NAN NI CHA creative works 2015 Nannicha Sriwut ( graphic designer ) kobu.kaeru@gmail.com
GRAPHIC DESIGN MY FACE NANNICHA’ TYPOGRAPHY
CREATIVE ACTIVITY RO TAO TEE TANG PAK (Chiang Mai busstop)
illustration AS I LAY DYING THE SOUND AND THE FFURRY TO THE LIGHT HOUSE
SOUND INSTALLATION AS((EAR))N
illustration
AS I LAY DYING ภาพประกอบหน้าปกวรรณกรรมแปล เรื่อง AS I LAY DYING ( กว่าจะสิ้น ลมหายใจ ) ของสำ�นักพิมพ์ lighthouse
THE SOUND AND THE FURY ภาพประกอบหน้าปกวรรณกรรมแปล เรื่อง The sound and the furry ( ความเดือดดาลในกระแสเสียง ) ของสำ�นักพิมพ์ lighthouse
TO THE LIGHTHOSE ภาพประกอบหน้าปกวรรณกรรมแปล เรื่อง The sound and the furry ( ความเดือดดาลในกระแสเสียง ) ของสำ�นักพิมพ์ lighthouse
GRAPHIC DESIGN
FACE # 1 ผลงานภาพกราฟิกการดัดแปลงรูปทรงใบหน้าของตนเอง ให้อยู่ในการทำ�งาน แบบลดทอนรูปร่าง รูปทรง เป็นเส้น รูปร่างเหลี่ยม ให้มีความน่าสนใจ
FACE # 2 ผลงานภาพกราฟิกการดัดแปลงรูปทรงใบหน้าของตนเอง โดยใช้แนวคิดการ แยกชิ้นส่วนของโครงสร้างของร่างกายเป็นชั้นๆ ให้เป็นในแบบเกินจริงหรือ เป็นไปตามจิตนาการของ
NANNICHA TYPOGRAPHY DESIGN การออกแบบตัวอักษร ในรูปแบบโครงสร้างตามจิตนาการ ให้ออกมามีความ สนุกสนาน สลับสับเปลี่ยนชั้นและรูปทรงเดิมของ font ARIAL BLACK
CREATIVE ACTIVITY
RO TAO TEE TANG PAK โครงการสื่อศิลปะเชิงวิภาค รอเท้าที่ทางพัก บนพื้นที่สื่อออนไลน์ http://busstop.mediaartsdesign.org https://www.facebook.com/cmbusstop
โครงงานเรื่อง รอเท้าที่ทางพัก เป็นโครงงานที่เข้าไปเล่นและตั้งคําาถามให้กับ ตัวพื้นที่ที่มีอยู่แล้วนั่นคือ ป้ายรอรถของเชียงใหม่ ที่เป็นโครงการที่ถูกสร้าง ขึ้นมาเพื่อตอบสนองประชาชนในด้านความสะดวกสบายในการรอรถหรือถูก สร้างมาเพื่อสร้างพื้นที่ โฆษณา ของภาคเอกชน? ก่อนหน้านี้ตัวเมืองเชียงใหม่ ไม่มีป้ายรอรถ การสัญจรของผู้คนท่ี่ใช้ขนส่งสาธารณะอย่างรถสี่ล้อแดง คน ส่วนใหญ่สามารถโบกได้ทุกที่ ทุกเวลา ต่างจากวิธีคิดแบบป้ายรอรถที่ถูกสร้าง ขึ้นในปัจจุบัน ที่ตัวป้ายรอรถมันถูกสร้างบน พื้นที่ของรัฐและมีป้ายโฆษณา ที่เป็นของเอกชนทั้งคู่ทําางานร่วมกันในการเข้าไปเปลี่ยนความหมายใหม่ให้ กับพื้นที่ทางเท้า แต่ วิถีชีวิตการโบกรถของคนเชียงใหมที่ไม่ได้สอดรับกับ ประโยชน์ใช้สอยของป้ายรอรถ ดั่งที่ผู้สร้างคาดหวงั เอาไว้ทําาให้ป้ายที่ไม่มี ใครสนใจ ป้ายที่ไม่เอื้อต่อการนั่งรอรถ เพราะตั้งบนทางขาวแดง ทางกลับรถที่ เป็นจุดอันตราย แสงแดดสาดส่องอยู่ตลอดเวลา จนในท้ายที่สุดตัวพื้นที่ก็หมด ความหมายไป กลับกลายเป็นแค่สิ่งก่อสร้างที่ดูเหมือนจะสร้างประโยชน์ แต่ กลับไม่ตอบโจทย์ การใช้งานจริงของพื้นที่ได้ โครงงาน “รอเท้าที่ทางพัก” ได้ไปสร้างความหมายใหม่ให้ป้ายผ่านผ่านบริบท ต่างๆทําาให้ตัวพื้นที่หรือตัวป้ายถูกพูดถึงและ เป็นประเด็นให้สะท้อนความ เป็นอยู่ของตัวปัจเจกกับตัวพื้นที่ที่พบเห็นทุกวันและเมินเฉยกับมันให้ผุดราก เหง้าของมันขึ้นมา ไม่ว่าจะสะท้อนด้วยความตลกโปกฮา บ้าบิ่น หรือจริงจัง นั่นหมายความว่าตัวปัจเจกสนใจบริบทที่เกิดขึ้นของมันแล้ว
SOUND INSTALLATION
“AS((EAR))N” นิทัศการ ประสบการณ์หูสู่อาเซี่ยน จัดโดยมิวเซี่ยมสยาม กรุงเทพฯ 2015
“AS((EAR))N” - SOUND OF ASEAN EXHIBITION 22.08.15 - 20.12.15 MUSEUM SIAM BANGKOK
นิทรรศการส่วนนี้มีชื่อว่า (ถูก) ปิดหู - (ถูก) ปิดตา: พหุเสียงที่ชายแดน มี ความตั้งใจที่จะนำ�เสนอความหลากหลาย ของเสียงและถ้อยสำ�เนียงต่างๆ ใน อาณาบริเวณชายแดนผ่าน รูปแบบที่เรียกว่า “การนิพนธ์เรื่องราวผ่านเสียง” (Sound Ethnography) พวกเรามีความเชื่อว่า เสียง คือภาษารูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นพื้นที่ของอุดมการณ์ครอบงำ�, การต่อต้าน ตลอดจน สิ่งที่สะท้อนถึง รูปแบบของลีลาในการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันไป ในแต่ละวัฒนธรรม ดังนั้น การ นิพนธ์เรื่องราวผ่านเสียงจึงเป็น การนำ�เสนอและพรรณนาถึงความเหมือน และความแตกต่าง ทางวัฒนธรรมระหว่างผู้รับฟังกับผู้คนและสิ่งแวดล้อม ที่ให้กำ�เนิด เสียงต่างๆ กระบวนนำ�เสนอเช่นนี้เองอาจเป็นส่วนหนึ่งของการ ทำ�ความเข้าใจความคิดอันละเอียดอ่อนหรือความรู้สึกที่ยากบรรยาย ออกมา เป็นตัวอักษรและภาษาพูดได้ การนิพนธ์เรื่องราวผ่านเสียง จึงเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการรื้อมายาคติที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
NAN NI CHA creative works 2015 Nannicha Sriwut ( graphic designer ) kobu.kaeru@gmail.com