผู เ้ ยาว์ร ายนั้ น ด้ว ย (ผู อ้ ยู ใ่ นปกครองรู ้จ กั ผิดชอบ) ซึ่ งแน่ นอนที่สุ ดหลัก เกณฑ์ข า้ งต้น กฎหมายใช้คาว่า “ถ้า” ย่อมแสดงนัยถึงความเป็นเงื่อนไขสาคัญที่จะต้องพิจารณาถึงเป็นรายกรณี ๆ ไป
ทว่าอาจมีผูต้ งั้ ข้อสังเกตและคัดค้านว่า ผูเ้ ยาว์ท่ มี อี ายุไม่เกิน ๑๕ ปี แต่มปี ั จจัย อื่น ๆ ประกอบทาให้ขอ้ เท็จจริ งผูเ้ ยาว์รายนั้น ๆ มีวุฒิภาวะเหมือนกับผู ใ้ หญ่หรื อมีความรู ผ้ ิดชอบดีแล้ว ก็ไม่ตกอยู ่ ในเงื่อนไขแห่งมาตรา๑๕๙๘/๕ กล่าวคือ ผู ป้ กครองไม่ตอ้ งไปขอคาปรึ กษาก่อน ซึ่งท่านจะเห็นว่ามันออกจะดู พิกลอยู ่ จากตัวอย่างข้างต้น คงพอเห็นได้วา่ เกณฑ์อายุ (๑๕ ปี) อย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องมีขอ้ เท็จจริ งเรื่ องความรู ส้ ึกผิดชอบกากับอีกชัน้ หนึ่ งด้วย ปั ญหาที่น่าพิจารณาคือ จะสามารถนามาปรับใช้โดย ถือว่าเกณฑ์อายุ ๑๕ ปี เป็นช่วงอายุท่ ผี ูเ้ ยาว์มคี วามรู ส้ ึกผิดชอบเพียงพอได้หรื อไม่ ผู เ้ ขียนมีความเห็นว่า การที่กฎหมายบัญญัติถึงเกณฑ์อายุ ๑๕ ปี ตามมาตรา ต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นการตัง้ สมมติฐานจากลักษณะของผู เ้ ยาว์โดยทั่วไปว่า “คนเราเมื่ อมี อายุ ๑๕ ปี ควรจะมี ความคิ ดความอ่านที่ เพี ยงพอ” เพราะฉะนั้น หากจะถามว่าควรยึดเป็ นเกณฑ์ตายตัวหรื อไม่ ผู เ้ ขียนเห็นว่า คง ไม่ใช่เกณฑ์อายุท่ ตี ายตัว แต่เป็ นเกณฑ์ที่เราสามารถตัง้ เป็ นสมมติ ฐานไว้ในใจก่อนว่า ผูเ้ ยาว์อายุ ๑๕ ปี ควรจะมีความรูส้ ึกผิดชอบ ซึ่งหากข้อเท็จจริ งปรากฏว่า แม้อายุ ๑๕ ปี กต็ ามแต่สภาพการณ์ตามความจริ ง ไม่มี ความรู ส้ ึ กผิดชอบ ย่อมไม่ถือว่า ผู เ้ ยาว์คนนั้นสามารถขอความยินยอมจากผู แ้ ทนโดยชอบธรรมได้ แต่ในทาง กลับกัน หากผูเ้ ยาว์คนนัน้ อายุตา่ กว่า ๑๕ ปี เราก็ไม่ควรไปปฏิ เสธในทันทีว่า ผูเ้ ยาว์รายนัน้ ไม่สามารถ ในการขอความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมได้ ขอให้ท่านพิจารณาข้อเท็จจริ งเกี่ ยวกับสภาพการณ์ ต่อไป และประเด็นดังกล่าวในทางกฎหมายถือว่าเป็นข้อเท็จจริ งที่เป็นเรื่ องต้องไปพิสูจน์ในชัน้ ศาล เรื่ องดังกล่าวจึ งเป็ นเรื่ องที่ห าข้อ ยุ ติได้ยากมาก เพราะไม่มีเ กณฑ์แน่นอน ดังนั้น เกณฑ์อายุ จึงไม่ควรไปจากัดว่าควรเป็ นช่วงอายุ เท่านั้ นช่วงอายุ เท่านี้ ให้ทา่ นใคร่ค รวญพิจารณาเป็ นราย กรณี ๆ ไป โดยคานึ งถึง ๑. อายุท่ มี ากพอสมควร (แต่ไม่ควรกาหนดว่าต้องไม่ต่ ากว่า ๑๕ ปี) ๒. สภาพการณ์ของผูเ้ ยาว์ในเรื่ องความรู ส้ ึกผิดชอบ และที่ส าคัญ ที่สุ ด ขอให้ท ่า นส าเหนี ย กนึ ก อยู ่เ สมอว่า ผู เ้ ยาว์ทุ ก คนไม่ สามารถทีจ่ ะขอความยินยอมทานิ ติกรรมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมได้ แต่ไม่ได้หมายความว่า ผู เ้ ยาว์ท่ ไี ม่ อาจขอความยินยอมได้นั้นไม่มสี ิทธิ แต่สิทธิ ท่ ผี ู เ้ ยาว์มอี ยู ใ่ นช่วงอายุซ่ ึงยังไม่รูผ้ ิดชอบต้องให้ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม เป็ นผู ม้ อี านาจ (สิทธิ ) จัดการแทน ความดังกล่าวถือเป็ นคุ ณ ธรรมทางกฎหมายที่แฝงอยู ่ ท่านคงหาคาตอบได้ไม่ ยาก
ภาวะสิ้นสุดของการเป็ นผูเ้ ยาว์ กฎหมายได้กาหนดเหตุแห่งภาวะสิ้นสุ ดของการเป็นผูเ้ ยาว์ไว้ ๒ กรณี ๑. เหตุเพราะการบรรลุนิติภาวะ มาตรา ๑๙ บัญญัติวา่ “บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผูเ้ ยาว์ และบรรลุ นิติภาวะ เมื่ ออายุยี่สิ บปี บริ บรู ณ์” การที่กฎหมายกาหนดว่าเมื่ออายุ ครบ ๒๐ ปี บริ บูรณ์ยอ่ มบรรลุ นิติภาวะ อัน จะมีผลให้บุคคลผู น้ ั้นสามารถใช้สิทธิ ได้สมบู รณ์ตามกฎหมาย กฎหมายใช้การสมมติฐานทั่วไปว่า คนที่มวี ยั วุ ฒิ ขนาดนี้ ผ่านโลกมาพอสมควรน่าจะเก็บเกี่ยวความรู ้ ประสบการณ์ ความชานาญ ไหวพริ บ ปฏิภาณ ถึงขนาดทา ให้มคี วามรู ส้ ึ กผิดชอบเพียงพอที่จะใช้ชวี ิตได้อย่างลาพังปราศจากความดูแลของผู อ้ ่ ืนได้ เช่นเดียวกันกับประเด็น ก่อนนี้ ขอให้ทา่ นลองนึ กดูวา่ ความเป็นจริ งไม่ได้หมายความว่าคนที่มอี ายุเกินกว่า ๒๐ ปีจะมีความคิดอ่านดีกว่าคน ที่มอี ายุต่ ากว่าเสมอไป การบรรลุนิติภาวะในแต่ละประเทศก็ยึดเกณฑ์อายุแตกต่างกัน เช่น ประเทศอังกฤษถือว่าบุ คคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิติภาวะเมื่ อ อายุย่ สี ิบเอ็ดปีบริ บูรณ์ ประเทศฝรั่งเศสถือว่าบุ คคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิติภาวะเมื่ อ อายุย่ สี ิบเอ็ดปีบริ บูรณ์ ประเทศเยอรมันถือว่าบุ คคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิติภาวะเมื่ อ อายุสิบแปดปีบริ บูรณ์ ประเทศญี่ป่ ุ นถือว่าบุ คคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิติภาวะเมื่ออายุ ยี่สิบปีบริ บูรณ์ ประเทศสวิ ต เซอร์แลนด์ถือว่าบุ ค คลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิ ติ ภาวะเมื่ออายุย่ สี ิบปีบริ บูรณ์ อนึ่ งการนับอายุนั้นขอให้พิจารณาตามมาตรา ๑๖ “การนับอายุของบุคคล ให้ เริ่ มนับแต่วนั เกิด...”
๒. เหตุเพราะการสมรส มาตรา ๒๐ บัญญัติวา่ “ผู เ้ ยาว์ยอ่ มบรรลุนิติภาวะเมื่อทาการสมรส หากการ สมรสนั้นได้ทาตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๔๘” มาตรานี้กาหนดรับรองให้ผูเ้ ยาว์สามารถสมรสได้ โดยโยนให้พิเคราะห์วา่ เป็ น การสมรสที่ชอบด้วยกฎหมายที่กาหนดไว้ในเรื่ องเงื่อนไขแห่งการสมรส กล่าวคือ มาตรา ๑๔๔๘ บัญญัติวา่ “การสมรสจะทาได้ตอ่ เมื่อชายและหญิงมีอายุสิบ เจ็ดปีบริ บูรณ์แล้ว แต่ในกรณีท่ มี เี หตุ อนั สมควร ศาลอาจอนุ ญาตให้ทาการสมรสก่อนนั้นได้” จากบทบัญญัติดงั กล่าวทาให้สามารถวางหลักกฎหมายในการบรรลุนิติภาวะ ของผูเ้ ยาว์โดยการสมรสได้ดงั ต่อไปนี้ ๑. การสมรสต้องเป็ นการสมรสโดยชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น กล่าวคือ การ สมรสตามกฎหมายจะมีได้แต่เฉพาะเมื่อจดทะเบียนสมรสต่อหน้าเจ้าหน้าที่แล้ว ดังนั้น การอยูก่ ินฉัน สามีภรรยา โดยไม่ได้จดทะเบียนไม่ได้ทาให้การสมรสนั้นชอบด้วยกฎหมาย แม้ขอ้ เท็จจริ งจะปรากฏว่าจะเป็ นการอยูก่ ินฉั น สามีภรรยาโดยเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอก หรื ออยูก่ ินกันมาระยะเวลานานแล้วก็ตาม ๒. การสมรสต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขแห่งการสมรส กล่าวคือ ๒.๑ ชายและหญิงต้องมีอายุสิบเจ็ดปีบริ บูรณ์ มาตรา ๑๔๔๘ บัญญัติวา่ “การสมรสจะทาได้ตอ่ เมื่อชายและหญิงมีอายุสิบ เจ็ดปีบริ บูรณ์แล้ว แต่ในกรณีท่ มี เี หตุอนั สมควร ศาลอาจอนุ ญาตให้ทาการสมรสก่อนนั้นได้” ๒.๒ ชายหรื อหญิงต้องไม่เป็นบุคคลวิกลจริ ตหรื อคนไร้ความสามารถ มาตรา ๑๔๔๙ บัญญัติวา่ “การสมรสจะกระทามิได้ถา้ ชายหรื อหญิงเป็ น บุคคลวิกลจริ ตหรื อเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ” ๒.๓ ชายหรื อหญิงไม่เป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรื อลงมา มาตรา ๑๔๕๐ บัญญัติวา่ “ชายหญิงซึ่งเป็ นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป หรื อลงมาก็ดี เป็ นพี่นอ้ งร่วมบิดามารดาหรื อร่วมแต่บิดาหรื อมารดาก็ดี จะทาการสมรสกันไม่ได้ ความเป็ นญาติ ดังกล่าวมานี้ให้ถือตามสายโลหิต โดยไม่คานึ งว่าจะเป็นญาติโดยชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่”
๒.๔ ผูร้ ับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้ มาตรา ๑๔๕๑ บัญญัติวา่ “ผู ร้ ับบุ ตรบุ ญธรรมและบุ ตรบุ ญธรรมจะสมรสกัน ไม่ได้ ๒.๕ สมรสซ้อนไม่ได้ มาตรา ๑๔๕๒ บัญญัติวา่ “ชายหรื อหญิงจะทาการสมรสในขณะที่ตนมีคู ่ สมรสอยูไ่ ม่ได้” ๒.๖ หญิงที่สามีตาย หรื อหญิงหม้ายจะสมรสใหม่ได้ตอ่ เมื่อการสิ้ นสุ ดแห่ง การสมรสครั้งก่อนได้ผา่ นพ้นไปแล้วไม่นอ้ ยกว่า ๓๑๐ วัน เว้นแต่ มีบุตรเกิดในระหว่างนั้น หรื อ สมรสกับคู ส่ มรส เดิม หรื อ มีใบรับรองว่าไม่ได้ตงั้ ครรภ์ หรื อ ศาลมีคาสั่งให้สมรส มาตรา ๑๔๕๓ บัญญัติว ่า “หญิง ที่สามีตายหรื อที่การสมรสสิ้ นสุ ดลงด้ว ย ประการอื่นจะทาการสมรสใหม่ได้ตอ่ เมื่อการสิ้นสุ ดแห่งการสมรสได้ผา่ นพ้นไปแล้วไม่นอ้ ยกว่าสามร้อยสิบวัน เว้น แต่ (๑) คลอดบุตรแล้วในระหว่างนั้น (๒) สมรสกับคูส่ มรสเดิม (๓) มีใบรับรองแพทย์ ประกาศนียบัตรหรื อปริ ญญาบัตรซึ่งเป็ นผู ป้ ระกอบการ รักษาโรคในสาขาเวชกรรมได้ตามกฎหมายว่ามิได้มคี รรภ์ หรื อ (๔) มีคาสั่งศาลให้สมรสได้ ๓. ผู เ้ ยาว์จ ะท าการสมรสต้อ งได้รั บ ความยิ น ยอมของบุ ค คลดัง ต่อ ไปนี้ (มาตรา๑๔๕๔ ประกอบมาตรา ๑๔๓๖) (๑) บิดาและมารดา ในกรณีท่ มี ที งั้ บิดามารดา (๒) บิ ด าหรื อ มารดา ในกรณี ท่ ีม ารดาหรื อ บิ ด าตายหรื อ ถู ก ถอนอ านาจ ปกครองหรื อไม่อยูใ่ นสภาพหรื อฐานะที่อาจให้ความยินยอมหรื อโดยพฤติการณ์ผูเ้ ยาว์ไม่อาจขอความยินยอมจาก มารดาหรื อบิดาได้ (๓) ผูร้ ับบุตรบุญธรรมในกรณีท่ ผี ูเ้ ยาว์เป็นบุตรบุญธรรม
(๔) ผู ป้ กครองในกรณีท่ ไี ม่มบี ุ คคลซึ่งอาจให้ความยินยอมตาม (๑) (๒) และ (๓) หรื อมีแต่บุคคลดังกล่าวถูกถอนอานาจปกครอง และการสมรสใดที่เกิดขึ้นโดยปราศจากการให้ความยินยอมของบุ คคลต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น มีผลทาให้การสมรสตกเป็นโมฆียะ การให้ความยินยอมของบุ คคลดังกล่าวข้างต้น เมื่ อให้ความยินยอมแล้วหา ถอนคืนได้ไม่ ซึ่ งการให้ความยินยอม กฎหมายจากัดรู ปแบบไว้วา่ จะเป็ นความยินยอมที่ชอบด้วยกฎหมายจะ กระทาได้แต่โดยวิธกี ารใดวิธกี ารหนึ่ งดังต่อไปนี้ (๑)
ลงลายมือชื่อในทะเบียนขณะจดทะเบียนสมรส
(๒) และลงลายมือชื่อของผูใ้ ห้ความยินยอม
ทาเป็ นหนังสื อแสดงความยินยอมโดยระบุ ช่ ือผู จ้ ะสมรสทัง้ สองฝ่ าย
(๓)
ถ้ามีเหตุจาเป็ น จะให้ความยินยอมด้วยวาจาต่อหน้าพยานอย่างน้อย
สองคนก็ได้ ๓. เหตุเพราะศาลสัง่ มาตรา ๑๔๔๘ บัญญัติวา่ “การสมรสจะทาได้ตอ่ เมื่อชายและหญิงมีอายุสิบ เจ็ดปีบริ บูรณ์แล้ว แต่ในกรณีท่ มี เี หตุอนั สมควร ศาลอาจอนุ ญาตให้ทาการสมรสก่อนนั้นได้” จะเห็นได้วา่ มาตรา ๑๔๔๘ ตอนท้าย ศาลสามารถมีคาสั่งให้ผูเ้ ยาว์ท่ อี ายุต่ า กว่า ๑๗ ปี สมรสกันได้ หากมีการร้องขอและศาลใช้ดุลยพินิจพิเคราะห์วา่ สมควรให้ผูเ้ ยาว์แต่งงานได้ เหตุผลที่ ศาลใช้พิเคราะห์ เช่น ความจาเป็ น เพราะผู เ้ ยาว์อายุไม่เกิน ๑๗ ปี ได้ตงั้ ครรภ์ ซึ่งในความเป็ นจริ งนั้นย่อมเป็ นไป ได้โดยแน่แท้เนื่ องจากวัยเจริ ญพันธุ ข์ องหญิงมีเกณฑ์ท่ ตี ่ ากว่า ๑๗ ปี เป็นต้น ฉะนั้น เมื่ อบุ ค คลยัง อยู ใ่ นภาวะของการเป็ นผู เ้ ยาว์ กฎหมายจึ งต้องจากัด ความสามารถในการใช้สิทธิทานิ ติกรรมของผูเ้ ยาว์
ความสามารถของผูเ้ ยาว์ หลักทัว่ ไปเกี่ยวกับความสามารถของผูเ้ ยาว์ มาตรา ๒๑ “ผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบ ธรรมก่อน การใด ๆ ที่ผูเ้ ยาว์ได้ทาลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเป็ นโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เป็ นอย่าง อื่น” เหตุผล มาตรานี้ถือว่าเป็นมาตราหลักเรื่ องความสามารถของผูเ้ ยาว์ เพราะฉะนั้น เมื่อท่านต้อง วินิจฉัยเกี่ยวกับความสามารถของผู เ้ ยาว์ทา่ นต้องท่องให้ข้ ึนใจว่า “ผู เ้ ยาว์ทานิ ติกรรมได้ ต้องได้รับความ ยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรม” ไม่ได้หมายความว่า ผู เ้ ยาว์ทานิ ติกรรมไม่ได้ กฎหมายกาหนดไว้แจ้งชัดว่า “ผู เ้ ยาว์ทานิ ติกรรมได้” แต่กอ่ นที่จะใช้นั้นต้องมาขอความยินยอมก่อน เพราะอะไรละหรื อ เพราะผู แ้ ทนโดยชอบ ธรรม (ผู ใ้ หญ่) จะได้ชว่ ยประคับประคอง กลัน่ กรองก่อนว่า เหมาะควรหรื อไม่สาหรับนิ ติกรรมในเรื่ องนั้น ๆ เพื่อ คุม้ ครองผูเ้ ยาว์มิให้ถูกหลอก เอาเปรียบจากคู ก่ รณี และ/หรื อเพื่อคอยพิจารณาว่านิ ติกรรมดังกล่าวเป็ นประโยชน์ ต่อผู เ้ ยาว์หรื อไม่ แม้วา่ นิ ติกรรมดังกล่าวคู ก่ รณีจะไม่ได้เอาเปรียบก็ตาม แต่เป็ นเพราะความไม่ยบั ยัง้ ชั่งใจของ ผู เ้ ยาว์ ท่านต้องยอมรับก่อนว่า ผู เ้ ยาว์ถึงจะรู ส้ ึ กผิดชอบเพียงพอที่จะขอความยินยอมแล้ว แต่บางคราวอาจจะไม่ รู จ้ กั ความยับยัง้ ชัง่ ใจ ประเด็นที่ตอ้ งพิจารณา ๑. ผูเ้ ยาว์ (กล่าวถึ งแล้วในตอนต้น) ๒. ความสามารถในการใช้สิทธิ กล่าวคือ วัตถุแห่งสิทธิ ได้แก่ นิ ติกรรม ฉะนั้นจึงเป็ นเรื่ องที่ผูเ้ ยาว์ใช้สิทธิในการทานิ ติ กรรม กฎหมายได้กาหนดเรื่ องของสิทธิเรียกร้องที่บุคคลฝ่ ายหนึ่ ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ สิ ท ธิ เรี ยกร้อ งให้บุ ค คลอีก ฝ่ า ยหนึ่ งปฏิบ ตั ิ ก ารอย่า งใดอย่า งหนึ่ ง เช่น กระท าการ (ชดใช้ห นี้ ค่า สิ นไหมทดแทน ค่าเสียหาย) หรื องดเว้นกระทาการ เป็ นต้น กล่าวคือ หากนอกเหนื อจากที่กฎหมายกาหนดให้อานาจไว้ บุคคลฝ่ าย หนึ่ งย่อมไม่สามารถเรียกร้องกับบุ คคลอื่นได้ ซึ่งมักเรียกว่า เจ้าหนี้มสี ิทธิเรียกร้องให้ลูกหนี้ชาระหนี้ กฎหมายได้ บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๙๔ “ด้วยอานาจแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้ ย่อมมี สิทธิ จะเรี ยกให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ได้ อนึ่ งการชาระ
หนี้ ด้วยงดเว้นการอันใดอันหนึ่ งก็ ยอ่ มมี ได้” คาว่า “มู ลหนี้” ที่ทาให้แต่ละคนเกิดสิทธิเรียกร้องนั้นมีอยูด่ ว้ ยกัน ๓ ประการ ประการแรก ได้แก่ นิ ติกรรม ประการที่สอง ได้แก่ นิ ติเหตุ (ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้) ประการที่สาม ได้แก่ กฎหมายบัญญัติให้มสี ิทธิ (หนี้ภาษีอากร) ซึ่งในที่น้ ี จะไม่ขอกล่าวถึง ประการที่สองกับประการที่สามเพราะกฎหมายจากัดความสามารถในการใช้สิทธิของ ผูเ้ ยาว์เฉพาะกรณีมูลแห่งหนี้ประการแรกหรื อกิจการที่เกี่ยวกับนิ ติกรรมเท่านั้น มาตรา ๑๔๙ “นิ ติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและ ด้วยใจสมัคร มุง่ โดยตรงต่อการผูกนิ ติสมั พันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรื อระงับซึ่ง สิทธิ” ในชัน้ นี้ ขอให้ทา่ นเข้าใจนิ ติกรรมอย่างง่ายว่า ได้แก่ สัญญา (เพราะท่านต้องไปศึกษา เรื่ องนิ ติกรรมอย่างละเอียดต่อไป) เช่น นายเอกสิทธิ์ทาสัญญาซื้อนาฬิกากับนายสามารถ สัญญาดังกล่าวเป็ นนิ ติ กรรม เพราะชอบด้วยกฎหมาย และทัง้ คู ส่ มัครใจขายและอีกฝ่ ายสมัครใจซื้อกัน และมุ ง่ โดยตรงต่อการผู กนิ ติ สัมพันธ์ แปลความหยาบ ๆ ว่า ทัง้ คู ม่ สี ิทธิเรียกร้องกันได้ และก่อให้เกิดสิทธิระหว่างคู ส่ ญ ั ญา กล่าวคือ นายเอก สิทธิ์มสี ิทธิ เรียกร้องให้นายสามารถส่งมอบนาฬิกา ขณะเดียวกันนายสามารถก็เกิดสิ ทธิ เรียกร้องให้นายเอกสิ ทธิ์ ชาระราคา เป็นต้น จะเห็นว่าค าที่ขดี เส้นใต้ “ด้ว ยใจสมัคร” นั้น แสดงให้เ ห็นว่า เรื่ องนิ ติก รรมได้ใ ห้ ความสาคัญกับเรื่ องความสมัครใจในการเข้าทานิ ติกรรมเป็ นสาคัญ ดังนั้น การที่จะพิจารณาว่าคู ส่ ญ ั ญานั้นได้ สมัครใจแล้วหรื อไม่ ให้พิจารณาว่า บุ คคลนั้นเข้าใจหรื ออยูใ่ นสภาวะที่สามารถเข้าใจเต็มที่หรื อไม่ ซึ่งท่านจะเห็น ได้วา่ ผูเ้ ยาว์ยอ่ มได้รับความคุม้ ครอง โดยให้ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมเป็นผูค้ อยพิจารณาถึงสภาวการณ์ท่ เี ข้าใจดังกล่าว ด้วยอีกชัน้ หนึ่ ง กฎหมายใช้คาว่า “ผู แ้ ทน” ย่อมสื่ อเป็ นนัยว่า เรื่ องต่าง ๆ ที่ตวั แทนจะมีสิทธิ กระทาได้ ก็ตอ่ เมื่อ ตัวการในที่น้ ีคือผูเ้ ยาว์มอี านาจอย่างเต็มที่ ๓. ต้องได้รบั ความยินยอม (Consent) ความยินยอม หมายถึง การแสดงออกของบุ คคลซึ่งสามารถรู ไ้ ด้หรื อสันนิ ษฐานโดย สุ จริ ตได้วา่ บุคคลนั้นได้อนุ ญาต
หลักความยินยอม ๑. การให้ความยินยอมต้องให้กอ่ นหรื อขณะกระทานิ ติกรรม ๒. การให้ความยินยอมโดยปกติท่วั ไปแล้ว ต้องให้แก่ผูเ้ ยาว์โดยตรง เว้นแต่มเี หตุ ผล เหมาะสม เช่น ผู เ้ ยาว์ฝากเพื่อนมาขออนุ ญาต เป็นต้น ๓. การให้ความยินยอม ผู ใ้ ห้ความยินยอมต้องสมัครใจ กล่าวคือ ที่ให้ความยินยอมไป ไม่ใช่เพราะถูกฉ้อฉล หลอกลวง ข่มขู ่ หรื อสาคัญผิด ๔. การให้ความยินยอมอาจให้ในรู ปแบบโดยตรงหรื อโดยอ้อมก็ได้ กล่าวคือ การให้ ความยินยอมโดยตรง อาทิ การให้ความยินยอมโดยวาจา การให้ความยินยอมโดยทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร การให้ ความยินยอมโดยอ้อม เช่น การนิ่ ง ซึ่งตามพฤติการณ์สามัญชนทัว่ ไป (วิญํูชน) เข้าใจได้วา่ เป็นการยินยอม เป็ น ต้น ขอให้นึกตามว่า ผู เ้ ยาว์ไปขอเงินพ่อซื้อเครื่ องเล่นเกมส์ พ่อหยิบเงินให้ สองหมื่นบาทไม่กล่าวอะไรเลย กรณี เช่นนี้ถือว่า พ่อได้ให้ความยินยอมโดยตรงแล้วคือการส่งเงินให้ ท่า นจะเห็น ได้ว ่า วิ ธีก ารให้ค วามยินยอมกฎหมายไม่ได้กาหนดไว้ว ่า จะต้อ งปฏิบ ตั ิ อย่างไร แสดงว่าทาอย่างไรก็ได้ให้รูห้ รื อสันนิ ษฐานได้วา่ ให้อนุ ญาต มีขอ้ สังเกตอยูว่ า่ การให้ความยินยอมเป็นลาย ลักษณ์อกั ษรย่อมสามารถพิสูจน์หรื อใช้เป็ นพยานหลักฐานได้งา่ ยกว่า การให้ความยินยอมโดยวาจาหรื อโดย ปริ ยาย เพราะฉะนั้น เวลาท่านไปทางาน ท่านต้องเลือกวิธีให้ความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อน หากจาเป็ น และ/หรื อมีเหตุอ่ ืนไม่สามารถใช้วิธกี ารดังกล่าวได้จึงนาวิธกี ารโดยวาจาหรื อโดยปริ ยายเข้ามาแทนซึ่งต้องพิจารณา เป็นรายกรณีไป๑ คาพิพากษาฎีกาที่มกี ารยกเป็ นตัวอย่างบ่อย ๆ ได้แก่ กรณีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมได้ร่วม ลงลายพิมพ์น้ ิ วมือแทนลายมือชื่อในสัญญาที่ผูเ้ ยาว์ได้ทากับคู ส่ ญ ั ญานั้น จะถือว่าผู แ้ ทนโดยชอบธรรมให้ความ ยินยอมแล้วหรื อยัง ศาลได้พิเคราะห์วา่ กรณีเช่นนี้ถือได้วา่ ให้ความยินยอมแล้ว และการให้ความยินยอมโดยปริ ยาย ๕. การให้ความยินยอมต้องชัดเจนและตรงกับเนื้ อหาสาระ กรณีน้ ี เห็นได้ชดั เจนว่า ผู เ้ ยาว์ขอความยินยอมเรื่ องอะไร ก็ตอ้ งอนุ ญาตในเรื่ องนั้น เช่น ขอเรื่ อง ก แต่อนุ ญาตเรื่ อง ข เป็ น ต้น ซึ่ งแตกต่างจากกรณีท่ ผี ู แ้ ทนโดยชอบธรรมให้ค วามยินยอมโดย ความสาคัญผิดหรื อเข้าใจผิด เพราะเรื่ องสาคัญผิดหรื อเข้าใจผิดอาจเป็ นเพราะไม่รูเ้ รื่ อง แต่การให้ความยินยอมใน เรื่ องไม่ชดั เจนหรื อถูกต้องนี้ เช่น อาจเกิดมีเหตุแทรกแซงเข้ามาทาให้สมรรถนะการรับรู เ้ รื่ องราวที่ผูเ้ ยาว์ขอความ ๑
โปรดศึกษาคาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๙๖/๒๕๓๗.
ยินยอมไม่มปี ระสิ ทธิ ภาพ เช่น ผู เ้ ยาว์ขออนุ ญาตในขณะที่มรี ถไฟแล่นมาพอดี หรื อขออนุ ญาตทางโทรศัพท์แต่ ปรากฏว่าสัญญาณขาดหาย เป็นต้น ๖. ระยะเวลาในการขอความยินยอม ขอให้ทา่ นพิจารณาจากมาตรา ๒๑ กฎหมายบัญญัติวา่ “ผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน” กฎหมายใช้คาว่า “ก่อน” ได้แก่ ก่อนเข้าทานิ ติกรรม จึงเกิดประเด็นว่า ผูเ้ ยาว์ขอความยินยอมขณะทานิ ติกรรมได้หรื อไม่ ฝ่ า ยหนึ่ ง เห็น ว่า ผู เ้ ยาว์ไม่ส ามารถขอความยินยอมขณะท านิ ติก รรมได้เ นื่ องจาก บทบัญญัติแห่งกฎหมายได้กาหนดไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรแจ้งชัดว่า “ก่อน” ย่อมต้องหมายถึง ผู เ้ ยาว์ตอ้ งขอ ความยินยอมก่อนทานิ ติกรรม ไม่ได้หมายความถึง ขณะทานิ ติกรรม มิฉะนั้น แล้วกฎหมายต้องบัญญัติวา่ “ผู เ้ ยาว์ จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่อนหรื อขณะทานิ ติกรรม” และที่สาคัญ เจตนารมณ์ของกฎหมายที่วางหลักเกณฑ์เรื่ องนี้ข้ ึนเพื่อคุ ม้ ครองผู เ้ ยาว์ ดังนั้น ระยะเวลาที่ให้ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม พิจารณาใคร่ครวญก็ควรมีระยะเวลาให้พอสมควรจะได้ปรึ กษาหารื อกันก่อน ไถ่ถามความจาเป็น และ/หรื ออื่นใดที่ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมจะใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจจะอนุ ญาตหรื อไม่ ความข้อนี้ขอให้ทา่ นเปรียบเทียบกับมาตรา ๑๕๙๘/๕ ซึ่งหากผูเ้ ยาว์ได้มาขอความยินยอมขณะทานิ ติกรรมนั้น ระยะเวลาการตัดสินใจกระชัน้ ชิดเหลือเกิน อีกฝ่ ายหนึ่ ง เห็นว่า จริ งอยูต่ ามที่อกี ฝ่ ายหนึ่ งกล่าวอ้างมานั้นมีเหตุผลรับฟังได้ แต่หาก ลองพิจารณาให้ดวี า่ กฎหมายบัญญัติใช้คาว่า “ก่อน” ก็จริ ง แต่การตีความกฎหมายต้องคานึ งถึงเจตนารมณ์ของ กฎหมายประกอบด้วย จะพบว่า กฎหมายบัญญัติข้ ึนเพื่อคุ ม้ ครองผู เ้ ยาว์ ในขณะเดียวกันเมื่อผู เ้ ยาว์มาขอความ ยินยอมขณะทานิ ติกรรม แล้วผู แ้ ทนโดยชอบธรรมยังไม่ได้ใคร่ครวญถามไถ่ผูเ้ ยาว์เลย กฎหมายก็ให้สิทธิแก่ผูแ้ ทน โดยชอบธรรมอยูแ่ ล้วว่า จะไม่ให้ความยินยอมก็ได้ เพราะฉะนั้น เป็นสภาวะของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมแล้วที่จะไม่ไป เออออห่อหมกกับผู เ้ ยาว์ เรื่ องอะไรที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมยังไม่แน่ใจว่านิ ติกรรมจะเป็ นประโยชน์แก่ผูเ้ ยาว์หรื อ เปล่านั้น ก็ควรปฏิเสธไปก่อน มาตรา ๒๑ ไม่ได้กาหนดตรงไหนว่า เมื่ อผู เ้ ยาว์มาขอความยินยอมแล้ว ผู แ้ ทนโดย ชอบธรรมต้องอนุ ญาตเสมอไป และการที่ตคี วามให้หมายความรวมถึง “ขณะ” ทานิ ติกรรมด้วย น่าจะเป็ น ประโยชน์/ผลดีตอ่ ผูเ้ ยาว์มากกว่า ลองคิดดู จากความเป็นจริ งเรื่ องบางเรื่ องจะมาขอก่อนมันไม่ได้ ต้องทาขณะนั้น ซึ่งผู เ้ ยาว์กโ็ ทรศัพท์มาขออนุ ญาต เช่น มีสินค้าที่ผูเ้ ยาว์ตอ้ งการหรื อจาเป็ นต้องใช้ ซึ่ งนามาลดราคาและมีอยู ่ จานวนจากัดจะกลับไปบ้าน เพื่อขอความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน อาจจะทาให้ผูเ้ ยาว์สูญเสียโอกาส
อันดีได้ เห็นไหมว่า การตีความขยายให้ “ก่อน” มีความหมายรวมถึง “ขณะ” ด้วยย่อมเป็นผลดีแก่ผูเ้ ยาว์ ความเห็นทัง้ สองฝ่ ายข้างต้นนั้น จะเห็นได้วา่ ความเห็นฝ่ ายหลังเป็ นความเห็นที่ยึดถือ และปฏิบตั ิใช้ ดังนั้น สรุ ปได้วา่ ความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมต้องมีกอ่ นหรื ออย่างช้าที่สุดขณะทานิ ติกรรม ๗. การขอความยินยอมภายหลังจากทานิ ติกรรม ประเด็นที่จะต้อ งพิจารณาต่อไปว่า “การที่ผูเ้ ยาว์ขอความยินยอมในภายหลังได้ทานิ ติกรรมสาเร็จจะสามารถทาได้หรื อไม่ ” จะเห็นได้วา่ ไม่สามารถ กระทาได้ตามหลักมาตรา ๒๑ แต่การความยินยอมดังกล่าวเป็นการให้สตั ยาบันโมฆียกรรม ซึ่งมีผลทาให้นิติกรรม สมบูรณ์เหมือนกันแต่อาศัยหลักการต่างกันซึ่งจะได้กล่าวถึงในเรื่ องโมฆียกรรม ๘. ลักษณะของการขอความยินยอมและการให้ความยินยอม ลักษณะของการขอความยิ นยอมและการให้ความยิ นยอมเฉพาะเรื่อง กล่าวคือ ใช้หลัก “ขออย่างไรก็ได้อย่างนั้น” หมายถึง เมื่อผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมเรื่ องใด ก็จ ะมาขอความยิน ยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรม และผู แ้ ทนโดยชอบธรรมต้อ งให้ค วามยิน ยอมในเรื่ องนั้ น ตัวอย่างเช่น ผูเ้ ยาว์ขอเงินผูแ้ ทนโดยชอบธรรมเพื่อซื้อตูเ้ ลี้ยงปลา ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมให้เงินไป ผูเ้ ยาว์กต็ อ้ งนาเงิน ไปซื้อตูเ้ ลี้ยงปลา ส่วนจะซื้อตูเ้ ลี้ยงปลาขนาดใด แบบใด สีใด ย่อมได้ทงั้ สิ้น หากผู เ้ ยาว์ขอความยินยอมเรื่ องใด แล้วผู แ้ ทนโดยชอบธรรมไม่ได้ให้ความยินยอมใน เรื่ องนั้น แต่ให้ความยินยอมอีกเรื่ อง เช่น ผู เ้ ยาว์ขอเงินไปซื้อกระเป๋ าถือ แต่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมให้เงินแล้วแจ้งว่า ให้ไปซื้อกระเป๋ าสะพาย กรณีเช่นนี้ ท่านจะเห็นได้วา่ การขอความยินยอมไม่ตรงกับการให้ค วามยินยอม แสดงว่า ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมไม่ให้ความยินยอมซื้อกระเป๋ าถือ หากผู เ้ ยาว์ไปซื้อผลจึง ตกเป็ นโมฆียะ ส่วนผู เ้ ยาว์จะไปซื้ อกระเป๋ าสะพายตามที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอนุ ญาตหรื อไม่นั้น เป็ นเรื่ องของ ผู เ้ ยาว์ หากผู เ้ ยาว์ตกลงซื้อย่อมถือได้วา่ นิ ติกรรมนั้นผู แ้ ทนโดยชอบธรรมอนุ ญาตแล้วจึงมีผลสมบู รณ์ และถ้าไม่ ซื้อก็ไม่มผี ลผูกพันแต่อย่างใด โดยหลักการข้างต้น จะพบว่า กฎหมายประสงค์ท่ จี ะคุ ม้ ครองผู เ้ ยาว์ให้สามารถขอ ความยินยอมได้เป็นคราว ๆ ไป เนื่ องจาก หากให้ผูเ้ ยาว์ขอความยินยอมเรื่ องหนึ่ งเรื่ องใดแล้ว และให้ถือว่าเป็ นการ ขอความยินยอมครอบคลุมทุกเรื่ องมีลกั ษณะเป็นการทัว่ ไป เท่ากับเป็นการสิ้นสุ ดอานาจของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมที่ จะเข้ามาดูแล และทาให้ผูเ้ ยาว์ไม่ได้รับการคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างแท้จริ ง ดังนั้น หลักการขอความยินยอมของผู เ้ ยาว์ตอ้ งขอความยินยอมเป็ นเรื่ อง ๆ ไป แต่มี ข้อยกเว้นตามมาตรา ๒๖ ซึ่งจะได้ศึกษากันต่อไป
๔. ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม “ผูเ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน...” ผู แ้ ทนโดยชอบธรรม สามารถพิเคราะห์ได้วา่ เป็ น ผู แ้ ทน-โดยชอบ-(ตาม) ธรรม (ชาติ ของมนุ ษย์) ซึ่ งหลัก กฎหมายได้ยึด โยงกับ หลัก สัจ ธรรมของมนุ ษย์ท่ ีว ่า มนุ ษ ย์เ ป็ นสัตว์ท่ อี ่อ นแอและมี สัญ ชาตญาณความเป็ น แม่ (ทุ ก เพศ) จึ ง ก าหนดให้ผู เ้ ยาว์ตอ้ งมีค นมาคอยโอบอุ ม้ และแก้ไ ขปั ญ หาหย่อ น ความสามารถในการทานิ ติกรรม เพราะฉะนั้น บุ คคลกลุม่ แรกต้องเป็ นบิดามารดา ส่วนบุ คคลกลุม่ สองถือว่าเป็ น คุณธรรมทางกฎหมายและคุณธรรมทางสังคม เมื่อปรากฏว่าผูเ้ ยาว์ไม่มบี ุคคลกลุม่ แรกมาคอยปกป้อง จึงสร้างกลุม่ บุคคลอื่นที่เรียกว่า ผูป้ กครองขึ้น ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมจึงได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ ผูใ้ ช้อานาจปกครอง มาตรา ๑๕๖๖ ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในเรื่ องของอานาจปกครองของบิดามารดาไว้ โดยบัญ ญัติ ไว้ตามวรรคแรกว่า “บุ ต รซึ่ งยัง ไม่ บรรลุ นิ ติ ภ าวะต้อ งอยู่ ภ ายใต้อ านาจปกครองของบิ ด า มารดา” หมายความว่า ผูเ้ ยาว์ตอ้ งอยูภ่ ายใต้อานาจปกครองของบิดาและมารดา ส่ว นอ านาจปกครองจะอยู ่ก บั บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง เมื่ อปรากฏเหตุ ต ามวรรคสอง “อานาจปกครองอยูก่ บั บิดาหรื อมารดา ในกรณีดงั ต่อไปนี้ (๑) มารดาหรื อบิดาตาย (๒) ไม่แน่นอนว่ามารดาหรื อบิดามีชวี ิตอยูห่ รื อตาย (๓) มารดาหรื อบิดาถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรื อเสมือนไร้ความสามารถ (๔) มารดาหรื อบิดาต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพราะจิตฟั่นเฟือน (๕) ศาลสั่งให้อานาจปกครองอยูก่ บั บิดาหรื อมารดา (๖) บิดาและมารดาตกลงกันตามที่มกี ฎหมายบัญญัติไว้ให้ตกลงกันได้ ก่อนที่จะได้อธิบายถึงเรื่ องอื่น จะขออธิบายความหมายของคาว่า “อานาจปกครอง” ก่อน
อานาจปกครอง อ านาจปกครอง หมายถึ ง สิ ท ธิ ใ นการดู แ ลผู เ้ ยาว์ ทัง้ ในเรื่ องส่ว นตัว และในเรื่ อง ทรัพย์สิน ในเรื่ องส่วนตัวเช่น ผู ใ้ ช้อานาจปกครองมีสิทธิกาหนดที่อยูข่ องบุ ตร หรื อทาโทษบุ ตรตามสมควรเพื่อว่า กล่าวสั่งสอน หรื อให้บุตรทาการงานตามสมควรแก่ความสามารถและฐานานุ รูป หรื อมีสิทธิในการเรียกบุ ตรคืน จากบุ ค คลอื่นซึ่ งกัก บุ ตรไว้โดยมิ ช อบด้วยกฎหมาย หรื อ ในเรื่ องทรั พย์สิ น ซึ่ งกฎหมายกาหนดให้ผูใ้ ช้อ านาจ ปกครองต้องจัดการทรัพย์สินด้วยความระมัดระวังเช่นวิญํูชนจะพึงกระทา จากความข้างต้นสรุ ปได้วา่ อานาจปกครองแบ่งเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ อานาจในการจัดการเรื่ องส่วนตัว ส่วนที่ ๒ อานาจในการจัดการทรัพย์สินของบุตร โดยทัว่ ไปแล้วการใช้อานาจปกครองอยูก่ บั บิดาและมารดา จะอยูก่ บั มารดาแต่เพียงคน เดียวได้ตอ้ งเป็ นกรณีท่ บี ุ ตรเกิดจากหญิงที่มิได้สมรสกับมารดา และยังไม่ได้เป็ นบุ ตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (จด ทะเบียนรับรองบุตร) กรณีตามมาตรา ๑๕๖๖ วรรคสอง ที่กาหนดให้อานาจอยูก่ บั บิด าหรื อมารดาคนใดคน หนึ่ งได้ หากปรากฏว่า ๑. มารดาหรื อบิดาตาย ตายในความหมายนี้ หมายความทัง้ ตายโดยธรรมชาติและตายโดยผลของกฎหมาย (สาบสู ญ) ๒. ไม่เป็นที่แน่นอนว่ามารดาหรื อบิดามีชวี ิตอยู ่ กรณีน้ ี มารดาหรื อบิดาเป็นแต่เพียงผู ไ้ ม่อยูแ่ ละยังไม่ได้มกี ารร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคล นั้นตกเป็นคนสาบสู ญ สาบสู ญเป็นอย่างไรขอให้ทา่ นทบทวนจากบทเรียนที่ผา่ นมา ๓. มารดาหรื อบิดาถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรื อเสมือนไร้ความสามารถ เรื่ องคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถจะขออธิบายในลาดับถัดไป ใน ที่น้ ีขอให้ทา่ นเข้าใจว่าคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถตามกฎหมายให้ถือว่าคนเหล่านี้เป็ นผู ้ หย่อนความสามารถถู กจากัดสิ ทธิ เช่น เดียวกันกับผู เ้ ยาว์ ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามตรรกะแล้วจึ งไม่เหมาะสมให้
บุคคลที่อยูใ่ นสภาวการณ์เช่นนั้นไปมีอานาจปกครองผูเ้ ยาว์ ๔. มารดาหรื อบิดาต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพราะจิตฟั่นเฟือน กรณีน้ ี มารดาหรื อบิดาอยูใ่ นภาวะของจิตฟั่นเฟือน คือรู ส้ ึ กสานึ กไม่ได้อย่างวิญํูชน ทัว่ ไป แต่ขนาดความรุ นแรงไม่หนักจนถึงขนาดสามารถร้องขอให้ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรื อคนเสมือน ไร้ความสามารถได้ การวิเคราะห์วา่ เป็ นคนจิตฟั่นเฟือนหรื อไม่ เป็ นปั ญหาข้อเท็จจริ งที่ตอ้ งพิสูจน์จากคา วินิจฉัยโรคทางการแพทย์ ประเด็นที่ชวนให้พิจารณาคือ ก. มารดาหรื อบิดาจิตฟั่นเฟือน แต่ไม่ได้รักษาตัวในโรงพยาบาล ข. มารดาหรื อบิดารักษาตัวในโรงพยาบาล เฟือน แต่จิตไม่ได้ฟ่นั เฟือน ทัง้ ก และ ข มารดาหรื อบิดาคนนั้นยังมีอานาจปกครองบุ ตรอยู ่ หลายคนอาจฉงนกับ ข้อ ก มากกว่า ข้อ ข ว่าข้อเท็จจริ งปรากฏชัดว่าจิตฟั่นเฟือนเพียงแต่ไม่ได้รักษาตัวในโรงพยาบาล อย่างนี้ถา้ ให้มี อานาจปกครองผูเ้ ยาว์อาจเกิดความเสียหายได้ คาตอบ ใช่ แต่ไม่ใช่ใช้ตามอนุ มาตรานี้ให้ไปใช้อนุ มาตราถัดไป ๕. ศาลสั่งให้อานาจปกครองอยูก่ บั บิดาหรื อมารดา หากมีเหตุจาเป็ นนอกเหนื อจากเรื่ องต่าง ๆ ข้างต้น ศาลอาจสั่งให้อานาจปกครองอยู ่ กับมารดาหรื อบิดาคนหนึ่ งคนใดก็ได้ จะเห็น ได้ว ่า ประเด็นข้า งต้น ก. มารดาหรื อ บิ ดาจิ ตฟั่นเฟื อ น แต่ไม่ได้รั ก ษาตัว ใน โรงพยาบาลหรื อ ข. มารดาหรื อบิดารักษาตัวในโรงพยาบาล เฟือน แต่จิตไม่ได้ฟ่นั เฟือน ย่อมสามารถร้องขอต่อ ศาลให้มคี าสั่งได้ ๖. บิดามารดาได้ตกลงกันว่าอานาจปกครองอยูก่ บั ผูใ้ ด กรณีเช่นนี้ มีกฎหมายกาหนดไว้ เช่น “...ในกรณีท่ มี กี ารหย่ากันโดยความยินยอม ให้ สามีภริ ยาทาความตกลงกันเป็นหนังสือว่าฝ่ ายใดจะเป็นผูใ้ ช้อานาจปกครองบุตร....”
การสิ้นสุดอานาจปกครอง อานาจปกครองย่อมสิ้นสุ ดลงเมื่อปรากฏเหตุดงั ต่อไปนี้ ๑. เมื่อพ้นสภาพผูเ้ ยาว์ (ผูเ้ ยาว์บรรลุนิติภาวะ) ๒. เมื่อถูกศาลถอนอานาจปกครอง ๓. เมื่อผูใ้ ช้อานาจปกครองตาย ๔. เมื่อผูอ้ ยูภ่ ายใต้อานาจปกครองตาย ซึ่งสามารถอธิบายดังต่อไปนี้ ๑. เมื่อพ้นสภาพผูเ้ ยาว์ (ผูเ้ ยาว์บรรลุนิติภาวะ) ตามกฎหมายมาตรา ๑๕๗๘ ได้กาหนดเกณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบตั ิของผู แ้ ทนโดยชอบ ธรรมเมื่อผูเ้ ยาว์คนนั้นพ้นสภาพเพราะเหตุบรรลุนิติภาวะว่า “ในกรณีท่ อี านาจปกครองสิ้นไป เพราะผูเ้ ยาว์บรรลุนิติ ภาวะ ผูใ้ ช้อานาจปกครองต้องรีบส่งมอบทรัพย์สินที่จดั การและบัญชีในการนั้นให้ผูบ้ รรลุนิติภาวะเพื่อรับรอง ถ้ามี เอกสารเกี่ยวกับเรื่ องจัดการทรัพย์สิน ก็ให้สง่ มอบพร้อมกับบัญชี” ๒. เมื่อถูกศาลถอนอานาจปกครอง ศาลอาจมีคาสั่งถอนอานาจปกครองได้ หากปรากฏกรณีใดกรณีหนึ่ งดังต่อไปนี้ ๑) ผู ใ้ ช้อ านาจปกครองถู ก ศาลสั่ง ให้เ ป็ น คนไร้ค วามสามารถหรื อ คนเสมื อ นไร้ ความสามารถ ๒) ผู ใ้ ช้อานาจปกครองได้ใช้อานาจปกครองโดยมิชอบ เช่น ทาโทษบุ ตรอย่างทารุ ณ โหดร้าย ไม่มเี หตุผล เป็นต้น ๓) ผู ใ้ ช้อานาจปกครองมีความประพฤติชว่ั เช่น ผู ใ้ ช้อานาจปกครองเป็ นคนติดยาเสพ ติดร้ายแรง หรื อทาอาชีพที่ผดิ ศีลธรรม (ค้าหญิง) ๔) ผู ใ้ ช้อานาจปกครองล้มละลาย ด้วยเหตุตรรกะที่วา่ เมื่ อทรัพย์สินของตนยังจัดการ ไม่ได้ ก็ไม่สมควรให้จดั การทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ ๕) ผู ใ้ ช้อานาจปกครองได้จดั การทรัพย์สินของผู เ้ ยาว์ในทางที่อาจเป็ นภัยเสียหายแก่
ทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ ๓. เมื่อผูใ้ ช้อานาจปกครองตาย ๔. เมื่อผูอ้ ยู่ภายใต้อานาจปกครองตาย ผูป้ กครอง กรณีปกติผูเ้ ยาว์ยอ่ มอยู ภ่ ายใต้อานาจปกครองของบุ ตรตามที่กล่าวถึงแล้ว แต่ความ ปรากฏว่าผูเ้ ยาว์รายนั้นไม่มบี ิดามารดาหรื อบิดามารดาถูกถอดถอนอานาจปกครอง ความหมาย ความหมายของผู ป้ กครองโดยทัว่ ไป หมายถึง บุ คคลที่บิดามารดาไว้วางใจให้ผูเ้ ยาว์ไป อยู ่ใ นความดู แ ลของบุ ค คลนั้ น เนื่ องด้ว ยเพราะความจ าเป็ น บางประการ เช่น ผู เ้ ยาว์ม าเรี ย นหนั ง สื อ ที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งภูมิลาเนาของบิดามารดาอยูจ่ งั หวัดนครสวรรค์ บิดามารดาอาจส่งผูเ้ ยาว์ให้อยูก่ บั ลุงป้าที่ ขอนแก่น คนทัว่ ไปก็จะเรียกลุงป้าว่าผูป้ กครองของผูเ้ ยาว์ แต่ในความหมายผู ป้ กครองตามกฎหมายหาหมายความ เช่นนั้นไม่ ความหมายของผูป้ กครองตามกฎหมาย หมายความถึง ผูป้ กครองซึ่งกฎหมายรับรองให้ มีสิทธิและหน้าที่ โดยมีบญ ั ญัติไว้ตามมาตรา ๑๕๘๕ วรรคหนึ่ ง “บุ คคลที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะและไม่มบี ิ ดามารดา หรื อบิดามารดาถูกถอดถอนอานาจปกครองเสียแล้วนั้น จะจัดให้มผี ูป้ กครองขึ้นในระหว่างที่เป็นผูเ้ ยาว์กไ็ ด้” ๑. เป็นผูเ้ ยาว์ ๒. และต้องปรากฏว่า ก. ไม่มีบิดามารดา ในกรณีน้ ี ไม่ได้หมายความเฉพาะแต่บิดามารดาตายเท่านั้น ยัง หมายความรวมถึงผูเ้ ยาว์ท่ ถี ูกทอดทิ้ง และ/หรื อ เด็กเร่ร่อนซึ่งไม่ปรากฏบิดามารดา เนื่ องจากหลัก “เด็กย่อมได้รับ ความคุม้ ครองเสมอ” ข. มีบิดามารดาแต่ขอ้ เท็จจริ งได้ความว่าถู กศาลมีคาสั่งถอดถอนอานาจปกครอง ซึ่ง ท่านได้ศึกษาแล้วข้างต้น หรื ออานาจปกครองหมดสิ้นไปด้วยผลตามกฎหมาย เช่น ยกบุตรให้เป็นบุ ตรบุญธรรมกับ ผูอ้ ่ ืน
บิดามารดาได้ยกบุ ตรของตนให้เป็ นบุ ตรบุ ญธรรมแก่ผูร้ ับบุ ตรบุ ญธรรม เมื่อผู ร้ ับบุ ตร บุ ญธรรมตาย ต้องถือว่า ผู เ้ ยาว์นั้นบิดามารดาถู กถอดถอนอานาจปกครองโดยผลของกฎหมาย ความตายของ ผูร้ ับบุตรบุญธรรมไม่มผี ลทาให้เด็กกลับมาอยูใ่ นความปกครองของบิดามารดโดยอัตโนมัติ เพราะเมื่อบิดามารดายก บุ ตรของตนให้บุคคลอื่นรับเป็ นบุ ตรบุ ญธรรม อานาจปกครองในตัวเด็กย่อมสิ้นสุ ดลง ดังนั้น เมื่อบิดามารดาร้อง ขอศาลอาจสั่งให้เป็นผูป้ กครองผูเ้ ยาว์ (บุตร) ได้ (โปรดเทียบเคียงกับคาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๗/๒๔๙๕) ประเด็นที่ตอ้ งพิจารณาว่า เมื่อข้อเท็จจริ งปรากฏว่า ผู เ้ ยาว์มบี ิดามารดาแต่บิดามารดา อาศัยอยู อ่ ีกประเทศหนึ่ ง หรื อมีบิ ดามารดาแต่ไม่ได้มาเกี่ยวข้องกับผู เ้ ยาว์ดว้ ย เช่นนี้ จะขอให้ศาลมีคาสั่งตัง้ ผู ป้ กครองได้หรื อไม่ ซึ่ งผู เ้ ขียนเห็น ว่า สามารถตัง้ ผู ป้ กครองได้ โดยพิจ ารณามาตรา ๑๕๘๕ และมาตรา ๔ ประกอบ ขอให้ทา่ นเทียบเคียงกับกรณีขา้ งต้นกับคาพิพากษาฎีกาที่ ๕๔๖/๒๕๓๒ ถ้ามีบิดาหรื อ มารดา แต่บิดาหรื อมารดาไม่ได้มาเกี่ยวข้องด้วยและไม่ปรากฏว่าอยูห่ นใด หรื อแม้บิดาผู เ้ ยาว์จะมีภูมิลาเนาอยูใ่ น ต่างประเทศ เมื่อยังไม่ปรากฏว่าถูกถอนอานาจปกครองก็จะขอให้ศาลตัง้ ผู ป้ กครองหาได้ไม่ ผูป้ กครองต้องได้รบั การแต่งตัง้ โดยศาลเท่านัน้ บุคคลที่จะเข้ามาเป็นผูป้ กครองมีอยู ่ ๒ กรณี ๑. เมื่อมีการร้องขอของญาติของผูเ้ ยาว์ หรื ออัยการ ๒. เมื่อผูซ้ ่ ึงบิดาหรื อมารดาที่ตายที่หลังได้ระบุช่ ือไว้ในพินัยกรรมให้เป็นผูป้ กครอง จะเห็นได้วา่ บุ คคลที่จะเข้ามาเป็ นผู ป้ กครองได้นั้น กรณีท่ ี ๑ เมื่อญาติหรื ออัยการร้อง ขอให้บุคคลใดเป็นผูป้ กครอง แต่หากมีพินัยกรรมของบิดาหรื อมารดาที่ตายที่หลังระบุ ให้ตงั้ ใครก็ตงั้ บุ คคลนั้น ท่าน จะสังเกตได้วา่ ผู ป้ กครองในความหมายตามกฎหมายไม่ได้พิจารณาเรื่ องลาดับญาติความสนิ ท ซึ่งความเป็ นญาติ ชัน้ สนิ ทไม่ได้ทาให้บุคคลผูน้ ั้นเป็นผูป้ กครองและการจะเป็นผูป้ กครองตามกฎหมายต้องมีคาสั่งแต่งตัง้ โดยศาล คุณสมบัติของบุคคลที่จะเป็ นผูป้ กครอง ๑. ต้องเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ ๒. และไม่ปรากฏเหตุดงั ต่อไปนี้ ๒.๑ ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
๒.๒ ถูกศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ๒.๓ เป็นบุคคลล้มละลาย ๒.๔ ผูซ้ ่ ึงไม่เหมาะสมที่จะปกครองผูเ้ ยาว์หรื อทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ ๒.๕ ผูซ้ ่ ึงเคยมีคดีความในศาลกับผู เ้ ยาว์ ผู บ้ ุ พการี หรื อ พี่นอ้ งร่วมบิดามารดาหรื อร่วม แต่บิดาหรื อมารดากับผูเ้ ยาว์ ๒.๖ ผูซ้ ่ ึงบิดาหรื อมารดาที่ตายได้ทาหนังสือระบุช่ ือห้ามมิให้เป็นผูป้ กครอง หน้าที่ของผูป้ กครอง เมื่อผูป้ กครองคือบุคคลที่เข้ามาดูแลผู เ้ ยาว์เหมือนดัง่ เป็ นบิดามารดา จึงทาให้ผูป้ กครอง มีหน้าที่เช่นเดียวกับผูใ้ ช้อานาจปกครอง ได้แก่ ๑. หน้าที่อุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และจัดหาสิ่งของให้แก่ผูเ้ ยาว์ตามความจาเป็ น โดยสมควรแก่ฐานานุ รูป ๒. หน้าที่ให้การศึกษา ๓. หน้าที่กาหนดถิ่นที่อยูข่ องบุตร ลงโทษผูเ้ ยาว์ตามควร ฯลฯ ผลการทานิ ติกรรมโดยปราศจากความยินยอม หลัก เมื่อผูเ้ ยาว์ได้ทาลงโดยปราศจากความยิ นยอมเช่นว่านัน้ เป็ นโมฆี ยะ การที่ผูเ้ ยาว์ได้ทานิ ติกรรมและขอความยินยอมภายหลัง หรื อกรณีท่ ผี ู เ้ ยาว์ทานิ ติกรรม ลงโดยปราศจากความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรม ผลทางกฎหมายถือว่า นิ ติกรรมที่ ผู เ้ ยาว์กระทาลงโดย ปราศจากความยินยอมตกเป็น “โมฆียะ” แต่เงื่อนแง่ในการพิจารณาต่างกัน กล่าวคือ ในการทานิ ติกรรมของผู เ้ ยาว์ตอ้ งขอความยินยอมจากผู แ้ ทนโดยชอบธรรม “ก่อน” หมายถึ ง ก่อ นที่ผูเ้ ยาว์จ ะเข้า ท านิ ติก รรมต้อ งไปขอความยินยอมก่อน เนื่ องจาก ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมจะได้ ใคร่ครวญและ/หรื อไตร่ตรองได้วา่ นิ ติกรรมนั้น ๆ เป็นประโยชน์และ/หรื อผูเ้ ยาว์เสียเปรียบหรื อไม่ แม้วา่ กฎหมายจะบัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งว่า “ก่อน” แต่เป็ นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าให้ หมายความถึง “ขณะ” ทานิ ติกรรมด้วย ทัง้ นี้มเี หตุผลสนับสนุ นคือ
๑. กฎหมายต้องตีความตามเจตนารมณ์ มากกว่าการเพ่งพินิจแต่เฉพาะลายลักษณ์ อักษร ๒. การขยายขอบเขตดังกล่าวเป็ นการอานวยประโยชน์ตอ่ ผู เ้ ยาว์โดยแท้ กล่าวคือ ใน ความเป็ นจริ งอาจมีนิติกรรมบางอย่าง หรื อบางสถานการณ์ท่ จี ะต้องเข้าทานิ ติกรรมทันที ขอมิขอความยินยอม ก่อน เช่น มีผูม้ าเสนอขายของที่ผูเ้ ยาว์ตอ้ งการหรื อจาเป็ นและมีผูต้ อ้ งการสิ่งของนั้นหลายคน หากชักช้าจะเสีย ประโยชน์ได้ ๓. การให้ความยินยอมขณะทานิ ติกรรมนั้น หากผู แ้ ทนโดยชอบธรรมไม่เห็นด้วยหรื อ เวลาที่ให้ตดั สิ นใจน้อยเกินไป ข้อมู ลประกอบการตัดสิ นใจไม่เพียงพอ ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก็มสี ิ ทธิ ไม่ให้ความ ยินยอมก็ได้ ด้วยเหตุผลข้างต้น ทาไมถึงจะต้องไปตัดสิทธิของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมให้มสี ิทธิให้ความ ยินยอมเฉพาะก่อนทานิ ติกรรมตามตัวอักษรเท่านั้น ควรขยายความเพื่อประโยชน์ของผูเ้ ยาว์ สาหรับฝ่ ายที่ไม่เห็นด้วย ให้เหตุผลว่า ๑. หากกฎหมายต้องการให้ขอความยินยอมในขณะทานิ ติกรรมได้ คงจะต้องบัญญัติวา่ “ผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบก่อนหรื อขณะทานิ ติกรรม” แต่เมื่อไม่ บัญญัติข้ นึ แสดงว่ากฎหมายมีความมุง่ ประสงค์เฉพาะแต่กอ่ นทานิ ติกรรมเท่านั้น ๒. หากผูเ้ ยาว์สามารถขอความยินยอมขณะทานิ ติกรรมได้ ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมจะเอา ระยะเวลาที่ไหนในการตัดสินใจ เพราะกระชัน้ ชิด ซึ่งอย่างที่กล่าวถึงแล้วว่าเป็ นที่ยอมรับกันว่าการให้ค วามยินยอมนั้นต้องมีอยูก่ อ่ นหรื อ ขณะทานิ ติกรรมสัญญา ส่ว นการขอความยิ น ยอมภายหลัง ท านิ ติ ก รรม ก็ไ ม่ได้ท าให้นิ ติก รรมนั้ น สมบู ร ณ์ เพราะนิ ติกรรมตกเป็ นโมฆียะ แต่การขอความยินยอมภายหลังเท่ากับเป็ นการยอมรับ (สัตยาบัน) ในนิ ติกรรมที่ เป็นโมฆียะ ซึ่งผลจะทาให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์ ซึ่งจะได้ศึกษาในลาดับต่อไป โมฆียะ “ผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน การ ใด ๆ ที่ผูเ้ ยาว์ได้ทาลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเป็นโมฆียะ”
โมฆียะ หมายความถึง ผลทางกฎหมายที่ทาให้นิติกรรมนั้นอยูใ่ นช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน ว่าจะมีผลสมบูรณ์ หรื อตกเป็นอันเสียเปล่าไป (โมฆะ) ช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนนั้น เป็ นช่วงเวลาที่บุคคลซึ่งกฎหมาย ให้อานาจ (สิทธิ) สามารถพิจารณายอมรับนิ ติกรรมนั้น ซึ่งกฎหมายเรียกว่า “ให้สตั ยาบัน” อันจะมีผลทาให้นิติ กรรมมีผลสมบูรณ์ “มาตรา ๑๗๗ ถ้าบุคคลผูม้ ี สิทธิ บอกล้างโมฆี ยกรรมตามมาตรา ๑๗๕ ผูห้ นึ่ งผูใ้ ดได้ให้ สัตยาบันแก่โมฆี ยกรรม ให้ถือว่า การนัน้ เป็ นอันสมบูรณ์มาแต่เริ่ มแรกแต่ทงั้ นี้ ย่อมไม่กระทบกระเทื อนถึ งสิ ทธิ ของ บุคคลภายนอก” หรื อปฏิเสธไม่รับ ซึ่งกฎหมายเรียกว่า “บอกล้าง” อันจะมีผลทาให้นิติกรรมตกเป็ นอัน เสียเปล่า (โมฆะ)
“มาตรา ๑๗๖ โมฆี ยกรรมเมื่ อบอกล้างแล้ว ให้ถือว่าเป็ นโมฆะมาแต่เริ่ มแรก และให้ผู ้
เป็ นคูก่ รณี กลับคื นสู ฐ่ านะเดิ ม ถ้าเป็ นการพ้นวิ สยั จะให้กลับคื นเช่นนัน้ ได้ก็ให้รับค่าเสี ยหายชดใช้ให้แทน” ผลสมบูรณ์ หมายถึง นิ ติกรรมมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย และก่อให้เกิดสิ ทธิ และ หน้าที่ตามกฎหมายต่อกัน เช่น ผู เ้ ยาว์ไปทานิ ติกรรมซื้อขายเครื่ องเสียงโดยมิได้รับอนุ ญาตจากผู แ้ ทนโดยชอบ ธรรม นิ ติกรรมนั้นมีผลเป็นโมฆียะ ต่อมาภายหลังผูเ้ ยาว์ได้ไปขออนุ ญาตผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหลังทานิ ติกรรมและ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอนุ ญาต โดยให้สตั ยาบันแก่นิติกรรมนั้น (แสดงเจตนา) การซื้อขายเครื่ องเสียงดังกล่าวมีผล สมบูรณ์ ผูซ้ ้ ือผูข้ ายเรียกร้องกันได้ ผลโมฆะ หมายถึง นิ ติกรรมที่ตกเป็ นอันเสียเปล่าเหมือนว่าไม่เคยกระทานิ ติกรรมต่อ กัน คู ก่ รณีตา่ งฝ่ ายต่างกลับคืนสู ส่ ถานะเดิม และหากยากที่จะกลับคืนสู ส่ ถานะเดิมให้ชดใช้คา่ เสียหายแทน เช่น กรณีขา้ งต้นหากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมแสดงเจตนาปฏิเสธ (บอกล้าง) นิ ติกรรมซื้อขายเครื่ องเสียง ให้ถือว่า ผู เ้ ยาว์ และคูก่ รณีไม่เคยตกลงทาสัญญากันเลย ผูใ้ ดยึดถือสิ่งใดของอีกฝ่ ายหนึ่ งไว้กใ็ ห้คืนกันไป และหากปรากฏว่ามีการ นาเครื่ องเสียงไปขายต่อแล้วไม่อาจนามาคืนได้ ก็ให้ชดใช้ราคาเครื่ องเสียงนั้นแทน จากการศึกษาเรื่ องความยินยอมจะพบว่า การยินยอมต้องเป็ นการเฉพาะเท่านั้น แต่ บางกรณีกฎหมายได้กาหนดว่าเมื่อผู เ้ ยาว์ขอความยินยอมในเรื่ องหนึ่ งแล้วย่อมมีผลไปถึงเรื่ องอื่นโดยที่ผูเ้ ยาว์ไม่ ต้องมาขอความยินยอมอีกได้ ตามมาตรา ๒๖ “ถ้าผูแ้ ทนโดยชอบธรรมอนุ ญาตให้ผเู ้ ยาว์จาหน่ ายทรั พย์เพื่ อการ อันใดอันหนึ่ งอันระบุไว้ ผูเ้ ยาว์จะจาหน่ายทรั พย์นั้นเป็ นประการใดภายในขอบของการที่ ระบุไว้นั้นก็ ทาได้ตามใจ สมัคร อนึ่ ง ถ้าได้รับอนุ ญาตให้จาหน่ายทรั พย์สินโดยมิ ได้ระบุวา่ เพื่ อการอันใด ผูเ้ ยาว์ก็จาหน่ายได้ตามสมัครใจ ” บทบัญญัติขา้ งต้นเป็นข้อยกเว้นของการให้ความยินยอมเฉพาะการ ซึ่งสามารถพิจารณาได้ดงั นี้
๑. กรณีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมระบุไว้ในคาอนุ ญาตว่าให้ผูเ้ ยาว์จาหน่ายทรัพย์สินเพื่อการ อันใดอันหนึ่ ง เช่น บิดาให้เงินบุ ตรเพื่อให้ไปซื้อหนังสื ออ่าน จะเห็นได้วา่ กรณีน้ ีผูแ้ ทนโดยชอบธรรม คือบิดา ให้เงินบุตรผู เ้ ยาว์เพื่อให้ซ้ ือหนังสือ กล่าวคือมีการระบุ การอันใดอันหนึ่ งไว้แล้ว คือ ซื้อหนังสื อ ไม่ใช่ให้ไป ทาอย่างอื่น ดังนั้น หากผูเ้ ยาว์เอาเงินไปซื้อเกม นิ ติกรรมย่อมตกเป็นโมฆียะ แต่หากผูเ้ ยาว์เอาเงินไปซื้อหนังสื อไม่ ว่าหนังสือนั้น ๆ เป็นประเภทใดก็ตาม ย่อมต้องถือได้วา่ ผูเ้ ยาว์ได้ให้ความยินยอมแล้ว และถ้าผูแ้ ทนโดยชอบธรรมมี ความประสงค์ให้ผูเ้ ยาว์เอาเงินไปซื้อหนังสื อเรียนก็ตอ้ งระบุ ในความยินยอมให้ชดั แจ้งว่าที่ให้เงินนี้เพื่อนาไปซื้ อ หนังสือเรียน ๒. กรณีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมไม่ได้ระบุ ไว้ในคาอนุ ญาตว่าให้ผูเ้ ยาว์จาหน่ายทรัพย์สิน เพื่อการอันใดอันหนึ่ ง เช่น เมื่อนักศึกษามาเรียน ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมให้เงินมาเรียนวันละ ๒๐๐ บาท เงิน ๒๐๐ บาทนี้ นักศึกษาสามารถนาไปซื้อข้าวปลาอาหาร ขนม เครื่ องดื่ม หนังสื อ หรื ออื่นใดก็ได้ตามใจสมัคร อัน เกี่ยวเนื่ องกับการใช้ชวี ิตตามปกติ จึงเกิดคาถามว่า นักศึกษานาเงินนี้ไปใช้ในกิจกรรมนันทนาการหรื อบันเทิงใจกับ เพื่อน ๆ เช่น ชมภาพยนตร์ เล่นโบว์ล่ งิ ได้หรื อไม่ มีคาพิพ ากษาฎีกาที่น่า สนใจ ฎ.๕๕๒๗ / ๒๕๔๑ ได้พิ พากษาว่า เมื่ อโจทก์ซ่ ึ งเป็ น ผู เ้ ยาว์ได้รับความยินยอมจากบิดามารดาให้ฟ้องและดาเนิ นคดีแล้ว โจทก์ยอ่ มมีสิทธิท่ จี ะมอบอานาจให้ผูอ้ ่ ืนฟ้ อง และดาเนิ นคดีแทนได้ หาจาต้องได้รับความยินยอมจากมารดาบิดาอีกครั้ง มีขอ้ น่าสังเกตว่า คาพิพากษาคดีน้ ี เมื่อผูเ้ ยาว์ขออนุ ญาตผูแ้ ทนโดยชอบธรรมในกิจการ อันใดอันหนึ่ งแล้ว ผู เ้ ยาว์ไม่จาต้องขออนุ ญาตผู แ้ ทนโดยชอบธรรมอีก ทัง้ นี้ เพราะได้รับความยินยอม แล้ว จึ ง เท่ากับว่า ศาลใช้มาตรา ๒๖ มาปรับใช้ ซึ่งมาตรา ๒๖ บัญญัติถึงเรื่ อง “อนุ ญาตให้ผูเ้ ยาว์จาหน่ ายทรัพย์สิน ” แต่การฟ้ องร้องคดีกนั ไม่ใช่เป็นการจาหน่ายทรัพย์สิน จึงแสดงว่า ศาลใช้มาตรา ๒๖ ขยายขอบเขตให้หมายความ รวมถึงนิ ติกรรมอย่างอื่นนอกจากการจาหน่ายทรัพย์สินด้วย ข้อสังเกต นิ ติกรรมใดที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมจะกระทาแทนผู เ้ ยาว์ตอ้ งได้รับอนุ ญาตจากศาล นิ ติ กรรมดังกล่าวผูเ้ ยาว์อาจขอความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหาได้ไม่
นิ ติกรรมที่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมต้องขออนุ ญาตศาลพิจารณาได้ตามมาตรา ๑๕๗๔ “นิ ติกรรมใดอันเกี่ยวกับทรัพย์สินของผูเ้ ยาว์ดงั ต่อไปนี้ ผูใ้ ช้อานาจปกครองจะกระทามิได้ เว้นแต่ศาลจะอนุ ญาต (๑) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้เช่าซื้อ จานอง ปลดจานอง หรื อโอนสิทธิจานอง ซึ่ง อสังหาริ มทรัพย์หรื อสังหาริ มทรัพย์ท่ อี าจจานองได้ (๒) กระทาให้สุดสิ้นลงทัง้ หมดหรื อบางส่วนซึ่งทรัพยสิทธิอ่ ืนใดในอสังหาริ มทรัพย์ (๓) ก่อ ตัง้ ภาระจ ายอม สิ ท ธิ อ าศัย สิ ท ธิ เ หนื อ พื้ น ดิ น สิ ท ธิ เ ก็บ กิ น ภาระติ ด พัน ใน อสังหาริ มทรัพย์ หรื อทรัพยสิทธิอ่ ืนใดในอสังหาริ มทรัพย์ (๔) จาหน่ ายไปทัง้ หมดหรื อบางส่วนซึ่ งสิ ท ธิ เ รี ยกร้อ งที่จะให้ได้มาซึ่ งทรัพ ยสิ ทธิ ใ น อสังหาริ มทรัพย์ หรื อสังหาริ มทรัพย์ท่ อี าจจานองได้ หรื อสิทธิเรียกร้องที่จะให้ทรัพย์สินเช่นว่านั้นของผู เ้ ยาว์ปลอด จากทรัพยสิทธิท่ มี อี ยูเ่ หนื อทรัพย์สินนั้น (๕) ให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์เกินสามปี (๖) ก่อข้อผูกพันใด ๆ ที่มุง่ ให้เกิดตาม (๑) (๒) หรื อ (๓) (๗) ให้กูย้ ืมเงิน (๘) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่จะเอาเงินได้ของผู เ้ ยาว์ให้แทนผู เ้ ยาว์เพื่อกุศลสาธารณะ เพื่อ การสังคม หรื อตามหน้าที่ธรรมจรรยา ทัง้ นี้ พอสมควรแก่ฐานานุ รูปของผูเ้ ยาว์ (๙) รับการให้โดยเสน่หาที่มเี งื่อนไขหรื อค่าภาระติดพันหรื อไม่รับการให้โดยเสน่หา (๑๐) ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลให้ผูเ้ ยาว์ตอ้ งถู กบังคับชาระหนี้ หรื อทานิ ติ กรรมอื่นที่มผี ลให้ผูเ้ ยาว์ตอ้ งรับเป็นผูร้ ับชาระหนี้ของบุคคลอื่นหรื อแทนบุคคลอื่น (๑๑) น าทรั พ ย์สิ นไปแสวงหาผลประโยชน์ นอกจากในกรณี ท่ บี ญ ั ญัติไว้ใ นมาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรื อ (๓) (๑๒) ประนีประนอมยอมความ (๑๓) มอบข้อพิพาทให้อนุ ญาโตตุลาการวินิจฉัย เมื่อท่านพิจารณาครบ ๑๓ อนุ มาตรา คงพิจารณาได้วา่ เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับมู ลค่าของ
ทรัพย์สินที่มคี า่ สู ง เช่น อสังหาริ มทรัพย์ หรื อการก่อภาระผูกพันใด ๆ บุคคลที่มีสิทธิให้สตั ยาบันและ/หรือบอกล้าง บุ คคลดังต่อไปนี้ เป็ นบุ คคลที่กฎหมายให้อานาจ (สิ ทธิ ) ในการให้สตั ยาบันและ/หรื อ บอกเลิกนิ ติกรรมที่เป็นโมฆียะ ๑. ผูเ้ ยาว์ ๒. ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม ๓. ผูร้ ับทอดสิทธิของผูเ้ ยาว์ อนึ่ ง ในกรณีของผู เ้ ยาว์ ได้แก่ ผู เ้ ยาว์ท่ บี รรลุนิติภาวะแล้ว หรื อ ผู เ้ ยาว์ยงั ไม่บรรลุ นิติ ภาวะแต่ตอ้ งได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรม มีขอ้ สังเกตว่า กรณีท่ ผี ู เ้ ยาว์ท่ ยี งั ไม่บรรลุ นิติภาวะ แต่ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมยินยอมเป็นผูบ้ อกล้างและ/หรื อให้สตั ยาบัน อาจเกิดความเสี่ยงได้ ดังนั้น หากจะให้ผูเ้ ยาว์ท่ ยี งั ไม่บรรลุนิติภาวะเป็ นผู ใ้ ห้สตั ยาบันและ/หรื อบอกล้างก็ควรมีหลักฐานแสดงเจตนายินยอม หรื อปฏิเสธของผู แ้ ทน โดยชอบธรรมไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรที่น่าเชื่อถือ สาหรับกรณีของผู ร้ ับทอดสิทธิของผู เ้ ยาว์ กล่าวคือ ทายาทผู ร้ ับ มรดกของผูเ้ ยาว์ยอ่ มมีสิทธิในการให้สตั ยาบันและ/หรื อบอกเลิกนิ ติกรรมที่เป็นโมฆียะเช่นเดียวกัน ประเด็นพิจารณาต่อไปคือนิ ติกรรมบางอย่างที่ผูเ้ ยาว์สามารถใช้สิทธิทานิ ติกรรมได้ดว้ ย ตนเองโดยมิพกั ต้องขอความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน ข้อยกเว้นในความสามารถทานิ ติกรรมของผูเ้ ยาว์ “ผู เ้ ยาว์จะทานิ ติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน การ ใด ๆ ที่ผูเ้ ยาว์ได้ทาลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเป็ นโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เป็ นอย่ างอื่ น” คาว่า บทบัญญัติเป็นอย่างอื่นปรากฏดังต่อไปนี้ ๑. นิ ติกรรมที่เป็ นคุณประโยชน์แก่ผเู ้ ยาว์ฝ่ายเดียว มาตรา ๒๒ “ผู เ้ ยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทงั้ สิ้น หากเป็ นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิ อนั ใด อันหนึ่ ง หรื อเป็นการเพื่อให้หลุดพ้นจากหน้าที่อนั ใดอันหนึ่ ง” บทบัญญัติขา้ งต้น สามารถพิจารณาได้ ๒ ประเด็น กล่าวคือ
(๑) นิ ติกรรมที่ผูเ้ ยาว์กระทาลงและมีผลให้ผูเ้ ยาว์ได้สิทธิอนั หนึ่ งอันใด หมายถึง นิ ติกรรมที่ผูเ้ ยาว์กระทาลงไปอันมีผลทาให้ผูเ้ ยาว์ได้สิทธิ หรื อก่อให้เกิดความ เคลื่อนไหวแห่งสิ ทธิ ในการก่อให้เกิดสิ ทธิ บางประการ เช่น ผู เ้ ยาว์มีป่ ู ย่า และปู่ ย่าได้ทาพินัยกรรมยกทรัพย์สิน ทัง้ หมดให้ผูเ้ ยาว์ จะเห็นได้วา่ นิ ติกรรม (พินัยกรรม) ทาให้ผูเ้ ยาว์กอ่ ให้เกิดสิทธิได้รับมรดก หรื อ การรับทรัพย์สินที่มี ผูใ้ ห้โดยเสน่หา ขอให้ทา่ นลองพิจารณาว่า หากข้อเท็จจริ งแห่งคดีปรากฏว่า นายสมชาย (อา) มีความ ประสงค์จะยกที่ดินให้แก่ผูเ้ ยาว์ (หลาน) โดยมีเงื่อนว่าให้หลานนาเงินมาให้อาเป็ นจานวนเงินหนึ่ งบาท ทัง้ นี้เพื่อ แก้เคล็ด เพราะหมอดูทกั ว่า ไม่ควรให้ของแก่หลาน จึงต้องแก้เคล็ดโดยซื้อขายที่ดินกันในราคาหนึ่ งบาท ดังนี้ ท่าน จะเห็นได้ว ่า นิ ติกรรมนี้ ตกเป็ น โมฆียะ เนื่ องจากเป็ นการให้โดยมีเงื่ อนไข ซึ่ งผู ้เยาว์ไม่ได้ประโยชน์ฝ่ายเดียว น้าหนักของประโยชน์ท่ เี กิดมีกบั ผู เ้ ยาว์ตอ้ งเต็มเปี่ ยมและในขณะประโยชน์ของคู ก่ รณีของผู เ้ ยาว์ตอ้ งไม่เกิดมีอยู ่ แม้จะเกิดแต่เพียงเล็กน้อยต้องถือว่าเป็นภาระกับผูเ้ ยาว์ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย (๒) นิ ติกรรมที่ผูเ้ ยาว์กระทาลงและมีผลให้หลุ ดพ้นจากหน้าที่ การหลุ ดพ้นจากภาระย่อมแสดงว่าผู เ้ ยาว์มีภาระหน้า ที่ ซึ่ งตามกฎหมายเรี ยกว่า “หนี้ ” เมื่ อเจ้าหนี้ ยอม ปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหนึ่ งเพื่อให้ขจัดภาระนั้นลงและเป็นประโยชน์กบั ผูเ้ ยาว์กก็ ระทาได้ เช่น นายสงบ (เจ้าหนี้) ตกลงปลดหนี้ให้แก่ผูเ้ ยาว์ จะเห็นได้วา่ การปลดหนี้ตอ้ งทาเป็นหนังสือและเป็นนิ ติกรรมฝ่ ายเดียวที่ผูเ้ ยาว์ลูกหนี้โดย ไม่ตอ้ งขอความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรม นิ ติกรรมนั้นย่อมมีผลสมบูรณ์ ๒. นิ ติกรรมที่ผเู ้ ยาว์ตอ้ งทาเองเฉพาะตัว มาตรา ๒๓ “ผูเ้ ยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทงั้ สิ้น ซึ่งเป็นการต้องทาเฉพาะตัว” “นิ ติกรรมเฉพาะตัว ” หมายถึง นิ ติกรรมที่เป็ นเรื่ องส่วนตัวโดยแท้ของผู เ้ ยาว์ ที่ไม่ อาจให้ผูใ้ ดมาก้าวล่วงได้ โดยนัยแห่งลายลักษณ์อกั ษรอาจคาบเกี่ยวกับเรื่ องความสามารถพิเศษของผู เ้ ยาว์เพราะ ความสามารถพิเศษของผู เ้ ยาว์มกั ถู กเรียกว่า “ความสามารถเฉพาะตัว ” แต่กฎหมายมิได้หมายความในเรื่ อง ความสามารถเฉพาะตัว เช่นนั้น อาทิ ร้องเพลงเก่ง เต้นราเก่ง หรื อแสดงเก่ง แต่กฎหมายมุ ง่ เฉพาะเรื่ องส่วนตัว เช่น การรับรองบุตร การทาพินัยกรรม หรื อ การขอเพิกถอนการสมรส เป็นต้น ตัวอย่าง แม้ผูเ้ ยาว์จะเป็นนักแสดงที่มคี วามสามารถสู ง และการแสดงเป็นศิลปะที่ผูเ้ ยาว์ จะต้องทาด้วยตนเอง โดยที่ไม่สามารถหาใครมาแทนที่ได้ ดังนี้ การที่ผูเ้ ยาว์รับงานแสดงเองโดยมิได้ขอความ ยินยอมจากบิดามารดาหาทาให้นิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ไม่ นิ ติกรรมคงมีผลเป็นโมฆียะ
๓. นิ ติกรรมเป็นการอันจาเป็นในการดารงชีพของผูเ้ ยาว์ มาตรา ๒๔ “ผูเ้ ยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทงั้ สิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุ รูปแห่งตน และเป็นการอันจาเป็น ๓.๑.๓.๒ คนไร้ความสามารถ บุคคลวิกลจริ ตที่ถูกศาลสั่งให้บุคคลวิกลจริ ตนั้นเป็นคนไร้ความสามารถ โดยที่กฎหมายกาหนดให้คูส่ มรส บุพการี ผู ส้ ื บสันดานของผู ว้ ิกลจริ ตนั้น หรื อพนักงาน อัยการเป็นผูร้ อ้ งขอต่อศาล ให้ศาลมีคาสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ และต้องอยูใ่ นความอนุ บาลของผูอ้ นุ บาล ๒ กฎหมายจากัดความสามารถในการใช้สิทธิ กล่าวคือ การทานิ ติกรรมสัญญาใดที่คนไร้ความสามารถได้กระทาลงการนั้นตกเป็ น โมฆียะ๓ ข้อสังเกต (๑) แม้วา่ บุคคลวิกลจริ ตซึ่งศาลยังไม่ได้มคี าสั่งเป็ นคนไร้ความสามารถได้ไปกระทานิ ติ กรรมสัญญา ย่อมมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้วา่ นิ ติกรรมสัญญาได้กระทาลงในขณะบุ คคลนั้น จริ ตวิกลอยู ่ และคูส่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายได้ทราบด้วยว่าผูก้ ระทานั้นเป็นคนวิกลจริ ต๔ (๒) คาสั่งให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถต้องประกาศในราชกิจจานุ เบกษา ๕ ๓.๑.๓.๓ คนเสมือนไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลที่มลี กั ษณะอย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้๖ ๒
มาตรา ๒๘. มาตรา ๒๙. ๔ มาตรา ๓๐. ๕ ราชกิจจานุ เบกษา เป็ นหนังสื อของทางราชการที่ออกเป็ นรายสัปดาห์โดยสานักงานราชกิจจานุ เบกษา สานักงานเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี สาหรับลงประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ รวมทัง้ ประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนหุ น้ ส่วนบริ ษทั . ๖ มาตรา ๓๒ บุคคลใดมีกายพิการหรื อมีจติ ฟั่นเฟือนไม่สมประกอบหรื อ ประพฤติสุรุ่ยสุ ร่าย เสเพลเป็ นอาจิณ หรื อ ติดสุ รายาเมา หรื อ มีเหตุอ่ นื ใดทานองเดียวกันนั้น จนไม่สามารถจะจัดทาการงานโดยตนเองได้ หรื อ จัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ ทรัพย์สิน ของตนเองหรื อครอบครัวเมื่อบุคคลตามที่ระบุไว้ใน มาตรา ๒๘ ร้องขอต่อศาล ศาลจะสัง่ ให้บุคคลนั้นเป็ นคนเสมือนไร้ ความสามารถก็ได้ ๓
(๑) กายพิการ (๒) จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๓) ประพฤติสุรุ่ยสุ ร่ายเสเพลเป็นอาจิณ (๔) ติดสุ รายาเมา (๕) มีเหตุอ่ ืนทานองเดียวกัน และ บุ ค คลเช่น ว่า นั้น ไม่สามารถจะจัดทาการงานโดยตนเองได้ หรื อจัดกิ จการไป ในทางที่อาจเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรื อครอบครัว โดยที่กฎหมายกาหนดให้คูส่ มรส บุพการี ผูส้ ืบสันดานของผู ว้ ิกลจริ ตนั้น หรื อพนักงาน อัยการเป็ นผู ร้ อ้ งขอต่อศาล ให้ศาลมีคาสั่งให้เป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถ เมื่อศาลเห็นสมควร ศาลอาจสั่งให้ บุคคลเช่นว่านั้นตกเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถและให้อยูใ่ นความพิทกั ษ์ของผูพ้ ิทกั ษ์ โดยหลักแล้ว คนเสมือนไร้ความสามารถสามารถไปกระทานิ ติกรรมสัญญาได้มผี ล สมบู ร ณ์ แต่ก ฎหมายจ ากัดการใช้สิ ท ธิ ใ นการท านิ ติก รรมสัญ ญาเป็ นบางเรื่ องต่า ง ๆ ดัง นี้ ซึ่ งคนเสมื อ นไร้ ความสามารถจะต้อ งได้รั บ ความยิ น ยอมของผู พ้ ิ ท กั ษ์ ก ่อ นแล้ว จึ ง จะท าการอย่า งหนึ่ งอย่า งใดดัง ต่อ ไปนี้ ๗ ๑. นาทรัพย์สินไปลงทุน ๒. รับคืนทรัพย์สินที่ไปลงทุน ต้นเงินหรื อทุนอย่างอื่น ๓. กูย้ ืมหรื อให้กูย้ ืมเงิน ยืมหรื อให้ยืมสังหาริ มทรัพย์อนั มีคา่ ๔. รับประกันโดยประการใด ๆ อันมีผลให้ตนต้องถูกบังคับ ชาระหนี้ ๕. เช่า หรื อ ให้เ ช่า สัง หาริ ม ทรั พ ย์มีก าหนดระยะเวลาเกิ น กว่า หกเดื อ นหรื อ อสังหาริ มทรัพย์มกี าหนดระยะเวลาเกินกว่าสามปี ๖. ให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ท่ พี อควรแก่ฐานานุ รู ป เพื่อ การกุ ศลการสังคม หรื อ ตามหน้าที่ธรรมจรรยา ๗. รับการให้โดยเสน่หาที่มเี งื่อนไขหรื อค่าภาระติดพัน หรื อ ไม่รับการให้โดยเสน่หา ๘. ทาการอย่างหนึ่ งอย่างใด เพื่อจะได้มาหรื อปล่อยไปซึ่งสิทธิ ในอสังหาริ มทรัพย์หรื อ บุคคลซึ่งศาลได้สง่ั ให้เป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ งต้องจัดให้อยูใ่ นความพิทกั ษ์การแต่งตัง้ ผู พ้ ทิ กั ษ์ให้ เป็ นไปตามบทบัญญัตบิ รรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้ ให้นาบทบัญญัตวิ า่ ด้วยการสิ้นสุ ดของความเป็ นผู ป้ กครองในบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้มาใช้บงั คับแก่การสิ้นสุ ด ของการเป็ นผู พ้ ทิ กั ษ์โดยอนุ โลม คาสัง่ ของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา. ๗
มาตรา ๓๔.
ในสังหาริ มทรัพย์อนั มีคา่ ๙. ก่อสร้างหรื อดัดแปลงโรงเรื อนหรื อสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรื อ ซ่อมแซมอย่างใหญ่ ๑๐. เสนอคดีตอ่ ศาลหรื อดาเนิ นกระบวนพิจารณาใด ๆ เว้นแต่ การร้องขอตาม มาตรา ๓๕ หรื อการร้องขอถอนผูพ้ ิทกั ษ์ ๑๑. ประนีประนอมยอมความ หรื อมอบข้อพิพาทให้อนุ ญาโตตุลาการวินิจฉัย หรื อ ถ้ามีกรณีอ่ ืนใดนอกจากที่กล่าวในวรรคหนึ่ งซึ่งคนเสมือนไร้ความสามารถอาจ จัดการไปในทางเสื่ อมเสียแก่ท รั พ ย์สิ น ของตนเองหรื อ ครอบครั ว ในการสั่ง ให้บุค คลใดเป็ นคนเสมื อ นไร้ ความสามารถ หรื อ เมื่อผู พ้ ิทกั ษ์รอ้ งขอในภายหลังศาลมีอานาจสั่งให้คนเสมือนไร้ความสามารถนั้น ต้องได้รับ ความยินยอมของผูพ้ ิทกั ษ์กอ่ นจึงจะทาการนั้นได้ ข้อสังเกต (๑) ในกรณีท่ ผี ู พ้ ิทกั ษ์ไม่ยินยอมให้คนเสมือนไร้ความสามารถไปกระทานิ ติกรรมโดย ปราศจากเหตุผลอันสมควร คนเสมือนไร้ความสามารถสามารถร้องขอต่อศาล ให้ศาลมีคาสั่งอนุ ญาตก็ได้ หาก การนั้นจะเป็นคุณประโยชน์แก่คนเสมือนไร้ความสามารถ (มาตรา ๓๕) (๒) คาสั่งให้บุคคลเป็นคนไร้ความสามารถต้องประกาศในราชกิจจานุ เบกษา ๓.๑.๔ การสิ้นสุดสภาพบุคคล การสิ้นสุ ดสภาพบุคคลมีผลทาให้ไม่ถือเป็นผูท้ รงสิทธิตามกฎหมาย มีได้ดงั นี้ (๑) ตาย (สภาพบุคคลสิ้นสุ ดลงเมื่อตาย) (๒) สาบสู ญ กล่าวคือ เมื่อบุคคลใดศาลได้มคี าสั่งให้ตกเป็นคนสาบสู ญให้ถือว่าถึงแก่ความตาย ๘
๘
มาตรา ๔๘-๖๔.
๓.๒
นิ ติบุคคล (๑) ความหมาย
หมายถึง สิ่งที่กฎหมายสมมติและให้การรับรองว่ามีสภาพบุ คคลตามกฎหมาย โดยกาหนดให้นิติบุคคลมี สิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ซ่ ึงโดยเฉพาะจะพึงมีพึงได้แต่บุคคลธรรมดาเท่านั้น (๒) นิ ติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ๒.๑ สมาคม ได้แก่ การก่อตัง้ สมาคมเพื่อกระทาการใด ๆ อันมีลกั ษณะต่อเนื่ องร่วมกันและ มิใช่เป็นการหาผลกาไรหรื อรายได้มาแบ่งปั นกัน ต้องมีขอ้ บังคับและจดทะเบียนตามกฎหมาย ๙ และสมาคมที่ได้จด ทะเบียนแล้วมีฐานะเป็นนิ ติบุคคล๑๐ ๒.๒ มูลนิ ธิ ได้แก่ ทรัพย์สินที่จดั สรรไว้โดยเฉพาะสาหรับวัตถุ ประสงค์เพื่อการกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ การศึกษา หรื อเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างอื่น โดยมิได้มุง่ หาผลประโยชน์มา แบ่งปั นกัน และได้จดทะเบียนตามกฎหมาย๑๑ และมูลนิ ธิท่ ไี ด้จดทะเบียนแล้วมีฐานะเป็นนิ ติบุคคล๑๒ ๒.๓ ห้างหุน้ ส่วน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลตัง้ แต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจการ ร่วมกันด้วยประสงค์จะแบ่งปั นกาไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ทานั้น๑๓ ห้า งหุ น้ ส่ว นที่ได้จ ดทะเบีย นตามกฎหมายแล้ว ให้มีฐ านะเป็ นนิ ติบุ ค คลต่า งหากจากผู เ้ ป็ น หุ น้ ส่วน๑๔ ได้แก่ ห้างหุ น้ ส่วนสามัญ๑๕ ห้างหุ น้ ส่วนจากัด๑๖
๙
มาตรา ๗๘. ๑๐ มาตรา ๘๓. ๑๑ มาตรา ๑๑๐. ๑๒ มาตรา ๑๑๒. ๑๓ มาตรา ๑๐๑๒. ๑๔ มาตรา ๑๐๑๕. ๑๕ มาตรา ๑๐๒๕ อันว่าห้างหุ น้ ส่วนสามัญนั้นคือห้างหุ น้ ส่วนประเภทซึ่งผู เ้ ป็ นหุ น้ ส่วนหมดทุกคนต้องรับผิดร่วมกัน เพื่อหนี้ทงั้ ปวง ของหุ น้ ส่วนโดยไม่มจี ากัด. ๑๖ มาตรา ๑๐๗๗ อันห้างหุ น้ ส่วนจากัดนั้นคือห้างหุ น้ ส่วนประเภทหนึ่ ง ซึ่ งมีผูเ้ ป็ นหุ น้ ส่วนสองจาพวกดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ (๑) ผู เ้ ป็ นหุ น้ ส่วนคนเดียว หรื อ หลายคนซึ่งมีจากัดความรับผิดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนรับจะลงหุ น้ ในห้าง หุ น้ ส่วนนั้นจาพวกหนึ่ ง และ (๒) ผู เ้ ป็ นหุ น้ ส่วนคนเดียว หรื อ หลายคนซึ่งต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างหุ น้ ส่วนไม่มจี ากัดจานวน อีกจาพวกหนึ่ ง.
๒.๔ บริษทั จากัด หมายถึง บริ ษัทประเภทหนึ่ งซึ่งตัง้ ขึ้นด้วยแบ่งทุนเป็ นหุ น้ มีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยผู ถ้ ือหุ น้ ต่างรับผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมู ลค่าของหุ น้ ที่ตนถือ ๑๗ โดยมีบุคคลที่เริ่ ม ก่อตัง้ ตัง้ แต่สามคนขึ้นไปจะเริ่ มก่อการและตัง้ โดยเข้าชื่อกันทาหนังสือบริ คณห์สนธิ หนังสื อบริ คณห์สนธิ หมายถึง หนังสื อที่ผูเ้ ริ่ มก่อการแสดงความประสงค์ในการจัดตัง้ บริ ษัท จากัด หนังสือบริ คณห์สนธิตอ้ งมีรายการดังต่อไปนี้คือ (๑) ชื่อบริ ษัทอันคิดจะตัง้ ขึ้น ต้องมีคาว่า “จากัด” ไว้ทา้ ยชื่อนั้นด้วยเสมอไป (๒) ที่ตงั้ สานักงานของบริ ษัทซึ่งจดทะเบียนนั้นจะตัง้ อยู ่ ณ ที่ใดในราชอาณาจักร (๓) วัตถุประสงค์ทงั้ หลายของบริ ษัท (๔) ถ้อยคาที่แสดงความรับผิดของผูถ้ ือหุ น้ จะมีจากัด ถ้อยคาแสดงว่าความรับผิดของผูถ้ ือหุ น้ จะมีจากัด (๕) จานวนทุนเรื อนหุ น้ ซึ่งบริ ษัทจากัดกาหนดจะจดทะเบียนแบ่งออกเป็ นหุ น้ มีกาหนดหุ น้ ละ เท่าไร (๖) ชื่อ ที่อยู ่ อาชีพ และลายมือชื่อของบรรดาผู เ้ ริ่ มก่อการ ทัง้ จานวนหุ น้ ซึ่งต่างคนต่างเข้าชื่อ ซื้อหุ น้ ไว้คนละเท่าใด หนังสือบริ คณห์สนธินั้น กฎหมายบัญญัติให้ทาเป็นต้นฉบับไว้ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ฉบับ นอกจากจะ ให้ลงลายมือชื่อของบรรดาผูเ้ ริ่ มก่อการแล้ว ยังให้มพี ยานอย่างน้อย ๒ คน ลงชื่อรับรองลายมือชื่อทัง้ ปวงของผูเ้ ริ่ ม ก่อการด้วย การจดทะเบียนหนังสือบริ คณห์สนธินั้นต้องจดทะเบียนที่สานักงานทะเบียนหุ น้ ส่วนบริ ษัท (๓) การสิ้นสุ ดสภาพบุคคล (๑) เมื่อได้กาหนดเหตุไว้ในข้อบังคับหรื อหนังสือบริ คณห์สนธิ (๒) เมื่อได้กาหนดระยะเวลาไว้ในข้อบังคับหรื อหนังสือบริ คณห์สนธิ (๓) เมื่อที่ประชุมใหญ่มมี ติให้เลิก (๔) เมื่อนิ ติบุคคลนั้น ศาลมีคาสั่งให้ลม้ ละลาย หรื อมีคาสั่งให้เลิก เนื่ องจาก มีวตั ถุ ประสงค์ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หรื อเป็นภัยต่อความมัน่ คงของประเทศ เป็นต้น
๑๗
มาตรา ๑๐๙๖.