2552 รายงานโครงการสร้างเครือข่าย อช.สุรินทร์ (ส.ค.-ก.ย.)

Page 1

โ ค ร ง ก า ร ส ร า  ง เ ค ร อ ื ข า  ย ร ว  ม ร ะ ห ว า  ง ช ม ุ ช น ม อ แ ก น แ ล ะ อ ท ุ ย า น แ ห ง  ช า ต ห ิ ม เ  ู ก า ะ ส ร ุ น ิ ท ร 


สารบัญ หนา 1. บทนํา 1.1 บทนํา

2

อ ลทรัพยากรทางทะเล 1.2 การตรวจจตราเฝาระวัง และสํารวจขอมู

3

2. ปฏิบติตั กิ ารเรียนรูจากห จ องเรียนธรรมชาติ น 2.1 ปฏิบัติการเรี า ยนรูจากหหองเรียนธรรมมชาติ

5

2.2 กิจกรรมหหองเรียนธรรมมชาติ สํารวจททรัพยากรทางงทะเล อาวบออน

18

3. เครือขขายเฝาระวังแหล ง งวางไขขเตาทะเล 3.1 เครือขายเฝ ย าระวังแหลลงวางไขเตาทะเล

20

3.2 การเปลียนแปลงสภาพ ย่ พหาดทราย

20

3.3 การสํารววจการวางไขของแม ข เตาทะเเล

41

3.4 การเฝาระวังรังไขเตาทะเล ท

43

4. สรุปผลการดํ ผ าเนินงาน น และขอเสนอแนะ อ 4.1 ปฏิบัติการเรี า ยนรูจากหหองเรียนธรรมมชาติ

48

4.2 เครือขายเฝ ย าระวังแหลลงวางไขเตาทะเล

48

4.3 ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ

53

4.4 ขอเสนอแแนะ

55

5. ภาคผผนวก

57

6. หองสสมุดความรู

64


สารบัญรูปภาพ ภ รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 5 รูปที่ 6 รูปที่ 7 รูปที่ 8 รูปที่ 9 รูปที่ 10 รูปที่ 11 รูปที่ 12 รูปที่ 13 รูปที่ 14

ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายเกาะสสตอรค เมื่อทําการวั า ดที่พิกดั E 03769966 N 1041974 ณ 100 °NN ภาพจําลองตําแหนงเนินทรายแห น งแลละแปลงทรายของแมเตาทะะเล (หาดทรายยเกาะสตอรค)

หนา 22 23

น งแลละแปลงทรายของแมเตาทะะเล (หาดทรายยหาด ภาพจําลองตําแหนงเนินทรายแห ทรายขาว--เล็ก หรือ อาวทึ ว ง ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายขาว เมื่อทําการวัดที่พิกัด E 03776409 N 10444945 ณ 325 °N ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายแดง เมื เ ่อทําการวัดที่พิกัด E 03775398 N 10444808 (ขวา) E 03754335 N 10448100 (กลาง)และ E 03754833 N 1044846((ซาย) ณ 3400 °N ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายไมงามมเล็ก เมื่อทําการวั ก ดที่พิกัด E 0374870 N 1042881 ณ 310 °NN ภาพจําลองตําแหนงเนินทรายแห น งแลละแปลงทรายของแมเตาทะะเล (หาดทรายยหาดไมงาม เล็ก) ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายเกาะมัมังกร เมื่อทําการวั ก ดที่พิกัด E 0372350 N 1041556 ณ 120 °NN ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายอาวบอนเล็ก เมื่อทําการวั า ดที่พิกัด E 03758500 N 1040031 ณ 110 °NN ภาพจําลองตําแหนงเนินทรายแห น งแลละแปลงทรายของแมเตาทะะเล (หาดทรายยอาวบอนเล็ก) ก

25

ภาพตัดขววางลักษณะหาาดทรายแหลมมแมยายใต เมือทํ ่ าการวัดที่พิพกัด E 0376996 N 1041974 ณ 100 °N แผนที่อนั ดัดบหาดทรายทีที่มีสถิติแมเตาทะเลเลื า อกขึนวางไข ้น บริเวณหมูเกาะสุรินทร

40

สภาพควาามเหมาะสมขอองหาดทรายตตอการวางไข ในชวงฤดูแลง ป พ2552 .ศ. (ลมมรสุมตะวั ต นออกเฉียงเหนื ย อ) สภาพควาามเหมาะสมขอองหาดทรายตตอการวางไข ในชวงฤดูฝน ป พ 2552 .ศ. (ลมมรสุมตะวั ม นตกเฉียงใต)

51

27 29 31 31 35 37 38

42

52


สาารบัญตารราง ตารางที่ 1 ขนาดเนินทรายแหงของหาดทรายเเกาะสตอรค

หนา 22

ตารางที่ 2 ขนาดเนินทรายแหงของหาดทรายออาวปอ

33

ตารางที่ 3 ขนาดเนินทรายแหงของหาดทรายเเกาะมังกร

35

ตารางที่ 4 ขนาดเนินทรายแหงของหาดทรายออาวบอนเล็ก

37

ตารางที่ 5 อันดับหาาดทรายที่มีสถิติแมเตาทะเลเลือกขึ้นวางงไข บริเวณหมูมูเกาะสุรินทร

41

ตารางที่ 6 สรุ ป ผลกการสํ า รวจกาารวางไข ข องงแม เ ต า ทะเลล บริ เ วณหมู เกาะสุ เ ริ น ทร ระหว า งเดื อ น มกราคมมถึงกันยายน ป พ.ศ. 2552 ตารางที่ 7 รังไขเตาทะเลที่อยูภายยใตการดูแลขของเครือขายรรวมฯ ระหวางเดือนมีนาคมถึงกันยายน 2 ป พ.ศ. 2552 ตารางที่ 8 ผลสํารวจจการวางไข ในรอบ ใ 1 ป บริเิ วณหมูเกาะะสุรินทร (ขอมูลตั้งแตผี 25449 – 2552)

43

ตารางที่ 9 ตัวชี้วัดผลสํ ผ าเร็จของแแตละโครงการร

53

44 50


∆ ชายหาดเกาะสตอร์ค เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552

1

บทนา

การตรวจตราเฝ้าระวัง และสารวจข้อมูลทรัพยากรทางทะเล

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

1


1.1 บทนา ความอุด มสมบูร ณ์ และคุ ณค่าความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลใน ประเทศไทยสร้างผลประโยชน์มากมายให้กับผู้ใช้ และสร้างรายได้มหาศาลคืนกลับให้กับประเทศ การคงไว้ ซึ่งคุณค่าและความสมบูรณ์นี้ก่อให้เกิดกระบวนการอนุรักษ์และคุ้มครองโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีทรัพยากรหา ยาก ใกล้สูญพันธ์ หรือ มีความเปราะบางสูงเพื่อรักษาปกป้องสถานที่ที่เป็นถิ่นกาเนิด เจริญเติบโต อาศัย สืบพันธุ์ และหากินของสัตว์ หรือ พืชชนิดนั้นเพื่อให้ทรัพยากรในพื้นที่นั้นคงอยู่อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันประเทศกาลังเผชิญหน้ากับปัญหาความขัดแย้ง และการขาดสมดุลในการจัดสรรประโยชน์และการ ปกป้ องคุ้มครองทรัพยากร เนื่องจากความต้ องการใช้ทรั พยากรเพิ่มสู งขึ้นในขณะที่ความสามารถของ ทรัพยากรในการฟื้นตัวกลับลดลง กระบวนการติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรเพื่อจัดทา เป็นฐานข้อมูลประกอบการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารจึงสาคัญอย่ างยิ่งต่อประสิทธิภาพในการวางแผนการ จัดการ แต่เนื่องจากการขาดบุ คคลากร และข้อ มูลจริ งจากการติด ตามประเมินสถานภาพในพื้นที่ อย่าง ต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่าย รวมถึงสามารถนามาใช้ดาเนินการแก้ไขปัญหาได้จริง ทาให้แผนการจัด การทรั พยากรไม่ส ามารถตอบสนองต่อ ปัญหาที่เกิด ขึ้นได้ทันเวลา ดังนั้น การพัฒนา ศักยภาพของคนในพื้นที่ให้มีความสามารถในการศึกษา สารวจ และรวบรวมข้อมูลทรัพยากร ประกอบกับ การจัดทาคู่มือ และเครื่องมือ สาหรับผู้ทาการสารวจให้สามารถทาการสารวจได้ด้วยตนเองเพื่อให้ได้มาซึ่ง ข้อมูลติดตามตรวจสอบการเปลี่ ยนแปลงของทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจึงเป็นการดาเนินการขั้น สาคัญ ที่ภาครัฐควรให้ความสนใจ

2

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


1.2 การตรวจตราเฝ้าระวัง และสารวจข้อมูลทรัพยากรทางทะเล อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ กับ ชุมชนมอแกน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์จัดเป็นพื้นที่อนุรักษ์ที่มีชุมชนซึ่งมีความเชี่ยวชาญในท้อ งทะเลเช่น มอ แกน และทรัพยากรธรรมชาติทางบก ชายฝั่ง และทางทะเลสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวัดพังงาโดยเฉพาะ อย่างยิ่งแนวปะการังน้าตื้นซึ่งเป็นระบบนิเวศที่มีความหลากทางชีวภาพสูง และมีความสาคัญในแง่แหล่งที่ อยู่อาศัยและขยายพันธุ์สาคัญของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในทะเล นอกจากนั้นยังมีชายหาดซึ่งเป็นอีกระบบนิเวศที่ มีความส าคั ญไม่ น้อ ยไปกว่ าแนวปะการั ง พื้นที่ ชายหาดที่ ยังคงสภาพธรรมชาติ เงี ย บสงบ และได้ รั บ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์น้อยทาให้เป็นอีกสถานที่ที่สาคัญในการขยายพันธุ์ของสัตว์ทะเลคุ้มครอง เช่น เต่าทะเลที่มักใช้ชายหาดในเขตอุทยานเป็นแหล่งวางไข่ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันความสมบูรณ์ของระบบ นิเวศปะการังและชายหาดเริ่มเสื่อมโทรมจากหลายสาเหตุ ทั้งที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ การกัดเซาะชายฝั่ง ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว การระบาดของดาวมงกุฎหนาม และ จากกิจกรรมมนุษ ย์ เช่น การลักลอบท าประมง การท่ องเที่ย วในแนวปะการั ง การทิ้ งขยะลงทะเล การ พัฒนาสิ่งปลูกสร้างบริเวณชายฝั่ง เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ศักยภาพของอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะสุรินทร์ในการเป็นแหล่งทรัพยากรทางทะเลที่สร้างรายได้และอาชีพ และเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญลดลง ดังนั้นหนึ่งในพื้นฐานสาคัญในการรักษาทรัพยากรดังกล่าวให้คงสภาพความสมบูรณ์ไว้นั้นนอกจากการไม่ ร่วมทาลาย คือการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชนในการตรวจตราเฝ้าระวังเพื่อสารวจข้อมูลสภาพ ทรัพยากร และเฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งสามารถนาไปใช้เป็นฐานข้อมูลที่ สาคัญในการวางแผนรับมือและการจัดการที่เหมาะสมและทันท่วงทีต่อไป ดังนั้นโครงการนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อสานต่อการดาเนินงานของโครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่าง ชุมชนมอแกนและอุท ยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุ รินทร์ เพื่อ ดูแลรักษาทรั พยากรธรรมชาติ ทางทะเลในพื้นที่ อนุรั กษ์ ซึ่งด าเนินการตั้งแต่ เดือ นมี นาคมถึ งพฤษภาคม 2552 โดยการสนับสนุนจากจั งหวัด พังงา โดย มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายฯ ในการตรวจตราเฝ้าระวังทรัพยากรทางทะเลผ่านการฝึกปฏิบัติ และสารวจข้อมูลสภาพทรัพยากรทางทะเล ผ่านกระบวนการดาเนินงานอย่างมีส่วนร่วม เพื่อเพิ่มศักยภาพ ของแผนการจัดการเชิงบูรณาการ และรักษาไว้ซึ่งแหล่งทรัพยากรที่สาคัญทางทะเล

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

3


∆ ชาวมอแกนร่วมกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ (เรื่องอันตรายของขยะปนเปื้อน เกมแยกฉันออก)

2 4

ปฏิบัติการเรียนรู้ จากห้องเรียนธรรมชาติ

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


2.1 ปฏิบัติการเรียนรู้จากห้องเรียนธรรมชาติ เพื่อ ส่ งเสริ มกิ จกรรมที่ ส ร้ างความรู้ ความเข้ าใจในระบบนิเวศแนวปะการั ง ภั ย คุ กคามต่ อ สถานภาพ ทรัพยากรทางทะเล และแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล ประกอบกับต้องการพัฒนาพลังแห่งการ เรียนรู้ของผู้เรียนให้มากพอสาหรับการสารวจสิ่งต่างๆ รอบตัวด้วยตนเอง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ยังคงดาเนินกิจกรรม “ห้องเรียนธรรมชาติ” อย่างต่อเนื่อง และพยายามพัฒนาเนื้อหา และวิธีการเรียนการ สอนให้เข้าใจง่าย ใกล้ตัว และผู้เรียนได้คิดและลงมือทาจริง รวมถึงให้สามารถนาสิ่งที่ได้เรียนรู้มานาเสนอ ในที่ ส าธารณะให้ ผู้ อื่ นได้ เข้ าใจ ดั งนั้น อุ ท ยานแห่ งชาติ ห มู่ เกาะสุ ริ นทร์ จึงได้ จัด ท า “คู่ มือ จั ด กิ จกรรม ห้องเรียนธรรมชาติ ตอนที่ 1” ขึ้นเพื่อเป็นการรวบรวมเนื้ อหา และกิจกรรมที่รังสรรค์ขึ้นตลอดระยะเวลา ของโครงการสร้างเครือข่ายฯ ระยะที่ 1 และ 2 โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสาหรับบุคคลทั่วไปที่สนใจ จัด กิ จกรรมให้ชุมชนมอแกน เกี่ย วกับ วิ ธีการส ารวจทรั พยากรรอบตั ว วิ ธี ตั้งรั บเมื่ อทรั พยากรเกิด การ เปลี่ยนแปลง และกระตุ้นให้เกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร วิธีการอ่านคู่มือกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ ตอนที่ 1

คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

----------------

เรื่อง เกม

ลักษณะ กิจกรรม

เวลาทา กิจกรรม

จุดประสงค์ 1. ................................................................................................................. อุปกรณ์

วิธีการ

1. ............................... 2. ...............................

1. ................................................................................................... 2. ...................................................................................................

รูปตัวอย่าง กิจกรรม

รูปตัวอย่าง กิจกรรม

รูปตัวอย่าง กิจกรรม

ลักษณะกิจกรรม

เวลาทากิจกรรม เพื่อฝึกการสังเกต และ แสดงความคิด

เวลากลางคืน

เพื่อสารวจข้อมูลจริง

เวลาไหนก็ได้

เกมคิดสร้างสรรค์ และ วิเคราะห์ข้อมูล

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

5


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ทรัพยากรชายหาด ฉันอยู่ที่ไหน

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับแหล่งที่อยู่อาศัยในระบบนิเวศชายหาด 2. เพือ่ ให้ชุมชนมอแกนเห็นความสาคัญของความอุดมสมบูรณ์และการรักษาทรัพยากร ชายหาดเพื่อนามาเป็นอาหารยังชีพ 3. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทางภาษาระหว่าง ภาษาไทย และ ภาษามอแกน

6

อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง 4. แผ่นภาพสัตว์ชายหาด 34 รูป 5. เครื่องจับเวลาถอยหลังแบบมี เสียงสัญญาณ

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมแผ่นภาพสัตว์ชายหาด (ไม่จากัดจานวน) และ ภาพหาด 3 ประเภท คือ หาดทราย หาดโคลน และหาดหิน นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการนั่งของผู้เรียน 3. ผู้จัดกิจกรรมอธิบายวิธีการเล่นเกม (ให้ใช้ภาษามอแกนในการ สื่อสาร คาว่า หาดทราย “....” หาดโคลน “...” และหาดหิน “...”) 4. เมื่อผูเ้ รียนเข้าใจวิธกี ารเล่น ให้เริ่มจากตัวแทนแต่ละกลุ่มตอบ ปัญหาจากภาพสัตว์ชายหาดที่แสดงว่า มีชื่อว่าอะไรในภาษามอ แกน และแต่ละชนิดสามารถพบได้ที่ใด เช่น หาดทราย หาดโคลน และหาดหิน ภายในเวลา 3 วินาที โดยผลัดเวียนไปทีละกลุ่ม 5. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวติ กับแหล่งที่ อยู่อาศัย การปรับตัวที่แตกต่างกันของสิ่งมีชวี ิตเพื่อความอยู่รอด และร่วมกันคิดกับผู้เรียนว่าเราจะรักษาระบบนิเวศชายหาดกันได้ อย่างไร

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

การสารวจสถานภาพปะการังเบื้องต้น ปะการังเป็น หรือ ปะการังตาย

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาชนิดของกลุ่มปะการัง และวิธีสังเกตปะการังที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต 2. ให้รู้ถึงสาเหตุที่ส่งผลต่อความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง และแนวทางการอนุรักษ์และ ดูแลรักษาแนวปะการัง อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง 4. แผ่นภาพปะการังหลากชนิด ทั้งที่เป็นปะการังเป็น และ ปะการังตาย

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมแผ่นภาพปะการัง (ไม่จากัดจานวน) ทั้งหมด 11 กลุ่ม ดังนี้ ปะการังแข็ง ปะการังก้อน ปะการังกิ่งหน้า ปะการัง กิ่งก้านสั้น ปะการังกิ่งก้านแผ่กว้าง ปะการังเคลือบ ปะการังเห็ด ปะการังอ่อน กัลปังหา สาหร่าย อื่นๆ เช่น พรมทะเล ดอกไม้ทะเล ฟองน้า นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการนั่งของผู้เรียน 3. ผู้จัดกิจกรรมสอนเรื่อง ปะการัง ขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียน เริ่มจาก ตั้งค าถามว่ า ปะการั งเป็ นสัตว์ หรื อ พื ช ให้ผู้ เรี ยนช่ วยกั นคิ ด จากนั้นจึงให้ผู้เรียนดูแผ่นภาพปะการังในกลุ่มต่างๆ แล้วช่วยกันคิด ว่าภาพปะการังที่เห็นมีลักษณะรูปร่าง จุดเด่ น และแตกต่ างกั บ ภาพอื่นอย่างไร จากนั้นให้ผู้เรียนช่วยกันคิดว่า เราจะเจอสิ่งมีชีวิต อะไรได้บ้างบริเวณปะการัง 4. ผู้ จั ด กิ จ กรรมสรุ ป บทเรี ย น เรื่ อ ง กลุ่ ม ของปะการั ง และ ความสัมพันธ์ระหว่างปะการังกับสิ่งมีชีวิตอื่นที่อาศัยเกื้อกูลกัน 5. ผู้จัดกิจกรรมอธิบายวิธีการเล่นเกม “ปะการังเป็น หรือ ปะการังตาย” 6. เมื่อผู้ เรี ย นเข้ าใจวิ ธี การเล่น ให้เริ่ มจากตั ว แทนแต่ ละกลุ่มตอบ ปัญหาจากภาพปะการังที่แสดงว่า เป็น หรือ ตาย ภายในเวลา 3 วินาที โดยผลัดเวียนไปทีละกลุ่ม 7. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนถึงวิธีการสังเกตปะการังเป็น หรือ ตาย และร่ วมกั นคิดกับผู้ เรียนว่าสาเหตุอะไรบ้ างที่ทาให้ปะการั งตาย รวมถึงเราได้ประโยชน์อะไรจากปะการังบ้าง

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

7


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

เรื่อง การกระจายของสิ่งมีชีวิตในหมู่กาะสุรินทร์ เกม เจอได้ที่ไหน จุดประสงค์ 1. เพื่อถอดความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านเรื่องการกระจายของสิ่งมีชีวิต 2. เพือ่ ให้เข้าใจถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางทะเล 3. เพือ่ ให้สามารถประมวลความคิดและแสดงออกในสิ่งที่ตนเองรู้ออกมาเพื่อให้คนอื่น ได้ รับรู้และเข้าใจ

8

อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง 4. แผ่นภาพสิ่งมีชีวติ ทัง้ พืชและ สัตว์ชนิดต่างๆ 5. ภาพแผนที่อุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะสุรินทร์ จานวน __ ชุด (เท่ากับจานวนกลุ่มผูเ้ รียน) 6. ดินสอสีไม้ 24 สี

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรี ยมแผ่นภาพสิ่งมีชี วิตทั้งพื ชและสัตว์ (ไม่จากั ด จานวน) นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการนั่งของผู้เรียน 3. ผู้จัดกิจกรรมแจกแผ่นแผนที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ และ ดินสอสีให้แต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม เจอได้ที่ไหน 4. เมื่อผู้เรียนเข้าใจวิธีการเล่นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดว่าภาพ สิ่ง มี ชี วิ ต ที่เ ห็ น แต่ ละภาพสามารถพบได้ ที่ไ หนบ้ า งในหมู่ เ กาะ สุรินทร์ จากนั้นจึงเขียนคาตอบลงในแผ่นแผนที่ ภายในเวลา 30 วินาที โดยใช้สีให้ตรงกับสีที่กาหนดไว้ 5. ผู้จัดกิจกรรมรวมคะแนนของแต่ละกลุ่ม 6. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานกับสมาชิกกลุ่มอื่น

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

การเปลี่ยนแปลงจานวน และความหนาแน่นของสิ่งมีชีวิต มีเท่าไหร่ มีกี่ตัว

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้รู้จักการสังเกตและจดบันทึกข้อมูลเรื่องชนิดและจานวนของสิ่งมีชีวิตที่พบ 2. เพื่อให้รู้จักเปรียบเทียบสถานภาพของทรัพยากรทางทะเลที่ถูกใช้ประโยชน์ต่างกัน อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสียง 4. ภาพสิ่งมีชวี ิตในทะเล แบ่งเป็น 2 เหตุการณ์ 1) มีการทา ประมงทาลายล้าง จัดภาพให้ มีจานวนสิง่ มีชวี ิตน้อยกว่า 2) ไม่มกี ารทาประมง จัด ภาพให้มีจานวนสิง่ มีชีวิต มากกว่า (ไม่จากัดประเภท) 5. กระดาษบันทึกคาตอบที่มี รูปภาพเป็นสื่อกลาง 6. ดินสอสีไม้ 24 สี

1. ผู้จัดกิ จกรรมเตรี ยมภาพสิ่งมีชี วิตในทะเลของทั้ง 2 เหตุ การณ์ นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการนั่งของผู้เรียน 3. ผู้จัดกิจกรรมแจกกระดาษบันทึกคาตอบที่มีรูปภาพเป็นสื่อกลางให้ แต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม มีเท่าไหร่ มีกี่ตัว โดย สมมติสถานที่ขึ้นมาหนึ่งที่ที่อยู่บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ให้สถานที่นี้ มีสองเหตุการณ์เกิดขึ้ นก่อนและหลังมีการทาประมงทาลายล้าง (ให้ใช้ภาษามอแกนในการสื่อสาร 4. เมื่อผู้เรียนเข้าใจวิธีการเล่นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันนับจานวน สิ่งมีชี วิตแต่ ละประเภทว่ามีจานวนเท่าไหร่ ทาเหมือนกันทั้งสอง เหตุการณ์ 5. ให้ผู้เรียนนับจานวนรวมของสิ่งมีชีวิตที่พบของทั้งสองเหตุการณ์ แล้ ว ช่ ว ยกั น คิ ด ถึ ง สาเหตุ ที่ ท าให้ จ านวนสิ่ ง มี ชี วิ ต ของทั้ ง สอง เหตุการณ์ไม่เท่ากัน และเปรียบเทียบว่าทรัพยากรสมบูรณ์ที่สุดใน เหตุการณไหน

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

9


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน จับปลาใส่เรือ

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้เข้าใจวิธีการทาประมงอย่างยั่งยืน และผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรล้างผลาญ

10

อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุ ด ไมโครโฟน เครื่ อ งขยาย เสียง 2. เชือกฟางสี

1. แบ่งผูเ้ รียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก ให้ชอื่ ว่า “นักล่า” มี สมาชิกทัง้ หมด 10 คน แต่ละคนผูกเชือกสีเหลืองไว้ที่หวั เพื่อเป็น สัญลักษณ์ให้เห็นเด่นชัด ทุกคนยืนอยู่ในวงกลมสมมติเป็นเรือ ขนาดพอดีจานวนคน กลุ่มสองให้ชอื่ ว่า “ปลาทะเล” มีสมาชิก มากได้ไม่จากัด โดยผูใ้ หญ่ ให้สมมติเป็นปลาโตเต็มที่ เด็กให้ สมมติเป็นลูกปลา และคัด 10 คน สมมติเป็นปลาท้อง โดยมี เชือกสีเหลืองผูกไว้ที่ข้อมือเพื่อเป็นสัญลักษณ์ให้เห็นเด่นชัด ทุก คนยืนอยู่ในวงกลมขนาดใหญ่สมมติเป็นท้องทะเล 2. รอบแรก สมาชิกในกลุม่ นักล่าออกมาจับปลากลับเรือ โดยจับให้ มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยไม่เลือกขนาด ภายใน 10 วินาที นัก ล่าทุกคนและปลาที่จับมาต้องกลับขึน้ เรือให้ทนั ไม่เช่นนัน้ จะถือว่า ตกเรือ ส่วนปลาจะถือว่าจับไม่ได้ หรือ เรือบรรทุกหนักเกินจนล่ม เมื่อเวลาหมดให้นับคะแนนที่กลุ่มนักล่าทาได้ รอบสอง สมาชิกในกลุ่มนักล่าออกมาจับปลากลับเรือเช่นเดิม แต่ นักล่าแต่ละคนจับได้เฉพาะปลาโตเต็มที่ คนละ 2 ตัว เท่านัน้ (ตามจานวนมือของผูเ้ ล่น) ภายใน 10 วินาที แล้วกลับขึ้นเรือ เมื่อ เวลาหมดให้นับคะแนนที่กลุ่มนักล่าทาได้ 3. ปลาแต่ละขนาดมีคะแนน ดังนี้ ปลาโตเต็มที่ 20 คะแนน ลูกปลา 0 คะแนน และปลาท้อง -10 คะแนน 4. ผู้จัดกิจกรรมเปรียบเทียบคะแนนของทัง้ สองรอบให้ผู้เรียนรับทราบ จากนั้นจึงสรุปบทเรียน

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ขยะทะเลและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต เก็บขยะ

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้รู้สาเหตุ หรือ กิจกรรมที่ทาให้เกิดขยะ 2. เพื่อให้รู้จักเชื่อมโยงอันตรายที่เกิดจากขยะแต่ละประเภทว่าส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต ชนิดใด อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสียง 4. ภาพกิจกรรมต่างๆ บนเรือ สาราญ 5. ถุงอุปกรณ์การเล่น ภายใน บรรจุของ ดังนี้ ขยะ 6 ประเภท แผ่นกระดาษตัวเลข 1-6 แผ่นรูปภาพสิง่ มีชีวิต 10 รูป ขยะ 6 ประเภท 6. ตะกร้า 6 ใบ สาหรับใส่ขยะ แยกประเภท ดังนี้ กระป๋อง และเหล็ก เครื่องมือประมง ขยะอันตราย กระดาษ ขยะ แห้ง ขยะเปียก และขวด พลาสติก

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมภาพเรือสาราญที่แสดงผังห้องแต่ละห้องบน เรื อ แต่ ล ะห้ อ งมี ก ารด าเนิ น กิ จ กรรมที่ แ ตกต่ า งกั น ไป เช่ น ห้องครั ว มีพ่อ ครัว แม่ครัว กาลังทาอาหารอยู่ ห้อ งอาหาร มี นักท่องเที่ยวกาลังกินอาหารอยู่ นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ 2. แบ่ ง ผู้ เ รี ย นออกเป็ น 4 กลุ่ ม ตามลั กษณะการนั่ งของผู้ เรี ย น พร้อมทั้งแจกถุงอุปกรณ์การเล่น กลุ่มละ 1 ถุง 3. ด้านหน้าของทั้ง 4 กลุ่ม วางตะกร้า 6 ใบ สาหรับใส่ขยะแยก ประเภท 4. เมื่อเกมเริ่มให้สมาชิกและกลุ่มช่วยกันคิดว่ามีขยะประเภทใดบ้าง ประกอบกับดูภาพกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้ นบนเรือสาราญบนจอ ใหญ่ด้านหน้าว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง จากนั้นจับคู่กิจกรรมที่คิดว่า เป็นสาเหตุให้เกิดขยะแต่ละประเภท 5. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ลองคิดว่าขยะแต่ละประเภทเมื่อถูกทิ้งลงทะเล จะมี อั น ตรายกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ประเภทไหน โดยจั บ คู่ ข ยะแต่ ล ะ ประเภทกับแผ่นรูปภาพสิ่งมีชีวิต 6. เมื่อเกมจบ ให้ทั้ง 4 กลุ่ม นาขยะที่ได้รับทิ้งลงในตะกร้าที่เตรียม ไว้ให้ถูกประเภท 7. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนถึ งอันตรายของขยะในทะเล วิธีการ และความสาคัญของการคัดแยกขยะ

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

11


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ภัยคุกคามต่อทรัพยากรธรรมชาติ สืบจากรอย

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้รู้จักวิเคราะห์สาเหตุ ผลกระทบ และวิธีป้องกัน หรือ แก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ในอนาคต

12

อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสียง 4. ภาพร่องรอยต่างๆ จับคู่กนั 5. กระดาษบันทึกคาตอบ 6. ดินสอสี

1. ผู้ จั ด กิ จ กรรมเตรี ย มภาพร่ อ งรอยเท้ า สั ต ว์ หรื อ อุ ป กรณ์ เครื่องมือต่างๆ นาเสนอในรูปแบบภาพสไลด์โชว์ ยกตัวอย่างเช่น - รอยเท้าแลน กับ รังไข่เต่าทะเล - รอยเต่าทะเลขึ้นหาด กับ รอยเท้าคนบนหาด - สมอ กับ ปะการัง - ขยะ กับ ถังขยะ - เลื่อยไฟฟ้า กับ ต้นไม้ - เด็ก กับ โรงเรียน 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการนั่งของผู้เรียน 3. ผู้ จัด กิ จกรรมแจกกระดาษค าตอบ และดิ น สอสีใ ห้แต่ ละกลุ่ ม พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม สืบจากรอย 4. เมื่อผู้เรียนเข้าใจวิธีการเล่นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดว่าภาพ ร่องรอยที่เห็นแต่ ละภาพจะมีเหตุ การณ์อะไรเกิดขึ้ น จากนั้ นจึ ง เขียนคาตอบลงในกระดาษบันทึกคาตอบ ภายในเวลา 30 วินาที 5. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานกับสมาชิกกลุ่มอื่น 6. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียน

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ห่วงโซ่อาหาร 1 ใครกินใคร

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้เข้าใจถึงความหมายของคาว่า ห่วงโซ่อาหาร 2. เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ที่เป็นลาดับขั้นในห่วงโซ่อาหาร อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสีย 4. ชุดเกม The food chain 1

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมเกม The food chain 1 นาเสนอในรูปแบบ ภาพสไลด์โชว์ 2. จัดกิจกรรมอธิบายความหมาย “ห่วงโซอาหาร” ว่าคืออะไร 3. จัดกิจกรรมแจกกระดาษบันทึกคาตอบ และดินสอสีให้แต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม ใครกินใคร 4. เมื่อผู้เรียนเข้าใจวิธีการเล่นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดว่าจะ เรียงลาดับรูปภาพอย่างไรในหนึ่งห่วงโซ่อาหาร จากนั้นจึงวาดรูป ลงในกระดาษคาตอบ ภายในเวลา 30 วินาที 5. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานกับสมาชิกกลุ่มอื่น จากนั้นให้ ช่วยกัน คิด ว่า น่า จะสิ่ง มีชี วิต อะไรเพิ่ มเติมได้ อีก ในแต่ ละห่ว งโซ่ อาหาร 6. ผู้ จัด กิ จกรรมสรุ ปบทเรี ย นถึ ง องค์ ประกอบในห่วงโซ่ อ าหารว่ า ประกอบด้วย ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย

(http://www.sheppardsoftwa re.com/content/animals/kidsc orner/games/foodchaingame. htm)

5. กระดาษบันทึกคาตอบ 6. ดินสอสี

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

13


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ห่วงโซ่อาหาร 2 เมื่อฉันหายไป

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ เข้ าใจความส าคัญของกลุ่ม ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายในหนึ่งห่วงโซ่ อาหาร 2. เพื่อให้รู้จักการใช้ทรัพยากรโดยคานึงปิระมิดพลังงาน 3. เพื่อให้เข้าใจปิระมิดพลังงานของห่วงโซ่ อาหาร และความสาคัญของสมดุลของกลุ่ ม ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสีย 4. ชุดเกม The food chain 2

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมเกม The food chain 2 นาเสนอในรูปแบบ ภาพสไลด์โชว์ 2. ผู้ จัด กิ จกรรมแจกกระดาษค าตอบ และดิ น สอสีใ ห้แต่ ละกลุ่ ม พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม เมื่อฉันหายไป 3. เมื่อผู้เรียนเข้าใจวิธีการเล่นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันคิ ดว่าจะ เรียงลาดับรูปภาพอย่างไรในหนึ่งห่วงโซ่อาหาร และวาดรูปลงใน กระดาษคาตอบ ภายในเวลา 30 วินาที จากนั้นให้ช่วยกันคิดว่า เมื่อภาพใดภาพหนึ่งในห่วงโซ่อาหารหายไปจะเกิดอะไรขึ้น 4. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานกับสมาชิกกลุ่มอื่น 5. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียน

(http://www.ecokids.ca/pub/ eco_info/topics/frogs/chain_ reaction/index.cfm)

5. กระดาษบันทึกคาตอบ 6. ดินสอสี

14

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

ชีววิทยาดาวมงกุฎหนาม ไข่

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้รู้จักวงจรชีวิตของดาวมงกุฎหนาม 2. เพื่อให้รู้จักผู้ล่าตามธรรมชาติ และสาเหตุการระบาดดาวมงกุฎหนาม 3. เพื่อให้รู้วิธีควบคุม และป้องกันไม่ให้เกิดการระบาด อุปกรณ์

วิธีการ

1. ชุดนาเสนอพร้อมเครื่องฉาย โปรเจกเตอร์ 2. โน้ตบุ๊ค 3. ไมโครโฟนเครื่องขยายเสีย 4. แผ่นภาพวงจรชีวิตดาวมงกุฎ หนาม ดังนี้ ไข่ แพลงก์ตอน ตัวลงเกาะ ตัวโตเต็มวัย 5. แผ่นภาพหน่วยพิฆาต ดังนี้ ปลาหมูหัวเสีย้ ม ปลาปักเป้า ยักษ์ ปลานโปเลียน หอยสังข์ แตร ปู และกุ้ง 6. การ์ดเพิ่มพลัง ดังนี้ ปุย๋ และ สารเคมี ยาฆ่าหน่วยพิฆาต

1. ผู้จัดกิจกรรมเตียมปัญหา ใช่ หรือ ไม่ เกี่ยวกับดาวมงกุฎหนาม 6 ข้อ 2. แบ่ ง ผู้ เ รี ย นออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่ม แรก ให้ ชื่ อ ว่ า “ดาวมงกุ ฎ หนาม” มีสมาชิกได้ไม่จากัด แต่ละคนต้องเริ่มจากสถานะ “ไข่” โดยต้องทาท่านั่ง ทาตัวกลมมากที่สุดเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของไข่ กลุ่มสองให้ชื่อว่า “หน่วยพิฆาต” มีสมาชิก 6 คน แต่ละคนแสดง เป็นสัตว์ตามแผ่นภาพที่ตัวเองเลือก และเมื่อหน่วยพิฆาตแต่ละ ตัวจับเหยื่อมากินได้แล้วให้เก็บเหยื่อไว้กับตัวเองให้ดี 3. ให้เจ้าหน้าที่อุทยานเป็นผู้เก็บการ์ดเพิ่มพลังทั้งสองการ์ดไว้ 4. เริ่มเกมให้ผู้เล่นกลุ่มแรกตอบปัญหา คนที่ตอบถูกจะได้แปลงร่าง กลายสถานะต่อไป ในกรณีที่มีคนตอบถูกมากกว่า 1 คน ให้จับคู่ เป่า ยิ ง ฉุ บ คนชนะได้ แปลงร่ างกลายสถานะ คนแพ้ไ ด้เ ลือ ก การ์ดเพิ่มพลัง คนที่ตอบผิดจะโดนหน่วยพิฆาตจับกิน 5. ผู้เล่นที่ได้แปลงร่างเป็น แพลงก์ตอน ต้องทาท่าส่ายไปมา โดยเอา มือขวาไว้ด้านหน้าลาตัว มือซ้ายไว้ด้านหลังลาตัว ส่วนผู้เล่นที่ได้ แปลงร่างเป็น ตัวลงเกาะ ต้องทาท่ากระพือปีก สุดท้ายผู้เล่นที่ได้ แปลงร่างเป็น ตัวโตเต็มวัย ต้องทาท่ากางแขนกางขาออกไปให้ไกล ที่สุด 6. เล่นต่ อไปแบบนี้จนมีผู้ เล่นคนใดคนหนึ่งแปลงร่ างเป็นดาวมงกุ ฎ หนามตัวโตเต็มวัย เกมจึงสิ้นสุด 7. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียน โดยให้ผู้เล่นทุกคนคงสถานะของตัวเอง ไว้ จากนั้นให้มายืนจับกลุ่ม 4 กลุ่ม เรียงกันเป็นวงกลม ดังนี้ - เริ่มจากกลุ่มไข่ กลุ่มแพลงก์ตอน กลุ่มตัวลงเกาะ และกลุ่มตัว โตเต็มวัย กลุ่มเหยื่อที่ถูกหน่วยพิฆาตจับกินให้กลับเข้าไปอยู่ ในกลุ่มที่เ ป็ น สถานะของตั ว เองตอนโดนกิ น และให้หน่ ว ย พิฆาตที่กินตัวเองไปยืนอยู่ด้านข้างกลุ่มของตัวเอง - ส่วนกลุ่มเจ้าหน้าที่อุทยานที่เก็บการ์ดเพิ่มพลัง ให้เจ้าหน้าที่

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

15


แต่ละคนเข้าไปยืนอยู่ระหว่างกลุ่มทั้ง 4 กลุ่ม - จากนั้นให้ผู้จัดกิจกรรมอธิบายตามลาดับวงจรชีวิตดาวมงกุฎ หนามว่าเป็นมีการพัฒนาอย่างไร มีใครเป็นผู้ล่าตามธรรมชาติ และอะไรเป็นสาเหตุให้ดาวมงกุฎหนามเพิ่มจานวน

กติกา กติกา คือ แข่งขันตอบปัญหาเพื่อแปลงร่างเป็นดาวมงกุฎหนาม เริ่มจาก ไข่ แพลงก์ตอน ตัวลงเกาะ และ ตัวโตเต็มวัย ผู้เล่นคนไหนแปลงร่างได้สาเร็จเป็นคนแรก คือผู้ชนะ โดยระหว่างทางถ้าผู้เล่นตอบปัญหาผิด จะโดนกินโดยหน่วยพิฆาตตัวใดตัวหนึ่ง ดังนี้ - ปู กุ้ง กิน ไข่ - ปลาหมูหัวเสี้ยม ปลาปักเป้ายักษ์ ปลานโปเลียน หอยสังข์แตร กิน แพลงก์ตอน ตัวลงเกาะ ตัวโตเต็มวัย และถ้าผู้เล่นตอบปัญหาถูกแต่เป่า ยิง ฉุบ แพ้จะได้เลือกการ์ดเพิ่มพลัง โดยได้สิทธิเลือกเพื่อนมาอยู่กับ ตัวเองเพิ่มอีก 1 คน (ผู้เล่น และเพื่อนผู้เล่นยังต้องคงสถานะเดิม ณ ปัจจุบัน ของตัวเองไว้)

16

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


คู่มือ จัด กิจกรรม ห้องเรีย นธรรมชาติ ตอนที่ 1

อันตรายของขยะปนเปื้อน แยกฉันออก

เรื่อง เกม

จุดประสงค์ 1. เพื่อให้รู้ถึงภัยอันตรายของขยะปนเปื้อน โดยเฉพาะขยะมีพิษ 2. เพื่อให้รู้จักวิธีการคัดแยกขยะปนเปื้อน อุปกรณ์

วิธีการ

1. ถังพลาสติกใส 10 ถัง 2. ขยะ 5 ประเภท ดังนี้ โฟม และเม็ดโฟม น้ามันเครือ่ ง ถ่านไฟฉายหมดอายุและ หลอดไฟ ถุงพลาสติกและ เศษอวน เศษอาหารและ กระป๋องอะลูมเิ นียม 3. ถุงมือยาง 4. ทราย และน้า 5. กระดาษบันทึกข้อมูล

1. ผู้จัดกิจกรรมเตรียมอุปกรณ์ท้องทะเลปนเปื้อนจาลอง โดนนาถั ง พลาสติ กใสทั้ งหมด 5 ถั ง มาใส่ขยะ ถั งละประเภท จากนั้ นใส่ ทรายกลบ และน้าตาม ปิดฝา เขียนหมายเลขไว้ด้านหน้าถัง 1-5 2. แบ่งผู้เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ไม่จากัดจานวนสมาชิก แต่ละกลุ่มจับ ฉลากเลือกเบอร์ถัง 1-5 เมื่อเลือกได้แล้วให้นาอุปกรณ์ไปประจาที่ พร้อมถังเปล่าอีกหนึ่งถัง 3. เริ่มแรกให้ทุกกลุ่มสังเกตลักษณะของทรายและน้าว่ ามีสีอะไร มี กลิ่นหรือไม่ และมองเห็นสิ่งอะไรปะปนอยู่ จากนั้นให้จดบันทึกสิ่งที่ สมาชิ กกลุ่มสังเกตเห็นลงในกระดาษบันทึกข้อมูล จากนั้นให้เริ่ ม ช่วยกันหาวิธีนาสิ่งที่ปะปนอยู่ออกมาใส่ลงในถังเปล่าอีกใบ ภายใน เวลา 1 นาที 4. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานกับสมาชิกกลุ่มอื่น โดยให้บอก ว่าสิ่งที่ปะปนอยู่ในท้องทะเลจาลองคืออะไร แยกออกมาได้อย่างไร และยากง่ายแค่ไหน 5. ผู้จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนโดยให้ผู้เรียนทุกคนช่วยกันคิดว่าถ้าเป็น เหตุ การณ์จริงเราจะมีวิธี จัดการอย่ างไร และจะป้องกันอย่างไร ไม่ให้เหตุการณ์นี้เกิดขึ้น

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

17


2.2 กิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ สารวจทรัพยากรทางทะเล อ่าวบอน กิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ สารวจทรัพยากรทางทะเล อ่าวบอน ถูกแบ่งออกเป็น 6 ห้องเรียน ในช่วงเวลา 2 เดือน โดยเจ้าหน้าที่อุทยานฯ ลงพื้นที่ให้ความรู้เชิงวิชาการ 1 ครั้ง ต่อ สัปดาห์ ใช้เวลาอบรมครั้งละ 2 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 19.00-21.00 น. ประกอบกับแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์กับชุมชนมอแกน เรื่อง ทรัพยากรทางทะเล โดยใช้คู่มือจัดกิจกรรม ห้องเรี ยนธรรมชาติ ตอนที่ 1 เป็นแม่แบบการสอน มุ่งเน้น ความส าคั ญของระบบนิเวศแนวปะการั ง ความสั มพันธ์ ข องสิ่ งมี ชีวิ ต ในห่ ว งโซ่อ าหาร ภั ย คุ กคาม ต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติ และอันตรายของขยะปนเปือ้ น สาหรับผลการดาเนินกิจกรรม อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ ระยะที่ 2 (รายละเอียดแสดงดัง ภาคผนวก ก)

18

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


∆ สมาชิกเครือข่ายฯ กาลังช่วยแม่เต่าทะเลที่ขนึ้ มาวางไข่แล้วติดกับซากต้นไม้แห้งให้กลับลงสู่ทะเล

3

เครือข่ายเฝ้าระวัง แหล่งวางไข่เต่าทะเล

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

19


3.1 เครือข่ายเฝ้าระวังแหล่งวางไข่เต่าทะเล พื้นที่ชายฝั่งโดยรอบหมู่เกาะสุรินทร์ประกอบด้วยหาดทรายกว้างมากกว่า 30 หาด และมากกว่าร้อยละ 50 ทั้งฝั่งตะวันออก และตะวันตกเป็นหาดทรายที่พบเห็นเต่าทะเลขึ้นวางไข่ ผลข้อมูลจากการขึ้นวางไข่ของแม่ เต่าทะเล1 แสดงอันดั บหาดทรายที่มีสถิติแม่ เต่าทะเลเลือ กขึ้นวางไข่ (Beach rating) ภายในช่ว ง 4 ปี (2548-2552) สูง คือ อ่าวบอนเล็ ก เกาะมังกร หาดไม้งาม อ่ าวปอ หาดทรายแดง หาดทรายขาว หาด ทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) เกาะสตอร์ค และแหลมแม่ยายใต้ ดังนั้น เพื่อติดตามดูการเปลี่ยนแปลงของหาด ทรายที่เป็นแหล่งวางไข่ ในรอบ 1 ปี เมื่อต้องเผชิญกับอิทธิพลจากลมมรสุมตามธรรมชาติ ซึ่งแตกต่างกัน และอิทธิพลจากภาวะโลกร้อน (Global Warming) ที่เริ่มส่งผลต่อความแปรปรวนของสภาพอากาศ และคลื่น ลมในทะเล อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์จึงถือเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องทาการศึกษาเก็บข้อมูล พร้อมไปกับ การสารวจประชากรเต่าทะเลที่เข้ามาหากิน และวางไข่บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะส่งผลต่อ ประสิทธิภาพของกระบวนการวิเคราะห์และตัดสินใจวางแผนจัดการแหล่งวางไข่เต่าทะเลในอนาคต ภารกิจ หลั กของเครื อ ข่ายร่ ว มเฝ้ าระวั งแหล่ งวางไข่ เต่ าทะเล ซึ่งเป็ นความร่ วมมื อ ระหว่ างชุมชนมอแกนและ เจ้าหน้าที่อุทยาน คือ สารวจเก็บข้อมูลหาดทรายอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานของหาด ทราย ประกอบด้วย ความกว้าง-ยาว ความชัน พิกัดบอกตาแหน่งของหาดทรายและเนินทราย ระดับน้าขึ้นลง (แนวซากเกยหาด) และลักษณะทั่วไปใต้พื้นทราย รวมถึงเก็บข้อมูลการขึ้นวางไข่ของแม่เต่าทะเล สภาพ รังไข่ และการพบเห็นเต่าทะเล รอบหมู่เกาะสุรินทร์เพื่อประเมินหาจานวนประชากรเต่าทะเล นอกจากนั้น เพื่อรองรับปัญหาการขึ้นวางไข่บริเวณจุดที่มีความเสี่ยงต่อการไม่ฟักสูงของแม่เต่าทะเล เครือข่ายร่วมฯ จึง จัดระดมความคิดเพื่อการวางแผนย้ายรังขึ้นด้วย

3.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพหาดทราย เพื่อเก็บข้อมูลลักษณะหาดทราย บนหาดที่มีแนวโน้มการขึ้นวางไข่สูง (จากการจัดอันดับหาดทรายระหว่าง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม) และบนหาดที่ มีแม่เต่าทะเลเลือกขึ้นวางไข่ ระหว่างเดือนสิ งหาคม-กันยายน เครือข่ายร่วมฯ จึงจัดระบบเฝ้าระวัง และติดตามการเปลี่ยนแปลงหาดทรายเพื่อสารวจหาด ดังนี้ อ่าวบอน เล็ก เกาะมังกร หาดไม้งามเล็ก อ่าวปอ หาดทรายแดง หาดทรายขาว หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) เกาะ สตอร์ค และแหลมแม่ยายใต้ คาจากัดความ ตารางข้อมูลเฉพาะหาดทราย จานวนเนินทราย คือ จานวนเนินทรายแห้งที่มีสภาพเหมาะแก่การวางไข่ (น้าทะเลท่วมไม่ถึง ใต้พื้นทราย ไม่มีรากไม้ฝอย หิน หรือน้าขัง) ความกว้าง คือ ความกว้างเฉลี่ยของหาดทรายให้ทาการวัดช่วงน้าขึ้นสูงสุด อันดับความเหมาะสมของหาดทรายต่อการวางไข่ (ที่มา: PMBC)

● สภาพหาดเหมาะต่อการวางไข่มาก มีหาดทรายสาหรับให้วางไข่ยาว น้าท่วมไม่ถึง ไม่มีรากไม้เยอะ ไม่มีก้อนหิน ลักษณะทรายละเอียด ไม่ พบความชื้นมาก

● สภาพหาดมีเนินทรายให้วางไข่ อาจจะมีบางช่วงของหาดที่มีน้าท่วมถึงบ้าง บางช่วงมีหินปะปน และรากไม้ ความชื้นของทรายมีบ้าง และมี การกัดเซาะของชายหาดไม่ถึงขนาดรุนแรง

● สภาพหาดเริ่มมีความเสื่อมโทรม หาดเหลือน้อย ความชันหาดเริ่มมากขึ้น มีรากไม้ และต้นไม้ยื่นออกมา การกัดแซะรุนแรงแต่ไม่ถึงกับมาก ● สภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่อย่างยิ่ง ลักษณะทรายไม่เหมาะ เม็ดใหญ่ หาดเป็นดินมากกว่าทราย อาจจะมีลักษณะเป็นหาดโคลน ป่า ชายเลน มีรากไม้ป่าชายเลน ดินแข็ง ความชันของหาดสูง การกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนแรง 1

20

ผลจากการสารวจระหว่าง เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

1. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายเกาะสตอร์ค ว/ด/ป

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

13/3/52 แรม 3 ค่า 74.39 เดือน 4 (PMBC)

กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

พืช ชายหาด

-

มี 5 เนิน

-

10/4/52 แรม 1 ค่า เดือน 5

61

2.82

มี 5 เนิน

-

27/4/52 ขึ้น 4 ค่า เดือน 6 13/5/52 แรม 5 ค่า เดือน 6

61

2.1

มี 4 เนิน

-

61

3.07

มี 3 เนิน

-

2.25 มี 3 เนิน (29/8/52) จานวนเนินทรายที่ เหมาะสม 1 เนิน คือ เนินที่ 5 ส่วนเนินที่ 2 3และ4 มีรากไม้ฝอย

จิกทะเล ปอทะเล หูกวาง โพธิ์กริ่ง หนามเตย โกงกางหูช้าง หยีทะเล

25/8/52

แรม 5 ค่า เดือน

105.5

10

หนาแน่น

8/9/52

แรม 4 ค่า เดือน

10

45.50 +70

2.75

มี 2 เนิน ไม่มีเนิน ทรายที่เหมาะสมเลย เนินที่ 2-3 มีรากไม้ ฝอย เนินที่ 4 ถูกคลื่น เซาะออกไปหมด เนิน ที่ 5 น้าท่วมถึง

สภาพใต้หาดทราย การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง

ช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคมซึ่ง ใกล้หน้ามรสุม หาดทรายได้รับอิทธิพล จากคลื่นประกอบกับฝนทีต่ กหนักทาให้ บริเวณที่เป็นเนินทรายฝั่งซ้าย และ ด้านหน้าตลอดแนวหาดค่อยๆ หายไป อิทธิพลจากคลื่นยังส่งผลต่อระดับแนว น้าขึ้นสูงสุด โดยเฉพาะช่วงน้าใหญ่ (12-7 ค่า) ที่สูงมากจนส่งผลต่อขนาด พื้นที่ที่เป็นเนินทราย ให้ลดน้อยลง

12

-

12

-

3

-

3

-

ความยาวหาดฝั่งขวาเลยตาแหน่งเนิน ทรายที่ 5 เพิ่มมากขึ้น โดยหาดฝั่งซ้าย จนถึงตู้ไฟถูกคลืน่ เซาะเอาทราย ด้านบนออกไปหมดจนเห็นหินด้านล่าง และตั้งแต่ตู้ไฟไปทางฝั่งขวาจดก้อนหิน ใหญ่ เนินทรายแห้งเดิมถูกกัดเซาะจน เห็นได้เด่นชัด ส่วนที่เหลือ ทรายถูกพัด มาทับถมสูงขึน้ ส่วนบริเวณเนินทรายที่ 5 ทรายถูกพัดมาทับถมจนสูงเกือบถึง ระดับหน้าดิน คลื่นเซาะยาวตลอดทั้งหาดฝั่งซ้าย จนถึงแนวป่า สันทรายสูงขึ้น จนเห็น แนวฟอสซิลปะการัง และด้านหน้าเนิน ที่ 2ทรายบางส่วนถูกเซาะออกไปหมด จนเห็นก้อนฟอสซิลปะการัง หลายก้อน ระเกะระกะ

มีร่องรอยหลุม แปลงทรายเก่า 2 หลุม (เมตรที่ 16.7 และ 19.7) อยู่บนแนวป่า

ไม่มี

มีร่องรอยหลุม แปลงทรายเก่า 2 หลุม (เมตรที1่ 6.7 และ19.7) อยู่บน แนวป่า

ไม่มี

รากไม้/หิน ทุกเนินที่อยู่ใกล้แนว ป่ามีรากไม้ฝอยมาก ด้านล่างเป็นดิน ส่วนเนินทรายที่อยู่ ถัดออกมามีรากไม้ ฝอยปานกลางถึง น้อย

เม็ดทราย (สี ขนาด) ทรายขาว ละเอียด

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

ค่อนข้างชื้น

29

ทิศทาง คลื่น -

-

ใต้เนินทรายที่ 2-3 มีรากไม้ฝอย หนาแน่นมาก โดยเฉพาะเนินที่ 3 รากไม้หนาแน่นมาก เนื่องจากด้านหลังมี ต้นไม้ขึ้นและติดกับ แนวป่า ส่วนหาดฝั่ง ขวาไม่มีรากไม้

ขาว เม็ดเล็ก

ใต้เนินที่ 2-4มีราก ไม้ฝอยหนาแน่น ส่วนหาดฝั่งขวามีหนิ อยู่ด้านล่าง

ใต้เนินที่ 3 ทรายเป็นสี น้าตาลแดง ละเอียด อัด กันแน่น

ชื้น (เนื่องจากฝน ตกติดต่อกัน หลายวัน ตั้งแต่ 23-

-

-

-

140°N

24/8/52)

ชื้น

จากพิกัด

E 0380170 N 1047280

21


ตารางที่ 1 ขนาดเนินทรายแห้งของหาดทรายเกาะสตอร์ค

ความกว้าง x ความยาว ของเนินทรายแห้ง (เมตร) จากซ้ายไปขวา

วันที่สารวจ 10 เม.ย. 2552 แรม 1 ค่า เดือน 5 27 เม.ย. 2552 ขึ้น 4 ค่า เดือน 6 13 พ.ค. 2552 แรม 5 ค่า เดือน 6 29 ส.ค. 2552 ขึ้น 9 ค่า เดือน 10 8 ก.ย. 2552 แรม 4 ค่า เดือน 10

เนินที่ 1

เนินที่ 2

เนินที่ 3

เนินที่ 4

เนินที่ 5

2.20 x 3.50

2.30 x 5.90

3.80 x 14.00

4.40 x 16.5

1.40 x 3.10

-

1.90 x 5.10

2.20 x 9.71

2.50 x 8.47

1.80 x 2.90

-

2.50 x 5.00

2.70 x 5.00

4.00 x 9.00

-

-

3.00 x 5.00

3.10 x 4.40

0.50 x 8.00

2.40 x 3.10

-

2.70 x 5.60

2.80 x4.60

-

-

3 2 สิงหาคม

1

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21

4 3 2

กันยายน

1 0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21

รูปที่ 1 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายเกาะสตอร์ค เมือ่ ทาการวัดที่พิกัด E 0376996 N 1041974 ณ 100 °N

22

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


รูปที่ 2 ภาพจาลองตาแหน่งเนินทรายแห้งและแปลงทรายของแม่เต่าทะเล (หาดทรายเกาะสตอร์ค)

หลุมแปลงทราย และเมตรที่

เนินทรายแห้ง

ก้อนหินใหญ่

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

23


24 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

2. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) ว/ด/ป

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

สภาพใต้หาดทราย

พืช ชายหาด

การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง มีน้าจืดไหล จากเขาลง มาทางหาด ฝั่งขวาสุด มีน้าจืดสี น้าตาลแดง จากเขา ด้านหลัง ไหลลงมา กลางหาด

8/4/52

60 ขึ้น 14 ค่า (PMBC) เดือน 5

-

มี 1 เนิน

-

หาดทรายยาว แนวป่าเป็นก้อนหินใหญ่

ไม่มี

19/8/52

แรม 13 ค่า เดือน 9

37

-

มี 1 เนิน (เคยพบรัง ไข่เต่าบริเวณเนินนี้เมื่อ ปีก่อนๆ)

-

น้าขึ้นสูงท่วมถึงแนวป่า คลื่นเซาะเอา ทรายด้านบนหายไปจนเห็นหินด้านล่าง

ไม่มี

25/8/52

ขึ้น 5 ค่า เดือน

-

-

ไม่มี

-

น้าขึ้นท่วมหมด (เข้าหาดไม่ได้)

ใม่มี

-

-

ไม่มี (เวลาน้าใหญ่น้าจะท่วม เกือบถึงแนวป่า)

-

ช่วงน้าตาย น้าขึ้นสูงสุดท่วมไม่ถึงแนว ป่า

-

รากไม้/หิน

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

ทิศทาง คลื่น

ไม่มีรากไม้

สีใส เม็ด ขนาดเท่า น้าตาลกรวด

แห้ง

-

-

ไม่มีรากไม้ แต่ ด้านล่างเป็นหิน

สีใส เม็ด ขนาดเท่า น้าตาลกรวด

ชื้น

-

-

-

-

-

-

-

สีใส เม็ด ขนาดเท่า น้าตาลกรวด

ทราย ด้านล่าง บริเวณรังไข่ ชื้นเล็กน้อย

-

-

10 11/9/52

แรม 7 ค่า เดือน

10

มี 2 หลุม (พบรังไข่ 1 รัง)

บริเวณที่ เป็นน้าจืดสี แดงไหลลง มาจากเขา ถูกทราย พัดมากลบ หมดแล้ว เกือบมอง ไม่เห็น ร่องรอย

ไม่มีรากไม้


รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

25

รูปที่ 3 ภาพจาลองตาแหน่งเนินทรายแห้งและแปลงทรายของแม่เต่าทะเล (หาดทรายหาดทรายขาวเล็ก หรือ อ่าวทึง)

เส้นทางไหลของน้าจืด

แอ่งน้าจืด

หลุมแปลงทราย และเมตรที่

เนินทรายแห้ง

ก้อนหินใหญ่


26 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

3. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายขาว ว/ด/ป 19/8/52

ค่า เดือน แรม

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

-

-

มี 2 เนิน ด้านบนมีตน้ รักปกคลุม (แต่ก่อน เคยพบรังไข่ตลอดแนว เนินทรายทั้งสอง)

-

-

-

-

-

-

-

-

291

-

13 ค่า เดือน 9 25/8/52

4/9/53

ขึ้น 5 ค่า เดือน

10 ขึ้น 15 ค่า เดือน

10 12/9/52

แรม 8 ค่า เดือน

10

พืช ชายหาด

มี 2 เนิน

สภาพใต้หาดทราย การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าขึ้นสูงมาก แต่ท่วมไม่ถึงเนินทรายใต้ ต้นรัก หาดฝั่งซ้ายถูกคลื่นเซาะ ประกอบกับเป็นทางไหลของน้าจืดจาก ในป่า จึงเกิดเป็นสันทราย และแอ่งน้า ขึ้นมา น้าขึ้นสูงมาก จนท่วมหมดทั้งหาด (เข้าหาดไม่ได้)

ไม่มี

มีทางน้าจืด ไหลจากป่า ลงมาทาง หาดฝั่งซ้าย

-

-

มีทางน้าจืด ไหลจากป่า ลงมาทาง หาดฝั่งซ้าย

-

-

มีทางน้าจืด ไหลจากป่า ลงมาทาง หาดฝั่งซ้าย

ไม่มี

มีทางน้าจืด ไหลทั้งฝั่ง ซ้ายและขวา ของหาด

น้าขึ้นสูงมาก จนท่วมถึงเนินทรายใต้ ต้นรัก หาดฝั่งซ้ายถูกคลื่นเซาะจนน้า ทะเลเข้าไปถึงแนวป่าด้านใน หาดทราย สั้นลง (เข้าหาดไม่ได้) จิกทะเล แนวน้าขึ้นสูงสุดถึงแนวพุม่ ไม้ ฝั่งซ้าย ปอทะเล และขวามีร่องน้า (ร่องน้าซ้าย กว้าง พลับพลึงทะเล 8.5 ม. ร่องน้าขวา กว้าง 16.5 ม.) รักทะเล เข็มป่า ไทร หนามเตย

-

น้าจืด/ น้าขัง

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ทิศทาง คลื่น

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

สีขาวอม น้าตาล ขนาด เท่าน้าตาล ทราย

-

-

-

รากไม้/หิน

สีขาว เม็ด ใหญ่


4 3 2

กันยายน

1

0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

รูปที่ 4 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายขาว เมื่อทาการวัดที่พิกัด E 0376409 N 1044945 ณ 325 °N

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

27


28 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

4. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายแดง ว/ด/ป

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

สภาพใต้หาดทราย

พืช ชายหาด

การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง มีน้าจืดจาก ป่าด้านใน ไหลลงมา บริเวณ กลางหาด มีน้าจืดจาก ป่าด้านใน ไหลลงมา บริเวณ กลางหาด มีน้าจืดจาก ป่าด้านใน ไหลลงมา บริเวณ กลางหาด มีร่องน้า กลางหาดที่ เมตรที่ 37.8 จาก ฝั่งขวา (ที่ พิกัด

8/4/52

ขึ้น 14 179.75 ค่า (PMBC) เดือน 5

-

มี 2 เนิน อยู่ลึกเข้าไป ในแนวรักทะเล

-

-

-

19/8/52

แรม 13 ค่า เดือน

-

-

มี 2 เนิน อยู่ลึกเข้าไป ในแนวรักทะเล

-

น้าขึ้นสูงจนถึงแนวป่า และแนวรักทะเล คลื่นเซาะเนินทรายที่ 3 หายไป หาด ชันขึ้น ทรายถูกพัดมาถมหาดสูงขึ้นจน เกือบถึงสันทรายบริเวณแนวป่า

-

-

-

มี 2 เนิน อยู่ลึกเข้าไป ในแนวรักทะเล

-

-

141.5

-

มี 1 เนิน

น้าขึ้นสูงจนถึงแนวป่า และเลยเข้าไปใน แนวรักทะเล คลื่นเซาะเนินทรายที่ 3 หายไป หาดชันขึ้น ทรายถูกพัดมาถม หาดสูงขึ้นจนเกือบถึงสันทรายบริเวณ แนวป่า เนินทรายยาวอยู่หาดฝั่งซ้าย มีต้นรัก ปกคลุม น้าขึ้นไม่ถึง มีร่องน้าใหญ่ไหล มาจากป่าลงทะเล ปกติช่วงน้าใหญ่น้า ขึ้นสูงถึงแนวป่า และรักทะเล ช่วงกลาง หาดจึงขึ้นเป็นสันทรายสูง แต่เมื่อเทียบ กับสองเดือนที่แล้วทรายถูกพัดมาถม หาดมากขึ้นสันทรายจึงเตี้ยลง ส่วนเนิน ทรายสุดท้ายน้าเซาะหายไปหมดแล้ว

9 4/9/52

ขึ้น 15 ค่า เดือน

10 12/9/52

ขึ้น 8 ค่า เดือน

10

โพธิ์เทศ จิกทะเล รักทะเล หูกวาง

-

E0375396 N104484 2)

รากไม้/หิน

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

ทิศทาง คลื่น

มีรากฝอยของรัก ทะเล ส่วนเนิน สุดท้ายมีรากของจิก ทะเล

ทรายสี น้าตาลแดง เม็ดหยาบ

-

-

-

-

ทรายสี น้าตาลแดง เม็ดหยาบ

-

-

-

-

ทรายสี น้าตาลแดง เม็ดหยาบ

-

-

-

มีรากฝอยของรัก ทะเล ส่วนเนิน สุดท้ายมีรากของจิก ทะเล

น้าตาลแดง อ่อน ขนาด ตั้งแต่น้าตาล ทรายจนถึง ใหญ่กว่า น้าตาลกรวด

-

-

แห้ง


4 3 2 1 0

กันยายน(ขวา) 0

3

6

9

12

15

18

21

24

27

30

33

4

2

กันยายน(กลาง)

0 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40 42 4 3 2 1 0

กันยายน(ซ้าย) 0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

20

22

24

26

28

รูปที่ 5 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายแดง เมือ่ ทาการวัดที่พิกดั E 0375398 N 1044808 (ขวา) E 0375435 N 1044810 (กลาง) และ E 0375483 N 1044846(ซ้าย) ณ 340 °N

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

29


30 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

5. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายไม้งามเล็ก ว/ด/ป 21/8/52

ค่า เดือน ขึ้น 1 ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ จานวนเนินทราย

พืช ชายหาด

การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง

-

น้าขึ้นถึงแนวป่าของหาดฝั่งขวา ส่วน หาดฝั่งซ้ายมีแนวหิน และต้นไม้กาบัง จึงเหลือพื้นที่เนินทรายไว้ แต่เนื่องจาก เนินทรายอยู่ลึกเข้าไปในแนวป่า จึงทา บริเวณที่อยู่ติดกับแนวป่ามีดินปนอยู่ มาก

มี 8 หลุม

ไม่มี

รากไม้ใหญ่อยู่รอบ รัง และใต้พนื้ ทราย

มี 1 เนิน

-

-

มี 8 หลุม

ไม่มี

มี 1 เนิน

ไทร ปอทะเล โกงกางหูช้าง จิกทะเล

หาดทรายแห้ง ทรายเม็ดขาวหยาบมี กรวดปน น้าขึน้ ไม่ถึงแนวป่า แต่ เนื่องจากเนินทรายอยู่ลึกเข้าไปในแนว ป่า จึงทาให้ทรายมีดินปน

มี 8 หลุม

ไม่มี

ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

27.3

11.5

มี 1 เนิน

-

-

35.1

-

10 1/9/52

ขึ้น 12 ค่า เดือน

สภาพใต้หาดทราย เม็ดทราย (สี ขนาด)

ทิศทาง คลื่น

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

ทรายหยาบ ปนดินสี น้าตาลเข้ม

ชื้นเล็กน้อย

-

-

รากไม้ใหญ่อยู่รอบ รัง และใต้พนื้ ทราย

ทรายหยาบ ปนดินสี น้าตาลเข้ม

ชื้นเล็กน้อย

27

-

รากไม้ใหญ่อยู่รอบ รัง และใต้พนื้ ทราย

ทรายหยาบ ปนดินสี น้าตาลเข้ม

แห้ง

28.5

-

รากไม้/หิน

10 13/9/52

แรม 9 ค่า เดือน

10


3 2 สิงหาคม

1 0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18

3 2 กันยายน

1 0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18

รูปที่ 6 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายไม้งามเล็ก เมือ่ ทาการวัดที่พิกดั E 0374870 N 1042881 ณ 310 °N

ก้อนหินใหญ่ เนินทรายแห้ง หลุมแปลงทราย และเมตรที่

รูปที่ 7 ภาพจาลองตาแหน่งเนินทรายแห้งและแปลงทรายของแม่เต่าทะเล (หาดทรายหาดไม้งามเล็ก)

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

31


32 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

6. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายอ่าวปอ ว/ด/ป

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

พืช ชายหาด

2/4/52

ขึ้น 8 ค่า เดือน 5

-

-

มี 2 เนิน

-

14/5/52

แรม 6 ค่า เดือน 6

-

-

มี 3 เนิน

-

25/8/52

ขึ้น 5 ค่า เดือน

-

-

10

-

-

สภาพใต้หาดทราย การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือน มี 4 หลุม พฤษภาคมซึง่ ใกล้หน้ามรสุม หาดทราย บางช่วงได้รับอิทธิพลจากคลื่นประกอบ กับฝนที่ตกหนักทาให้ระดับแนวน้าขึ้น สูงสุด โดยเฉพาะช่วงน้าใหญ่ (12-7 ค่า) สูงมากจนน้าทะเลท่วมถึงแนวป่า ตาแหน่งเนินทรายที่ 1 อยู่ด้านหน้าหาด ทั่วเนินทรายมีต้นผักบุ้งทะเลปกคลุม หนาแน่น เนินทรายที่ 2 อยู่ลึกสูงเข้าไปในแนวป่า มีต้นไม้ปกคลุมหนาแน่น จึงมีเศษใบไม้ ปกคลุมอยู่ด้านบน และแสงแดดส่องถึง ลาบาก เนินทรายที่ 3 อยู่ด้านหน้าหาดทราย ไม่มีพืชปกคลุม น้าขึ้นสูงมากถึงแนวป่า หาดชันมากขึ้น (เข้าหาดไม่ได้)

น้าจืด/ น้าขัง

รากไม้/หิน

ไม่มี

ไม่มี

เม็ดทราย (สี ขนาด) เม็ดทราย หยาบ

ความชื้น แห้ง

ไม่มี

มี

-

-

-

อุณหภูมิ ( °c )

ทิศทาง คลื่น

-

-

-

-

-

-


ตารางที่ 2 ขนาดเนินทรายแห้งของหาดทรายอ่าวปอ

วันที่สารวจ

ความกว้าง x ความยาว ของเนินทรายแห้ง (เมตร) จากซ้ายไปขวา เนินที่ 1

เนินที่ 2

เนินที่ 3

2 เม.ย. 2552 ขึ้น 8 ค่า เดือน 5

4.23 x 23.40

6.60 x 21.00

-

14 พ.ค. 2552 แรม 6 ค่า เดือน 6

4.80 x 23.40

7.00 x 21.00

4.20 x 5.80

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

33


34 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

7. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายเกาะมังกร ว/ด/ป 4/3/52

25/8/52

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ กว้าง (ม.)

จานวนเนินทราย

พืช ชายหาด

-

-

-

-

-+ 111

-

ยาว (ม.)

แรม 4 74.94+ ค่า 109.06 เดือน 4 (PMBC) ขึ้น 5 ค่า เดือน

การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง

-

หาดทรายยาวมีแนวหินใหญ่กั่นระหว่าง หาดฝั่งซ้ายและขวา แนวป่าเป็นก้อน หินใหญ่

-

-

ไม่มี

-

ทรายด้านบนของทั้งหาดฝั่งซ้ายและ ขวาโดนเซาะออกไปจนถึงแนวป่า จน เห็นก้อนหินด้านล่าง และสันทราย บริเวณแนวป่าชัดเจน น้าขึน้ ถึงแนวป่า

-

มี 1 เนิน อยู่ริมขวาสุดของหาด ฝั่งขวา ทรายแห้ง น้า ขึ้นไม่ถงึ

พลับพลึงทะเล หนามเตย จิกทะเล หูกวาง

ทรายเริ่มกลับมาสะสม โดยเริ่มจากริม ขวาสุดของหาดฝั่งขวา นอกนัน้ ทราย ด้านบนของทั้งหาดโดนเซาะออกไปถึง แนวป่า จนเห็นก้อนหินด้านล่าง และ สันทรายบริเวณแนวป่าชัดเจน น้าขึ้น ถึงแนวป่า

-

10 13/9/52

แรม 9 ค่า เดือน

10

สภาพใต้หาดทราย

ทิศทาง คลื่น

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ความชื้น

อุณหภูมิ ( °c )

มีหินกระจายอยู่ ทั่วไป

ขาว ละเอียด

-

-

-

ไม่มี

มีหินกระจายอยู่ ทั่วไป

ขาว ละเอียด

-

-

-

ไม่มี

มีหินกระจายอยู่ ทั่วไป

ขาว ละเอียด

ชื้นเล็กน้อย

-

-

รากไม้/หิน


ตารางที่ 3 ขนาดเนินทรายแห้งของหาดทรายเกาะมังกร

ความกว้าง x ความยาว ของเนินทรายแห้ง (เมตร) จากซ้ายไปขวา

วันที่สารวจ 13 ก.ย. 2552 แรม 9 ค่า เดือน 10

เนินที่ 1

เนินที่ 2

เนินที่ 3

5.30 x 6.00 (อยู่ริมขวาของหาด)

-

-

2 1

กันยายน

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

รูปที่ 8 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายเกาะมังกร เมื่อทาการวัดทีพ่ ิกัด E 0372350 N 1041556 ณ 120 °N

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

35


36 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

8. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายอ่าวบอนเล็ก ว/ด/ป

ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

13/3/52 แรม 3 ค่า 107.01 (PMBC) เดือน 4 28/4/52 ขึ้น 5 ค่า 84 4.56 เดือน 6 12/5/52 แรม 4 ค่า 84 6.02 เดือน 6 27/8/52 ขึ้น 7 75 ค่า เดือน

จานวนเนินทราย มี 1 เนิน

-

มี 1 เนิน

-

มี 1 เนิน

-

มี 1 เนิน

ผักบุ้งทะเล รักทะเล ไทร

10

13/9/52

แรม 9 ค่า เดือน

10

77.5

-

พืช ชายหาด

มี 1 เนิน

สภาพใต้หาดทราย การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

เป็นหาดทรายยาว และเนื่องจากหาด ตั้งหลบอยู่ในเวิ้งอ่าวลึกทาให้ไม่ได้รับ อิทธิพลจากคลื่นและลมมาก ประกอบ กับมีพืชคลุมดินปกคลุมตลอดแนวเนิน ทรายจึงช่วยลดอิทธิพลจากลมที่พัดพา เอาทรายออกไป

มี 7 หลุม

ตลอดความยาวของหาดทรายเลยเข้า ไปใต้แนวจิกทะเล และแนวป่า ทราย ถูกเซาะเอาด้านบนออกไปจนเห็นตอไม้ ของบ้านมอแกน หิน และท่อนไม้ ด้านล่าง ส่วนขวาสุดของหาด ทรายถูก เซาะออกไปโดยคลื่น และน้าจืดที่ไหล ลงมาจากเขาจนหาดชันอย่างเห็นได้ชัด ส่วนด้านซ้าย ทรายข้างก้อนหิน (จุดวัด ซ้ายสุด) ถูกเซาะเอาออกไปจนเห็นฐาน ก้อนหิน สถาพหาดเหมือนเดือนสิงหาคม

มีร่องรอยหลุม ทรายเก่า หลุมที่ 2 3 และ 7 นอกนั้น มีทรายมาทับถม หรือ ต้นไม้ปกคลุม

มีแอ่งน้าจืด และทางน้า ไหลอยู่ ด้านขวา ของหาด

ตลอดเนินทรายมีราก ด้านบนเม็ด ฝอยของรักทะเล และ ทรายสี ผักบุ้งทะเล น้าตาลอ่อน หยาบ มี กรวดเล็กๆ ปะปน ลึกลง ไปเม็ดทรายสี น้าตาลแดง

เปียกชื้น เนื่องจากฝน ตกติดต่อกัน หลายวัน

ไม่มี

มีแอ่งน้าจืด และทางน้า ไหลอยู่ ด้านขวา ของหาด

มีรากฝอยของรักทะเล สีน้าตาลอ่อน และผักบุ้งทะเล เม็ดเล็กเท่า น้าตาลทราย

แห้ง

มี 7 หลุม

น้าจืด/ น้าขัง

รากไม้/หิน

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ความชื้น

มีแอ่งน้าจืด

มี 5 หลุม

มีรากไม้ฝอยบ้าง แต่ ไม่มีหิน

-

แห้งและร่วน

-

อุณหภูมิ ( °c )

ทิศทาง คลื่น

-

-

-

-

-

-

-

-

28.5

-


ตารางที่ 4 ขนาดเนินทรายแห้งของหาดทรายอ่าวบอนเล็ก

ความกว้าง x ความยาว ของเนินทรายแห้ง (เมตร) จากซ้ายไปขวา

วันที่สารวจ

เนินที่ 1

เนินที่ 2

เนินที่ 3

28 เม.ย. 52 (ขึ้น 5 ค่า เดือน 6)

4.56 x 59.30

-

-

12 พ.ค. 52 (แรม 4 ค่า เดือน 6)

6.02 X 83.50

-

-

27 ส.ค. 2552 แรม 7 ค่า เดือน 10

- X 75.00

-

-

2

1

สิงหาคม

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

2 1

กันยายน

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

รูปที่ 9 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายอ่าวบอนเล็ก เมือ่ ทาการวัดที่พิกัด E 0375850 N 1040031 ณ 110 °N

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

37


เส้นทางไหลของน้าจืด

แอ่งน้าจืด

หลุมแปลงทราย และเมตรที่

เนินทรายแห้ง

ก้อนหินใหญ่

รูปที่ 10 ภาพจาลองตาแหน่งเนินทรายแห้งและแปลงทรายของแม่เต่าทะเล (หาดทรายอ่าวบอนเล็ก) 38

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

9. ข้อมูลเฉพาะหาดทรายแหลมแม่ยายใต้ ว/ด/ป 28/8/5 2

ค่า เดือน ขึ้น 8 ค่า เดือน

ขนาดพื้นที่ ยาว (ม.)

กว้าง (ม.)

สภาพใต้หาดทราย จานวนเนินทราย ไม่มี

160.8 -

10 8/9/52

แรม 4 ค่า เดือน

10

ไม่มี

160.8 -

พืชชายหาด

การเปลี่ยนแปลงหาดทราย

หลุมแปลงทราย

น้าจืด/ น้าขัง

รากไม้/หิน

ไม่มี

ไม่มี

รักทะเล โกงกางหูช้าง ไทร จิกทะเล

หาดทรายยาว ทรายด้านบนถูกคลื่น เซาะจดแนวป่า จนเห็นสันทราย น้า ทะเลท่วมถึงแนวป่า

ไม่มี

หยีทะเล หูกวาง

คลื่นเซาะยาวตลอดทั้งหาดจนถึงแนว ป่า

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

อุณหภูมิ ( °c )

ทิศทาง คลื่น

เม็ดทราย (สี ขนาด)

ความชื้น

ขาว ละเอียด มีผงสีดาปน เล็กน้อย

ทรายเปียก ชื้น อัดตัวกัน แน่น

-

-

ขาว ละเอียด มีผงสีดาปน เล็กน้อย

ทรายชื้น

-

-

2


2 1

สิงหาคม

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

2 1

กันยายน

0 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

รูปที่ 11 ภาพตัดขวางลักษณะหาดทรายแหลมแม่ยายใต้ เมื่อทาการวัดทีพ่ ิกดั E 0376996 N 1041974 ณ 100 °N

40

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


3.3 การสารวจการวางไข่ของแม่เต่าทะเล ผลสารวจการเลือกขึ้นวางไข่ของแม่เต่าทะเลบนหาดทราย บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน สามารถแบ่งได้ 4 อันดับ ดังนี้ 1) หาดทรายที่เป็นแหล่งวางไข่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน คือ หาดทรายที่มีข้อมูล ว่ามีการขึ้นวางไข่ และปัจจุบัน (ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2552) ก็ยังพบการขึ้นวางไข่ อยู่ 2) หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในระยะ 4 ปีที่ผ่านมา คือ หาดทรายที่มีข้อมูลว่ามีการขึ้นวางไข่ ตั้งแต่ หลังเหตุการณ์สึนามิ2 ถึงปี พ.ศ. 2551 3) หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในอดีตนานมากกว่า 4 ปี คือ หาด ทรายที่มีข้อมูลว่ามีการขึน้ วางไข่ แต่หลังเหตุการณ์สึนามิไม่พบการขึน้ วางไข่แล้ว 4) หาดทรายที่ไม่พบการ ขึ้นวางไข่ คือ หาดทรายที่ไม่มีข้อมูลว่ามีการขึ้นวางไข่เลย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ตารางที่ 5 อันดับหาดทรายที่มีสถิติแม่เต่าทะเลเลือกขึ้นวางไข่ บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

อันดับหาดทรายที่มีสถิติแม่เต่าทะเลเลือกขึ้นวางไข่ เกาะสตอร์ค

เกาะมังกร

หาดแหลมช่องขาด

อ่าวไทรเอน

หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง)

หาดทรายขาว

อ่าวสุเทพเล็ก

อ่าวแม่ยาย

หาดทรายแดง

แหลมแม่ยายใต้

อ่าวจาก

อ่าวช่องขาด

หาดแหลมแม่ยาย

หาดลูกม่วง

อ่าวบอนใหญ่

อ่าวเต่า

อ่าวสัปปะรด

อ่าวปอ

อ่าวผักกาด

อ่าวสุเทพ

อ่าวบอนเล็ก

เกาะตอรินลา

ช่อมะด๊ะ

3

หาดไม้งาม หาดไม้งาม (หาดไม้งามเล็ก)

อ่าวกระทิง ความหมายของสัญลักษณ์

ตัวอักษรสีแดง

หาดทรายที่เป็นแหล่งวางไข่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในระยะ 4 ปีที่ผ่านมา หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในอดีตนานมากกว่า 4 ปี หาดทรายที่ไม่พบการขึ้นวางไข่ หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ครั้งแรก

2

ผู้ทาโครงการเลือกปีที่เกิดเหตุการณ์สึนามิ (พ.ศ. 2547) เป็นช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนแปลง เนื่องจาก หลังเหตุการณ์นี้ สถานภาพ ของทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์เกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลต่อพฤติกรรม และการดารงชีวิตของสัตว์ทะเล หลายประเภท รวมถึง เต่าทะเลด้วย 3 หาดไม้งาม เป็นหาดทรายที่แม่เต่าทะเลมักขึ้นมาหาที่วางไข่ แต่ไม่ไข่ เป็นประจาเกือบทุกปี เช่น ปี พ.ศ. 2552 เพราะสภาพหาด ทรายไม่เหมาะสม จากการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างขึ้นบริเวณหาด

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

41


หาดทรายที่เป็นแหล่งวางไข่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในระยะ4 ปีที่ผ่านมา หาดทรายที่พบการขึ้นวางไข่ในอดีตนานมากกว่า 4 ปี รูปที่ 12 แผนที่อันดับหาดทรายที่มีสถิติแม่เต่าทะเลเลือกขึ้นวางไข่ บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

42

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


ในระหว่างเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม และเดือนสิงหาคมถึงกันยายน เครือข่ายร่วมฯ สามารถสรุปผลการ สารวจการวางไข่ของแม่เต่าทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ได้ดังนี้ (แสดงในตารางที่ 6) ตารางที่ 6 สรุปผลการสารวจการวางไข่ของแม่เต่าทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ระหว่างเดือนมกราคมถึงกันยายน ปี พ.ศ. 2552

เดือน

สถานที่

มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน

อ่าวบอนเล็ก อ่าวบอนเล็ก เกาะสตอร์ค อ่าวบอนเล็ก เกาะสตอร์ค เกาะสตอร์ค หาดทรายแดง หาดไม้งามเล็ก 4 หาดไม้งาม หาดไม้งามเล็ก หาดไม้งาม หาดไม้งามเล็ก ทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) ทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง)

3.4 การเฝ้าระวังรังไข่เต่าทะเล ในระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ปี 2552 พบรอยขึ้นวางไข่ของแม่เต่าทะเล จานวนทั้งสิ้น 3 รอย แบ่งเป็ นรอยที่ หาดทรายขาวเล็ ก (อ่าวทึ ง) 2 รอย และไม้ งามเล็ ก 1 รอย (ระหว่างเดื อนมกราคมถึ ง พฤษภาคม ปี 2552 พบ ทั้งสิ้น 18 รอย ที่อ่าวบอนเล็ก 6 รอย เกาะสตอร์ค 12 รอย) โดยสังเกตจาก รอย คลานขึ้น-ลง รอยเนินทราย และหลุมแปลงทรายที่แม่เต่าทะเลทาไว้ หลังจากนั้นจึงทาการค้นหาตาแหน่งรัง ไข่ ซึ่งรังไข่ที่ได้รับการเฝ้าระวังโดยเครือข่ายร่วมฯ เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ หรือ บุคคลภายนอก ลักลอบขุด ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงกันยายน ปี 2552 มีทั้งสิ้น 2 รัง (ระหว่างเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม ปี 2552 เฝ้าระวัง ทั้งสิ้น 6 รัง) ทุกรังมีการเก็บบันทึกข้อมูล ตั้งแต่แม่เต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ จนลูกเต่าฟักตัว ออกสู่ทะเล โดย 1 ใน 2 รัง เป็นรังของเต่าตนุ รายละเอียดแต่ละรัง ดังต่อไปนี้

4

พบการขึ้นหาด การขุดหลุมแปลงทรายเพื่อวางไข่ แต่แม่เต่าเลือกไปวางไข่ที่อื่นแทน

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

43


ตารางที่ 7 รังไข่เต่าทะเลที่อยู่ภายใต้การดูแลของเครือข่ายร่วมฯ ระหว่างเดือนมีนาคมถึงกันยายน ปี พ.ศ. 2552

รังที่

สถานทีพ่ บ

วันที่เต่าขึ้นวางไข่

1 2 3 4 5 6 7 8

อ่าวบอนเล็ก เกาะสตอร์ค เกาะสตอร์ค เกาะสตอร์ค เกาะสตอร์ค เกาะสตอร์ค หาดไม้งามเล็ก หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง)

17 ก.พ. 52 26 ก.พ. 52 10 มี.ค. 52 21 มี.ค. 52 2 เม.ย. 52 10-16 เม.ย. 52 20 ส.ค. 52 11 ก.ย. 52

หมายเหตุ ตัวอักษรสีแดง คือ ข้อมูลจากการสารวจ ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ปี พ.ศ. 2552

44

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


รังที่ 7 สถานที่ วางไข่ที่ หาดยาว พิกดั GPS หาดกว้าง รังอยู่ที่เมตรที่ (จากด้านขวาของหาด) ระยะห่างของรังไข่กับแนวป่า ระยะห่างของรังไข่กับแนวน้าขึ้นสูงสุด ความลึกของรัง สภาพของรัง

*ย้ายไข่ไปฝังที่ อุณหภูมิเฉลี่ยใต้พื้นทรายที่ความลึกระดับรัง วันที่ เต่าวางไข่ มอแกนแจ้ง (พบรัง) ย้ายรัง* ล้อมรัง ต้องเอาที่ล้อมรังออก หลุมยุบ พิสจู น์รัง ไข่ฟัก จานวนไข่ ไข่ทั้งหมดประมาณ (ฟอง) ไข่ฟักเป็นตัว มีชีวิต ตาย ไข่ไม่ฟัก ตายระหว่างการพัฒนา ไข่ไม่ได้รับการผสม การเดินลงทะเล -

ไม้งามเล็ก 27.3 ม. E 0374862 N 1042889 27.3 2.7 ม. (ด้านหลัง) 1.0 ม. (ด้านข้าง) 8.8 ม. 0.26 ม. ภายในรังเป็นทรายเม็ดใหญ่ หยาบปนดินสีน้าตาลเข้ม มี รากไม้ใหญ่ ชื้นเล็กน้อย 26.67 - 30.5 C 20 ส.ค. 52 21 ส.ค. 52 21 ส.ค. 52 6 ต.ค. 52 -

แรม 14 ค่า เดือน 9 ขึ้น 1 ค่า เดือน 10 ขึ้น 1 ค่า เดือน 10 (รังไข่อายุ 48 วัน)

-

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

45


รังที่ 8 สถานที่ วางไข่ที่ หาดยาว พิกดั GPS หาดกว้าง รังอยู่ที่เมตรที่ (จากด้านขวาของหาด) ระยะห่างของรังไข่กับแนวป่า ระยะห่างของรังไข่กับแนวน้าขึ้นสูงสุด ความลึกของรัง สภาพของรัง

*ย้ายไข่ไปฝังที่ อุณหภูมิเฉลี่ยใต้พื้นทรายทีค่ วามลึกระดับรัง วันที่ เต่าวางไข่ มอแกนแจ้ง ย้ายรัง* ล้อมรัง ต้องเอาที่ล้อมรังออก หลุมยุบ พิสจู น์รัง ไข่ฟัก จานวนไข่ ไข่ทั้งหมดประมาณ (ฟอง) ไข่ฟักเป็นตัว มีชีวต ตาย ไข่ไม่ฟัก ตายระหว่างการพัฒนา ไข่ไม่ได้รับการผสม การเดินลงทะเล -

46

หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) E03772277 N1045354 0.58 ม. 12.08 ม. 0.68 ม. รอบๆรังไม่มีสิ่งใดปกคลุม ใต้รัง ต า แ ห น่ ง รั ง อ ยู่ ไม่มีรากไม้ หิน หรือ น้าขัง บริเวณที่น้าทะเลขึ้น ถึงช่วงน้าใหญ่ อ่าวบอนเล็ก 28.5 C 11 ก.ย. 52 11 ก.ย. 52 11 ก.ย. 52 11 ก.ย. 52 28 ต.ค. 52 -

(แรม 7 ค่า เดือน 10) เจ้าหน้าที่พบรังไข่ (แรม 7 ค่า เดือน 10) ล้อมต่า (รังไข่อายุ 48 วัน)

123 -

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


∆ สมาชิกเครือข่ายฯ สารวจและเก็บข้อมูลลักษณะหาดทราย

4

สรุปผล สรุปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

47


4.1 ปฏิบัติการเรียนรู้จากห้องเรียนธรรมชาติ 4.1.1 กิจกรรมห้องรียนธรรมชาติ สารวจทรัพยากรทางทะเลอ่าวบอน กิจกรรมนี้อุทยานจั ดขึ้น ด้ว ยจุด ประสงค์ เพื่อสร้ างความรู้ ความเข้าใจในระบบนิเวศแนวปะการัง และ พัฒนา พลังการเรียนรู้ของชุมชนมอแกน เพื่อการสารวจทรัพยากรรอบตัวด้วยตนเองในระยะยาว โดยแบ่ง ออกเป็น 3 ลักษณะกิจกรรม คือ เกม หรือ กิจกรรมเพื่อฝึกการสังเกตุ และแสดงความคิด สารวจข้อมูลจริง และกิจกรรมคิดสร้างสรรค์ และวิเคราะห์ข้อมูล ผลจากการจัดกิจกรรม ทั้งสิ้น 16 ครั้ง ตลอดระยะเวลา 5 เดือน (ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม และเดือนสิงหาคมถึงกันยายน) ทาให้เห็นได้ว่า ชุมชนมอแกนเป็น ชุมชนที่เปิดกว้างสาหรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ คนในชุมชนมีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งต่างที่เกิดขึ้นรอบตัว โดยเฉพาะโลกภายนอกชุมชน โดยที่ยังคงให้ความสาคัญและสนใจภาพวิถีชีวิตดั้งเดิมและเครือญาติของ ตนเอง แม้ว่าจะยังคงรู้สึกเขินอาย ไม่กล้าเข้าร่วมปฏิบัติในกิจกรรม อุทยานจึงต้องอาศัยเวลา เพื่อสร้าง ความคุ้ นเคยและเข้ าใจกับคนในชุมชนถึ งจุ ด ประสงค์ ข องกิ จกรรม ซึ่งผลสะท้ อ นที่ได้ รับ สามารถแบ่ ง ออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ 1) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ผลคือ ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือ และตั้งใจจริงในทุกชั่วโมงเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งชั่วโมงเรียนที่จาลองห้องเรียนวิทยาศาสตร์ มี อุปกรณ์ ต่างๆ ให้ได้ใช้ ผู้เข้าร่วมจะรู้สึกสนุก และอยากลงมือสืบค้นคาตอบด้วยตัวเอง โดยมีกลุ่มเด็ก ซึ่งมีความ กระตือรื้อร้นสูงเป็นผูล้ งมือปฏิบัติ และกลุ่มผู้ใหญ่เป็นผู้ให้คาแนะนา และ 2) ด้านความรู้ ความเข้าใจเนื้อหา การสอน ผลคือ ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กวัยโตจนถึงกลุ่มวัยกลางคนสามารถทาความเข้าใจ ในจุดประสงค์ของการสอน และสามารถนามาประยุกต์เข้ากับสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริง

4.2 เครือข่ายเฝ้าระวังแหล่งวางไข่เต่าทะเล 4.2.1 การเปลี่ยนแปลงสภาพหาดทราย การติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพหาดทราย โดยเก็บข้อมูลพื้นฐานต่างๆ แล้วนามาวิเคราะห์เพื่อประโยชน์ ในการตัดสินใจวางแผนจัดการแหล่งวางไข่เต่าทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ในอนาคต ของเครือข่ายร่วมฯ ระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม และเดือนสิงหาคมถึงกันยายน สามารถสรุปได้ว่า ตลอดระยะเวลา 5 เดือน สภาพหาดทรายรอบหมู่เกาะสุรินทร์เหนือและใต้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดทุกเดือน จากสาเหตุ หลัก คือ อิทธิพลของสภาพภูมิอากาศ และคลื่นลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่สภาพหาดทรายมีลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน เมื่อนาข้อมูลเฉพาะหาด ทราย ของหาดที่มีสถิติการขึ้นวางไข่สูง ตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ผ่านมา มาวิเคราะห์สภาพความเหมาะสม ของหาดต่อการวางไข่ ในรอบ 1 ปี ทาให้เห็นได้ ดังนี้ 1. ฤดูฝน (ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้) (กาหนดให้ข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายนเป็น ตัวแทนข้อมูลเบื้องต้น5)  สภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่อย่างยิ่ง (●) มีดังนี้ แหลมแม่ยายใต้ เกาะตอรินลา 5

กาหนดให้ข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายนเป็นเพียงตัวแทนข้อมูล เบื้องต้น เนื่องจาก ช่วงลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มี ระยะเวลายาวนานมากถึง 6 เดือน คือ ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม แต่ผู้สารวจสามารถเก็บข้อมูลได้ในช่วงเวลาที่จากัด คือ ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายน เท่านั้น ดังนั้น ผลวิเคราะห์ที่ได้จึงเป็นผลการประเมินเพื่อคาดการณ์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตลอด ฤดูมรสุม 48

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


หาดไม้งาม หาดทรายขาวเล็ก(อ่าวทึง)  สภาพหาดเริ่มมีความเสื่อมโทรม หาดเหลือน้อย (●) มีดังนี้ หาดไม้งามเล็ก เกาะสตอร์ค  สภาพหาดที่มีหาดทรายให้วางไข่ (●) มีดังนี้ อ่าวบอนเล็ก หาดทรายขาว หาดทรายแดง เกาะมังกร อ่าวปอ 2. ฤดู แล้ ง (ช่วงลมมรสุ มตะวันออกเฉีย งเหนือ) (กาหนดให้ข้ อมู ลระหว่างเดื อนมีนาคมถึ ง เมษายนเป็นตัวแทนข้อมูลเบื้องต้น6)  สภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่อย่างยิ่ง (●) มีดังนี้ เกาะตอรินลา หาดไม้งาม อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย หาดลูกม่วง  สภาพหาดเริ่มมีความเสื่อมโทรม หาดเหลือน้อย (●) มีดังนี้ หาดไม้งามเล็ก  สภาพหาดที่มเี นินทรายให้วางไข่ (●) มีดังนี้ อ่าวบอนเล็ก หาดทรายขาว หาดทรายขาว เล็ก(อ่าวทึง) เกาะสตอร์ค หาดแหลมช่องขาด  สภาพหาดเหมาะต่อการวางไข่มาก (●) มีดังนี้ หาดทรายแดง อ่าวปอ เกาะมังกร สาเหตุหลักที่ทาให้สภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่ บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ คือ สิ่งปลูกสร้างบนชายฝั่ง ขยะขนาดใหญ่ และเนินทรายแห้งที่เหมาะสมมีจานวนน้อย เนื่องจาก 1. น้าทะเลเซาะถึงแนวป่า จนเกิดเป็นสันทรายสูง หรือ มีน้าทะเลขึ้นสูง ท่วมขังบนหาด 2. ใต้พื้นทรายมีรากไม้ฝอยหนาแน่น ก้อนหิน หรือ น้าขัง 3. สภาพเม็ดทรายบนหาด และใต้พื้นทรายส่วนมากเป็นดิน ชื้นแฉะ

4.2.2 การสารวจการวางไข่ของแม่เต่าทะเล ผลจากการสารวจเก็บข้อมูลของเครือข่ายร่วมฯ สามารถประเมินได้ว่าในรอบ 1 ปี สามารถพบแม่เต่าทะเล ขึ้นวางไข่ บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ตลอดทั้งปี (ตั้งแต่ เดือน 1 ถึง เดือน 11 ตามปฏิทินพระจันทร์) แต่ละ เดือนจะขึ้นวางไข่บนหาดที่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 8

6

กาหนดให้ข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายนเป็นเพียงตัวแทนข้อมูล เบื้องต้น เนื่องจาก ช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือมี ระยะเวลายาวนานมากถึง 6 เดือน คือ ระหว่างกลางเดือนพฤศจิกายนถึงพฤษภาคม แต่ผู้สารวจสามารถเก็บข้อมูลได้ในช่วงเวลาที่ จากัด คือ ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน เท่านั้น ดังนั้น ผลวิเคราะห์ที่ได้จึงเป็นผลการประเมินเพื่อคาดการณ์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตลอดฤดูแล้ง

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

49


ตารางที่ 8 ผลสารวจการวางไข่ ในรอบ 1 ปี บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ข้อมูลตั้งแต่ปี 2549 - 2552)

สถานที่

ปฏิทินเดือน (พระจันทร์) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 พ.ย.-----ธ.ค.----ม.ค.----ก.พ.---มี.ค.---เม.ย.----พ.ค.----มิ.ย.----ก.ค.---ส.ค.----ก.ย.--- ต.ค.---พ.ย. ฤดูแล้ง ฤดูฝน

เกาะสตอร์ค

  

หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) หาดทรายขาว อ่าวทรายแดง

 

  



อ่าวปอ หาดไม้งาม หาดไม้งามเล็ก อ่าวกระทิง





 

   

 

  

แหลมแม่ยายใต้



หาดลูกม่วง

หาดแหลมแม่ยาย



อ่าวบอนเล็ก

  

เกาะมังกร

เกาะตอรินลา หมายเหตุ พบรังไข่เต่าทะเล  พบพฤติกรรมการเตรียมหลุมวางไข่ แต่ไม่พบรังไข่จริง



4.2.3 แผนการจัดการแหล่งวางไข่เต่าทะเล ผลการศึกษาสภาพความเหมาะสมของหาดทรายต่อการวางไข่ และการขึ้นวางไข่ของแม่เต่าทะเล ในรอบ 1 ปี บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ แสดงให้เห็นว่า หาดทรายมากกว่า ร้อยละ 50 ของหาดที่ศึกษาทั้งหมด มีความ เหมาะสมที่ จะรองรั บการวางไข่ ในแต่ ละช่ว งฤดู กาล คื อ ช่ว งฤดู กาลหนึ่งสภาพหาดทรายจะเกิ ด การ เปลี่ยนแปลง เช่น มีน้าทะเลท่วมถึงแนวป่า เกิดการกัดเซาะหาด จนเกิดสันทราย หรือ ทรายด้านบนของ หาดถูกพัดพาไปทับถมยังแหล่งอื่น ทาให้สภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่ แต่จะกลับฟื้นตัวในอีกช่วง ฤดูกาลหนึ่ง ดังจะเห็นได้จาก หาดทรายที่มีสภาพหาดไม่เหมาะสมต่อการวางไข่อย่างยิ่ง (สีเทา) ในฤดูฝน เปลี่ย นเป็นหาดทรายที่มีสภาพหาดมีเนินทรายให้วางไข่ (สีเหลือง) ในฤดูแล้ ง เช่น หาดทรายขาวเล็ ก (อ่าวทึง) อย่างไรก็ตาม การวางไข่ของแม่เต่าทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ไม่ได้เลือกเฉพาะแค่หาดที่ มี ความเหมาะสมสูงสุดเท่านั้น หาดทรายที่ไม่เหมาะสมจากสาเหตุ น้าทะลขึ้นถึง หรือ มีรากไม้ใต้พื้นทราย ไม่ได้หยุดการขึ้นวางไข่ของแม่เต่าทะเลเลย จึงน่าจะประเมินได้ว่าการตัดสินใจขึ้นวางไข่ บริเวณหมู่เกาะ สุรินทร์ของแม่เต่าทะเลมักเลือกจาก เนินทรายแห้ง ก้อนหินใต้พื้นทราย สิ่งรบกวน และความคุ้นเคย เพราะ มักพบพฤติกรรมการเตรียมหลุมวางไข่ แต่ไม่มีการวางจริง บนหาดที่มีลักษณะดังกล่าว และเพื่อป้องกัน

50

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


ผลเสียจากพฤติกรรมนี้ของแม่เต่าทะเล ต้องมีการวางแผนเพื่อหามาตรการรองรับการวางไข่ ณ จุดเสี่ยง ล่วงหน้า เช่น การพยายามคงสภาพหาดทรายให้เหมาะสมต่อการวางไข่ หรือ การพยายามเพิ่มพื้นที่วางไข่ ให้กับแม่เต่าทะเล โดยการเก็บสิ่งกีดขวาง เช่น ขยะทะเล กิ่งไม้แห้งตาย ก่อนถึงช่วงเวลาวางไข่ของแม่เต่า ทะเลจริง หรือ การย้ายรังไปยังจุดปลอดภัย ในกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหาดได้แล้ว และสาหรับหาด ทรายที่มีความเหมาะสมต่อการวางไข่อยู่แล้ว ควรพยายามคงสภาพหาดไว้ ไม่ให้มีสิ่งรบกวน หรือ คุกคาม การขึ้นวางไข่ของแม่เต่า และการฟักตัวของลูกเต่า โดยเฉพาะจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น สิ่งปลูกสร้าง หรือ การท่องเที่ยว หรือ เลือกใช้เป็นสถานที่เพาะฟักสาหรับรังที่ต้องย้าย ท้ายสุด สาหรับหาดทรายที่มี สภาพไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง และเต่าทะเลไม่ขึ้นนานแล้ว ควรติดตามดูการเปลี่ยนแปลง หรือ ฟื้นตัวของหาด อย่ างต่ อเนื่อง ในระยะยาว เพื่อ เก็บบั นทึ กเป็ นฐานข้ อ มูลการเปลี่ ย นแปลงสัณฐานวิ ทยา และนามาใช้ ประโยชน์ต่อไป

รูปที่ 13 สภาพความเหมาะสมของหาดทรายต่อการวางไข่ ในช่วงฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552 (ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ)

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

51


รูปที่ 14 สภาพความเหมาะสมของหาดทรายต่อการวางไข่ ในช่วงฤดูฝน ปี พ.ศ. 2552 (ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้)

52

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


4.3 ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การดาเนินงานของโครงการ ได้มีการกาหนดให้มีการทาแบบติดตามและประเมินผล โครงการ มุ่งเน้นผลสาเร็จของแต่ละกิจกรรมเป็นหลัก โดยทาการประเมินผ่านตัวชี้วัดผลสาเร็จ ดังแสดงใน ตารางที่ 9 ตารางที่ 9 ตัวชี้วัดผลสาเร็จของแต่ละโครงการ ประเด็น

กิจกรรม

1 . ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ร ว ม ถึ ง กิจกรรมทุกกิจกรรม

1.1 1.2

1) ร้ อ ยละของคะแนนความพึ ง มากกว่าร้อยละ 50 พ อ ใ จ จ า ก ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม แ ล ะ ข้อเสนอแนะเปรียบเทียบก่อนและ หลังเสร็จสิ้นกิจกรรม

คะแนนความพึงพอใจจากผู้เข้าร่ วม ต่อสถานที่จัดกิจกรรม เท่ากับ ร้อย ละ 92.90 ต่อวิทยากร เท่ากับ ร้อยละ 78.11 และต่อเวลา เท่ ากับ ร้อยละ 88.76 ของคนทั้ ง หมด (ท าการ สารวจทั้งหมด 169 ชุดคาถาม) และผู้ เ ข้ า ร่ ว มอยากให้ โ ครงการ ดาเนินการต่ออย่างต่อเนื่อง

2 . ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น กิจกรรมของชุมชนมอแกน

1.1 1.2

1) จานวนมอแกนที่เข้าร่วมในแต่ ละกิจกรรม

จานวนที่เพิ่มขึ้น

จานวนผู้เข้าร่วมอยู่ระหว่าง 80-90 คน

2) การสนับสนุนจากชุมชนมอแกน

มี/ไม่มี

ชุมชนมอแกนให้ความร่วมมือ และ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่อุทยานฯ ทุก ครั้งที่จัดกิจกรรมเช่น การติดตั้งและ เก็บอุปกรณ์ น้ามันและไฟฟ้า นอกจากนั้น ยังตั้งใจฟังไม่ส่งเสียง รบกวนขณะอบรม รวมถึงคนที่ไม่ ได้มาเข้าร่วมแต่มีบ้านอยู่ใกล้ บริเวณจัดกิจกรรมก็จะเบา หรือ ปิด เครื่องเสียง

3) การแสดงความคิดเห็น

มี/ไม่มี

มอแกนแต่ละคนมีความกล้าที่จะแสดง ความคิดเห็น และความรูข้ องตนเอง ออกมามากขึ้น โดยมักพูดออกมาเป็น ภาษามอแกน ภายในกลุม่ ของตนเอง และมีตวั แทนกลุ่มแปลอีกที

4) การซักถามปัญหา

มี/ไม่มี

มอแกนส่วนใหญ่ยงั ไม่กล้าซักถามเมื่อ ไม่เข้าใจ ในเนื้อหาที่เรียน

3. ความรู้ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ค่ า การใช้ ประโยชน์ และการ อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล

1.1 1.2

ตัวชี้วัด

เกณฑ์การวัด

1) เนื้อหาความรู้มุ่งเน้น ทรัพยากร ใช่/ไม่ใช่ ที่ชุ ม ชนใช้ ป ระโยชน์ หรื อ ได้ รั บ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

ผลชี้วัดโครงการ

เนื้ อ หาการสอนเป็ น เรื่ อ งใกล้ ตั ว เกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรทางทะเล และ ข ย ะ มุ่ ง เ น้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น พั ฒน า ค ว าม คิ ด จ าก ร ะ ดั บ ถิ่ น อ าศั ย (habitat) สู่ระบบนิเวศเบื้องต้น ซึ่ง เป็นความสัมพัน ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ด้วยกันเอง

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

53


ตารางที่ 9 ตัวชี้วัดผลสาเร็จของแต่ละโครงการ (ต่อ) ประเด็น

4. การจัดการทรัพยากรใน แ น ว ช าย ห าดแ ล ะ แ น ว ปะการัง ณ อ่าวบอน

5. เครื อ ข่า ยร่ วมเฝ้ าระวั ง แหล่งวางไข่เต่าทะเล

6. แผนการเฝ้ า ระวั ง รั ง ไข่เต่า

54

กิจกรรม

1.1

1.2

1.2

ตัวชี้วัด

เกณฑ์การวัด

ผลชี้วัดโครงการ

2) อยู่บนหลักการทางวิทยาศาสตร์ เข้าใจง่าย และไม่ซับซ้อน

ใช่/ไม่ใช่

เนื้อหา และคู่มือจัดกิจกรรมพัฒนาตาม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีเหตุ และผล

3) ผลสารวจจากการฝึกปฏิบัติการ สารวจสถานภาพทรัพยากร

มี/ไม่มี

ไม่ มี (ไม่ มี กิ จกรรมเกี่ย วกั บ การ สารวจทรัพยากร)

4) ความสามารถในการถ่ายทอด มี/ไม่มี ความรู้สู่คนอื่นๆ

มอแกนส่วนใหญ่สามารถถ่ายทอด ผลงานของตนเองสู่ ค นอื่ น ในที่ สาธารณะได้ แต่ ยั ง รู้ สึ ก เขิ น อาย และกลัวสิ่งที่ตนเองคิดจะผิด

1) ข้อมู ลสถานภาพทรัพ ยากรใน แนวชายหาด และแนวปะการังเพื่อ กาหนดแนวทางการจัดการ

มี/ไม่มี

ไม่มี

2) การริเริ่มสร้างกฎระเบียบ และ บทลงโทษในการใช้ ท รั พ ยากร ภายในชุมชน

มี/ไม่มี

ไม่มี

3) การมี ส่ ว นร่ ว มของสมาชิ ก ใน ชุมชนต่อแผนการจัดการ

มี/ไม่มี

ไม่มี

1) ความร่วมมือในการทางาน และ เก็บข้อมูลร่วมกัน

มี/ไม่มี

มี

2) การแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ ในกลุ่มสมาชิกฯ

มี/ไม่มี

มี

1) ความสามารถในการบันทึก และ มี/ไม่มี เก็บข้อมูลด้วยตนเอง

สมาชิ กเครื อข่ ายร่ว มฯ ที่ ผ่า นการ ฝึกอบรมมาแล้วสามารถเก็บบัน ทึก ข้ อ มู ล ได้ ด้ ว ยตนเอง และมี ค วาม รับผิดชอบต่อหน้าที่เฝ้าระวังรังไข่

2) สภาพแหล่งวางไข่เต่า

ไม่ มี ก ารรบกวน การล้ อมรัง ด้วยวิ ธีล้อมต่าสามารถ จากสิ่งต่างๆ ป้ อ งกั น อั น ตราย จากมนุ ษ ย์ แ ละ สัตว์ และไม่สร้างสิ่งกีดขวางเพิ่มบน หาดได้อีกด้วย

3) ผลข้อมูลจากการบันทึก

มี/ไม่มี

มี

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


ตารางที่ 9 ตัวชี้วัดผลสาเร็จของแต่ละโครงการ (ต่อ) ประเด็น

7. ก ารเพ าะฟั ก โดยวิ ธี ธรรมชาติจากหลุมที่แม่เต่า ได้ เ ลือ กและวางไข่ ไว้ แ ละ ปล่ อ ยลู ก เต่ า ทั น ที ที่ อ อก จากรัง

กิจกรรม

1.2

ตัวชี้วัด

เกณฑ์การวัด

ผลชี้วัดโครงการ

4) จานวนรังไข่ที่ถูกทาลายทั้งจาก สาเหตุ ท างธรรมชาติ และการ บริโภคของมอแกน

มี/ไม่มี

รั ง ไข่ ที่ อ ยู่ ใ นจุ ด เสี่ ย ง ได้ รั บ การ ป้องกันภัยจากน้าทะล โดยการย้าย รั ง มายั ง จุ ด ที่ ป ลอดภั ย และได้ รั บ ความร่วมมื อจากสมาชิ กเครื อข่า ย ร่วมฯ เฝ้า ดูแลรักษา รวมถึง ไม่ขุ ด มาบริโภค

5) ปริมาณการรอดของลูกเต่าทะเล

ร้ อ ยละ 80 ของ ไม่มี (ยังไม่ถึงกาหนดฟัก) จานวนไข่ทั้งหมด

1) ดาเนินการตามกระบวนการทาง ธรรมชาติ

ใช่/ไม่ใช่

ใช่ (ทาการย้ายรังไข่ 1 รัง เนื่องจาก อยู่ในจุดเสี่ยงต่อการไม่ฟักตัว)

2) การยอมรับจากเครือข่ายร่วมฯ

ใช่/ไม่ใช่

สมาชิกเครือข่ายร่วมฯ เริ่มทาความ เข้าใจในจุดประสงค์ของการอนุรักษ์ ด้ ว ยวิ ธี ธ รรมชาติ และได้ เ รี ย นรู้ ผลดี-ผลเสีย ของการอนุรักษ์ด้วยวิธี ต่างๆ

4.4 ข้อเสนอแนะ 4.4.1 ปฏิบัติการเรียนรู้จากห้องเรียนธรรมชาติ วิถีชีวิตของชุมชนมอแกนผูกผันเกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติมาตั้งแต่แรกเกิดจนถึงตาย โรงเรียนแห่ง แรกที่สอนให้ ชุมชนรู้ จักการใช้ประโยชน์จากสิ่งรอบตัว คือ ธรรมชาติ ไม่ใช่โรงเรี ยนที่จัด ตั้งขึ้ นอย่ างมี มาตรฐานเพื่อ สอนหลั กวิชาการต่างๆ ส่งผลให้สิ่ งที่ชุมชนเรีย นรู้ มั กถูกสะท้ อนออกมาทางความคิด ใน รูปแบบที่เปิดกว้าง ไม่ตายตัว และไม่ยึดติด แตกต่างจากคนที่ผ่านการเรียนจากโรงเรียน ซึ่งถูกสอนให้นา หลักการมาเชื่อมโยงกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว ดังนั้น หลักสูตรการเรียนการสอนที่หน่วยงานต่างๆ เตรียมขึ้น เพื่อดาเนินการให้ความรู้กับชุมชน ควรคานึงถึงเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. ควรประยุกต์เนื้อหาให้สอดคล้องกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ และเริ่มการสอน ขั้นตอนแรก จากการเห็นภาพจริง เมื่อผู้เรียนคล้อยตาม จึงเสริมด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์เป็นขั้นตอนที่ 2 เพื่อป้องกันความสับสน และเพื่อให้สามารถเชื่อมโยงเรื่องราว และเข้าใจได้ง่ายขึ้น 2. สนับสนุนกิ จกรรมที่ ผู้เรี ย นสามารถแสดงออกทางความคิ ด และความรู้ ข องตนเองต่อ ผู้ อื่ น เพื่อให้เกิดการฝึกฝนความคิด และความกล้าแสดงออกให้มีมากขึ้น 3. สนับสนุนให้มีกิจกรรมให้ความรู้ เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นทางบก หรือ ทางทะเล แก่ ชุ ม ชนมอแกน ในระยะยาว เพื่ อ พั ฒ นาความตระหนั ก ในความส าคั ญ ของการส ารวจ ทรัพยากรรอบตัว ซึ่งจะนาไปสู่กระบวนการสร้างแผนการจัดการทรัพยากรฯ ภายในชุมชนเอง ได้ในอนาคต

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

55


4.4.2 เครือข่ายร่วมเฝ้าระวังแหล่งวางไข่เต่าทะเล ระดับนโยบาย และแผน การอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลไม่สามารถดาเนินการได้เฉพาะพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง หรือ เฉพาะหน่วยงาน หรื อ กลุ่ มคนใดเพีย งกลุ่มเดี ยว เพื่อ ให้ ประสบความสาเร็ จ ต้อ งอาศั ยการดาเนินการจากความร่ วมมื อ ระหว่างกลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ตลอดทุกขั้นตอน ตั้งแต่การกาหนดนโยบาย การวางแผนงาน การลงมือปฏิบัติ การติดตามตรวจสอบและประเมินผล จนถึง หาวิธี แก้ไขจุดบกพร่ องร่ว มกัน และสร้าง เครือข่ายร่วมดูแลขึ้นมา ถึงจะสามารถทาให้งานประสบความสาเร็จได้ ระดับการปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลจากการสารวจที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ตามแนวทางที่อุทยานฯ ได้วางไว้ การเฝ้าระวังแหล่ง วางไข่เต่าทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ ควรมีการดาเนินการต่อไป อย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ในระยะยาว คือ รอบ 1 ปี และรอบ 4 ปี ตามลาดับ และควรเพิ่มเทคโนโลยี หรือ เทคนิคการติดตาม และระบุตัวแม่เต่า ในกระบวนการสารวจ เพื่อติดตามดูการเปลี่ยนแปลงสภาพแหล่งวางไข่ และเพื่อให้ได้ชุดข้อมูลลักษณะ สุขภาพ และพฤติกรรมการวางไข่ ของแม่เต่าทะเล ที่มี ความถูกต้อ ง ไม่คลาดเคลื่ อน ซี่งข้อ มูลเหล่านี้ สามารถนามาใช้ประโยชน์ ดังต่อไปนี้ 1. จัด ทาเป็ นฐานข้ อมูลเพื่อการวางแผนเตรี ยมความเหมาะสมของหาดทราย หรือ การย้ายรั ง ล่วงหน้า 2. วิเคราะห์สาเหตุการเปลี่ยนแปลงสภาพหาดทราย ในแต่ละช่วงฤดูกาล 3. จัดกลุ่มแม่เต่าทะเลที่เลือกวางไข่ บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ เพื่อประเมินหาจานวน และสภานภาพ แม่เต่าทะเล 4. วิเคราะห์หาสาเหตุการไม่ฟักเป็นตัวของลูกเต่า นอกจากนั้น อุทยานฯ ควรจัดให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ เทคนิค และประสบการณ์ระหว่างสมาชิก เครือข่ายร่วมฯ กับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ และแนวทางการอนุรักษ์แหล่งวาง ไข่เต่าทะเลร่วมกัน

56

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


∆ รอยเท้าแม่เต่าทะเล หาดทรายขาวเล็ก (อ่าวทึง) เกาะสุรินทร์เหนือ

5

ภาคผนวก

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

57


58

ภาคผนวก ก ตารางสรุปผลการดาเนินกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

จานวนผู้เข้าร่วม วันที่

เรื่อง

เจ้าหน้าที่ มอแกน อุทยานฯ

บุคคล ทั่วไป

ผลกิจกรรม

อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ลักษณะกิจ กรรมมี จุดประสงค์ เพื่ อ ให้ ผู้เ ข้ าร่ ว ม แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง และ วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งผลจากการจัดกิจกรรมแสดง ให้เห็นว่าความคิดของผู้เข้าร่วมโดยเฉพาะกลุ่ม ผู้ ใ หญ่ มี ลั กษณะที่ เ ปิ ดกว้ า งมาก ไม่ ติ ดอยู่ ใ น กรอบที่ ผู้ จั ด กิ จ กรรมตั้ ง ไว้ เ หมื อ นกลุ่ ม เด็ ก ค า ต อ บ ที่ ม า จ า ก ก ลุ่ ม ผู้ ใ ห ญ่ จ ะ ไ ด้ จ า ก ประสบการณ์ซึ่ งมีความหลากหลาย ไม่ต ายตั ว ดังนั้น การสนับสนุนให้มีกิจกรรมในลักษณะนี้ จะ ท าให้ เ กิ ด การฝึ ก ฝนความคิ ด และความกล้ า แสดงออกของผู้เรียนให้มากขึ้น ก่อนทาการสอนเรื่องห่วงโซอาหารผู้เรียนไม่ได้มี ความรู้เบื้อ งต้น มาก่อ น และผู้จั ดกิจ กรรมไม่ไ ด้ เริ่ ม ต้ น ปู พื้ น ฐ านให้ ผู้ เข้ า ร่ วมก่ อ น ดั ง นั้ น ผู้เข้ าร่ว มจึ งไม่ สามารถเข้าใจถึ งแก่ นของคาว่ า “ห่ ว งโซ่ อ าหาร” และ ภาพรวมทั้ ง หมด แต่ สามารถรู้ได้ว่าเป็นการลาดับขั้นการกินของผู้ล่า และผู้ถู กล่ า ดั ง นั้น ก่ อนการสอนเนื้ อ หาใหม่ ที่ ผู้เ รีย นไม่เ คยรู้ม าก่ อนควรมี การปู พื้น ฐานก่ อ น ทุกครั้ง โดยผ่านทางการฉายหนัง การ์ตูน หรือ สารคดี ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สอน เพื่อให้ผู้เรียน นาเรื่องที่ต่างๆ มาเชื่อมโยงกันได้ง่ายมากขึ้น

20 ส.ค. 52 ภัยคุกคามต่อทรัพยากรธรรมชาติ

4

81

1

 ผู้เข้ าร่ วมเข้ าใจในจุ ดประสงค์ ของการสอน และ อยากเข้าร่วมเล่นเกม โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก  ผู้ เ ข้ า ร่ ว มกระตื อ รื อ ร้ น ตั้ ง ใจ และร่ ว มกั น คิ ด ภายในกลุ่มเพื่อหาคาตอบที่ดีที่สุด โดยผู้เข้าร่วม ที่เป็นผู้ใหญ่จะร่วมกันคิดไตร่ตรองคาตอบอย่างถี่ ถ้ ว น รอบคอบก่ อ นเขี ย นทุ ก ครั้ ง กลุ่ ม เด็ ก จะ สนุกสนานและโต้เ ถียงกันภายในกลุ่ม ก่อนเขีย น คาตอบ และเด็ กเล็ กมักจะตามความคิดของเด็ ก ใหญ่ ส่วนกลุ่มผู้ หญิงวัยรุ่นจะมี ความคิดที่แปลก และแตกต่างจากกลุ่มอื่นๆ

2 ก.ย. 52 ห่วงโซอาหาร ครั้งที่ 1

4

93

1

 ผู้เ ข้ าร่ ว มพยายามท าความเข้ าใจเนื้ อ หาที่ ส อน และวิธีการเล่นเกม  ผู้เข้าร่วมสนุกสนานกับเกมที่เป็นภาพเคลื่อนไหว และสามารถควบคุ ม การเปลี่ ย นแปลงได้ ด้ ว ย ตัวเอง  ผู้ เ ข้ า ร่ ว มส่ ว นใหญ่ โดยเฉพาะกลุ่ ม เด็ ก กลุ่ ม วั ย รุ่ น และกลุ่ ม วั ย กลางคนสามารถเข้ าใจเรื่ อ ง ห่วงโซอาหารในระดับพื้นฐาน  ผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้ใหญ่ แสดงออกถึงความคิดนอก กรอบ ไม่ติ ดอยู่แ ค่เ ฉพาะสิ่ง ที่ผู้ จัดกิจ กรรมมีใ ห้ เลือก


รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

ตารางสรุปผลการดาเนินกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ (ต่อ) จานวนผู้เข้าร่วม วันที่ เรื่อง เจ้าหน้าที่ บุคคล อุทยานฯ

มอแกน

ผลกิจกรรม

อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ

ทั่วไป

7 ก.ย. 52 ห่วงโซอาหาร ครั้งที่ 2

5

80

1

11 ก.ย. 52 วงจรชีวิตดาวมงกุฎหนาม

5

48

1

 ผู้ เ ข้ า ร่ ว มพยายามท าความเข้ าใจเนื้ อ หาที่ เกมที่ เลือกใช้เป็ นสื่อให้ผู้เข้ าร่วมเล่นค่ อนข้างยาก ทาให้ผ้เู ข้าร่วมยังไม่สามารถเข้าใจภาพรวมทั้งหมด สอน และวิธีการเล่นเกม ของห่วงโซอาหาร นอกจากนั้น ความคิดนอกกรอบ ของผู้ เ ข้ า ร่ ว มที่ ยึ ด หลั ก ความจริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ชีวิตประจาวันทาให้ตัวอย่างที่ผู้จัดกิจกรรมนามาใช้ ไม่ เ หมาะสม เพราะจ ากั ดอยู่ ใ นวงที่ แ คบเกิ น ไป ดังนั้น การเตรียมสื่อการเรียนการสอน และตัวอย่าง ที่ใช้แสดงให้ผู้เรี ยนดู ควรคานึงถึ งสิ่งที่เกิ ดขึ้นจริ ง อย่ างละเอี ย ด รอบคอบ และควรท าให้ เ ข้ าใจง่ าย และชัดเจนมากที่สุด เพื่อที่ผู้เรียนจะสามารถนาสิ่งที่ ได้เรียนรู้ไปใช้ทาความเข้าใจธรมมชาติรอบตัวง่าย ขึ้น  ผู้เข้าร่วมซึ่งเน้นกลุ่มเด็กรู้สึกสนุกสนาน และ ลักษณะกิจ กรรม (เกม) ที่ ให้ ผู้เข้ าร่ วมได้ล งมื อท า สามารถทาความเข้าใจถึงวงจรชีวิตดาวมงกุฎ และสื บค้ น คาตอบด้ ว ยตั ว เองสามารถสร้ างความ หน าม ดี ม าก น อ กจ ากนั้ น ยั ง ส าม าร ถ เข้ า ใจในระยะยาวให้ กั บ ตั ว ผู้ เ ล่ น และท าให้ เชื่อมโยงสิ่งที่ได้เล่นมากับธรรมชาติรอบตัวได้ จุดประสงค์ของการสอนบรรลุเป้าหมาย แต่วิธีการ เล่ น ต้ อ งไม่ ซั บ ซ้ อ น อย่ า งไรก็ ต าม กลุ่ ม ผู้ เ ล่ น ยั ง ดีมาก จ ากั ดอยู่ เ ฉพาะกลุ่ ม เด็ กเท่ านั้ น เนื่ อ งจาก กลุ่ ม ผู้ใ หญ่คิดว่ าเกมที่ ต้ อ งลงมือ มื อ ปฏิ บัติมี ไ ว้ สาหรั บ เด็กจึงมักอยู่สังเกตห่างๆ ดังนั้น ควรหาหน้าที่ความ รับผิดชอบสาหรั บกลุ่มผู้ใ หญ่ในเกมนั้น เพื่อให้ทุ ก คนได้เป็นส่วนที่สาคัญของการดาเนินกิจกรรม

2


60 รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2

ตารางสรุปผลการดาเนินกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ (ต่อ) จานวนผู้เข้าร่วม วันที่ เรื่อง เจ้าหน้าที่ บุคคล อุทยานฯ

มอแกน

อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ

ทั่วไป

14 ก.ย. 52 อันตรายของขยะปนเปื้อน

5

94

1

14 ก.ย. 52 สรุปกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ

5

94

1

7

ผลกิจกรรม

 ผู้เข้าร่วมรู้สึกสนใจ และอยากเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ลักษณะกิจกรรม (เกม) ที่ให้ผู้เข้าร่วมได้ลงมื อ  ผู้ เ ข้ าร่ ว มทุ กคนเข้ าใจจุ ดประสงค์ ข องกิ จ กรรม ทา และสืบค้นคาตอบด้วยตัวเอง โดยมีอุปกรณ ต่างๆ ให้ได้ใช้ คล้ายการจาลองห้องเรียนวิทยา และรู้ถึงวิธีคัดแยกและกาจัดขยะมีพิษ ศาสร์ ส ร้ า งความอยากรู้ อยากเห็ น ให้ กั บ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มมาก ท าให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มอยากลงมื อ ท า ด้ ว ยตนเอง ดั ง นั้ น ควรสนั บ สนุ น กิ จ กรรมใน ลักษณะนี้ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตั้งคาถามเพื่อ หาคาตอบ ซึ่ง นาไปสู่ความเข้ าใจอย่างแท้จ ริ ง ของผู้เรียน  ผลส ารวจความพึ งพอใจของมอแกนต่ อกิ จกรรม การสารวจความคิดเห็น หรือ ข้อมูลของชุมชน ห้องเรียนธรรมชาติ สารวจอ่าวบอน โดยเด็กๆ มอ มอแกนต่อ เรื่องต่างๆ ที่ไ ม่ซับซ้อนสามารถท า 7 แกนที่สามารถอ่าน-เขียนได้ สามารถแบ่งหัวข้อได้ ได้ ดีโ ดยเด็ กๆ มอแกน เพราะเด็ กๆ สามารถ เข้าถึงคนภายในชุมชนของตัวเองได้ดี ภาษาที่ ดังนี้ (ทาการสารวจทั้งหมด 169 ชุดคาถาม) 1) พึงพอใจสถานที่จัดกิจกรรม = ร้อยละ 92.90 ของ ใช้คือภาษาเดี ยวกัน และผู้ ถูกถามไม่รู้สึ กเคอะ เขิน นอกจากนั้น สิ่งส าคัญ คือ เด็กๆ ยั งรู้สึ ก คนทั้งหมด 2) พึงพอใจวิทยากร = ร้อยละ 78.11 ของคนทั้งหมด ภูมิใจที่ได้เป็นเจ้าของผลงาน 3) พึงพอใจเวลา = ร้อยละ 88.76 ของคนทั้งหมด  ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสามารถจดจ าบทเรี ย นที่ ผ่ า นมาได้ โดยเฉพาะเรื่องเต่าทะเล

การสารวจความพึงพอใจต่อกิจกรรมทาโดยเด็กๆ มอแกนที่สามารถอ่าน-เขียนได้ ทุกคนรับผิดชอบคาถามคนละ 3 ข้อ 1) ชอบสถานที่ที่ใช้จัดกิจกรรม หรือ ไม่ 2) ชอบวิทยากรที่สอน หรือ ไม่ และ 3) ชอบให้มีกิจกรรมช่วงกลางคืน หรือ ไม่ เมื่อทาความเข้าใจเรียบร้อยแล้วให้กระจายไปถามคาถามกับสมาชิกในชุมชนมอแกน เมื่ อครบกาหนดเวลาแล้วจึงนาผลการสารวจ มารวบรวม และสรุปผลให้มอแกนผู้เข้าร่วมทุกคนทราบโดยทั่วกัน


ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ เพื่อดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพื้นที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2 1. กิจกรรมที่ 1.1 ห้องเรียนธรรมชาติ สารวจทรัพยากรทางทะเล อ่าวบอน อบรมครั้งที่ 1 เรือ่ ง ภัยคุกคามต่อทรัพยากรธรรมชาติ

อบรมครั้งที่ 2 เรื่อง ห่วงโซ่อาหาร ครั้งที่ 1

อบรมครั้งที่ 3 เรื่อง ห่วงโซ่อาหาร ครั้งที่ 2

อบรมครั้งที่ 4 เรื่อง วงจรชีวิตดาวมงกุฏหนาม

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพื้นที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

61


อบรมครั้งที่ 5 เรื่อง อันตรายของขยะปนเปือ้ น

อบรมครั้งที่ 6 เรื่อง สรุปกิจกรรมห้องเรียนธรรมชาติ

2. กิจกรรมที่ 1.2 เครือข่ายร่วมเฝ้าระวังแหล่งวางไข่เต่าทะเล การสารวจการขึน้ วางไข่ของเต่าทะเล

การเก็บข้อมูลและการย้ายรังไข่เต่าทะเล (ในกรณีทรี่ ังนั้นอยูใ่ นตาแหน่งที่ไม่เหมาสะสม)

62

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


การเก็บข้อมูลและเฝ้าระวังรังไข่เต่าทะเล

การสารวจและเก็บข้อมูลหาดทรายที่เป็นแหล่งวางไข่เต่าทะเล

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพื้นที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

63


∆ คูน่ กกระแตผีชายหาด พบอาศัยอยู่บริเวณแหลมแม่ยายใต้ เกาะสุรินทร์เหนือ

6 64

ห้องสมุดความรู้

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2


ส่องหาความรู้ได้ที่ มิคมินทร์ จารุจินดา และก้องเกียรติ กิตติวั ฒนาวงศ์. 2551. เต่าทะเล. สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน. 84 หน้า ศิริวัฒน์ เผ่าวงศา. 2543. การสารวจเต่าทะเล. คู่มืออุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 2. ส่วนอุทยานแห่งชาติทางทะเล สานัก อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้. 48 หน้า

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพื้นที่อนุรักษ์ ระยะที่ 2

65


∆ ปูหัวแหลมดาวขนนก อาศัยอยูร่ ่วมกับดาวขนนก สามารพบได้ในทะเลอันดามัน รวมถึงที่หมูเ่ กาะสุรินทร์

ขอขอบคุณ  นายเยี่ยมสุริยา พาลุสุข ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา  สานักงานจังหวัดพังงา  ดร.ก้องเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ์ และคณะ สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล      

66

ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต สมาชิกเครือข่ายร่วมเฝ้าระวังแหล่งวางไข่เต่าทะเล อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ชุมชนมอแกน ณ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ เจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภัยทางทะเล ฝั่งทะเลอันดามัน (ทหารเรือ) คุณปอ จาก www.naucrates.org บุญปิยะรีสอร์ท สมาคมกรีนฟินส์ (www.greenfins-thailand.org)

รายงานฉบับสมบูรณ์ : โครงการสร้างเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกนและอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรนิ ทร์เพื่อดูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลในพืน้ ที่อนุ รักษ์ ระยะที่ 2



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.