2553 - ความหลากหลายและสถานภาพแนวปะการัง อช.หมู่เกาะสุรินทร์

Page 1


หนังสือ

ความหลากหลายและสถานภาพแนวปะการัง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์

ภายใต้โครงการ

โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายร่วมระหว่างชุมชนมอแกน และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์เพื่อสำ�รวจความหลากหลาย และสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ 61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจัตร จังหวัดกรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-5610777 www.dnp.go.th

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์

ตำ�บลคุระ อำ�เภอคุระบุรี จังหวัดพังงา 82150 โทร. 076-472145 www.mukosurin.com www.mukosurinnp.multiply.com

PLIMO

Protect Local Intelligence and Marine Organism email: kaewya@gmail.com

คณะที่ปรึกษา

สุวิทย์ รัตนมณี : รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โสภณ เพ็งประพันธ์ : หัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ มรกต จันทร์ไทย : ผู้ช่วยหัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ วิสูตร ศรีสงวน : ผู้ช่วยหัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ พุทธพจน์ คู่ประสิทธิ์ : ผู้ช่วยหัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ นิพนธ์ พงศ์สุวรรณ : สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต

คณะผู้จัดทำ�

เสาวภา อาศน์ศิลารัตน์ กรองแก้ว สูอำ�พัน

พิมพ์ที่

P.P.BOOK&COM 51-15/1 ถนนนคร ตำ�บลตลาดใหญ่ อำ�เภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทร. 076-221616, 236575

ปีที่พิมพ์

กันยายน พ.ศ. 2553 จำ�นวน 40 เล่ม


Introduction บทนำ�

การ​สำ�รวจ​และ​ติดตาม​ความ​หลากหลาย​และ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ด​ วย​กระบวนการ​มี​สวนรวม​

ของ​หนวยงานรัฐแ​ ละ​ชมุ ชน​ทอ งถิน่ เ​พือ่ เ​ก็บขอมูลแ​ ละ​เฝาระวังท​ รัพยากร​เปนก​ ลไก​ส�ำ คัญท​ ท​ี่ �ำ ใ​หเ​กิดก​ าร​เตือนภัยล​ ว งหนา​ เมื่อ​ขอมูล​ที่​ได​ถูก​น�ำ มา​ใช​ประโยชน​เพื่อ​การ​วาง​แผน​รับมือ​กับ​ภัย​คุกคาม​ที่​อาจ​เกิดขึ้น​และ​สราง​ปญหา​ให​กับ​แนว​ปะการัง​ ใน​สถานการณท​ แ​ี่ นว​ปะการังอ​ ยูใ​ น​สภาวะ​ทเ​ี่ ปราะบาง​จาก​ภยั ค​ กุ คาม​ตา งๆ​แ​ ละ​การ​เปลีย่ น​แปลง​ของ​ธรรมชาติท​ ผ​ี่ นั แ​ ปร​ และ​สง ผลกระทบ​ทรี่ นุ แ​ รง ก​ าร​ตดิ ตาม​สถานการณท​ เ​ี่ ปนป​ จ จุบนั ท​ สี่ ดุ อ​ ยาง​ใกลช​ ดิ เ​ปนเรือ่ ง​จ�ำ เปนแ​ ละ​เรงดวน ก​ ระบวนการ​ ดำ�เนินงาน​เพือ่ พ​ ฒ ั นา​ศกั ยภาพ​ของ​คน​ใน​พนื้ ท​ ซ​ี่ งึ่ ถ​ อื เปนผ​ ใ​ู ชป​ ระโยชนจ​ าก​ทรัพยากร​เปนหลักใ​หม​ ค​ี วาม​สามารถ​เพียงพอ​ ทีจ​่ ะ​ดแ​ู ล​และ​เฝาระวังท​ รัพยากร​ใน​พนื้ ท​ ข​ี่ อง​ตน​เอง​รว มกับห​ นวยงาน​อนื่ ๆ​ไ​มวา จ​ ะ​เปนร​ ปู แ​ บบ​ความ​สมั พันธร​ ะหวาง​หนวย งานรัฐด​ ว ย​กนั เอง ห​ รือ ร​ ะหวาง​หนวยงานรัฐก​ บั ช​ มุ ชน​ท�ำ ใ​หเ​กิดก​ าร​พฒ ั นา​ตน​เอง​เพือ่ ใ​หไ​ดม​ บ​ี ทบาท​รว ม​ใน​การ​ดแ​ู ล​รกั ษา​ และ​บริหาร​จดั การ​ทรัพยากร แ​ ละ​เมือ่ เ​กิดก​ าร​ท�ำ งาน​รว ม​กนั แ​ ลวก็ช​ ว ย​ใหเ​ห็นท​ ศิ ทาง​ของ​ปญ  หา​ชดั เจน ป​ ระเด็นข​ อง​แตละ​ ปญหา​ถูก​มอง​ได​ครบ​ทุก​แงมุม น​ ำ�ไปสู​การ​แกปญหา​และ​การ​จัดการ​ที่​ครอบคลุม​และ​มี​ประสิทธิภาพ​มาก​ยิ่งขึ้น ​นอกจาก​ นั้น ​ยัง​เปนการ​พัฒนา​ความ​สัมพันธ​ระหวาง​ภาครัฐ​และ​ชุมชน​เรื่อง​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​อยาง​ยั่งยืน​อีกดวย ​กันยายน ​2​5​5​3


Acknowledgement กิตติกรรมประกาศ

ขอบคุณ ดร.เกษมสันต จิ​ณ​ณ​วาโส อดีต​อธิบดี​กรม​อุทยาน​แหงชาติ สัตวปา​และ​พันธุพืช นาย​สุวิทย รัตนมณี รองอธิบดี​กรม​อุทยาน​แหงชาติ สัตวปา ​และ​พนั ธุพ ชื นาย​เยีย่ ม​สรุ ยิ า พาลุ​สขุ ผู​ว า ราชการ​จงั หวัด​ พังงา และ​นาย​วโิ รจน โร​จน​จนิ ดา อดีต​หัวหนา​อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร ที่​ริเริ่ม​โครงการฯ และ​ให​ ความ​ส�ำ คัญกับก​ าร​ส�ำ รวจ​และ​เฝาระวังก​ าร​เปลีย่ นแปลง​สถานภาพ​และ​ความ​หลากหลาย​ของ​ทรัพยากร​ ใน​แนว​ปะการัง และ​โดยเฉพาะ​อยางยิ่ง​การ​สงเสริม​การ​มี​สวนรวม​ของ​ชุมชน​ทองถิ่น​ใน​การ​รวมกัน​ อนุรักษ​แนว​ปะการัง ขอบคุณ คุณน​ พิ นธ พงศส​ วุ รรณ คุณนลินี ทองแถม และ​คณ ุ ล​ ลิตา ปจฉิม ผูเ​ ชีย่ วชาญ​ดา น​ปะการัง ประจำ�​ สถาบันวิจยั แ​ ละ​พฒ ั นา​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล ชาย​ฝง ทะเล และ​ปา ชายเลน จังห​ วัตภ​ เู ก็ต และนายทนงศักดิ์ จันทรเ์ มธากุล อาจารยป์ ระจำ�ภาควิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ทีใ​่ หค​ วาม รู​และ​คำ�​แนะนำ�​ตางๆ ใน​การ​ทำ�งาน​ดาน​การ​ส�ำ รวจ​อนุรักษ และฟื้นฟู​แนว​ปะการัง​มา​โดย​ตลอด ขอบคุณ​หนวย​รักษา​ความ​ปลอดภัย​ทาง​ทะเล ​ฝงทะเล​อันดามัน ​(​ทหารเรือ)​​และ​นัก​ทองเที่ยว (​บูบู)​ที่​ ให​ความ​รวมมือ​ใน​การ​รวม​ส�ำ รวจ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ​บริเวณ​หมูเกาะสุ​รินท​ร​์เปนอ​ยาง​ดี ขอบคุณ บริษัทซาบีน่าทัวร์ บริษัทบาราคูด้าทัวร์ และบริษัทคุระบุรีกรีนวิว ที่เอื่อเฟื้อเรือโดยสารเดิน ทางไปหมู่เกาะสุรินทร์แก่เจ้าหน้าที่อุทยานฯ


Content สารบัญ

บทนำ� กิตติกรรมประกาศ บทสรุปผู้บริหาร

บทที่ ๑ ความหลากหลาย​ทางชีวภาพ​ใน​ทะเล ๖

๑.๑ ควา​มหลากหลาย​ทางชนิด​ของ​ปะการัง ๑.​๒​​การกระจายของปะการัง ๑.๓ ความหลากหลายทางชนิดของปลา ๑.​๔​​การกระจายของปลา บทที่ ๒ สถานภาพแนวปะการัง ๑๘ ๒.๑ สถานภาพแนวปะการัง ๒.๒ สถานภาพปลาในแนวปะการัง บทที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงในแนวปะการัง ๓๔ ๓.๑ การเปลี่ยนแปลงในแนวปะการัง บทที่ ๔ ภัยคุกคามในแนวปะการัง ๔๒ ๔.๑ ภัยคุกคามในระบบนิเวศแนวปะการัง

บทที่ ๕ การอนุรักษ์แนวปะการัง ๕๒ ๕.๑ การอนุรักษ์ในปัจจุบัน ๕.๒ การอนุรักษ์ในอนาคต ๕.๓ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และจัดการ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก


4

Executive summary บทสรุปผู้บริหาร

พื้น​ที่​แนว​ปะการัง ​7​.​5​4​ ​ตาราง​กิโลเมตร ​บริเวณ​หมูเกาะ​สุรินทร ​(​ไม​นับ​รวม​แนว​ปะการัง​กอง​หิน​ริเชลิว)​ ​คือ​ระบบ

นิเวศ​ที่​มี​สิ่งมีชีวิต​นานา​ชนิด​พันธุ​อาศัย​อยู ​ดวย​ความ​เหมาะสม​ของ​สภาพ​ภูมิประเทศ​บน​บก​และ​สภาพ​สมุทรศาสตร​ใต​ ทะเล​ทำ�​ให​ทองทะเล​เบื้องลาง​อุดมสมบูรณ​ไป​ดวย ​สารอาหาร ​แพลงค​ตอน ​และ​แรธาตุ​ที่​เหมาะสม​ตอ​การ​เจริญ​เติบโต​ ของ​ปะการัง ข​ อมูล​ในอดีต ​ระหวาง​ป ​พ.​ศ.​2​5​3​2​-​2​5​5​1​ ​แสดง​ให​เห็นวา ​ปะการัง​อยาง​นอย ​1​4​4​ ​ชนิด ​จาก​ทั้งสิ้น ​2​​ อันดับ ​1​9​​วงศ ​5​6​​สกุล ​อยู​ใน​กลุม​ปะการังแ​ ข็ง ​ปะการัง​ไฟ แ​ ละ​อยาง​นอย ​2​2​​ชนิด จ​ าก​ทั้งสิ้น ​3​​อันดับ 1​ ​2​​วงศ ​2​2​ สกุล อ​ ยูใ​น​กลุมป​ ะการังอ​ อน ก​ ัลปงหา ส​ ามารถ​พบ​ไดท​ ี่นี้ จ​ าก​จำ�นวน​ปะการังท​ ั้งสิ้นอ​ ยาง​นอย 2​ 8​ 0​ ​ช​ นิดท​ ีพ่​ บ​ในประเทศ​ ไทย ​(​นิพนธ,​​ม.​ป.​ป.​)​​และ​ขอมูล​ในอดีต ​ป ​พ.​ศ.​2​5​4​5​​และ ​พ.​ศ.​2​5​4​8​​แสดงวา​ปลา​อยาง​นอย ​4​5​0​​ชนิด ​จาก​ทั้งสิ้น 1​ ​2​ อันดับ ​5​7​​วงศ ​1​6​1​​สกุล ​สามารถ​พบ​อาศัย​ใน​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร ​ขอมูล​เหลานี้​แสดง​ให​เห็น​ความ​หลากหลาย​ ทาง​ชนิด​และ​พันธุกรรม​ใน​แนว​ปะการัง​ของ​หมูเกาะ​สุรินทร​ที่​โดดเดน​มาก​แหง​หนึ่ง​ใน​นานน้ำ�​ของ​ประเทศ ​อยางไร​ก็ตาม​ สถานภาพ​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร​ลาสุด​ใน​ป พ​ .​ศ.​2​5​5​3​​พบ​วา​อยู​ใน​สภาพ​เสื่อมโทรม​มาก ​จาก​ที่​เคย​มี​แนวโนม​การ​ ฟนตัว​ใน​แตละ​ป ​จน​มี​สภาพสมบูรณ​ดีมาก​ถึง​ปานกลาง ​ปะการัง​ที่​มี​ชีวิต​ลดลง​เหลือ​เพียง ​1​-​1​7​ ​เปอร​เซนต (​​เฉลี่ย 8​ ​±5​​ เปอร​เซนต)​ ​จาก​ผล​กระทบ​ของ​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว ​(​M​a​s​s​ ​C​o​r​a​l​ ​B​l​e​a​c​h​i​n​g​)​ ​เมื่อ​ปลาย​เดือน​เมษายน​ถึง​ มิถุนายน​ที่​สง​กระทบ​กระจาย​ไป​ทั่ว​ทั้ง​ฝง​อาวไทย​และ​อันดามัน ​กลุม​ปลา​ใน​แนว​ปะการัง​ที่​ไดรับ​ผล​กระทบ​เดนชัด ​เชน​ กลุม ป​ ลา​ผเี สือ้ ซ​ งึ่ ป​ กติใ​ชเ​ปนด​ ชั นีช​ ว​ี้ ดั ส​ มดุลข​ อง​ระบบ​หว งโซ​อาหาร​และ​ความ​สมบูรณใ​น​แนว​ปะการังม​ ค​ี วาม​หนา​แนนล​ ด ลง​หลังจาก​กลุม​ปะการัง​สวน​ใหญ​ตาย ​ประกอบ​กับ​ใน​ชวง​ที่ผานมา​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร​เผชิญกับ​ภัย​คุกคาม​จาก​ กิจกรรม​ทองเ​ที่ยว​ใน​ฤดูกาล​ทองเ​ที่ยว ​และ​การ​ลัก​ลอบทำ�​ประมง​ใน​แนว​ปะการัง​ใน​ฤดูมรสุม ​ปลา​หา​ยาก​บางชนิด ​และ​ ปลา​เศรษฐกิจบ​ างชนิดจ​ งึ ล​ ดลง​ตาม​ไป ม​ าตรการ​อนุรกั ษ แ​ ละ​ขอ บังคับเ​พือ่ ล​ ด​ภยั ค​ กุ คาม​ตอ แ​ นว​ปะการังท​ ก​่ี �ำ ลังเ​ปราะบาง​ จึง​เปน​สง่ิ ​ส�ำ คัญ​ท​่อี ทุ ยาน​แหงชาติ​หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร​ก�ำ ลัง​ด�ำ เนินการ​อยาง​รอบคอบ​รว มกับ​หนวยงาน​อน่ื ๆ​ ​เพือ่ ​รกั ษา​ระบบ นิเวศ​ทาง​ทะเล​ท​ส่ี �ำ คัญ​น​ไ้ี ว ​ผล​ขอมูล​เหลานี้​เกิด​จาก​การ​ทำ�งาน​ติดตาม​และ​สำ�รวจ​สถานภาพ​ใน​แนว​ปะการัง​โดย​การ​ทำ�งาน​รวม​กัน​เพื่อ​การ​อนุรักษ​ ของ​เจาหนา​ที่​อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร​และ​ชุมชนมอ​แกน​ซึ่ง​ถือเปน​ผู​ใช​ประโยชน​และ​ผูดู​แล​ผล​ประโยชน​จาก​ ทรัพยากร​รวม​กัน​ใน​พื้น​ที่​หมูเกาะ​สุรินทร ​ทั้ง​สองฝาย​รวม​กัน​ทำ�​หนา​ที่​รับผิดชอบ​ดู​แล​และ​เฝาระวัง​ทรัพยากร​ใน​แนว​ ปะการัง​ตาม​ศักยภาพ​ความ​สามารถ​ที่​ตน​มี ​ความรู​ภูมิปญญา ​ความ​เชี่ยวชาญ ​และ​ความ​สามารถ​ที่​มี​แตเดิม​ถูก​นำ�มา​ใช​ ประโยชน​พรอมๆ​ไป​กับ​การ​ฝกฝน​เพิ่มเติม​ใน​สวน​ที่​ขาด ​วิธีการ​สำ�รวจ​แนว​ปะการัง ​R​e​e​f​ C​ ​h​e​c​k​ ​ซึ่ง​ทำ� ​3​ ช​ วง​ใน ​1​ ​ป​ 1​1​​สถานี แ​ ละ ​R​e​e​f​​W​a​t​c​h​ ​ซึ่ง​ทำ�​เดือน​ละ ​1​ส​ ถานี ​ถูก​น�ำ มา​ใช​เพื่อ​สำ�รวจ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ใน​พื้น​ที่​ตาง​กัน​เพื่อ​ ให​ครอบคลุม​ทั่ว​หมูเกาะ​สุรินทร​ตลอด​ระยะเวลา ​1​ ​ป พ​ รอมกับ​การ​ตรวจวัด​สภาพ​สิ่ง​แวดลอม ​เชน ​คุณภาพ​น้ำ�ทะเล​ซึ่ง​ ทำ�ท​ กุ ครัง้ ท​ ท​ี่ � ำ R​ e​ e​ f​​C​ h​ e​ c​ k​ ​แ​ ละ​สภาพ​ภมู อิ ากาศ​ซงึ่ ท​ �ำ ท​ กุ วัน แ​ ละ​การ​เฝาระวังต​ รวจตรา​ภยั ค​ กุ คาม​ทอ​ี่ าจ​เกิดขึน้ ใ​น​แนว​ ปะการัง​ซึ่ง​ท�ำ ​อาทิตย​ละ ​1​​ครั้ง ​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ที่​ทำ�​อยาง​ตอเนื่อง​เปน​กิจวัตร​โดย​ไมเวน​ระยะหาง​นาน​ท�ำ ​ให​เกิด​ระบบ​ เตือนภัย​ลว งหนา การ​เขา​ถงึ ​ปญ  หา​ท�ำ ได้อยาง​รวดเร็ว​และ​สามารถ​แกไข​​รับมือ​ได​ทนั ทวงที โดยทีน่ กั ท​ อ งเ​ทย่ี ว​และ​บคุ คล​ท่​ี สน​ใจ​สามารถ​รบั รู​ผ ล​การ​ท�ำ งาน​และ​ผล​การ​ส�ำ รวจผาน​สอ่ื ​ประชา​สมั พันธ​ท​ท่ี ำ�เ​พื่อ​เผย​แพร​ได้ด้วย ​


5

อุปสรรค

ก​ าร​ด�ำ เนินงาน​เพือ่ ต​ ดิ ตาม​และ​ส�ำ รวจ​สถานภาพ​ใน​แนว​ปะการังโ​ดย​เจาหนาท​ อ​ี่ ทุ ยานฯ แ​ ละ​ชาวมอ​แกน​พบ​อปุ สรรค​ปญ  หา​ เรื่อง​นโยบาย​การ​ดำ�เนินงาน​ของ​อุทยานฯ ​ที่​ให​ความ​สำ�คัญ​เรื่อง​การ​อนุรักษ ​ปอง​กัน​และ​ปราบปราม​ไม​มากพอ ​และ​ไมมี​ ความ​ชดั เจน​ใน​ภาคปฏิบตั ิ บ​ คุ ลากร​และ​อปุ กรณข​ อง​อทุ ยานฯ โ​ดยเฉพาะ​อปุ กรณถ​ า ยภาพ แ​ ละ​ยานพาหนะ​ขาด​แคลน แ​ ละ​ ไมมี​ประสิทธิภาพ ​การ​มี​สวนรวม​ส�ำ หรับ​ภาค​การ​ทองเ​ที่ยว​มี​นอย ​ซึ่ง​อุทยานฯ ​จะ​ปรับปรุง​และ​พัฒนา​แผนการ​ดำ�เนินงาน​ ใน​อนาคต​ให​เหมาะสม​และ​มี​อุปสรรค​นอยลง

​ขอเสนอ​แนะ

​ระดับ​นโยบาย ​ผลักดัน​นโยบาย ​แผนการ​จัดการ ​มาตรการ ​ขอบังคับ​และ​ขอ​ควร​ปฏิบัติ​ดาน​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​ที่​มี​อยู​แลว​ w​ ​ ให​นำ�ไปสู​การ​ใช​ปฏิบัติ​จริง ​คัดสรร​และ​สนับสนุน​บุคลากร​ที่​มี​จิตสำ�นึก​ดาน​การ​อนุรักษ​และ​รู​ถึง​คุณคา​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​อยาง​แทจริง​และ​พรอม​ที่​ w​ ​ จะ​ปฏิบัติ​งาน​โดย​เห็น​แก​ประโยชน​สวนรวม​มากกวา​ประโยชน​สวน​อื่น​ให​เขามา​ปฏิบัติ​หนา​ที่ ส​ นับสนุนก​ าร​ท�ำ งาน​ดา น​การ​อนุรกั ษท​ รัพยากร​ธรรมชาติท​ ม​ี่ ค​ี วาม​สอดคลองกับว​ ฒ ั นธรรม​ของ​ชมุ ชน​ใหก​ บั ช​ มุ ชน​ทอ งถิน่ ​ w ​​ ​สนับสนุน​โครงการ​วิจัย​เพื่อ​การ​อนุรักษ​และ​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​ให​มี​อยาง​ตอเนื่อง w​ ​ ​สงเสริม​และ​ผลักดัน​งานวิจัย​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​และ​ประสิทธิผล​ซึ่ง​ทำ�​โดย​เจาหนา​ที่​อุทยานฯ ​ใน​ระดับ​ภาคสนาม​ให​มี​ขึ้น​ w​ ​ อยาง​ตอเนื่อง ​และ​ตีพิมพ​เผย​แพร​ผล​งานวิจัย​นั้นๆ​​สู​สาธารณะ ​ ​ระดับ​ปฏิบัติ ​วาง​แผน​รับมือ​การ​ใช​ประโยชน​จาก​ทรัพยากร​หลัง​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​รวมกับ​ผูมีสวน​ได​สวน​เสีย​ทั้งหมด​เพื่อ​ w​ ​ ทำ�ความ​เขา​ใจ ​หา​แนวทาง ​และ​ทำ�สัญญา​ขอตกลง​รวม​กัน​เพื่อ​รักษา​สมดุล​ทรัพยากร​ให​คง​อยู ​จัด​พื้น​ที่​การ​ใช​ประโยชน​ตาม​หลักการ​แบง​เขต​การ​จัดการ​พื้น​ที่ ​(​z​o​n​i​n​g​)​​ใน​แผนการ​จัดการ​อุทยาน​อยาง​เขมงวด ​ถา​มี​ w​ ​ การ​เปลีย่ น​แปลง​ควร​ตอ ง​มผ​ี ล​งาน​วชิ าการ​ทเ​ี่ ชือ่ ถือไ​ดร​ บั รอง โ​ดย​ตอ ง​มก​ี าร​ประเมินผล​กระทบ​ทอ​ี่ าจ​เกิดขึน้ ต​ อ ท​ รัพยากร​ ธรรมชาติ​ใน​บริเวณ​นั้น​และ​ขางเคียง ​รวม​ถึง​ตอง​มี​แผนการ​จัดการ​การ​ใช​ประโยชน​ส�ำ หรับ​พื้น​ที่​นั้นๆ​​ดวย ​ควบคุม​การ​ใช​ประโยชน​จาก​ทรัพยากร​ใน​รูป​แบบ​กิจกรรม​ตางๆ​​เชน ​การ​ทองเ​ที่ยว ​การ​ท�ำ ​ประมง ​ที่​เปนภัย​คุกคาม​ตอ​ w​ ​ ทรัพยากร​ใน​แนว​ปะการัง​อยาง​เขมงวด​จริงจัง​ตลอด​ทั้งป ​จัด​กิจกรรม​ที่​เพิ่ม​บทบาท​การ​มี​สวนรวม​สำ�หรับ​ภาค​การ​ทองเ​ที่ยว​ใน​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​ใน​แนว​ปะการัง w​ ​ ​จัดทำ�​สื่อ​ประชา​สัมพันธ​ความรู ​ขอมูล​ขาวสาร ​สถานภาพ​ทรัพยากร ​และ​ขอ​ควร​ปฏิบัติ​สำ�หรับ​ผู​ที่​เขามา​ใช​ประโยชน​ให​ w​ ​ เขา​ถึง​และ​เขา​ใจ​ได​งาย ​ทั้ง​กอน​เขามา​ทองเ​ที่ยว​และ​ขณะ​ทองเ​ที่ยว ​เพิ่ม​โจทย​งานวิจัย​เชิง​ลึก​เรื่อง​ความ​หลากหลาย​ใน​แนว​ปะการัง ​การ​ประเมิน​ความ​สามารถ​การ​ฟนตัว​ของ​แนว​ปะการัง w​ ​ ​(​R​e​e​f​​R​e​s​i​l​i​e​n​c​e​)​​แผน​ที่​การ​ไหลเวียน​ขอ​งกระ​แส​น้ำ� ​การ​ติดตาม​ผล​กระทบ​จาก​ปะการัง​ฟอกขาว​ที่เกิด​ตอ​ปะการัง​ใน​ ระยะยาว ​ประเมิน​พื้น​ที่​เปราะบาง ​ภัย​คุกคาม​ตางๆ​​คุณภาพ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​การ​ประเมิน​มูลคา​ทาง​เศรษฐศาสตรแ​ ละ​ สังคม​ของ​แนว​ปะการัง


6

Chapter 1 บทที่ ๑

CORAL REEF BIODIVERSITY ความหลากหลายทางชีวภาพในแนวปะการัง


7

หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร1 เปนห​ มูเ กาะ​ไกลฝง ต​ อน​บน​ของ​ทะเล​อนั ดามัน มีแ​ นว​ปะการังท​ ม​ี่ ค​ี วาม​หลากหลาย​ทาง​ชวี ภาพ​ของ​ ระบบนิเวศ​มาก​ที่สุด​แหง​หนึ่ง​ในประเทศ​ไทย และ​มี​ความ​หลากหลาย​ของ​สัตว​ทะเล​กลุม​อื่นๆ อีก​หลาก​ชนิด ความ​ อุดมสมบูรณ​ของ​ทรัพยากร​ใน​ทะเล​และ​บน​บก​กระจายตัว​อยู​ทั่ว​บริเวณ​เกาะ​ใหญ 2 เกาะ (เกาะ​สุรินทร​เหนือ และ​เกาะ​ สุรินทร​ใต) เกาะ​บริวาร 3 เกาะ (เกาะ​สตอรค เกาะ​มังกร เกาะต​อริน​ลา) และ​กอง​หิน​โผล​พน​น้ำ�​2 กอง (หิน​ราบ และ​หิน​ กอง) ค​รอบ​คลุม​พื้นที่​ทั้งหมด 141.25 ตาราง​กิโลเมตร (พื้นที่​บก​รอยละ 23 พื้นที่​ทะเล​รอยละ 77) เปนพ​ ื้นที่​แนว​ปะการัง​ ประมาณ 7.54 ตาราง​กิโลเมตร (ไม​รวม​กอง​หิน​ริเชลิว) (หรรษา​และ​คณะ, 2542) สภาพ​ทาง​สมุทรศาสตร​ที่​เหมาะสม​ของ​ หมูเกาะ​สุรินทร เชน ความ​ใส​ของ​น้ำ�ทะเล อุณหภูมิ การ​ไหลเวียน​ของ​มวล​น้ำ� และ​ความ​สมบูรณ​ของ​แพลงค​ตอน​มี​ผล​ดี​ ตอ​การ​พัฒนา​ของ​แนว​ปะการัง​มา​ตั้งแต​อดีต

แนว​ปะการัง หมูเกาะ​สุรินทร​มี​ลักษณะ​เปน​แนวยาว​กอตัว​ตอเนื่อง​รอบ​เกาะ​ใหญ เวน​พื้นที่​บริเวณ​เกาะ​สุรินทร​ใต​ ทิศตะวันตก​เฉียง​ใตเ​ปนแนว​โขดหิน (หรรษา​และ​คณะ, 2542) ลักษณะ​ปะการังท​ พ​ี่ บ​มแ​ี นว​ปะการังร​ มิ ฝง (Fringing reef) กลุม​ปะการัง​บน​พื้นทราย (Patch reef) กลุมป​ ะการัง​บน​กอน​หิน (Coral community on rocky coast) กัลปงหา​และ​ ปะการัง​ออน (Sea fan and soft coral community) และ​แนว​ปะการัง​แบบ​มี​หลุม​สีฟา (Blue Hole) ที่​พบ​เฉพาะ​ บริเวณ​อาว​ชอง​ขาด​ทิศตะวันออก และ​อาว​แมยาย (​กาญจน​เขจร และ​คณะ, 2549) ระบบนิเวศ​แนว​ปะการัง​ที่​มี​หลาย​ รูปแบบ​ท�ำ ใหเกิดล​ กั ษณะ​เฉพาะ​ของ​แหลงอ​ าศัยข​ อง​สงิ่ มีชวี ติ จ​ �ำ นวน​มาก เกิดเ​ปนความ​หลากหลาย​ของ​สงิ่ มีชวี ติ ท​ ม​ี่ ค​ี วาม​ โดดเดน​สูง สัตว​ใน​แนว​ปะการัง เชน แพลงคต​ อน​สัตว ปลา และ​สัตว​หนาดิน มากกวา 1,000 ชนิด อาศัย​หากิน หลบภัย​ อยู​ถาวร หรือ​อพยพ​ผาน​เปน​ฤดูกาล และ​บางชนิด​พบ​ได​เพียง​บริเวณ​หมูเกาะ​สุรินทร​เทานั้น ปจจุบนั แ​ นว​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรก​ �ำ ลังเ​ผชิญกับภ​ ยั ค​ กุ คาม​จาก​ธรรมชาติแ​ ละ​มนุษยอ​ ยาง​หลีกเลีย่ ง​ไมได โดย​มแ​ี นวโนม​ ระดับ​ความ​รุนแรง​ที่​เพิ่ม​มากขึ้น จาก​การ​ทำ�​ประมง​ผิด​กฎหมาย การ​ทองเที่ยว​ที่​ไม​ค�ำ นึงถึง​สิ่งแวดลอม ขยะ​ของเสีย และ​ การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​ภูมิอากาศ โดย​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ป พ.ศ.2553 ถูกจ​ ัด​อยู​ใน​ระดับ​เสื่อมโทรม​มาก (Very poor status) จากปรากฎการณ์ป​ ะการังฟ​ อกขาว​ครัง้ ใ​หญ (Mass Coral Bleaching) แตม​ แ​ี นวโนมฟ​ น ตัวซ​ งึ่ ต​ อ ง​ใชร​ ะยะ เวลา​และ​อยู​ภายใต​การ​จัดการ​ที่​ถูกตอง​และ​เหมาะสม รวมถึง​การ​ติดตาม​ศึกษา​เก็บ​รวบรวม​ขอมูล​อยาง​ตอเนื่อง​ตอไป

กรม​ปาไม​ประกาศ​ให​เปน​อุทยาน​แหงชาติ​ทาง​ทะเล​ล�ำ ดับที่ 29 ของ​ประเทศ​ไทย เมื่อ​วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร​ตั้งอยู​ระหวาง​เสน​ลอง​ติจูด​ที่ 9 องศา 21 ลิปดา 50 ฟ​ลิปดา​เหนือ และ ลอง​ติจูด 9 องศา 21 ลิปดา 51 ฟ​ลิปดา​เหนือ ถึง เสน​ลอง​ติจูด​ที่ 9 องศา 28 ลิปดา 47 ฟ​ลิปดา​เหนือ และ ลอง​ติจูด 9 องศา 28 ลิปดา 52 ฟ​ลิปดา​เหนือ และ​เสนละติจูด​ที่ 97 องศา 49 ลิปดา 19 ฟ​ลิปดา​ตะวันออก และ ละติจูด 97 องศา 54 ลิปดา 28 ฟ​ลิปดา​ตะวันออก ถึง เสนละติจูด​ที่ 97 องศา 54 ลิปดา 32 ฟ​ลิปดา​ตะวันออก และ ละติจูด 97 องศา 52 ลิปดา 10 ฟ​ลิปดา​ตะวันออก และ​เมื่อ​วันที่ 20 มิถุนายน 2553 กอง​หิน​ริเชลิว​ได​ถูก​ผนวก​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​ สุรินทร เนื้อที่​ประมาณ 6.25 ตาราง​กิโลเมตร 1


8

1.1​​ความหลากหลายทางชนิดของปะการัง (ข้อมูลทุติยภูมิ) ขอม​ ลู ความ​หลากหลาย​ทาง​ชนิดข​ อง​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรผ​ า น​การ​วจิ ยั แ​ ละ​คน ควาจ​ าก​ผเ​ู ชีย่ วชาญ​เฉพาะ​ทางใน​แตละ​ สาขา​จาก​หลาย​หนวยงาน​และ​สถาบันก​ าร​ศกึ ษา​อยาง​นอ ย 6 หนวยงาน ตัง้ แตป​  พ.ศ. 2532-2551 พืน้ ทีส​่ �ำ รวจค​รอบ​คลุม​ แนว​ปะการัง​น้ำ�​ตื้น​และ​น้ำ�​ลึก​ดวย​เทคนิค​หลากหลาย ที่​ระดับ​ความ​ลึก​ไม​เกิน 50 เมตร ทั่ว​หมูเกาะ​สุรินทร​ทั้ง​ฝง​ตะวัน ออก​และ​ฝง​ตะวันตก โดย​พบ​ปะการัง​ใน​กลุมป​ ะการัง​แข็ง และ​ปะการัง​ไฟ รวม 2 อันดับ 19 วงศ 56 สกุล อยาง​นอย 144 ชนิด โดย​เปน​ปะการัง​ใน​ชั้น Hydrozoa อันดับ Anthoathecata จำ�นวน 1 วงศ 1 สกุล 2 ชนิด คือ ชั้น Hydrozoa ชั้นย่อย Hydroidolina อันดับ Anthoathecata อันดับย่อย Capitata วงศ์ Milleporidae สกุล Millepora Millepora Millepora

platyphylla tenella

เป็นปะการังในชั้น Anthozoa อันดับ Scleraetinia จำ�นวน 18 วงศ์ 55 สกุล อย่างน้อย 142 ชนิด คือ ชั้น Anthozoa ชั้นย่อย Hexacorallia อันดับ Scleraetinia วงศ์ Acroporidae พบ 4 สกุล 42 ชนิด คือ สกุล Acropora Acropora formosa Acropora nobilis Acropora clathrata Acropora cytherea Acropora danai Acropora divaricata Acropora digitata Acropora vaughani Acropora austera Acropora aspera Acropora subulata Acropora horida Acropora humilis Acropora hyacinthus Acropora gemmifera


9

Acropora grandis Acropora granulosa Acropora latistella Acropora longicyathus Acropora lovelli Acropora microphthalma Acropora millepora Acropora monticulosa Acropora nasuta Acropora echinata-group Acropora elseyi Acropora florida Acropora palifera Acropora robusta สกุล Anacropora Anacropora forbesi Anacropora matthai สกุล Astreopora Astreopora myriopthalma Astreopora ocellata สกุล Montipora Montipora aequituberculata Montipora crassituberculata Montipora confusa Montipora digitata Montipora hispida Montipora porites Montipora spumosa Montipora stellata Montipora undata วงศ์ Agariciidae พบ 5 สกุล 15 ชนิด คือ สกุล Pachyseris Pachyseris speciosa Pachyseris gemmae Pachyseris rugosa สกุล Pavona Pavona cactus Pavona clavus Pavona decussata


10

Pavona duerdeni Pavona explanulata Pavona frondifera Pavona varians Pavona venosa สกุล Coeloseris Coeloseris mayeri สกุล Gardineroseris Gardineroseris planulata สกุล Leptoseris Leptoseris gardineri Leptoseris papyracea วงศ์ Astrocoeniidae (ไม่มีการระบุจำ�นวนสกุลและชนิด) วงศ์ Caryophyllidae (ไม่มีการระบุจำ�นวนสกุลและชนิด) วงศ์ Dendrophylliidae พบ 3 สกุล 6 ชนิด คือ สกุล Dendrophyllia Dendrophyllia micrantha สกุล Turbinaria Turbinaria frondens Turbinaria peltata Turbinaria micrantha Turbinaria reniformis สกุล Tubastraea Tubastraea coccinea วงศ์ Euphyllidae พบ 3 สกุล 5 ชนิด คือ สกุล Euphyllia Euphyllia ancora Euphyllia glabrescens สกุล Physogyra Physogyra lichtensteini สกุล Plerogyra Plerogyra simplex Plerogyra sinuosa วงศ์ Faviidae พบ 10 สกุล 23 ชนิด คือ สกุล Australomussa Australomussa rowleyersis สกุล Echinopora Echinopora lamellosa Echinopora horrida


11

Echinopora pacificus สกุล Favites Favites abdita Favites halicora Favites pentagona สกุล Goniastrea Goniastrea retiformis Goniastrea pectinata Goniastrea edwarsi สกุล Cyphastrea Cyphastrea micropthalma สกุล Favia Favia favus Favia laxa Favia lizardensis Favia speciosa Favia stelligera Favia abdita สกุล Leptastrea Leptastrea transversa สกุล Leptoria Leptoria phrygia สกุล Oulophyllia Oulophyllia crispa สกุล Platygyra Platygyra daedalea Platygyra pini Platygyra verweyi วงศ์ Fungiidae พบ 7 สกุล 9 ชนิด คือ สกุล Ctenactis Ctenactis echinata สกุล Fungia Fungia echinata Fungia fungites สกุล Herpolitha Herpolitha limax สกุล Lithophyllon Lithophyllon mokai Lithophyllon undulatum


12

สกุล Podabacia Podabacia crustacea สกุล Polyphyllia Polyphyllia talpina สกุล Sandalolitha Sandalolitha robusta วงศ์ Meandrinidae (ไม่มีการระบุจ�ำ นวนสกุลและชนิด) วงศ์ Merulinidae พบ 3 สกุล 6 ชนิด คือ สกุล Hydnophora Hydnophora rigida Hydnophora excesa Hydnophora microconos สกุล Merulina Merulina ampliata Merulina scabricula สกุล Scapophyllia Scapophyllia cylindrica วงศ์ Mussidae พบ 2 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Lobophyllia Lobophyllia hemprichii สกุล Symphyllia Symphyllia radians Symphyllia recta วงศ์ Oculinidae พบ 1 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Galaxea Galaxea astreata Galaxea cryptoramosa Galaxea fascicularis วงศ์ Pectiniidae พบ 5 สกุล 8 ชนิด คือ สกุล Echinophyllia Echinophyllia aspera สกุล Cynarina Cynarina lacrymalis สกุล Mycedium Mycedium elephantotus สกุล Oxypora Oxypora crassispinosa Oxypora lacera


13

สกุล Pectinia Pectinia alcicornis Pectinia lactuca Pectinia paeonia วงศ์ Pocilloporidae พบ 3 สกุล 6 ชนิด คือ สกุล Pocillopora Pocillopora verrucosa Pocillopora damicornis Pocillopora eydouxi Pocillopora meandrina สกุล Seriatophora Seriatophora hystrix สกุล Stylophora Stylophora pistillata วงศ์ Poritidae พบ 3 สกุล 8 ชนิด คือ สกุล Porites Porites lutea Porites(Synaraea) rus Porites nigrescens Porites cylindrica Porites lobata Porites solida สกุล Alveopora Alveopora sp. สกุล Goniopora Goniopora fruticosa วงศ์ Rhizangiidae (ไม่มีการระบุจ�ำ นวนสกุลและชนิด) วงศ์ Siderastreidae พบ 1 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Psammocora Psammocora digitata Psammocora obtusangula Psammocora profundacella วงศ์ Trachyphylliidae (ไม่มีการระบุจำ�นวนสกุลและชนิด)


14

และพบปะการังอ่อนและกัลปังหา รวม 3 อันดับ 12 วงศ์ 22 สกุล อย่างน้อย 22 ชนิด โดยเป็นปะการังในชัน้ Anthozoa อันดับ Alcyonacea จำ�นวน 10 วงศ์ 18 สกุล 18 ชนิด คือ ชั้น Anthozoa ชั้นย่อย Octocorallia อันดับ Alcyonacea อันดับย่อย Alcyoniina วงศ์ Alcyoniidae พบ 3 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Sarcophyton Sarcophyton sp. สกุล Sinularia Sinularia sp. สกุล Lobophytum Lobophytum sp. วงศ์ Nephtheidae พบ 4 สกุล 4 ชนิด คือ สกุล Nephthea Nephthea sp. สกุล Stereonephthya Stereonephthya sp. สกุล Dendronephthya Dendronephthya sp. สกุล Chironephthya Chironephthya sp. วงศ์ Nidaliidae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Siphonogorgia Siphonogorgia sp. วงศ์ Xeniidae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Xenia Xenia sp. อันดับย่อย Holaxonia แต่เดิมอยู่ใน อันดับ Gorgonacea วงศ์ Acanthogorgii พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Muricella Muricella sp. วงศ์ Plexauridae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Echinogorgia Echinogorgia sp. วงศ์ Gorgoniidae พบ 2 สกุล 2 ชนิด คือ สกุล Rumphella Rumphella sp.


15

สกุล Hicksonella Hicksonella sp. อันดับย่อย Scleraxonia แต่เดิมอยู่ใน อันดับ Gorgonacea วงศ์ Anthothelidae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Solenocaulon Solenocaulon sp. วงศ์ Subergorgiidae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Subergorgia Subergorgia sp. วงศ์ Melithaeidae พบ 3 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Melithaea Melithaea sp. สกุล Acabaria Acabaria sp. สกุล Mopsella Mopsella sp. เป็นอันดับ Helioporacea จำ�นวน 1 วงศ์ 1 สกุล 1 ชนิด คือ อันดับ Helioporacea วงศ์ Helioporidae พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ สกุล Heliopora Heliopora coerulea เป็นอันดับ Gorgonacea จำ�นวน 1 วงศ์ 3 สกุล 3 ชนิด คือ อันดับ Gorgonacea วงศ์ Ellisellidae พบ 3 สกุล 3 ชนิด คือ สกุล Ctenocella Ctenocella sp. สกุล Ellisella Ellisella sp. สกุล Junceella Junceella sp.


16

1.2 การกระจายของปะการัง (ข้อมูลทุติยภูมิ) ชนิด​ปะการัง​ที่​พบ​กระจาย​ทุก​พื้นที่​สำ�รวจ คือ ป​ ะการัง​เขากวาง (Acropora formosa, Acropora aspera) ปะการัง​ ่ำ (Pocillopora verrucosa) และ ปะการังโขด (Porites lutea) ชนิดท​ พ​ี่ บ​เฉพาะ​บางพืน้ ทีส​่ �ำ รวจ คือ ปะการัง​ ดอก​กะหล� สมอง (Oulophyllia crispa) ปะการังส​ มอง​รอ ง​สนั้ (Platygyra pini) ปะการังด​ อกเห็ดร​ ปู ร​ ี (Fungia echinata) ปะการัง​ สมอง​รอง​ใหญ (Symphyllia sp.) และ​ปะการัง​ถวย​สมอง (Lobophyllia sp.) ที่​พบ​เฉพาะ​อาว​แมยาย ปะการังอ​ อน Muricella sp. และ Echinogorgia sp. ที่​พบ​เฉพาะ​เกาะต​อริน​ลา​เทานั้น และ​ปะการัง​ใน​วงศ Caryophyllidae เชน ปะการัง​มุกดา หรือ ปะการัง​ไข​ปลาหมึก​แท (Catalaphyllia jardinei Saville-Kent,1893) และ​วงศ Rhizangiidae เชน ปะการังแอส​แตรง​เจีย (Astrangia sp. Edwards and Haime, 1848) ทีพ่​ บ​ได​นอย​ใน​ทะเล​แถบ​อันดามัน (นิพนธ, ม.ป.ป.) แต​สามารถ​พบ​ที่​หมูเกาะ​สุรินทร และ​ปะการัง Acropora kosurini (Wallace and Wolstenholme, 1998) ที่​พบ​ครั้งแรก​ที่​หมูเกาะ​สุรินทร ตารางการกระจายของชนิดปะการังในพื้นที่ส�ำ รวจหมู่เกาะสุรินทร์ สถานที่

อันดับ

วงศ์

สกุล

ชนิด

สตอร์ค

1

9

17

38

อ่าวจาก

1

13

46

113

อ่าวแม่ยาย

1

13

45

111

อ่าวไม้งาม

1

9

26

64

อ่าวสุเทพ

1

13

43

103

อ่าวเต่า

1

12

40

86

อ่าวผักกาด

1

13

43

100

หินกอง

1

5

9

23

เกาะมังกร

1

13

43

99

เกาะตอรินลา

1

6

9

17

หมู่เกาะสุรินทร์

1

15

24

34

เกาะสตอร์ค

1

1

1

1

เกาะตอรินลา

3

12

21

21

กองหินริเชลิว กองหินใต้น้ำ�ดีคอม

2

8

16

16

1

2

3

3

เกาะสุรินทร์เหนือ-ใต้

3

9

18

18

กลุ่มปะการังแข็ง

ปะการังอ่อน กัลปังหา

ราย​ละเอียด​การก​ระ​จา​ย​ของ​ปะการัง​แข็ง ปะการังอ​ อน และ​กัลปงหา​ชนิด​ ตางๆ รอบ​บริเวณ​หมู​เกาะ​สุรินทร​แสดง​ใน​ภาค​ผนวก ค

บริเวณ​ที่​มี​ความ​หลากหลาย​ของ​ชนิด​ ปะการัง​แข็ง​สูง (มาก​กวา 100 ชนิด)​คือ อาว​จาก อาว​แมยาย และ​อาว​สุ​เทพ ตามลำ�ดับ สวน​บริเวณ​เกาะ​ต​อริน​ลา มี​ ความ​หลากหลาย​ของ​ชนิด​ปะการัง​ออน​ และ​กัลปงหา​สูงที่สุด​ถึง 21 ชนิด​


17

1.3 ความหลากหลายทางชนิดของปลา (ข้อมูลทุติยภูมิ) ข อ มู ล ​ป ลา​ใ น​แ นว​ป ะการั ง ​ห มู  เ กาะ​สุ ริ น ทร​ รวบรวม​จาก 4 หนวยงาน ใน​ป พ.ศ.2545 และ พ.ศ.2548 พบ​ปลา​ใน​แนว​ปะการัง รวม 12 อันดับ 57 วงศ 161 สกุล 450 ชนิด กลุมป​ ลา​ ทีพ​่ บ​มาก​ชนิด เชน กลุม ป​ ลาสลิดห​ นิ (Chromis spp. Pomacentrus spp.) กลุม​ปลา​ผีเสื้อ (Chaetodon spp.) กลุม​ปลา​อม​ไข (Apogon spp.) กลุมป​ ลา​ขี้ตัง​เบ็ด (Acanthurus spp.) และ​กลุม​ปลาสลิด​ทะเล (Siganus spp.)

ตารางจำ�นวนสกุล​ชนิดของปลาที่มีความหลากหลายทางชนิดสูง และปลาที่อยู่ในวงศ์เป้าหมายในแนวปะการังหมู่เกาะสุรินทร์

วงศ์

จำ�นวนสกุล จำ�นวนชนิด

ปลาสลิดหิน (Pomacentridae)

14

73

ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae)

5

36

ปลาอมไข่ (Apogonidae)

4

22

ปลาขี้ตังเบ็ด (Acanthuridae)

4

23

ปลาสลิดทะเล (Siganidae)

1

11

ปลากะพง (Lutjanidae)

3

16

ปลากะรัง (Serranidae)

8

26

ปลานกแก้ว (Scaridae)

4

15

ปลาวัว (Balistidae)

6

8

ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae)

4

11

ปลาไหลมอเรย์ (Muraenidae)

2

4

ปลาสร้อยนกเขา (Haemulidae)

1

3

ปลานกขุนทอง (Labridae)

19

46

1.4 การกระจายของปลา (ข้อมูลทุติยภูมิ) ปลา​ใน​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร พบ​ได​ทั้ง​ ใน​ขอบเขต​ที่​มี​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน กอง​หิน​ใต​ น้ำ�​หรือ​โขดหิน​ปะการัง เศษ​ปะการัง​หัก และ​ พืน้ ทราย พืน้ ทีท​่ พ​ี่ บ​ชนิดป​ ลา​มาก​ทสี่ ดุ คือ อาว​ ผักกาด พบ​ปลา​มาก​สุด 152 ชนิด ตาม​มา​ดวย​ เกาะต​อริน​ลา พบ117 ชนิด และ​อาว​ไม​งาม พบ 83 ชนิด พื้นที่​ที่​พบ​ชนิด​ปลา​นอยที่สุด คือ อาว​ชอง​ขาด และ​หิน​กอง

ราย​ละเอียด​การก​ระ​จา​ย​ของ​ปลา​ ชนิด​ตางๆ รอบ​บริเวณ​หมู​เกาะ​ สุรินทร​แสดง​ใน​ภาค​ผนวก ง

การกระจายของชนิดปลาในพื้นที่สำ�รวจหมู่เกาะสุรินทร์ สถานที่

อันดับ

วงศ์

สกุล

ชนิด

เกาะสตอร์ค

4

18

28

49

อ่าวจาก

6

26

41

66

อ่าวไทรเอน

6

30

60

81

อ่าวแม่ยาย

5

17

34

59

อ่าวไม้งาม

6

28

49

83

อ่าวสุเทพ

7

22

34

48

อ่าวเต่า

7

25

43

72

อ่าวผักกาด

7

32

78

152

อ่าวช่องขาด

3

10

24

27

หินกอง

1

5

9

27

เกาะมังกร

5

23

37

55

เกาะตอรินลา

4

30

63

117

หมู่เกาะสุรินทร์ (ไม่ได้ระบุสถานที่)

9

34

75

116


18

Chapter 2 บทที่ ๒

CORAL REEF STATUS สถานภาพแนวปะการัง


19

2.1 สถานภาพแนวปะการัง

แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร เผชิญภัย​คุกคาม​ที่​สงผลตอ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​หลายครั้ง​ตลอด​ชวง​ระยะเวลา​

กวา 25 ป (พ.ศ.2528-2553) ของ​การ​ตดิ ตาม ทัง้ ก​ าร​ระบาด​ของ​ดาว​มงกุฎห​ นาม สาหราย​เห็ดห​ หู นู (Padina sp.) ปะการัง​ ฟอกขาว คลื่น​ยักษ​สึนามิ กิจกรรม​ดำ�น้ำ�​ทองเที่ยว และ​การ​ทำ�​ประมง หลัง​เหตุการณ​ตางๆ สิ่งมีชีวิต​ใน​แนว​ปะการัง​สวน ใหญส​ ามารถ​ฟน ค​ นื กลับส​ ส​ู ภาวะ​เดิมด​ ว ย​ระยะเวลา​ทแ​ี่ ตกตางกันต​ าม​ระดับค​ วาม​รนุ แรง​ของ​ภยั ค​ กุ คาม​และ​ปจ จัยภ​ ายนอก แต​ระดับ​ความ​รุนแรง​และ​ความถี่​ของ​ภัย​คุกคาม​ที่​มากขึ้น​มี​แนวโนม​ทำ�ให​พื้นที่​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร​อยู​ใน​ภาวะ​ เสี่ยง​ตอ​ความ​เสื่อมโทรม​ได​ใน​อนาคต การ​สำ�รวจ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ใน​ป พ.ศ.2552 - 2553 อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร​พยายาม​ติดตาม​เพื่อ​วิเคราะห​ ผล​กระทบ​จาก​การ​ใช​ประโยชน​ที่ถือ​เปนภัย​คุกคาม​ตอ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ดวย​วิธี Reef Check ใน 3 ชวงเวลา คือ กอน​มี​การ​ใช​ประโยชน ระหวาง​ถูก​ใช​ประโยชน​อยาง​หนักหนวง และ​ระยะ​ฟนตัว ใน​ระยะ 1 ป ผล​กระทบ​จาก​การ​ใช​ ้ำ การ​สญ ประโยชนใ​น​แนว​ปะการังถ​ กู แ​ บงออก​เปน ผล​กระทบ​จาก​การ​ทอ งเทีย่ ว เชน กิจกรรม​ด�ำ น� ั จร​เรือ ผล​กระทบ​จาก​ ชุมชน เชน หมูบ า น​ชมุ ชนมอ​แกน ผล​กระทบ​จาก​การ​ท�ำ ป​ ระมง เชน จุดจ​ อด​พกั เ​รือประมง และ​เพิม่ ก​ าร​ตดิ ตาม​สถานภาพ​ แนว​ปะการัง​ใน​จุด​ที่​เปน​แหลง​อาหาร​และ​วางไข​ของ​เตา​ทะเล และ​จุด​ที่​ไมเคย​ไดรับ​การ​ส�ำ รวจ​มา​กอน​เพื่อ​ความ​ครบถวน​ ของ​ขอมูล สถานภาพ​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร​ลาสุดเมื่อเ​ดือน​สิงหาคม พ.​ศ.2553 ทิศตะวันออก​และ​ทิศตะวันตก ที่​ระดับ​ความ​ ลึก2 ​ตั้งแต 2-8 เมตร อยู​ใน​สภาพ​เสื่อมโทรม​มาก จากที่​เคย​อยู​ใน​สภาพสมบูรณ​ดีมาก​ถึง​ปานกลาง โดย​สวนใหญ​สมบูรณ​ ดีมาก ใน​ชวงแรก (เดือน​ธันวาคม) มี​ปะการัง​ที่​มี​ชีวิต 23-85 ​เปอร​เซนต (เฉลี่ย 58±20 ​เปอร​เซนต) ชวง​ที่สอง (เดือน​ เมษายน) มี​ปะการัง​ที่​มี​ชีวิต 23-93 ​เปอร​เซนต (เฉลี่ย 64±24 ​เปอร​เซนต) และ​ชวง​ที่​สาม (เดือน​สิงหาคม) มี​ ปะการัง​ที่​มี​ชีวิต​ลดลง​เหลือ​เพียง 1-17 เ​ปอรเ​ซนต (เฉลี่ย 8±5 ​เปอร​เซนต) จาก​ผล​กระทบ​ของ​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ ฟอกขาว (Coral Bleaching) ใน​ชวง​ปลาย​เดือน​เมษายน​ถึง​มิถุนายน พ.​ศ.2553 w กราฟเปรียบเทียบเปอร์เซนต์การปกคลุมของปะการังมีชีวิตในสามช่วงเวลาตามจุดสำ�รวจ Reef Check บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ % การปกคลุมของปะการังมี​ีชีวิตตอพื้นที่

100

80

60

40

เม.ย.53 20

0

2

ธ.ค.52

ควา​มลึกของน้ำ�​ทะเล ณ สถานีสำ�รวจสถานภาพ​แนวปะ​การังดวยวิธี Reef Check หรือ Reef Watch ที่หักคา​ความ​ลึก​จาก​ตาราง​น้ำ�​ออกแลว

ส.ค.53


20

w ​แผนที่​สถาน​ีส�ำ รวจสถาน​ภาพ​แนวปะการัง บริเวณ​หมู​เกาะ​สุรินทร


21

เกาะสตอร์ค3 เกาะ​สตอรค​ตั้งอยู​ทาง​ดาน​ทิศเหนือ​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน​ทาง​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ ความ​ กวาง​ประมาณ 100 เมตร ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​เปนแนว​ปะการัง​ที่​ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ​บน​พื้นราบ​ที่​ ประกอบดวย​ทราย เริ่มตน​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 1.5 เมตร จากนั้น​จึง​เปนแนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน​จน​คอยๆ​ลาด ชัน ถึง​แนว​ทราย แนว​ปะการัง​สิ้นสุด​ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 20 เมตร (คณะ​วนศาสตร, 2548) สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 1-3 เมตร มี​ ปะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 55±0 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​ลดลง​เหลือ 13±6 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง ทราย หิน ปะการัง​ออน กัลปงหา สาหราย และดอกไมทะเล กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​พบ​ทั่วไป ไดแก กิ่ง​สั้น​กิ่ง​ยาว กอน แผน​แบน​โตะ เคลือบ กิ่ง​ กอน แผน​ใบไม และเห็ด แนว​ปะการัง​เกาะ​สตอรค​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว และ​เปน​แหลง​วางไข​และ​อาหาร​ ที่​สำ�คัญ​ของ​เตา​ทะเล​ เรื่อง​ผลก​ระทบไม​ พบ​ความ​เสียหายใดๆ​ ที่​เปนผล​กระทบ​ จาก​กิจกรรม​ทองเที่ยว ความ​เสียหาย​ของ​ แนว​ปะการัง​เกาะ​สตอรค​เปนผล​กระทบ​ จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว ซาก​ เรือจ​ ม​เมือ่ เ​ดือน​มกราคม ปพ.ศ.2553 และ​ ขยะ​ทะเล​จาก​การ​ทำ�​ประมง เชน อวน

อาวจาก3 อาว​จาก​อยู​ท าง​ดา น​ทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ​ของ​เกาะ​สรุ นิ ทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขน้ึ ​หนาแนน ความ​กวาง​ประมาณ 200 เมตร ลักษณะ​พื้นห​ นาต​ ัดข​ อง​แนว​ปะการังเ​ปนแนว​ปะการังบ​ น​พื้นราบ เริ่มตนท​ ีเ่​มตร​ที่ 40 จากฝั่ง ทีค่​ วาม​ลึกข​ อง​น้ำ�ป​ ระมาณ 3 เมตร และ​คอยๆ​ลาดชัน​ลง แนว​ปะการัง​สิ้นสุด​ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 15 เมตร (คณะ​วนศาสตร, 2548) สถานภาพ​ แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 3 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​ เฉลี่ย 18±3 เ​ปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​ แข็ง เศษ​ปะการัง ทราย หิน ดอกไมทะเล กัลปงหา ​และหอย​มือเสือ กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็งมีชีวิต​ที่​พบ​ทั่วไป ไดแก กอน แผนใ​บไม แผนแ​ บน​โตะ เคลือบ กิง่ ก​ อ น เห็ด แ​ ละกิง่ ส​ นั้ ก​ งิ่ ย​ าว แนว​ปะการังอ​ า ว​จาก​ถกู ใ​ชป​ ระโยชนใ​น​กจิ กรรม​ทอ งเทีย่ ว ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​สวนใหญ​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​และ​จาก​การ​ ทำ�​ประมง เชน อวน เชือก กิจกรรม​ดำ�น้ำ� เชน เดิน​ยืน​บน​ปะการัง และ​การ​ทิ้ง​สมอเรือ

2 3

ควา​มลึกของ​น้ำ�​ทะเล ณ สถานีสำ�รวจ​สถาน​ภาพแนวปะ​การังดวยวิธี Reef Check หรือ Reef Watch ที่หักคา​ความ​ลึก​จาก​ตาราง​น้ำ�​ออกแลว ผลจากการสำ�รวจด้วยวิธี Reef Watch


22

อาว​ไทร​เอน อาว​ไทร​เอน​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ ปะการัง​คอ ยๆ ล​ าดเอียง​จาก​ฝง ​ออกมา สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​ส�ำ รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง และ​สว น​แนว ราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef edge and Reef flat) ที​ร่ ะดับ​ความ​ลกึ 2 2 เมตร มี​ปะการัง​ม​ชี วี ติ ​เฉลีย่ 80±3 ​เปอร​เซนต ใน​ ชวงแรก และ​เพิม่ ขึน้ เ​ปน 89±1 เ​ปอรเ​ซนต ใน​ชว ง​ทสี่ อง และ​ลดลง​เหลือ 17​±2 เ​ปอรเ​ซนต ใน​ชว ง​ทส​ี่ าม​โดย​องคประกอบ​ ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง ตะกอน​ขึ้น​คลุม​แนว​ปะการัง​หนา และ​เศษ​ปะการัง กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด ไดแก กอน กิ่ง​กอน กลุม​ที่​พบ​ไดง่า​ ย ไดแก เคลือบ แผน​แบน​โตะ กิ่ง​ยาว ​และ​ กิ่ง​สั้น กลุมท​ ี่​พบ​ไม​งาย คือ แผนใ​บไม แนว​ปะการัง​อาว​ไทร​เอน​ถูก​ใช​ประโยชน​เปน​จุด​จอด​พัก​เรือประมง และ​เปน​แหลง​ อาหาร​ทส​ี่ �ำ คัญข​ อง​เตาท​ ะเล ความ​เสียหาย​ ของ​แนว​ปะการังอ​ า ว​ไทร​เอน​เปนผล​กระทบ​ จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว การ​ กระแทก​จาก​ทนุ ซ​ เี มนตข​ นาดใหญ​(สำ�หรับ​ ถวง​ซั้ง​ของ​เรือประมง) ​เมื่อ​มี​คลื่น​รุนแรง และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​และ​จาก​การทำ�ประมง เชน อวน

แหลมแมยาย​เหนือ​ดาน​ใน แ​ หลมแมยาย​เหนือด​ า นใน​อยูท​ าง​ดา น​ทศิ ตะวันออก​ของ​เกาะ​สรุ นิ ทรเ​หนือ มีแ​ นว​ปะการังข​ นึ้ ห​ นาแนน ความ​กวาง​ประมาณ 100 เมตร ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ริมฝง​มี​ลักษณะ​เปนแนว​ปะการัง​บน​พื้นราบ ขึ้น​กระจาย​อยู​บน​ ทราย เริ่ม​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 2 เมตร และ​หัก​ชัน​ลง​เมื่อ​หาง​จาก​ฝง​ออกมา​ประมาณ 50 เมตร แนว​ปะการัง​สิ้นสุด​ ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 20 เมตร (คณะ​วนศาสตร, 2548) สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ ปะการัง (Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก​2 2 เมตร มี​ปะการัง​ม​ชี วี ติ ​เฉลีย่ 83±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชว งแรก และ​เพิม่ ขึน้ ​เปน 92±1 เ​ปอรเ​ซนต ใน​ชว ง​ทส่ี อง และ​ลดลง​เหลือ 4±1 เ​ปอรเ​ซนต ใน​ชว ง​ทส​ี่ าม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการังใ​น​บริเวณ​ นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง ตะกอน​ขึ้น​คลุม​แนว​ปะการัง​หนา ทราย​และ​เศษ​ปะการัง กลุม​รูปทรง​ปะการัง​ แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กอน และกิ่ง​สั้น กลุม​ที่​พบ​ได​มาก คือ กิ่ง​กอน และกิ่ง​ยาว กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก แผน​แบน​โตะ กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย คือ แผนใ​บไม เคลือบ และ เห็ด แนว​ปะการัง​แหลมแมยาย​เหนือ​ดานใน​ ถูกใ​ชป​ ระโยชนใ​น​กจิ กรรม​ทอ งเทีย่ ว และ​เปน​ จุดจ​ อด​พกั เ​รือประมง แตไ​มพ​ บ​ความ​เสียหาย​ ใดๆ​ที่​เปนผล​กระทบ​จาก​กิจกรรม​ทองเที่ยว ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​อาว​แมยาย​ เหนือ​ดานใน​สวนใหญ​เปนผล​กระทบ​จาก​ ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว การ​ทิ้ง​สมอ เรือ ขยะ​ทะเล​จาก​การ​ท�ำ ป​ ระมง และ​รอ งรอย​ การ​ระเบิด​ปลา​ในอดีต


23

แหลมแมยาย​ใตดาน​นอก แ​ หลม​แมยาย​ใต​ดานนอก​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันออก​เฉียง​ใต​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน​บริเวณ​แนว​ ลาดชัน ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ริมฝง​มี​ลักษณะ​เปนแนว​ปะการัง​บน​พื้นราบ ขึ้น​กระจาย​อยู​บน​ทราย และ​คอยๆ ลาดชัน​กอน​จะ​หัก​ชัน​ลงสูพื้น​ทราย​ทมี่​ ี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​ สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง (Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2​ 3 เมตร มี​ปะการัง​ม​ชี วี ติ ​เฉลีย่ 59±3 ​เปอร​เซนต ใน​ ชวงแรก และ​เพิม่ ขึน้ ​เปน 76±1 เ​ปอร​เซนต ใน​ชว ง​ทส่ี อง และ​ลดลง​เหลือ 14±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง ตะกอน​ขึ้น​คลุม​แนว​ปะการัง​หนา ้ำ ดอกไมทะเล​เล็ก ทราย และ​หนิ กลุม ร​ ปู ทรง​ปะการังแ​ ข็ง​ ฟองน� มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กอน กลุม​ที่​พบ​ได​มาก คือ กิ่ง​ยาว กลุม​ที่​ พบ​ได​งาย ไดแก กิ่ง​สั้น กิ่ง​กอน เคลือบ แผน​แบน​โตะ ​และเห็ด กลุม ท​ พ​ี่ บ​ไมง​ า ย คือ แผนใ​บไม แนว​ปะการังแ​ หลม​แมยาย​ใตด​ า น นอก​ถกู ใ​ชป​ ระโยชนใ​น​กจิ กรรม​ทอ งเทีย่ ว และ​เปนจ​ ดุ จ​ อด​พกั เ​รือ ประมง แตไ​มพ​ บ​ความ​เสียหาย​ใดๆ​ทีเ​่ ปนผล​กระทบ​จาก​กจิ กรรม​ ทองเที่ยว ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​แหลมแมยาย​ใต​ดาน นอก​สว นใหญเ​ปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว และ​ขยะ​ทะเล​จาก​การ​ท�ำ ​ประมง

อาว​กระทิง อาว​กระทิง​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันตก​เฉียง​ใต​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​ แนว​ปะการัง​บริเวณ​ริมฝง​มี​ลักษณะ​เปนแนว​ปะการัง​บน​พื้นราบ​ออก​มาจาก​ฝง​และ​คอยๆ​ลาดชัน​ลง สถานภาพ​แนว​ ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2​ 4 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 66±4 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ 70±4 ​เปอรเ​ซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​ลดลง​เหลือ 7±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​ องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการังใ​น​บริเวณ​นี้ (แนว​ส�ำ รวจ) ประกอบดวย​ปะการังแ​ ข็ง ทราย และ​ตะกอน​ขนึ้ ค​ ลุมแ​ นว​ปะการัง​ หนา กลุมร​ ูปทรง​ปะการัง​แข็งมีชีวิต​ที่​เดน​ที่สุด คือ กอน กลุม​ที่​พบ​ได​มาก ไดแก กิ่ง​กอน กิ่ง​สั้น ​และเคลือบ กลุม​ที่​พบ​ได​ งาย ไดแก แผน​แบน​โตะ แ​ ละกิ่ง​ยาว กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย ไดแก แผน​ใบไม ​และเห็ด แนว​ปะการัง​อาว​กระทิง​ถูก​ใช​ประโยชน​ ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว และ​เปน​จุด​จอด​พัก​เรือประมง แต​ไม​พบ​ความ​เสียหาย​ใดๆ ​ที่​เปนผล​กระทบ​จาก​กิจกรรม​ทองเที่ยว ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการังอ​ า ว​กระทิงส​ ว นใหญเ​ปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว และ​ขยะ​ทะเล​ทวั่ ไป


24

อาวปอ อ​ าว​ปอ​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันตก​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ บน​พื้นทราย ลักษณะ​พื้น​ หนาต​ ดั ข​ อง​แนว​ปะการังบ​ ริเวณ​รมิ ฝง ม​ ล​ี กั ษณะ​เปนแนว​ปะการังบ​ น​พนื้ ราบ​ออก​มาจาก​ฝง แ​ ละ​คอ ยๆ ล​ าดชันล​ ง สถานภาพ​ แนว​ปะการัง (ใน​แนว​ส�ำ รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2​ 2 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​ เฉลี่ย 23±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ 23±2 เ​ปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​ลดลง​เหลือ 1±0 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​เศษ​ปะการัง ปะการังแ​ ข็ง โคลน​และ​ตะกอน​ขนึ้ ค​ ลุม​ แนว​ปะการังห​ นา และ​ทราย กลุม ร​ ปู ทรง​ปะการังแ​ ข็งม​ ชี วี ติ ทีพ​่ บ​ ได​มาก ไดแก กอน เคลือบ กิ่ง​กอน และ​กิ่ง​สั้น กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก แผน​แบน​โตะ ​และ​แผน​ตั้ง กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย คือ กิ่ง​ยาว แนว​ปะการังอ​ า ว​ปอ​อยูใ​ น​เขต​ฟน ฟูสภาพ​แนว​ปะการังแ​ ละ​ไมเคย​ มีการศึกษา​เรื่อง​แนว​ปะการัง​มา​กอน ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ ปะการัง​อาว​ปอ​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอก ขาว คลื่น​ใต​น้ำ� และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​และ​จาก​การ​ทำ�​ประมง

อาว​ทรายแดง​3 อ​ า ว​ทราย​แดง​อยูท​ าง​ดา น​ทศิ ตะวันตก​เฉียง​เหนือข​ อง​เกาะ​สรุ นิ ทรเ​หนือ มีแ​ นว​ปะการังข​ นึ้ ก​ ระจาย​เปนห​ ยอมๆ​บน​พนื้ ทราย ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​ริมฝง​มี​ลักษณะ​เปนแนว​ปะการัง​บน​พื้นราบ​ออก​มาจาก​ฝง และ​คอยๆ​ ลาดชัน​ลง สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พนื้ ราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ทีร​่ ะดับค​ วาม​ลกึ ​2 2 เมตร มีป​ ะการัง​ มี​ชีวิต​เฉลี่ย 5±3 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ ปะการัง​แข็ง ทราย เศษ​ปะการัง หิน และ​ปะการัง​ออน กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็งมีชีวิต​ที่​พบ​ทั่วไป ไดแก กอน แผน​แบน​ โตะ เคลือบ กิ่งก​ อน กิ่ง​สั้น​กิ่ง​ยาว แผนใ​บไม และเห็ด แนว​ปะการัง​อาว​ทราย​แดง​ถูกจัด​อยู​ใน​เขต​ฟนฟูสภาพ​แนว​ปะการัง ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการังอ​ า ว​ทราย​แดง​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว การ​ทงิ้ ส​ มอเรือ และ​ขยะ​ ทะเล​จาก​การ​ท�ำ ​ประมง เชน อวน เชือก


25

​อาว​สุ​เทพ​นอย อ​ า ว​ สุเ​ทพ​นอ ย​อยูท​ าง​ดา น​ทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือข​ อง​เกาะ​สรุ นิ ทรใ​ต มีแ​ นว​ปะการังข​ นึ้ ห​ นาแนน ลักษณะ​พนื้ ห​ นาต​ ดั ข​ อง​ แนว​ปะการัง​ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ​อยู​บน​พื้นราบ​ประกอบดวย​ทราย​และ​คอยๆ​ลาดเอียง​กอน​จะ​ชัน​ลง แนว​ปะการัง​ขึ้น​ หนาแนน​โดยเฉพาะ​บริเวณ​ลาดชัน สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง (Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 5 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 52±3 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ​เพิ่มขึ้น​เปน 59±2 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ ที่สอง และ​เหลือ 8±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง ปะการังอ​ อ น ทราย และ​ตะกอน​ขนึ้ ค​ ลุมแ​ นว​ปะการังห​ นา กลุม ร​ ปู ทรง​ปะการัง​ แข็งมีชวี ติ ท​ เ​ี่ ดนท​ สี่ ดุ คือ กอน กลุม ท​ พ​ี่ บ​ไดม​ าก ไดแก แผนแ​ บน​โตะ​และเคลือบ กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก กิ่ง​กอน ​และกิ่ง​ยาว กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย คือ แผน​ใบไม กิ่ง​ สั้น และเห็ด แนว​ปะการังอาว สุเ​ทพ​นอย​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว​ แทนอา​วสุ​เทพ​ใหญ​ตั้งแต​ ป พ.ศ.2548 ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​สวน ใหญ​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​ และ​จาก​การทำ�ประมง เชน อวน

อาวบอน อาวบอน​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต มี​แนว​ปะการัง​เดียว​กับ​แนว​ปะการัง​ของ​อาว​เตา แนว​ปะการัง​ขึ้น​ หนาแนนบ​ ริเวณ​ดา นนอก​อา ว​เมือ่ เ​ขามา​ดา นใน​อา ว​แนว​ปะการังจ​ ะขึน้ ก​ ระจาย​เปนห​ ยอมๆ บน​พนื้ ทราย ลักษณะ​พนื้ ห​ นา​ ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​เปน​พื้นราบ​กอน​จะ​คอยๆ ​ลาดเอียง​เล็กนอย​และ​หัก​ชัน​ลง สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​และ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat and Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 3 เมตร มีป​ ะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 59±4 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ​เพิ่มขึ้น​เปน 68±3 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​ลดลง​เหลือ 8±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง ตะกอน​ขึ้น​ คลุม​แนว​ปะการัง​หนา​และ​โคลน และ​ทราย กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด ไดแก กิ่ง​กอน ​และกอน กลุม​ที่​พบ​ ได​มาก คือ กิ่ง​สั้น กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก แผนแ​ บน​โตะ และเคลือบ แนว​ปะการัง​อาวบอน​อยู​ใกล​แหลง​ที่​อยู​อาศัย​ของ ชุมชนมอ​แกน ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​สวนใหญ​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว การกระแทก จากเรือและใบพัด และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป


26

อาวเตา​ใต อ​ าว​เตา​ใต​อยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน​โดยเฉพาะ​บริเวณ​ลาดชัน ความ​กวาง​ ประมาณ 80 เมตร ลักษณะ​พนื้ ห​ นาต​ ดั ข​ อง​แนว​ปะการังเ​ปนพ​ นื้ ราบ​มแ​ี นว​ปะการังร​ มิ ฝง ข​ นึ้ อยูบ​ น​พนื้ ทราย​และ​คอ ยๆ​ลาด เอียง​กอน​จะ​ชัน​ลง​เปน​หนาผา​สูง​และ​เปน​พื้นราบ​มี​แนว​ปะการัง​กระจาย​อยู​บน​พื้นทราย แนว​ปะการัง​เริ่มตน​ที่​ความ​ลึก​ ของ​น้ำ�​ประมาณ 1 เมตร สิ้นสุด​ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 18 เมตร (คณะ​วนศาสร, 2548) สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​ สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง (Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 4 เมตร มี​ปะการัง​ม​ชี วี ติ ​เฉลีย่ 85​±1 ​เปอร​เซนต ใน​ ชวงแรก และ​เพิม่ ขึน้ ​เปน 93±1 เ​ปอร​เซนต ใน​ชว ง​ทส่ี อง และ​ลดลง​เหลือ 4​±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง และ​ตะกอน​ขึ้น​คลุม​แนว​ปะการัง​หนา กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กิ่ง​กอน กลุม​ที่​พบ​ได​มาก ไดแก กอน ​และกิ่ง​ยาว กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก แผน​แบน​โตะ และกิ่ง​สั้น กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย คือ แผน​ใบไม แนว​ปะการัง​อาว​เตา​ใต​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว แต​ ไม​พบ​ความ​เสียหาย​ใดๆ ​ที่​เปนผล​กระทบ​ จาก​กจิ กรรม​ทอ งเทีย่ ว ความ​เสียหาย​ของ​ แนว​ปะการังอ​ า ว​เตาใ​ตเ​ปนผล​กระทบ​จาก​ ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว ขยะ​ทะเล​ ทั่วไป​และ​จาก​การ​ทำ�​ประมง เชน อวน และ​ซาก​เรือ​จม​เมื่อ​ป พ.ศ.2552

​แหลมอาวผัก​กาด อ​ าว​ผักกาด​อยู​ทาง​ดาน​ทิศใต​ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน ความ​กวาง​ประมาณ 80 เมตร ลักษณะ​พื้น​ หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​ริมฝง​ขึ้นอยู​บน​พื้นทรายถัด​ออก​มาจาก​แนว​โขดหิน เริ่มตน​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 1 เมตร และ​คอยๆ ​ลาดเอียง​กอน​จะ​ชัน​ลง​เปน​หนาผา​สูง​และ​เปน​พื้นราบ​มี​แนว​ปะการัง​กระจาย​อยู​บน​พื้นทราย แนว​ปะการัง​สิ้น สุด​ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 16 เมตร (คณะ​วนศาสร, 2548) สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ ปะการัง (Reef edge) ทีร​่ ะดับค​ วาม​ลกึ 2 5 เมตร มีป​ ะการังม​ ช​ี วี ติ เ​ฉลีย่ 43±3 เ​ปอรเ​ซนต ใน​ชว งแรก และ​ลดลง​เปน 39±2​ เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​เหลือ 6±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​ สำ�รวจ) ประกอบดวย​ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง และ​ตะกอน​ขึ้น​ คลุม​แนว​ปะการัง​หนา กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กอน กลุมท​ ี่​พบ​ได​มาก คือ กิ่ง​ยาว กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก กิ่ง​ กอน เคลือบ กิ่ง​สั้น ​และแผน​แบน​โตะ กลุมท​ ี่​พบ​ไม​งาย คือ แผน​ ใบไม แนว​ปะการัง​แหลมอาว​ผักกาด​ (ทิศ​ตะวันตก) ถูก​ใช​ ประโยชน​ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว แต​ไม​พบ​ความ​เสียหาย​ใดๆ​ ที่​ เปนผล​กระทบ​จาก​กิจกรรม​ทองเที่ยว ความเสียหายของแนว ปะการังแหลมอ่าวผักกาด (ทิศตะวันตก) เปนผล​กระทบ​จาก​ ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว และ​ขยะ​ทะเล​ทวั่ ไป​และ​จากการ ทำ�ประมง เชน อวน


27

รองน้ำ�​อาวชอง​ขาด รองน้ำ�​อาว​ชอง​ขาด​เปน​ชองแคบ​ระหวาง​เกาะ​สุรินทรเหนือ​และเกาะ​สุรินทร​ใต กวาง​ประมาณ 200 เมตร มี​แนว​ปะการัง​ ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ริมฝง​ทั้งสอง​ขาง​มี​ลักษณะ​เปนแนว​ปะการัง​บน​พื้น ราบ ขึ้น​กระจาย​อยู​บน​ทราย สถานภาพ​แนว​ปะการัง (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ ระดับ​ความ​ลึก2 1 เมตร มีป​ ะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 37±5 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ 37±4 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่สอง และ​ ลดลง​เหลือ 14±1 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ที่​สาม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย เศษ​ปะการัง ปะการัง​แข็ง ทราย ตะกอน​ขึ้น​คลุมแ​ นว​ปะการัง​หนา และ​ฟองน้ำ� กลุมร​ ูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กอน กลุมท​ ี่​พบ​ได​มาก คือ เคลือบ กลุม​ที่​พบ​ได​งาย คือ กิ่ง​สั้น กิ่ง​ยาว ​และแผน​แบน​โตะ แนว​ปะการัง​รองน้ำ�​อาว​ชอง​ ขาด​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​การ​สัญจร​เรือ และ​ เปน​แหลง​อาหาร​ที่​สำ�คัญ​ของ​เตา​ทะเล ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​รองน้ำ�​ อาว​ชอง​ขาด​สวนใหญเ​ปนผล​กระทบ​จาก​ ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว และ​การ​ กระแทก​ข องเรื อ ​แ ละ​ใ บพั ด และ​ข ยะ​ ทะเล​ทั่วไป

​หิน​กอง3 หิน​กอง​ตั้งอยู​ทาง​ดาน​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน แนว​ปะการัง​ทิศเหนือ​มี​ความ​กวาง​ ประมาณ 100 เมตร ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​ชายฝง​ขึ้นอยู​บน​โขดหิน เริ่ม​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 50 เซนติเมตร จากนัน้ จ​ งึ เ​ปนแนว​ปะการังข​ นึ้ ห​ นาแนนแ​ ละ​คอ ยๆ ล​ าดชันถึงแ​ นว​ทราย​มป​ี ะการังข​ นึ้ ก​ ระจาย​เปนห​ ยอมๆ แนว​ ปะการัง​สิ้นสุด​ที่​ความ​ลึก​ประมาณ 12 เมตร (คณะ​วนศาสร, 2548) แนว​ปะการัง​ทิศใต มี​ปะการัง​ขึ้น​กระจาย​เปน​หยอมๆ บน​พนื้ ราบ ประกอบดวย​ทราย​และ​กอง​หนิ แ​ ละ​คอ ยๆ​ลาดชันถ​ งึ ทีล​่ กึ สถานภาพ​แนว​ปะการังทิศเหนือและทิศใต้ (ใน​แนว​ สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 1-5 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 7±5 เ​ปอร​เซนต ใน​เดือน​สงิ หาคม (ชวง​ทส​ี่ าม) โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการังใ​น​บริเวณ​นี้ (แนว​ส�ำ รวจ) ประกอบดวย​ปะการังแ​ ข็ง เศษ​ ปะการัง หิน ทราย สาหราย ดอกไมทะเล ดอกไมทะเล​เล็ก​และ​หอย​มือเสือ กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด​ บริเวณ​ทิศเหนือ​ของ​ หินก​ อง คือ กิ่งส​ ั้นและ​กิ่ง​ยาว ทิศใต​ของ​หิน​กอง คือ แผน​ตั้ง กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​ที่​พบ​ทั่วไป​ รอบ​หิน​กอง ไดแก กอน กิ่ง​กอน แผน​ใบไม เคลือบ แผน​แบน​โตะ และเห็ด


28

เกาะมังกร เกาะ​มงั กร​ตงั้ อยูท​ าง​ดา น​ทศิ ตะวันตก​เฉียงเหนือของ​เกาะ​สรุ นิ ทร​ ใต มี​แนว​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน​ทาง​ทิศตะวันออก​ของ​เกาะ ความ​ กวาง​ประมาณ 170 เมตร ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​ คอยๆ​ลาดเอียง​จาก​ฝง​ออกมา เริ่ม​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 1 เมตร สิน้ สุดท​ ค​ี่ วาม​ลกึ ป​ ระมาณ 15 เมตร (คณะ​วนศาสร, 2548) สถานภาพ​แนว​ปะการัง(ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​ไหล​ของ​แนว​ ปะการัง (Reef edge) ทีร​่ ะดับค​ วาม​ลกึ 2 3 เมตร มีป​ ะการังม​ ช​ี วี ติ ​ เฉลี่ย 49±5 ​เปอร​เซนต ใน​ชวงแรก และ​เพิ่มขึ้น​เปน 57±4​ เปอร​เซนต ใน​ชว ง​ทส่ี อง และ​ลดลง​เหลือ 1 ±0 ​เปอร​เซนต ใน​ชวง​ ทีส​่ าม โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการังใ​น​บริเวณ​นี้ (แนว​ส�ำ รวจ) ประกอบดวย​ปะการังแ​ ข็ง สาหราย เศษ​ปะการัง ทราย และ​ตะกอน​ขึ้น​คลุม​แนว​ปะการัง​หนา กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็ง​มีชีวิตที่​เดน​ที่สุด คือ กิ่ง​กอน กลุม​ที่​พบ​ได​งาย ไดแก กิ่ง​สั้น กิ่ง​ยาว กอน และ​แผน​ใบไม กลุม​ที่​พบ​ไม​งาย คือ แผน​แบน​โตะ ​และ​เคลือบ แนว​ปะการัง​เกาะ​มังกร​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​ กิจกรรม​ทอ งเทีย่ ว และ​เปนแ​ หลงว​ างไขแ​ ละ​อาหาร​ทส​ี่ �ำ คัญข​ อง​เตาท​ ะเล​แตไ​มพ​ บ​ความ​เสียหาย​ใดๆ ทีเ​่ ปนผล​กระทบ​จาก​ กิจกรรม​ทองเที่ยว ความ​เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​เกาะ​มังกร​เปนผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว และ​ขยะ​ ทะเล​จาก​การ​ท�ำ ​ประมง เชน อวน

​เกาะ​ตอริน​ลา3 เกาะต​อริน​ลา​ตั้งอยู​ทาง​ดาน​ทิศใต​ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต แนว​ปะการัง​ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ​มี​ปะการัง​ขึ้น​หนาแนน ความ​ กวาง​ประมาณ 100 เมตร ลักษณะ​พื้น​หนา​ตัด​ของ​แนว​ปะการัง​ริมฝง​ขึ้นอยู​บน​พื้นราบ เริ่ม​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 1 เมตร และ​คอยๆ​ลาดเอียง​กอน​จะ​ชัน​ลง แนว​ปะการัง​สิ้นสุด​ที่​ความ​ลึก​ของ​น้ำ�​ประมาณ 16 เมตร (คณะ​วนศาสร, 2548) แนว​ปะการังท​ ศิ ตะวันออกเฉียงใต ลักษณะ​พนื้ ห​ นาต​ ดั ข​ อง​แนว​ปะการังร​ มิ ฝง ข​ นึ้ ก​ ระจาย​เปนห​ ยอมๆ บน​พนื้ ราบ ประกอบ ดวย​ทราย และ​แผนหิน และ​คอยๆ​ลาดเอียง​กอน​จะ​ชัน​ลง​เปน​หนาผา​สูง สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ใน​แนว​สำ�รวจ) บริเวณ​พื้นราบ​และ​ไหล​ของ​แนว​ปะการัง (Reef flat and Reef edge) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 3-8 เมตร มี​ปะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 60 ​เปอร​เซนต ใน​เดือน​กุมภาพันธ และ​เหลือ 6±3​ เปอร​เซนต ใน​เดือน​สิงหาคม (ชวง​ที่​สาม) โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการัง​ใน​บริเวณ​นี้ (แนว​สำ�รวจ) ประกอบดวย​ ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง สาหราย ทราย ดอกไมทะเล ดอกไมทะเล​เล็ก พรม​ทะเล​และ​หอย​มือเสือ กลุม​รูปทรง​ปะการัง​ แข็ง​มีชีวิตที่​พบ​ทั่วไป ไดแก กิ่ง​สั้น​กิ่ง​ยาว กอน แผน​แบน​โตะ เคลือบ กิ่ง​กอน แผน​ใบไม เห็ด


29

สถานภาพ​แนว​ปะการังท​ ศิ ตะวันออกเฉียงใต (แนว​ส�ำ รวจ) บริเวณ​พนื้ ราบ (Reef flat) ที่​ระดับ​ความ​ลึก2 3-6 เมตร มีป​ ะการัง​มี​ชีวิต​เฉลี่ย 5±3 เ​ปอร​เซนต ใน​เดือน​สิงหาคม (ชวง​ทส​ี่ าม) โดย​องคประกอบ​ของ​แนว​ปะการังใ​น​บริเวณ​นี้ (แนว​ส�ำ รวจ) ประกอบดวย ปะการัง​แข็ง เศษ​ปะการัง ทราย ปะการังอ​ อน สาหราย กัลปงหา ดอกไมทะเล​และ​ หอย​มือเสือ กลุม​รูปทรง​ปะการัง​แข็งมีชีวิต​ที่​พบ​ทั่วไป ไดแก กอน เคลือบ กิ่ง​กอน กิ่ง​ สั้น แผน​แบน​โตะ แผน​ใบไม แนว​ปะการัง​เกาะต​อริน​ลา​ทิศตะวันออก​ถูก​ใช​ประโยชน​ใน​กิจกรรม​ทองเที่ยว ความ​ เสียหาย​ของ​แนว​ปะการัง​สวนใหญ​เปนผล​กระทบ​จาก​เหตุการณ​สึนามิ ปรากฎ​การณ​ ปะการัง​ฟอกขาว กิจกรรม​ดำ�น้ำ� และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​และ​จาก​เรือประมง เชน อวน เชือก แตกตางจากต​อรินล​ า​ทศิ ใตท​ อี่ ยูน​ อก​เขต​การ​ใชป​ ระโยชน และ​มค​ี ลืน่ ล​ มแรง แนว​ ปะการัง​สวนใหญ​ไดรับ​ความ​เสียหาย​จาก​คลื่น​ใตน​ ้ำ� ผล​สำ�รวจ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​ดวย​วิธี Reef Check และ Reef Watch ระหวาง​เดือน​ธันวาคม พ.ศ.2552 ถึง​เดือน​ สิงหาคม พ.ศ.2553 บอก​ถึง​อัตราสวน​การ​ปกคลุม​พื้นที่​ของ​ปะการัง​แข็ง​มี​ชีวิต​และ​ปะการัง​แข็ง​ตาย​ใน​แตละ​สถานี ซึ่ง​ อัตราสวน​นีใ้​ชเปนเ​กณฑใ​น​การ​จดั ร​ ะดับส​ ถานภาพ​แนว​ปะการังว​ า ส​ มบูรณห​ รือเ​สือ่ มโทรม​มาก​นอ ย​เพียงใด (รายละเอียด​ ทาย​ตาราง​จุด​สำ�รวจ​และ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง) ใน​ชวง​เดือน​ธันวาคม​ถึง​เดือน​เมษายน สถานภาพ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ หมูเ กาะ​สรุ นิ ทรส​ ว นใหญอ​ ยูใ​ น​ระดับส​ มบูรณด​ มี าก​ถงึ ส​ มบูรณป​ านกลาง มีเ​พียง​สอง​สถานีท​ พ​ี่ บ​มค​ี วาม​เสือ่ มโทรม คือ อาว​ ปอ และ​แหลม​อาว​ผักกาด ซึ่งบ​ ริเวณ​อาว​ปอ​เปน​บริเวณ​ที่​ได​กรับ​ผล​กระทบ​จาก​คลื่น​ใต​น้ำ� และ​ขยะ​ทะเล​ทั่วไป​และ​ขยะ​ จาก​การ​ท�ำ ป​ ระมง สวน​บริเวณ​แหลม​อา ว​ผกั กาด​เปนจ​ ดุ ท​ ไ​ี่ ดรบั ผ​ ล​กระทบ​จาก​ข​ ยะ​ทะเล​ทวั่ ไป​และ​ขยะ​จาก​การ​ท�ำ ป​ ระมง ตอมา​ใน​เดือน​พฤษภาคม​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​มี​แนวโนม​เสื่อมโทรม​ลง​อยาง​ตอเนื่อง​จนถึง​เดือน​สิงหาคม สถานภาพ​ แนว​ปะการังท​ กุ ส​ ถานีท​ ส​ี่ �ำ รวจ​เปลีย่ น​เปนร​ ะดับเ​สือ่ มโทรม​มาก​จาก​ผล​กระทบ​ของ​ปรากฏการณป​ ะการังฟ​ อกขาว (ระหวาง​ ปลาย​เดือน​เมษายน​ถึง​เดือน​มิถุนายน) โดย​สถานี​ที่​มี​อัตราสวน​ปะการัง​มี​ชีวิต​ตอ​ปะการัง​ตาย​นอยที่สุด คือ เกาะ​มังกร (1 : 70.5) และ​ที่​มี​คา​มาก​ที่สุด คือ อาว​จาก (1 : 3.5) อาว​ไทร​เอน (1 : 4.5) และ แหลม​แมยาย​ใต​ดานนอก​และ​รองน้ำ�​ อาว​ชอง​ขาด (1 : 5.5) ตามลำ�ดับ


97.875

97.868

9.439

9.424

9.415

9.430

9.444

9.454

9.422

9.407

9.388

9.378

9.422

9.396

9.421

9.372

9.367

อ่าวไทรเอน

แหลมแม่ยายหนือด้านใน

แหลมแม่ยายใต้ด้านนอก

อ่าวกระทิง

อ่าวปอ

อ่าวทรายแดง

อ่าวสุเทพน้อย

อ่าวบอน

อ่าวเต่าใต้

แหลมอ่าวผักกาด ร่องน้ำ�อาวช่องขาด

หินกอง

เกาะมังกร

เกาะตอรินลา NE

เกาะตอรินลา SE

-

100

170

>100

-

80

80

-

-

-

-

-

-

100

-

200

100

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

400

Rf

Rf

Rf & Re

Rf & Sr

Rf

Re

Re

Rf & Re

Re

Rf

Re

Rf

Re

Re

Rf & Re

Rf & Re

Rf & Rs

ความกว้าง พื้นที่ส�ำ รวจ แนวปะการัง เขตสำ�รวจ (ตร.ม.) (ม.)

-

-

1.9 : 1

-

1:1

1 : 1.2

7.6 : 1

2.4 : 1

1.9 : 1

-

1 : 1.1

3.8 : 1

5.9 : 1

11 : 1

5.1 : 1

-

-

ธันวาคม

ปี 2552

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1:1

-

มกราคม

-

2.4 : 1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กุมภาพันธ์

-

-

2.3 : 1

-

1 : 1.1

1 : 1.5

18.5 : 1

4.0 : 1

2.2 : 1

-

1 : 1.8

4.9 : 1

5.3 : 1

36.8 : 1

8.9 : 1

-

-

เมษายน

1 : 5.7

1 : 1.5

1.9 : 1

5.7 : 1

1 : 2.3

-

1.9 : 1

1.5 : 1

1 : 1.9

2.3 : 1

1 : 1.5

-

2.7 : 1

1 : 2.3

3:1

-

3:1

พฤษภาคม

ปี 2553

1 : 10.1

1:4

-

1.5 : 1

-

-

-

-

-

1 : 1.9

-

-

-

-

-

-

1:1

มิถุนายน

อัตราส่วน ปะการังมีชีวิต ต่อ ปะการังตาย (สถานภาพแนวปะการัง)

หมายเหตุ : สีตัวอักษรในช่องสถานภาพแนวปะการัง - สีดำ� คือ ผลสำ�รวจจากวิธี Reef Check - สีขาวและเทา คือ ผลสำ�รวจจากวิธี Reef Watch เขตสำ�รวจ - Re คือ Reef edge (ไหล่ปะการัง) - Rf คือ Reef flat (แนวราบ) - Rs คือ Reef slpe (แนวลาดชัน) - Sr คือ Submerge rock (กองหินใต้น้ำ�) เกณฑ์การจัดสถานภาพแนวปะการัง ขึ้นกับ อัตราส่วนปริมาณปกคลุมพื้นที่ของ ปะการังมีชีวิต ต่อ ปะการังตาย ดังนี้ ¢ สมบูรณ์ดีมาก คือ 3 : 1 ¢ สมบูรณ์ดี คือ 2 : 1 ¢ สมบูรณ์ปานกลาง คือ 1 : 1 ¢ เสื่อมโทรม คือ 1 : 2 ¢ เสื่อมโทรมมาก คือ 1 : 3

97.868

97.870

97.835

97.896

97.882

97.873

97.854

97.862

97.857

97.857

97.878

97.898

97.902

97.899

9.454

อ่าวจาก

97.906

ลองติจูด

9.476

ละติจูด

(WGS1984)

เกาะสตอร์ค

สถานที่

องศาพิกัดสำ�รวจ

ตารางแสดงจุดสำ�รวจและสถานภาพแนวปะการัง บริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ระหว่าง ธันวาคม พ.ศ.2552 - สิงหาคม พ.ศ.2553

1 : 15

1 : 13.7

1 : 70.5

1 : 10

1 : 5.5

1 : 14.2

1 : 20.6

1 : 9.1

1 : 9.3

1 : 11

1 : 37.5

1 : 8.8

1 : 5.5

1 : 24

1 : 4.5

1 : 3.5

1 : 5.5

สิงหาคม

Reef Watch

Reef Watch

Reef Check & Watch

Reef Watch

Reef Check & Watch

Reef Check

Reef Check & Watch

Reef Check & Watch

Reef Check & Watch

Reef Watch

Reef Check & Watch

Reef Check

Reef Check & Watch

Reef Check & Watch

Reef Check & Watch

Reef Watch

Reef Watch

วิธีการสำ�รวจ

30


31 w ​กราฟเปรียบเทียบลักษณะการปกคลุมพื้นที่ของแต่ละสถานี ในสามช่วงเวลา (ผลจากการสำ�รวจวิธี Reef Check) ช่วงที่ 1 : ธันวาคม 2552

100%

% การปกคลุมพื้นที่

80%

60%

40%

20%

0% 100%

ช่วงที่ 2 : เมษายน 2553

80%

สถานภาพ​แ นว​ป ะการั ง ​ร อบ​ห มู ​ เกาะ​สุ ริ น ทร ​มี ​ก าร​เ ปลี่ ย นแปลง​ อยาง​ชัดเจน​ใน​การ​สำ�รวจ​ชวง​ที่ 3 คื อ ​มี ​ก าร​ล ดลง​อ ย า ง​ม าก​ข อง​ เปอรเ​ซนตก​ าร​ปกคลุมพ​ ื้นที่ข​ อง​ ปะการั ง ​แข็ ง ​มี ​ชี วิ ต ซึ่ ง ​เ ป น ผล​ กระทบ​จาก​ปรากฏ​การณ​ปะการัง​ ฟอก​ข าว (ระหว า ง​ป ลาย​เ ดื อ น​ เมษายน ถึง มิถุนายน พ.​ศ.2553) สงผ​ ล​ใหส​ ถานภาพ​แนว​ปะการังอ​ ยู​ ใน​ระดับ​เสื่อมโทรม​มาก

60%

40%

20%

0% 100%

80%

60%

ช่วงที่ 3 : สิงหาคม 2553

อื่นๆ (เชน พรมทะเล หอยมือเสือ ดอกไมทะเล ดอกไมทะเลเล็ก) โคลน / ตะกอน ทราย เศษปะการัง ปะการังตาย หินปะการัง

40%

ฟองน้ำ สาหราย

20%

ปะการังที่เพิ่งตาย (<1ป) ปะการังออน

0%

ปะการังแข็ง


32

2.2 สถานภาพปลา​ในแนวปะการัง ความ​หลากหลาย​ของ​กลุม ป​ ลา​ใน​แนว​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรท​ ม​ี่ ท​ี งั้ ป​ ลา​ใน​กลุม เ​ศรษฐกิจท​ ส​ี่ ราง​ความ​มนั่ คง​ทาง​เศรษฐกิจ​ และ​สังคม ก​ ลุม​ปลา​สวยงาม​และ​ปลา​หา​ยาก​ที่​สงเสริม​ดาน​การ​ทองเ​ที่ยว ​และ​กลุม​ปลา​บริโภค​ของ​ชุมชน​ทองถิ่นมอ​แกน​ ที่​สะทอน​ความ​มั่นคง​ทาง​อาหาร ​แสดง​ถึง​มูลคา​ของ​ทรัพยากร​ปลา​ที่​สราง​ผล​ประโยชน​มหาศาล​ให​กับ​คน​ทองถิ่น​และ​คน​ ชายฝง ​และ​ความ​อุดมสมบูรณ​ของ​ทรัพยากร​ปลา​ที่​เปน​ที่สุด​แหง​หนึ่ง ​การ​ใช​ประโยชน​จาก​ทรัพยากร​ที่​มี​คุณคา​นี้​จึง​ตอง​ อาศัย​การ​จัดการ​ซึ่ง​ถา​ไมมี​ความ​เหมาะสม​ทรัพยากร​อาจ​ทด​แทน​กลับ​มา​ได​ไมทัน​จน​อาจ​เกิด​ความ​เสื่อมโทรม​ขึ้น ​ดังเชน​ แนว​ปะการังซ​ งึ่ เ​ปนแ​ หลงอ​ นุบาล​วยั อ​ อ น​และ​แหลงอ​ าหาร​ไดรบั ผ​ ล​กระทบ​จาก​ภยั ค​ กุ คาม​ตา งๆ จ​ น​ท�ำ ใ​หเ​กิดค​ วาม​เสียหาย​ สิง่ มีชวี ติ ใ​น​แนว​ปะการังร​ วม​ถงึ ป​ ลา​ไมอ​ าจ​อยูไ​ ดแ​ ละ​ท�ำ ใ​หส​ มดุลข​ อง​ระบบนิเวศ​แนว​ปะการังเ​ปลีย่ น​แปลง ก​ าร​ตดิ ตาม​การ​ เปลีย่ น​แปลง​ความ​หนา​แนนโ​ดยเฉพาะ​ทอ​ี่ ยูใ​ น​กลุม ป​ ลา​เปาหมาย เ​ชน ก​ ลุม ป​ ลา​เศรษฐกิจอ​ ยาง​ปลา​กะพง ป​ ลา​กะรัง ป​ ลา​ สรอยนกเขา​ที่​สามารถ​ใช​เปนตัว​ชี้​วัด​ระดับ​การ​ทำ�​ประมง ​กลุม​ปลา​กิน​พืช​หรือ​สาหราย​อยาง​ปลา​นก​แกว ​สามารถ​ใช​เปน ตัว​ชี้​วัด​ความ​หนา​แนน​ของ​สาหรายทะเล ​และ​กลุม​ปลา​สวยงาม​และ​หา​ยาก​อยาง​ปลา​ผีเสื้อ ​ปลา​นก​แกว​หัว​โหนก ​ปลา​นก ขุนทอง​หัว​โหนก ​ปลา​กะรัง​หนา​งอน ​และ​ปลา​ไห​ลมอ​เรย​สามารถ​ใช​เปนตัว​ชี้​วัด​สมดุล​ของ​ระบบ​หวง​โซ​อาหาร​และ​ความ​ สมบูรณ​ของ​แนว​ปะการังจึง​มี​ความ​ส�ำ คัญ อุทยานฯ ​ใช​วิธี​สำ�รวจ​ปลา​ที่​เรียกวา ​F​i​s​h​ ​V​i​s​u​a​l​ ​C​e​n​s​u​s​ ​กับ​กลุม​ปลา​เปา หมาย ​(​อางอิง​จาก​วิธี ​R​e​e​f​​C​h​e​c​k​)​​ใน​พื้น​ที่​และ​ชวงเวลา​เดียว​กับ​การ​สำ�รวจ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ​


ตัว ต่อ 100 ตารางเมตร

0

5

10

15

ปลาผีเสื้อ

ปลาสรอยนกเขา

ปลานกแกว (>20 ซม.) ปลานกแกวหัวโหนก ปลานกขุนทองหัวโหนก ปลากะรัง (>30 ซม.) ปลากะรังหนางอน ปลากะพง

ปลาไหลมอเรย

ช่วงที่ 1 : ธันวาคม 2552

ช่วงที่ 3 : สิงหาคม 2553

สถานภาพ​ปลา​ใน​แนว​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรล​ า สุดแ​ สดง​ความ​หลากหลาย​ของ​ชนิดป​ ลา​โดย​เฉพาะกลุม ป​ ลา​หา​ยาก​ลดลง​จาก​การ​รบกวน​ของ​กจิ กรรม​ ทองเ​ที่ยว​ดำ�น้ำ�​และ​กลุม​ปลา​ผีเสื้อ​ที่​มี​ความ​หนา​แนน​ลดลง​หลัง​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ที่​ปะการัง​สวน​ใหญ​ตาย ​ทำ�​ให​แหลง​อาหาร​ของ​ปลา​ ผีเสื้อ​บางชนิด​อยาง​ตัวออน​ปะการัง​ลดลง​และ​สงผลตอ​ประชาคม​ปลา ​สภาพ​แวดลอม​ทาง​กายภาพ​และ​องคประกอบ​ใน​แนว​ปะการัง​ยัง​กำ�หนด​ความ​ หลากหลาย​ของ​ชนิดป​ ลา เ​ชน ร​ อ งน�้ำ อ​ า ว​ชอ ง​ขาด แ​ ละ​อา ว​ปอ​ทอ​ี่ งคประกอบ​ใน​แนว​ปะการังส​ ว น​ใหญเ​ปนเ​ศษ​ปะการังส​ ง ผล​ใหพ​ บ​ชนิดข​ อง​ปลา​นอ ย มาก​เมื่อ​เทียบกับ​พื้น​ที่อื่น กลุม​ปลา​ผีเสื้อ ปลา​นกแกว และ​ปลา​กะพง​เปน​ปลา​ใน​แนว​ปะการัง​ที่​สามารถ​พบ​ได​ทั่วไป แตกตางจาก​ปลา​กะรัง​หนา​งอน​ ทีไ​่ มพ​ บ​เลย และ​กลุม ป​ ลา​กะรังท​ เี่​ปนกลุม ป​ ลา​เศรษฐกิจทีล​่ ดลง​จนถึงไ​มพ​ บ​เลย​ชว ง​ฤดูมรสุมใ​น​หลาย​พนื้ ทีท​่ ม​ี่ ก​ี าร​ทำ �ป​ ระมง เชน อาว​แมยาย อาว​ไทร​ เอน อาว​ปอ และ​อาวบอน โดย​สวนใหญ​ปลา​กะรัง​จะ​มี​ขนาด​ระหวาง 30 - 40 ซม. ​และ​พบขนาดใหญ​สุด เทากับ 50 - 60 ซม.​

ช่วงที่ 2 : เมษายน 2553

w ​กราฟเปรียบเทียบความชุกชุมของปลาเป้าหมายแต่ละสถานี ในสามช่วงเวลา (สำ�รวจด้วยวิธี Reef Check)

33


34

Chapter 3 บทที่ ๓

CHANGES IN CORAL REEF การเปลี่ยนแปลงในแนวปะการัง


35

3.1 การเปลี่ยนแปลง​ในแนวปะการัง

แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร ไดรับ​การ​คุมครอง​เปน​อุทยาน​แหงชาติ​ทาง​ทะเลตั้ง​แตป พ.ศ.2524 เพื่อ​ควบคุม​

การ​ใช​ประโยชน​จาก​แนว​ปะการัง​ใน​รูปแบบ​ตางๆ โดยเฉพาะ​การ​ทำ�​ประมง การ​ทองเที่ยว และ​การ​ซื้อขาย​สัตวน้ำ� เพื่อ​ คง​ความ​สมบูรณ​และ​ความ​หลากหลาย​ทาง​ชนิด​พันธุ​ไว ระยะเวลา​เกือบ 30 ป ผล​การ​รวบรวม​การ​สำ�รวจ​จาก​หนวยงาน​ ของ​ประเทศ​ไทย​และ​ตางประเทศ4 ตั้งแต​ป พ.ศ.2528 ถึง​ป​ปจจุบัน​ท่​ีอุทยานฯ มี​การ​สำ�รวจ​และ​เก็บขอมูล​ดวย​ตัวเอง แสดงใหเห็นว​ า ห​ ลังก​ าร​คมุ ครอง​แนว​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรม​ ก​ี าร​เปลีย่ นแปลง​เกิดขึน้ ต​ ลอด​เวลา​จาก​สาเหตุท​ าง​ธรรมชาติ และ​จาก​กิจกรรม​ของ​มนุษย​ที่​สงผลตอ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​จ�ำ เพาะ​ใน​แตละ​พื้นที่​และ​ใน​ระดับ​ตางกัน ป พ.ศ.2528 การ​ระบาด​ของ​ดาว​มงกุฎ​หนาม (Crown of Thorns Starfish) เกิดขึ้นบ​ ริเวณ​ชายฝง​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ และ​ฝง​ตะวันออก​ของ​เกาะต​อริน​ลา​และ​เกาะ​มังกร แต​ปะการัง​สามารถ​ฟน​ตัวอยาง​รวดเร็ว ใน​ป พ.ศ.2531 บางพื้นที่​ ของ​อาว​แมยาย ปะการัง​ถูก​ปกคลุม​ดวย​สาหราย​เห็ด​หูหนู (Padina sp.) จาก​การ​สันนิษฐาน​วา​ มี​สารประกอบ​ฟอสเฟต​จาก​การ​ซักลาง​ตก​คางอยู​ใน​น้ำ�ทะเล​มาก และ​ไมมี​การ​ระบาย จน​มี​การ​ ประกาศ​ปดอาว​แมยาย​เพื่อ​การ​ฟนฟูสภาพ​ธรรมชาติ ใน​ป พ.ศ.2534 และ2538 เกิด​ปรากฎ​ การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ครั้ง​ใหญ​บริเวณ​อาว​ฝง​ตะวันออก​ของ​เกาะ​สุรินทร​เหนือ (อาว​แมยาย​ใต อาว​ชอง​ขาด อาวทราย​แดง เกาะ​มังกร ​และ​เกาะต​อริน​ลา) และ​เกิด​การ​ระบาด​ของ​สาหราย​เห็ด​ หูหนู (ทีร​่ ะดับค​ วาม​ลกึ 5-30 เมตร) ตาม​มา​บริเวณ​อา ว​แมยาย​หลังจากทีป​่ ะการังต​ าย ใน​ป พ.ศ. 2541 ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว​ทไ​ี่ มร​ นุ แรง​นกั เ​กิดขึน้ อ​ กี ครัง้ ท​ อ​ี่ า ว​ชอ ง​ขาด อาวทราย​แดง และ​เกาะ​มงั กร พรอมกับ​ การ​ระบาด​ของ​สาหราย​เห็ด​หูหนู (Padina spp.) และ​สาหราย​สีแดง (Peyssonnelia sp.) บน​ปะการัง​เขากวาง​ที่​ตาย​ แลวบ​ ริเวณ​แหลมแมยาย​ทศิ ใตด​ า นนอก ใน​ป พ.ศ.2547 เกิดเ​หตุการณค​ ลืน่ ย​ กั ษส​ นึ ามิ แนว​ปะการังบ​ ริเวณ​รอ งน�้ำ ร​ ะหวาง​ เกาะ​สุรินทร​ใต​และ​เกาะต​อริน​ลา เกาะต​อริน​ลาฝง​ตะวันออก​อ่าวผักกาด และ​รองน้ำ�​อาว​ชอง​ขาด​ไดรับ​ผล​กระทบ​มาก​ ที่สุด หลังเ​หตุการณ​นี้​ปะการัง​เขากวาง Acropora nobilis มี​การ​ฟน​ตัวอยาง​รวดเร็ว รวมถึงป​ ะการัง​แข็ง​Porites spp. Pocillopora spp. ดวย โดย​พื้นที่​ที่​ปะการัง​ฟนตัว​ดีที่สุด คือ อาว​แมยาย พื้นที่​ที่​ปะการัง​ฟนตัว​ชา​ที่สุด คือ อาว​จาก (Saenghaisuk and Yeemin, 2006) ใน​ป พ.ศ.2550 การ​ศึกษา​ของ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร​แสดงใหเห็น​วา​กิจกรรม​ ดำ�น้ำ�​ตื้น​และ​ลึก​สงผลกระทบ​ตอ​ความ​เสียหาย​ใน​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ฝง​ตะวันออก​ของ​เกาะ​มังกร และ​เกาะต​อริน​ลา ใน​ ป พ.ศ.2552 เกิด​การ​ระบาด​ของ​ดาว​มงกุฎหนาม​อีกครั้ง​และ​สราง​ความ​เสียหาย​ให​กับ​ปะการัง​บริเวณ​อาว​จาก​และอา​ว สุ​เทพ ตอเนื่อง​มา​จนถึง ป พ.ศ.2553 การ​ระบาด​ของ​ดาว​มงกุฎ​หนาม​ยังคง​สราง​ความ​เสียหาย​ให​กับ​ปะการัง​บริเวณ​อาว​ แมยาย​ทศิ ใต อาว​จาก และ​เกาะ​สตอรค ใน​ชว ง​เดือน​เมษายน​ปเ​ ดียวกันอ​ ณ ุ หภูมข​ิ อง​น�้ำ ทะเล​ทส​ี่ งู ขึน้ อ​ ยาง​ตอ เนือ่ ง (มากกวา 30.1 องศา​เซลเซียส) สงผลใหเ​กิดป​ รากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว​ครัง้ ใ​หญท​ วั่ ห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรท​ �ำ ใหส​ ถานภาพแนว​ปะการัง​ ทุกบ​ ริเวณ​ทงั้ ใ​น​แนว​น�้ำ ต​ นื้ แ​ ละ​ลกึ อ​ ยูใ​ น​ระดับเ​สือ่ มโทรม​มาก และ​มส​ี งิ่ มีชวี ติ อ​ นื่ เชน สาหราย พรม​ทะเล​ขนึ้ ป​ กคลุมป​ ะการัง​ ที่​ตาย​แทน

ขอมูล​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​หมูเกาะ​สุรินทร รวบรวม​จาก​แหลงขอมูล​ดังนี้ Chansang et al., 1986 , Phongsuwan and Chansang, 2000 , Koh et al., 2003 , Loh et al., 2004 , Coral Cay Conservation, 2005 , Saenghaisuk and Yeemin, 2006 , Satapoomin et al., 2006 , Phongsuwan and Brown, 2007 , Worachananant, 2007 , Worachananant et al., 2007 , Phongsuwan et al., 2008 , หรรษา และ​คณะ, 2542 , คณะ​วนศาสตร, 2548 , วิสูตร, 2550 , กลุม​วิจัย​ความ​หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ​ใน​ทะเล มหาวิทยาลัยร​ ามคำ�แหง , สถาบันวิจัย​และ​พัฒนา​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล ชาย​ ฝงทะเล และ​ปา​ชาย​เลย , ศูนย​ศึกษา​และ​วิจัย​อุทยาน​แหงชาติ จังหวัด​ภูเก็ต (ฝง​อันดามัน​ตอน​บน) , อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร. 4


36

เกาะสตอร์ค สถานภาพแนวปะการังเขตพื้นราบและลาดชันในปี พ.ศ.2533-2549 อยู่ ใ นระดั บ เสื่ อ มโทรมถึ ง เสื่อมโทรมมากแต่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องใน ระยะหลัง การฟื้นตัวที่ช้าเกิดจากซากปะการังถูก ปกคลุมด้วยพรมทะเล (Zoanthid) และดอกไม้ทะเล ขนาดเล็ก (Corallimorph) ค่อนข้างแน่น ในปี พ.ศ. 2550-2552 ปะการังเขตพืน้ ราบมีการฟืน้ ตัวดีจนอยู่ ในระดับสมบูรณ์ดีมากแม้จะได้รับผลกระทบจาการ ท่องเที่ยวบ้างแต่อยู่ในระดับปานกลาง ในปี พ.ศ. 2553 แนวปะการังเขตพื้นราบและลาดชันได้รับผล กระทบจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว แนว ปะการังทั้งหมดอยู่ในสถานภาพเสื่อมโทรมมาก

สถานภาพแนวปะการังเกาะสตอรค

33

41

44

47

48

48

49

49

50

51

52

53

ป พ.ศ. ยอ

อาวจาก ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ​และ​ลาดชัน​ใน​ป พ.ศ.2547-2550 อยู​ใน​ระดับ​สมบูรณ​ถึง​สมบูรณ​ดี มาก โดย​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ทองเที่ยว​บาง​ใน​ ระดับป​ านกลาง ใน​ป พ.ศ.2551-2552 แนว​ปะการัง​ เขต​พื้นราบ​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ระบาด​ของ​ดาว​ มงกุฎ​หนาม​อยาง​ตอ​เนื่องแต​สถานภาพ​ของ​แนว​ ปะการัง​ยังคงอยู​ใน​ระดับ​สมบูรณ​ดีมาก ใน​ป พ.ศ. 2553 แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​ ปรากฎ​การณ​ปะการังฟ​ อกขาว แนวปะการังท​ งั้ หมด​ อยู​ใน​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก​

สถานภาพแนวปะการังอาวจาก

47

48

49

50

51

52

53 ป พ.ศ. ยอ

อาว​ไทร​เอน สถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ไหล ใน​ปพ .ศ. 2552 อยูใน​ ​ ระดับส​ มบูรณ​ปานกลาง​และ​เปลีย่ น​เปน​ เสื่อมโทรม​มาก​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ ใน​ป พ.ศ.2553

สถานภาพแนวปะการังอาวไทรเอน

52

เกณฑ์การจัดสถานภาพแนวปะการัง ขึ้นกับ อัตราส่วนปริมาณปกคลุมพื้นที่ของ ปะการรังมีชีวิต ต่อ ปะการังตาย ดังนี้ ¢ สมบูรณ์ดีมาก คือ 3 : 1 ¢ สมบูรณ์ดี คือ 2 : 1 ¢ สมบูรณ์ปานกลาง คือ 1 : 1 ¢ เสื่อมโทรม คือ 1 : 2

53

ป พ.ศ. ยอ

¢ เสื่อมโทรมมาก คือ 1 : 3


37

แหลมแมยายทิศ​เหนือ​ดาน​ใน สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ​และ​ลาดชัน ​ตั้ง​ แต​ใน​ป ​พ.​ศ.​2​5​3​2​-​2​5​5​2​​มี​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​ถึง​ สมบูรณ​ดีมาก ​โดย​ใน​สอง​ชวง​ป​แรก​มี​สถานภาพ​ เสื่อมโทรม​แต​มี​การ​ฟนตัว​ไดดี​อยาง​ตอเนื่อง​และ​มี​ สถานภาพ​สมบูรณ​ดีมาก​มาตลอด ​ใน​ป ​พ.​ศ.​2​5​5​3​​ แนว​ปะการังเ​ขต​ลาดชันไ​ดรบั ผ​ ล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​ การณ ​ป ะการั ง ​ฟ อกขาว ​ป ะการั ง ​ทั้ ง หมด​อ ยู  ​ใ น​ สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก

สถานภาพแนวปะการังแหลมแมยายทิศเหนือดานใน

32

33

36

41

42

43

44

46

46

47

48

48

49

50

51

52

53

ป พ.ศ. ยอ

แหลม​แมยาย​ทิศใตดาน​ใน สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ลาดชัน ตั้งแตใ​น​ป พ.ศ. 2533-2543 มี ​ส ถานภาพ​เ สื่ อ มโทรม​ม าก​ถึ ง​ เสื่อมโทรม​ปะการัง​สวนหนึ่ง​ตาย​จาก​ปรากฎ​การณ​ ปะการังฟ​ อกขาว​ใน​ป พ.ศ.2534 และ​ตาย​เพิม่ ขึน้ อ​ กี เรื่อยๆ ใน​ปพ.ศ.2544-2549 สถานภาพ​ปะการัง​ คอยๆ​ฟน​ตัวอยาง​ชาๆ และ​ดีขึ้น​จน​มี​สถานภาพ​สม บูรณ​ดีมาก โดย​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ทองเที่ยว​ บาง​

สถานภาพแนวปะการังแหลมแมยายทิศใตดานใน

33

36

41

43

44

49 ป พ.ศ. ยอ

​แหลม​แมยาย​ทิศใตดาน​นอก สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ​และ​ไหล ใน​ป พ.ศ.2543-2549 อยู​ใน​สภาพ​ดี​แตกตางจาก​แนว​ ปะการัง​เขต​ลาดชัน​ที่​มี​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก เนื่องจาก​เกิด​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ใน​ป พ.ศ.2534 และ พ.ศ.2538 ปะการัง​เขากวาง​ที่​เคย​ ขึ้ น อยู  ​ห นาแน น ​ต าย​และ​มี​สาหราย​เ ห็ด​หูหนู​ขึ้น​ ปกคลุม​ทำ�ให​มี​การ​ฟนตัว​ชา​มาก ใน​ป พ.ศ.25522553 สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ไหล​ที่​เคย​สมบูรณ​ ดีมาก​เปลี่ยน​เปน​เสื่อมโทรม​มาก​เนื่องจาก​ปรากฎ-​ การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ใน​ป พ.ศ.2553​

สถานภาพแนวปะการังแหลมแมยายทิศใตดานนอก (พื้นราบและไหลปะการัง)

43

44

49

52

53

ป พ.ศ. ยอ

สถานภาพแนวปะการังแหลมแมยายทิศใตดานนอก (เขตลาดชันสวนกลาง)

43

44

49

ป พ.ศ. ยอ


38

อาวกระทิง สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ ใน​ปพ.ศ.2552 อยูใ​ น​ระดับส​ มบูรณด​ มี าก​และ​เปลีย่ น​เปนเ​สือ่ มโทรม​ มาก​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ใน​ป พ.ศ. 2553

สถานภาพแนวปะการังอาวกระทิง

52

53

ป พ.ศ. ยอ

อาว​ไม​งาม ส​ ถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ลาดชัน ตัง้ แต​ ใน​ป พ.ศ.2533-2552 มีส​ ถานภาพ​สมบูรณป​ านกลาง​ ถึง​สมบูรณดี แนว​ปะการัง​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ ทองเที่ยว​บาง​

สถานภาพแนวปะการังอาวไมงาม

33

41

42

44

45

48

48

49

50

51 52 ป พ.ศ. ยอ

อาว​ปอ ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ ใน​ปพ.ศ.2552 อยู  ​ใ น​ร ะดั บ ​ส มบู ร ณ ​ป านกลาง​แ ละ​เ ปลี่ ย น​เ ป น​ เสื่อมโทรม​มาก​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ ใน​ป พ.ศ.2553​

สถานภาพแนวปะการังอาวปอ

52

53

ป พ.ศ. ยอ

อาวทรายแดง ส​ ถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ลาดชัน ตั้งแต​ใน​ป พ.ศ. 2532-2548 มีส​ ถานภาพ​เสือ่ มโทรม​มาก​ถงึ ส​ มบูรณดี โดย​ส  ว นใหญ ​แ นว​ป ะการั ง ​อ ยู  ​ใ น​ส ถานภาพ​ เสือ่ มโทรม​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว​หลาย ครั้ง ใน​ปพ.ศ.2534 2538 และ 2541 แต​ยงั คงมี​การ​ ฟนตัว​ชาๆ อยาง​ตอเนื่อง จนถึง​ป พ.ศ.2553 เกิด​ ปะการัง​ฟอกขาว​ครั้ง​ใหญ​ทำ�ให​แนว​ปะการัง​เขต​พื้น ราบ​อยู​ใน​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก​อีกครั้ง​

สถานภาพแนวปะการังอาวทรายแดง

32

33

36

41

44

48

53 ป พ.ศ. ยอ


39

อาวสุเทพ​ทิศตะวันตก​เฉียง​ใต (อาว​สุเทพ​ใหญ) ส​ ถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ลาดชัน ตัง้ แต​ ใน​ป พ.ศ.2547-2549 มีส​ถาน​ภาพ​สมบูรณดี ใน​ป พ.ศ.2550-2552 แนว​ป ะการั ง ​เขต​พื้ น ราบ​มี ​ สถานภาพ​สมบูรณ​ปานกลาง

สถานภาพแนวปะการังอาวสุเทพทิศตะวันตกเฉียงใต (อาวสุเทพใหญ)

47

48

49

50

51

อาวสุเทพ​ทิศตะวันออก​เ​ฉียงเหนือ (อาว​สุเทพนอย) ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ไหล ตั้งแต​ใน​ป พ.ศ. 2547-2552 มี​สถานภาพ​สมบูรณดี ใน​ป พ.ศ.2553 ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ทำ�ให​แนว​ปะการัง​ เขต​ไหล​อยู​ใน​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก​

สถานภาพแนวปะการังอาวสุเทพทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (อาวสุเทพนอย)

47

อาว​บอน

สถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​ไหลแ​ ละ​ลาดชัน ตัง้ แตใ​น​ ป พ.ศ.2533-2544 มี ​ส ถานภาพ​เ สื่ อ มโทรม​ถึ ง ​ สมบูรณดี แนว​ปะการัง​เสื่อมโทรม​ลง​จาก​ปรากฎ​- การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​หลายครั้ง ใน​ปพ.ศ.2534 2538 และ 2541 และ​คอยๆ ฟนตัว​จน​มี​สถานภาพ​ สมบูรณดี​ใน​ป พ.ศ.2552 ใน​ป พ.ศ.2553 แนว​ ปะการังเ​ขต​ไหลอ​ ยูใ​ น​สถานภาพ​เสือ่ มโทรม​มาก​จาก​ ปราก​ฎการณ​ปะการัง​ฟอกขาว

52 ป พ.ศ. ยอ

52

53

ป พ.ศ. ยอ

สถานภาพแนวปะการังอาวบอน

33

36

44

46

52

53 ป พ.ศ. ยอ

อาวเตาเหนือ สถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ลาดชัน ตัง้ แต​ ใน​ป พ.ศ.2533-2552 มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ปาน กลาง​ถงึ ส​ มบูรณด​ มี าก แนว​ปะการังเ​ขต​ลาดชันม​ ก​ี าร​ ฟน​ตัวดี

สถานภาพแนวปะการังอาวเตาเหนือ

33

36

41

42

44

46

47

48

49

50

51

52

ป พ.ศ. ยอ


40

อาว​เตา​ใต สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ไหล ตั้งแต​ใน​ป พ.ศ. 2546-2552 มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ดีมาก ใน​ป พ.ศ. 2553 ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ทำ�ให​แนว​ ปะการัง​เขต​ไหล​อยู​ใน​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก​

สถานภาพแนวปะการังอาวเตาใต

47

52

53

ป พ.ศ. ยอ

อาว​ผักกาด สถานภาพ​แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ลาดชัน ใน​ป พ.ศ.2546-2549 มี​สถานภาพ​สมบูรณดี ใน​ป พ.ศ. 2550-2552 สถานภาพ​แนว​ปะการัง​อยู​ใน​ระดับ ​ สมบูรณ​ปานกลาง​จาก​ผล​กระทบ​ของ​การ​ทองเที่ยว ใน​ป พ.ศ.2553 แนว​ปะการังเ​ขต​ไหลอ​ ยูใ​ น​สถานภาพ​ เสื่อมโทรม​มาก​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​

สถานภาพแนวปะการังอาวผักกาด

46

47

48

49

50

51

52

อาว​ชอง​ขาด สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ลาดชัน ตั้งแต​ใน​ป พ.ศ. 2532-2544 มี ​ส ถานภาพ​ส มบู ร ณ ​ป านกลาง​ถึ ง​ เสื่อมโทรม​มาก และ​คอยๆ ฟน​ตัวอยาง​ชาๆ ใน​ป พ.ศ.2545-2548 จน​มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ปานกลาง

สถานภาพแนวปะการังอาวชองขาด

32

33

36

41

43

44

45

​รองน้ำ�​อาว​ชอง​ขาด สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ ใน​ป พ.ศ.2552 มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ปานกลาง แนว​ปะการัง​ไดรับ​ ความ​เสียหาย​จาก​เหตุการณ​คลื่น​ยักษ​สึนามิ​ใน​ป พ.ศ.2547 การ​สัญจร​เรือ และ​ขยะ​ทาง​ทะเล ใน​ป พ.ศ.2553 แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ​ไดรับ​ผล​กระทบ​ จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว แนว​ปะการัง​อยู​ ใน​สถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก

53 ป พ.ศ. ยอ

48

48 ป พ.ศ. ยอ

สถานภาพแนวปะการังรองน้ำอาวชองขาด

52

53

ป พ.ศ. ยอ


41

หิน​กอง สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​พื้นราบ ตั้งแต​ใน​ป พ.ศ. 2546-2552 มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ดีมาก ใน​ป พ.ศ. 2553 แนว​ป ะการั ง ​เขต​ไ หล ​อ ยู  ​ใ น​ส ถานภาพ​ เสื่อมโทรม​มาก​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​

สถานภาพแนวปะการังหินกอง

เกาะ​มังกร

สถานภาพแนวปะการังเขตพืน้ ราบและลาดชัน ตัง้ แต่ ในปี พ.ศ.2533-2550 มีสถานภาพเสื่อมโทรมมาก ถึงสมบูรณ์ดี แนวปะการังในแนวน้ำ�ตื้นเสื่อมโทรม ลงจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวหลายครั้ง ใน ปีพ.ศ.2534 2538 และ 2541 และคงสถานภาพ ความเสือ่ มโทรมตอ่ เนือ่ งจนถึงปี พ.ศ.2550 แตกตา่ ง จากแนวปะการังในแนวน�้ำ ลึกมีสถานภาพสมบูรณด์ ี ถึงสมบูรณ์ดีมากตั้งแต่ในปี พ.ศ.2546-2548 ในปี พ.ศ.2551-2552 แนวปะการังเขตพื้นราบฟื้นตัวจน มี ส ถานภาพสมบู ร ณ์ ป านกลาง และเปลี่ ย นเป็ น เสื่อมโทรมมากจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว ในปี พ.ศ.2553 ตั้งแต่เขตพื้นราบถึงเขตไหล่

46

47

48

50

51

52

53

ป พ.ศ. ยอ สถานภาพแนวปะการังเกาะมังกร

33

41

44

46

47

48

49

49

49

50

51

52

53

ป พ.ศ. ยอ

​เกาะ​ตอริน​ลา​ทิศตะวันออก​เฉียง​เหนือ สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ลาดชัน ใน​ป พ.ศ.25332547 มี​สถานภาพ​สมบูรณ​ดีมาก แนว​ปะการัง​ไดรับ​ ผล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ใน​ป พ.ศ.2531 และ 2534 บาง​บางสวน ใน​ป พ.ศ.25482549 แนว​ปะการัง​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​เหตุการณ​ สึนามิ ทำ�ใหแ​ นว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​และ​ลาดชันเ​สีย หาย​อยู​ใน​สถานภาพ​สมบูรณ​ปานกลาง ใน​ป พ.ศ. 2550-2552 แนว​ปะการังพ​ นื้ ราบ​ฟน ต​ วั ดี และ​อยูใ​ น​ สถานภาพ​สมบูรณ​ดีมาก ใน​ป พ.ศ.2553 แนว​ ปะการั ง ​เขต​พื้ น ราบ​แ ละไหล่ อ ยู  ​ใ น​ส ถานภาพ​ เสื่อมโทรม​มาก​จาก​ปราก​ฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว

สถานภาพแนวปะการังเกาะตอรินลาทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

33

41

46

47

48

49

49

50

51

52

53

ป พ.ศ. ยอ สถานภาพแนวปะการังเกาะตอรินลาทิศตะวันออกเฉียงใต

​เกาะ​ตอริน​ลาทิศตะวันออก​เฉียง​ใต สถานภาพ​แนว​ปะการัง​เขต​ลาดชัน ใน​ป พ.ศ.25332548 มีส​ ถานภาพ​เสื่อมโทรม​มาก​ถึง​สมบูรณดี แนว​ ปะการังเ​สือ่ มโทรม​ลง​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อก ขาว​ใน​ป พ.ศ.2534 และ​เหตุการณ​สึนามิ​ใน​ป พ.ศ. 2547 ใน​ป พ.ศ.2553 แนว​ปะการังเ​ขต​พนื้ ราบ​อยูใ​ น​ สถานภาพ​เสือ่ มโทรม​มาก​จาก​ปรากฎ​การณป​ ะการัง​ ฟอกขาว​

33

41

48

53

ป พ.ศ. ยอ


42

Chapter 4 บทที่ ๔

THREATS TO CORAL REEF ECOSYSTEM ภัยคุกคามในแนวปะการัง


43

4.1 ภัยคุกคาม​ใน​ระบบ​นิเวศ​แนวปะการัง สถานภาพ​แนว​ปะการังห​ มูเ กาะ​สรุ นิ ทรไ​ดเ​ปลีย่ นแปลง​ไป​มาก​จาก​ปรากฎ​การณท​ างธรรมชาติแ​ ละ​กจิ กรรม​ของ​มนุษย แม​ ธรรมชาติ​และ​ระบบนิเวศ​ตางๆ ทั้งบ​ น​บก​และ​ใน​ทะเล​จะ​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​อยู​ตลอด​เวลา​เปนผลให​เกิด​ความ​เสื่อมโทรม​ และ​สมบูรณ มี​การ​เจริญ​เติบโต​และ​สลาย​ไป​ใน​ลักษณะ​สมดุล การ​เปลี่ยนแปลง​แทนที่​ทำ�ให​แนว​ปะการัง​กอ​ก�ำ เนิด​ขึ้น​มา​ และ​มี​อายุมาก​วา​หลาย​สิบ​ลาน​ป แต​เมื่อ​ความ​สมดุล​ของ​การ​เปลี่ยนแปลง​แทนที่​ใน​ระบบนิเวศ​ที่​ซับซอน​หายไป ความ​ เสื่อมโทรม​จาก​ปจจัย​ตางๆ มี​มากเกิน​กวา​แนว​ปะการัง​ใน​ธรรมชาติ​จะ​สามารถ​ปรับตัว​และ​ฟนตัว​ได ​ความ​เสียหาย​ทเี่​กิด ขึ้น​จึง​ปราก​ฎ​สะสม​ชัดเจน

การ​เปลี่ยนแปลง​สภาพ​ภูมิอากาศ (Climate Change) อุณหภูมโ​ิ ลก​ทร​ี่ อ น​ขนึ้ อ​ ยาง​ตอ เ​นือ่ งจาก​ปริมาณ​กา ซ​คารบอนไดออกไซดท​ ส​ี่ ะสม​มากขึน้ ใ​น​ชนั้ บ​ รรยาย​โลก​มผี ลตออ​ ณ ุ หภูม​ิ น้ำ�ทะเล คา​อุณหภูมิ​ผิว​น้ำ�ทะเล​ที่สูง​เกิน​กวา​ปกติ​ (มากกว่า 30.1 องศาเซลเซียส) อยาง​ตอเนื่อง​เปน​ระยะเวลา​นาน​จาก​ การ​เปลีย่ นแปลง​ของ​ฤดูกาล​มผ​ี ล​กระทบ​อยาง​มาก​ตอ ส​ งิ่ มีชวี ติ ใ​น​ระบบนิเวศ​แนว​ปะการัง ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว (Coral bleaching) ทีม​่ แ​ี นวโนมร​ นุ แรง​มากขึน้ โดยเฉพาะ​ลา สุด ปะการังเ​ขากวาง​ประมาณ 70-90% รอบ​หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร​ ทั้ง​ฝง​ตะวันออก​และ​ฝง​ตะวันตกได​ตาย​ลง​และ​มี​สิ่งมีชีวิต​อื่น เชน สาหรายทะเล พรม​ทะเล​ขึ้น​คลุม​หนา 23 พ.ค. 53 เริ่มไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต (อุณหภูมิผิวน้ำทะลเริ่มลดลง)

w ​กราฟเปรียบเทียบปริมาณน้ำ�ฝนและการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิผิวน้ำ�ทะเล บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

ประมาณชวงเวลาที่อุณหภูมิผิวน้ำทะเล (SST) เพิ่มสูงกวา 30.1°C (เม.ย. - มิ.ย. 53)

อุณหภูมิผิวน้ำทะเล (องศาเซลเซียส)

35

30.1 องศาเซลเซียส

30

25

20 140

ปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร)

120 100 80 60 40 20 0 1/8/52

1/9/52

2/10/52

2/11/52

3/12/52

3/1/53

3/2/53

6/3/53 วันที่

6/4/53

7/5/53

7/6/53

8/7/53

8/8/53

8/9/53


44

ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว​ครั้ง​ลาสุด​ครอบคลุม​พื้นที่​แนว​ปะการัง​ตั้งแต​เขต​พื้นราบ (Reef flat) ไป​จนถึง​พื้นทราย​ดานนอก​แนว​ปะการัง (Fore reef) ที่​ระดับ​ความ​ลึก 30 เมตร (ทนงศักดิ์, 2553) ปรากฎ​การณ​นี้​เริ่ม​เกิดขึ้น​ใน​เดือน​เมษายน โดย​สามารถ​บันทึก​ อุณหภูมิ​ผิว​น้ำ�ทะเล​ได​ระหวาง 32-30.5 องศา​เซลเซียส จนถึงเ​ดือน​มิถุนายน อุณหภูมิ​ที่ สูงผ​ ดิ ป​ กติต​ ดิ ตอกันม​ าก​ถงึ ส​ าม​เดือน ทำ�ใหใ​น​เดือน​พฤษภาคม​ปะการังเ​ริม่ ต​ าย​จาก​การ​ขาด​สารอาหาร​ทไ​ี่ ดรบั จ​ าก​สาหราย​ ทีอ่ ยูด​ ว ย (Zooxanthellae) ปะการังเ​ขากวาง (Acropora spp.) เปนส​ กุลท​ ไ​ี่ ดรบั ผ​ ล​กระทบ​มาก เพราะ​มค​ี วาม​ไว​ตอ ก​ าร​ เกิด​การ​ฟอกขาว​มาก​ที่สุด ปะการัง​แข็ง​สกุล​อื่นๆ ปะการัง​ออน​และ​กัลปงหา (กลุม​ที่​มี​สาหราย​เซลล​เดียว​ใน​เนื้อเยื่อ) ปะการัง​ไฟ (Millepora sp.) ปะการัง​สีฟา (Heliopora coerulea) ดอกไมทะเล (Sea Anemone) ดอกไมทะเล​เล็ก (Corallimorph) และ​หอย​มือเสือ ก็​ไดรับ​ผล​กระทบ​เชน​เดียวกัน​โดย​ใน​แต่ละ​พื้นที่​ไดรับ​ผล​กระทบ​ที่​รุนแรง​ตางกัน แหลม​แมยาย​เหนือด​ า นใน อ่าวทราย​แดง และ​ตอนเหนือข​ อง​เกาะ​สรุ นิ ทรเ​หนือเ​ปนพ​ นื้ ทีท​่ พ​ี่ บ​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อก ขาว​ขนึ้ เ​ปนบ​ ริเวณ​แรก​โดย​เริม่ จาก​ปะการังม​ ส​ี ซี ดี จาง​ลง​ถงึ ฟ​ อกขาว จากนัน้ ป​ รากฎ​การณน​ ไ​ี้ ดข​ ยาย​วงกวาง​ขนึ้ ภ​ ายใน​หนึง่ ​ สัปดาห ครอบคลุม​ทั่ว​ทั้ง​เกาะ​สุรินทร​เหนือ​และ​เกาะ​สุรินทร​ใต รวมถึง​เกาะ​บริวาร​รอบๆ กลุม​ปะการัง​ใน​แนว​พื้นราบ​ถึง​ ไหล่​ปะการัง​ที่​ระดับน้ำ�​ลึก​ไม​เกิน 10 เมตร ที่​พบ​ฟอกขาว​มาก​ทุกที่ ไดแก ปะการังแ​ ข็ง​รูปทรง​กิ่ง​สั้น กิ่งย​ าว กิ่งก​ อน แผน​ โตะ โขด(กอน) ซึง่ เ​ปนป​ระกา​รงั ก​ ลุม เ​ดนข​ อง​หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร ชวงแรก​ของ​การ​ฟอกขาว​พบ​ปะการังร​ ปู ทรงโขด(​กอ น) ฟอก ขาว​เฉพาะ​บางสวน​ของ​โค​โลนี ตาง​จาก​ปะการังร​ ปู ทรง​กงิ่ ส​ นั้ ย​ าว​ทส​ี่ ว นใหญพ​ บ​ฟอกขาว​ทงั้ โ​ค​โลนี หลังจากทีอ​่ ณ ุ หภูมข​ิ อง​ น้ำ�ทะเล​ยัง​ไมมี​แนวโนม​ลดลง พบ​วา​ปะการัง​ที่​ฟอกขาว​บางสวน​เริ่ม​ตาย​และ​มี​สาหราย​ขึ้น​คลุม โดย​มี​ ปะการัง​ตาย​จาก​ฟอกขาว ตั้งแต รอยละ 1 ถึง 63 ของ​ปะการัง​มี​ชีวิต โดย​แหลม​แมยาย​เหนือ​ดานใน​ มี​ปะการัง​ตาย​จาก​การ​ฟอกขาว​รุนแรงมาก​ที่สุด กลุม​ปะกา​รัง​บาง​กลุม​มี​พฤติกรรม​ปรับตัว​เพื่อ​ความ​ อยูร อด​โดย​การ​ปรับส​ ใ​ี หเ​ขมข​ นึ้ เชนท​ พ​ี่ บ​ใน​ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการังเ​ขากวาง (Acropora ่ำ (Pocillopora sp.) และ​ปะการังส​ นี �้ำ เงิน spp.) ปะการังส​ มอง (Symphyllia sp.) ปะการังด​ อก​กะหล� (Heliopora coerulea) และ​การ​แบงตัว​ให​มี​ขนาด​เล็กลง​เชน​ที่​พบ​ใน​ปะการัง​ออน (Sinularia sp.) พฤติกรรม​เหลานีพ​้ บ​มาก​ทเี่ กาะต​อรินล​ า​ทศิ ตะวันออก​เฉียง​ใต อา่ วทราย​แดง และ​หินก​ อง แมอ​ ณ ุ หภูม​ิ น้ำ�ทะเล​เริ่ม​ลดลง​ใน​เดือน​กรกฎาคม​และ​ลดลง​อยาง​ตอเนื่อง​ถึง​เดือน​สิงหาคม​แต​การ​ฟอกขาว​ของ​ปะการัง​มี​ผล​กระทบ​ รุนแรงมาก ปะการัง​ที่​ตาย​จาก​ฟอกขาว​จึง​มี​มาก​ถึง​รอยละ 20 ถึง 95 ของ​ปะการัง​มี​ชีวิต โดย​มี​เพียง​รองน้ำ�​อาว​ชอง​ขาด​ เทานั้น​ที่​มี​ปะการัง​ตาย​จาก​ฟอกขาว​นอยที่สุด ซาก​ปะการัง​ตาย​ทั้งหมด​โดยเฉพาะ​ใน​กลุม​ปะการัง​เขากวาง​กิ่ง​สั้น กิ่ง​ยาว และ​พาน​พุม​มี​สาหราย​หรือ​พรม​ทะเล​ขึ้น​คลุม​หนา บางสวน​แตกหัก​เสียหาย​จน​ไมเห็น​โครงสราง​เดิม เชน ปะการัง​แข็ง​รูป ทรง​โตะ​และ​แผน​แบน แต​ไม​พบ​ปะการัง​ฟอกขาว​เพิ่มขึ้น ปะการัง​กลุม​ที่​ฟนตัว​จาก​ฟอกขาว​และ​มี​ชีวิต สวนใหญ​เปน​ ปะการัง​แข็ง​รูปทรงโขด (​กอน) เห็ด และ​ปะการัง​ไฟ ปะการังส​ ีน้ำ�เงิน และ​ดอกไมทะเล ยกตัวอยาง ปะการังโขด​ขนาด​ เสน​ผา​ศูนยกลาง​ฐาน​ประมาณ 4 เมตร บริเวณ​เกาะ​สตอรค​ที่​เริ่ม​ฟนตัว​หลังจาก​เคย​ฟอกขาว​ทั้ง​โค​โลนี สวน​ปะการัง​รูป ทรง​พาน​พมุ กิง่ ก​ อ น และ​เคลือบ​ทม​ี่ ช​ี วี ติ พ​ บ​บา ง​บางพืน้ ที่ เชน รองน�้ำ อ​ า ว​ชอ ง​ขาด แหลม​แมยาย​ใตด​ า นนอก หินก​ อง และ​ เกาะต​อริน​ลา​ทิศตะวันออก​เฉียง​ใต แต​ปะการัง​มี​ขนาด​โคโลนีเล็กมาก


45 w ​แผนที่แสดงสถาน​ภาพ​แนว​ปะการัง​หลัง​ปรากฏการณ​การ​ฟอก​ขาว​บริเวณ​หมูเกาะ​สุรินทร ใน​เดือน​สิงหาคม พ.ศ.2553

15

5

20

10

14 10 18 10 4

1

95

5

90

20

15

20

60

23

7

70

70

76 72

72

8

4

4

20

5

75

8

80

92

20

12

10

5 18 5 10 10

5

7

5 75

90

80

เปอรเซนตการปกคลุมพื้นที่ (ตอปะการังมีชีวิต) ปะการังที่ไมฟอกขาว ปะการังที่ฟอกขาว ปะการังตายจากการฟอกขาว

90

10

80

70


46 w ​กราฟเปรียบเทียบการปกคลุมพื้นที่ของปะการังแข็งมีชีวิตรูปทรงต่างๆ ระหว่างเกิดปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

% การปกคลุมพื้นที่ (ตอปะการังมีชีวิต)

40

30

20

เมษยน 53 สิงหาคม 53

10

0

กอน

กิ่งกอน

กิ่งสั้น

กิ่งยาว

แผนโตะ แผนแบน

แผนตั้ง แผนใบไม

เคลือบ

เห็ด

จากกราฟดา้ นบนแสดงใหเ้ ห็นวา่ ในเดือนสิงหาคมปะการังแข็งมีชวี ติ รูปทรงกิง่ ยาว แผ่นโต๊ะแผ่นแบนมีความหนาแน่นลด ลงจนไม่สามารถพบเห็นได้ในแนวสำ�รวจ มีเพียงปะการังแข็งรูปทรงก้อน แผ่นตั้งแผ่นใบไม้ เคลือบ เห็ด กิ่งก้อน กิ่งสั้นที่ ยังคงสามารถพบเห็นได้อยู่ การ​ลดลง​ของ​ความ​หลากหลาย​ของ​ชนิดแ​ ละ​จ�ำ นวน​ของ​ปะการังจ​ าก​ปรากฎ​การณน​ ส​ี้ ง ผลให​ ระบบนิเวศ​แนว​ปะการังซ​ งึ่ ม​ ห​ี นาทีเ​่ ชิงน​ เิ วศ มีโ​ครงสราง​ทเ​ี่ ปราะบาง​มากขึน้ มีค​ วาม​เสีย่ ง​ตอ ก​ าร​ถกู ท​ �ำ ลาย​มากขึน้ จ​ าก​ภยั ​ คุกคาม​ตางๆ และ​มี​ความ​ออนแอ​ตอ​ปจจัย​ทาง​ธรรมชาติ​มากขึ้น เชน เชื้อโรค และ​ศัตรู​ตาม​ธรรมชาติ นอกจากนั้น ยัง​สง ผลตอ​ความ​สมบูรณ​ที่​ลดลง​ของ​สัตวน้ำ�​ใน​แนว​ปะการัง​ซึ่ง​มี​วง​ชีวิต​พึ่งพา​แนว​ปะการัง​เปน​แหลง​อนุบาล​วัย​ออนและ​เปน​ แหลง​อาหาร

คลื่น​ยักษ​สึนามิ (Tsunami) เหตุการณ​คลื่น​ยักษ​สึนามิ​เกิดขึ้น​เมื่อ​วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 สงผลกระทบ​รุนแรง​ตอ​หลาย​พื้นที่​ชายฝง​ภาคใต​ฝง ทะเล​อันดามัน หมูเกาะ​สุรินทร​ซึ่ง​ตั้งอยู​บริเวณ​ทะเล​อันดามัน​เหนือ อยู​หาง​จาก​จุด​ศูนยกลาง​การ​เกิด​แผนดินไหว​ขนาด 8.9 ตาม​มาตรา​รคิ เตอร ทีป​่ ระเทศ​อนิ โดนีเซีย บริเวณ​เกาะ​สมุ าตราประมาณ 700 กิโลเมตร ปะการังบ​ ริเวณ​รอ งน�้ำ ร​ ะหวาง​ เกาะ​สุรินทร​ใต​และ​เกาะต​อริน​ลา (Saenghaisuk and Yeemin, 2006) และ​รองน้ำ�​อาว​ชอง​ขาด​เปน​พื้นที่​ที่​ไดรับ​ผล​ กระทบ​มาก​ที่สุด (Worachananant et al., 2007) ปะการังน​ ้ำ�​ตื้น​บริเวณ​อาว​ผักกาด​และ​เกาะต​อริน​ลา​ไดรับ​ผล​กระทบ​ ่ำ มีต​ ะกอน​ดนิ ทราย​ปกคลุม กอง​หนิ ร​ เิ ชลิวไ​มไ​ดรบั ผ​ ล​กระทบ​มเ​ี พียง​เศษ​ปะการัง​ ปานกลาง ปะการังแ​ ตกหักเ​สียหาย ลมคว� ที่​พื้น​ทะเล​ถูก​คลื่น​พัด​ขึ้น​มา สิ่งมีชีวิตใ​น​แนว​ปะการัง เชน ปลา​และ​สัตว​หนาดิน​อื่นๆ ยังคง​ความ​สมบูรณ​และ​หลากหลาย​ เชน​เดิม

คลื่น​ลมพายุ​พัด​ทำ�ลาย (Strong current) ปะการัง​ฝง ​ตะวันตก​ของ​เกาะ​สรุ นิ ทร​เหนือ เชน อา่ วทราย​แดง อาว​ปอ และ​ปะการัง​ฝง ​ตะวันออก​เฉียง​ใต​ของ​เกาะต​อริน​ลา​ ไดรบั อ​ ทิ ธิพล​ทร​ี่ นุ แรง​จาก​ลมมรสุมต​ ะวันออก​เฉียง​เหนือแ​ ละ​ลมมรสุมต​ ะวันตก​เฉียง​ใตท​ �ำ ใหค​ ลืน่ ใ​ตน​ �้ำ ใ​กลฝ​ ง ม​ ค​ี วาม​รนุ แรง​ ตลอด​เวลา มวล​น�้ำ ด​ า นลาง​มว น​ตวั แ​ ละ​พดั พา​รนุ แรง ปะการังบ​ ริเวณ​นจ​ี้ งึ ว​ างตัวก​ ระจัดก​ ระจาย รูปทรง​ปะการังท​ โ​ี่ ดดเดน​ เปน​รูปทรง​กอน และ​รูปทรง​อื่น​ที่​ทนทาน​ตอ​กระแส​คลื่น​ใต​น้ำ� บน​ชายหาด​มัก​พบ​เศษ​ปะการัง​ขนาดเล็ก​หัก​กอง​อยู​เปน​ จำ�นวน​มาก​จาก​การ​พัดพา​ของ​คลื่น​ใน​ชวง​น้ำ�ขึ้น​เต็ม


47

ดาว​มงกุฎ​หนาม5 (Crown of Thorn Starfish) การ​ระบาด​ของ​ดาว​มงกุฎห​ นาม (Acanthaster planci) หรือ ปลาดาว​หนาม​ใน​แนว​ปะการังห​ มูเ กาะ​ สุรนิ ทรเ​กิดขึน้ ห​ ลายครัง้ โ​ดย​ทย​่ี งั ไ​มท​ ราบ​สาเหตุท​ แ​่ี นนอน​วา เ​ปนป​ รากฏการณธ​ รรมชาติ หรือ เปนผล​ กระทบ​จาก​กจิ กรรม​ของ​มนุษย​ท​ม่ี ผี ลตอ​ความ​สมดุล​ของ​ระบบนิเวศ​แนว​ปะการัง แต​สาเหตุ​หนึง่ ​ท่​ี ชัดเจน​คอื ​การ​ลดลง​หรือ​หายไป​ของ​ศตั รู​ตาม​ธรรมชาติ เชน หอยสังขแ​ ตร (Charonia tritonis) และ​ สภาพ​สง่ิ แวดลอมทีส่ ง่ ผลใหป้ ริมาณ​อาหาร​ของ​ลกู ​ปลาดาว​หนามเพิม่ ขึน้ ​ พืน้ ที​ท่ ​พ่ี บ​การ​ระบาด​มกั ​เปน​ อาว มี​ปะการัง​เขากวาง (Acropora spp.) เปน​สกุล​ท​พ่ี บ​เดน่ ทีส่ ดุ ​และ​มกั ​เกิด​ใน​พน้ื ที​เ่ ดิม​ท​เ่ี คย​พบ​การ​ ระบาด​มา​ตง้ั แต​ในอดีต ใน​ป พ.ศ.2552-2553 พบ​การ​ระบาด​ของ​ปลาดาว​หนาม​ใน​ระดับ​รนุ แรงมาก​ บริเวณ​ชายฝง ​ของ​เกาะ​สรุ นิ ทร​เหนือ อาว​แมยาย​ทศิ ใต อาว​จาก อา​วสุ​เทพ และ​เกาะ​สตอรค (มากกวา 10 ตัว ใน​พน้ื ที่ 1 เฮก​แตร (100 x100 ตร.ม.) ถือวา ระบาด ถา​มากกวา 30 ตัว ถือวา ระบาด​รนุ แรงมาก) อาว​จาก คือ​พน้ื ที​ท่ ​พ่ี บ​การ​ระบาด​เกือบ​ทกุ ป

คุณภาพน้ำ�ทะเล (Sea Water Quality) ของเสียทีถ่ กู ปล่อยออกมาจากกิจกรรมบนฝงั่ นำ้�มันคราบนำ้�มันจากเรือ ตะกอนดินและทรายจากดินถล่มและการกัดเซาะ หนา้ ดินสง่ ผลตอ่ คุณภาพน้ำ�ทะเลและแนวปะการังโดยเฉพาะบริเวณทีเ่ ป็นทีพ่ กั นักท่องเทีย่ วและแหล่งชุมชน เช่น อ่าวช่อง ขาด อา่ วไมง้ ามและอา่ วบอนใหญ่ จดุ ทิง้ และเผาขยะ เช่น อ่าวสุเทพและอ่าวสัปปะรด จุดจอดเรือ เช่น อ่าวช่องขาด และอ่าว ไม้งามด้านหลัง (200 เมตร) ซึง่ จากการตรวจวัดคุณภาพน�้ำ ทะเลเบือ้ งตน้ บริเวณหมูเ่ กาะสุรนิ ทรแ์ สดงใหเ้ ห็นวา่ คา่ พารามิเตอร์ เบือ้ งตน้ อยา่ ง ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) ความเค็ม ความโปร่งใส และกลิน่ อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานของคุณภาพน้ำ�ทะเลเพือ่ การ ้ำ (ขยะ) และคราบน�้ำ มันบนผิวน� ้ำ อนุรกั ษ์แหล่งปะการัง ส่วนค่าทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน ได้แก่ สนี �้ำ ทะล (เป็นสีเหลืองขุน่ ) วัตถุลอยน� ทีส่ ามารถพบได้โดยเฉพาะบริเวณทีใ่ กล้ชมุ ชนและมีความคับคัง่ ของเรือ (รายละเอียดในตารางคุณภาพน้ำ�บริเวณหมูเ่ กาะ สุรนิ ทร)์ สารอาหาร​และ​สารประกอบ​ทาง​เคมีท​ อ​่ี อก​มาพรอมกับน​ �้ำ เสียจ​ าก​การ​อาบ​ซกั ลาง​และ​ประกอบ​อาหาร​เมือ่ ถ​ กู ป​ ลอย​ลง​สแ​ู นว​ ปะการังโ​ดย​ไมผ​ า น​การ​บ�ำ บัดท​ ถ​่ี กู ตอง​เหมาะสม​จะ​กอ ใ​หเ​กิดค​ วาม​เสีย่ ง​ตอ ก​ าร​เกิดโ​รค​ของ​ปะการัง และ​ความ​หลากหลาย​ของ​ ชนิดป​ ะการังร​ วมถึงส​ ตั วท​ อ​่ี าศัยอยูใ​ น​แนว​ปะการัง เชน ปลา และ​สตั วห​ นาดินแ​ ละ​สง ผลตอก​ าร​เจริญเ​ติบโต​ของ​สาหราย​เขามา​ แกงแยง​พน้ื ที่ ​สว น​ตะกอน​ดนิ ​และ​ทราย​ท​ท่ี บั ถม​บน​ปะการัง​ม​ผี ล​โดย​ตรง​ตอ ​การ​หายใจ​ของ​ปะการัง​ซง่ึ ​เปนผลให​ปะการัง​ตาย​ ตารางค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ�ทะเลเพื่อการอนุรักษ์แหล่งปะการังที่ได้ทำ�การวัดเบื้องต้น พารามิเตอร์ 1. วัตถุที่ลอยน้ำ�

หน่วย

วิธีการตรวจสอบ

ค่ามาตรฐาน

-

สังเกต

ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ

2. สี

-

สังเกตโดยเทียบกับ Forel-Ule color scale

ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ

3. กลิ่น

-

ดม โดยต้องมีผ้ตู รวจวัด ไม่น้อยกว่า 3 คน

ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ

องศาเซลเซียส

เทอร์โมมิเตอร์

ไม่เปลี่ยนแปลง

5. ความเป็นกรดและด่าง (pH)

-

pH meter

7.0 - 8.5

6. ความโปร่งใส

-

Secchi disc สำ�หรับตรวจวัดน้ำ�ทะเล Refractometer

ลดลงจากสภาพธรรมชาติไม่เกินกว่า 10% จาก ค่าต่ำ�สุด เปลี่ยนแปลงได้ไม่เกินกว่า 10% ของค่าตำ�่ สุด

สังเกต

มองไม่เห็น

4.อุณหภูมิ

7. ความเค็ม 8. น้ำ�มันหรือไขมันบนผิวน้ำ�

-

ที่มา : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2549) เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานคุณภาพน้ำ�ทะเล ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 124 ตอนที่ 11 ง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 ดาว​มงกุฎ​หนาม เปน​ปลาดาว​ที่​กิน​ปะการัง​เปน​อาหาร หากิน​กลางคืน ใน​ระบบนิเวศ​การ​กิน​ของ​ดาว​มงกุฎ​หนาม​ถือเปน​ขบวนการ​ที่​มี​ความ​ส�ำ คัญ​ใน​การ​เปดโอกาส​ให​มี​การ​เจริญ​ เติบโต​ของ​ปะการัง​ชนิด​อื่นๆ นอกเหนือ​จาก​ชนิด​ที่​เจริญ​เติบโต​เร็ว​ที่สุด ​ซึ่ง​เปน​ชนิด​ที่​ดาว​มงกุฎ​หนาม​ชอบ​กิน 5


>11.0

>11.5

>4.7*

เม.ย.53

ส.ค.53

อ่าวปอ

อ่าวกระทิง เกาะมังกร

อ่าวสุเทพน้อย

15*

>7.0

14.0

33.0

35.0

34.0

35.0

34.0

32.0

8.1

8.1

8.1

8.2

อ่าวผักกาด >6.5*

>5.0

>6.0

-

35.0

35.0

36.0

35.0

35.0

8.1

8.3

8.1

8.2

อ่าวไทรเอน 14*

>5.0

8.5*

34.0

35.0

35.0

35.0

35.0

35.0

8.2

8.3

8.2

8.3

>2.5*

>2.5

>2.5

34.0

35.0

35.0

33.0

35.0

35.0

8.1

8.2

8.1

8.2

ร่องนำ�้ อ่าวช่องขาด -

>0.4

>1.5

-

-

-

-

34.0

32.0

-

-

8.0

8.2

-

>1.5

>0.5

-

-

-

-

35.0

29.0

-

-

8.0

8.1

>0.5 -

-

>0.9

-

-

-

-

34.0

32.0

-

-

8.0

8.3

>1.0

>0.9

-

-

-

-

34.0

31.0

-

-

8.0

8.1

-

>1.1

>0.4

-

-

-

-

33.0

32.0

-

-

8.0

8.3

-

-

-

-

-

ทุกสถานี น้ำ�​ใส ไม่มีกลิ่น วัตถุลอยน้ำ�​และคราบน้ำ�​มัน ยกเว้นที่แหลมแม่ยายเหนือด้านในมีขยะและคราบน้ำ�​มันบ้าง

14*

>6.0

15.5

36.0

35.0

35.0

36.0

34.0

34.0

8.1

8.3

8.1

8.3

อ่าวไม้งาม (หน้าหาด)

ส.ค.53

>7.0*

>7.0

7.0

35.0

36.0

34.0

36.0

34​

31.0

-

8.3

8.1

8.2

อ่าวสุเทพ (หน้าหาด)

ทุก​สถานี น้ำ�​ใส ไมมี​กลิ่น วัตถุ​ลอยน้ำ�​และ​คราบ​น้ำ�​มัน ยกเวน​ที่​อาว​ปอ อาวบอน อาว​ผักกาด​มี​ขยะ​บาง นอกจากนั้น​ที่​แหลม​แมยาย​ ทุกส​ ถานี น�้ำ ไ​มมก​ี ลิน่ และ​คราบ​น�้ำ ม​ นั (ยกเวนอ​ า ว​ชอ ง​ขาด) เหนือ​ดานใน​และ​ใต​ดานนอก อาว​กระทิง อาว​ปอ อาว​ไทร​เอน ​เกาะ​มังกร​พบเห็น​แพลง​คตอน​ใน​มวล​น้ำ�​ชัดเจน แต​มี​ขยะ​บาง​และ​น้ำ�​ขุน​โดย​เฉพาะที่​อาว​ไม​งาม​และอา​ว สุ​เทพ​น้ำ�​สี​เหลือง​และ​มี​ฟอง ​ตาง​จากที่​อาว​บอน​ใหญ​น้ำ�​ใส

>5.0*

>4.5

>11

36.0

34.0

34.0

37.0

35.0

34.0

8.1

8.3

8.2

8.2

อ่าวบอนใหญ่ (หน้าหาด)

เม.ย.53

>8.5

>10.0

7.0

33.0

35.0

32.0

33.0

35.0

35.0

8.1

8.6

8.1

8.3

อ่าวสัปปะรด (หน้าหาด)

ทุก​สถานี น้ำ�​ใส ไมมกี​ ลิ่น วัตถุ​ลอยน้ำ�​และ​คราบ​น้ำ�​มัน ยกเวน​ที่​แหลม​แมยาย​เหนือ​ดานใน เกาะ​มังกร อา​วสุ​เทพ​นอย อาว​เตา​ใต อาว​ ทุกส​ ถานี น�้ำ ไ​มมก​ี ลิน่ แ​ ละ​คราบ​น�้ำ ม​ นั แตม​ ข​ี ยะ​บา ง​และ​น�้ำ ​ ผักกาด​มี​ขยะ​บาง และ​ที่​รองน้ำ�​ชอง​ขาด​น้ำ�ข​ ุน​เล็กนอย ขุนโ​ดย​เฉพาะที่​อาว​ไม​งาม​น้ำ�​มี​สี​เหลือง

>4.0

>5.5

>6.0

34.0

35.0

35.0

32.0

35.0

37.0

8.1

8.4

8.1

8.4

อ่าวช่องขาด (หน้าหาด)

ธ.ค.52

>4.5

15.0

10.0

32.0

35.0

ส.ค.53

ธ.ค.52

34.0

35.0

เม.ย.53

33.0

35.0

30.0

35.0

35.0

30.0

33.0

33.0

8.1

8.4

8.1

ธ.ค.52

ส.ค.53

เม.ย.53

ธ.ค.52

8.3

เม.ย.53

แหลมแม่ยายใต้ด้านนอก

8.4

อ่าวเต่าใต้

หมายเหตุ : วัดความโปร่งใสน้ำ�​ภายใต้สภาพภูมิอากาศ * แดดเล็กน้อยหรือฟ้าครึ้ม , ไม่มี * แดดจัด การ​วัด​คา pH ในเดือน ธ.ค.52 และ เม.ย.​53 ใชเครื่องมือคนละ​รุน (จึง​อาจมี​ผล​ตอความคลาดเคลื่อน​ของคาที่​วัด​ได)

สภาพผิวน้ำ�

ความโปร่งใสน้ำ�

ความเค็ม ใต้น้ำ�

ความเค็ม ผิวน้ำ�

8.3

เม.ย.53

ธ.ค.52

8.1

ธ.ค.52

pH ผิวน้ำ�

pH ใต้น้ำ�

8.3

ช่วงเวลา

พารามิเตอร์

แหลมแม่ยายเหนือด้านใน

สถานที่

อ่าวบอน

ตารางคุณภาพน้ำ�บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

48


49

ขยะ​ทะเล (Sea Debris) ขยะ​พลาสติก และ​ขยะ​จาก​การ​ท�ำ ​ประมง​เปน​ปญ  หา​ส�ำ คัญ​ท​พ่ี บ​ทว่ั ​บริเวณ​หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร ถุงพลาสติก ขวด​พลาสติก เชือก ไน​ลอ น เศษ​แหอวน และ​ลอบ​ไมไผท​ กุ ข​ นาด​สามารถ​พบ​ลอยอยูห​ รือจ​ ม​ตดิ พันอ​ ยูก​ บั ป​ ะการัง ขยะ​พลาสติกท​ ล​่ี อยอยูบ​ น​ผวิ น�ำ้ ​ หรือ​กลาง​น�ำ้ ​เสีย่ ง​ตอ ​สตั ว​ทะเล​ทกุ ​ประเภท​จะ​คดิ วา​เปน​อาหาร​และ​กนิ ​เขาไป เกิด​อนั ตราย​จนถึง​ชวี ติ ​เมือ่ ​สะสม​มากขึน้ ลอบ​ท่​ี ถูก​จม​ทง้ิ ​ไว​ม​สี ตั ว​ทะเล​เขาไป​ตดิ อยู​ภ ายใน​และ​ออกมา​ไมได แหอวน​ท​ค่ี ลุม​ปะการัง​ท�ำ ให​ปะการัง​ตาย เพราะ​ไม​สามารถ​รบั ​ แสงแดด​ได และ​เมือ่ ​สาหราย​ท​ม่ี ​ลี กั ษณะ​เหมือน​ตะไคร​น�ำ้ ​ขน้ึ ​ปกคลุมอวน​อกี ​ทหี นึง่ สาหราย​จะ​จบั ​ตะกอน​ใน​มวล​น�ำ้ ​ไว ทำ�ให​ ปะการัง​ตาย​เร็ว​ขน้ึ ทีม่ า​ของ​ขยะ​เหลานี​บ้ างส่วนมาจาก​ขยะ​จาก​จดุ ​ทง้ิ ​และ​เผา​ขยะ​บริเวณอา​ว สุเ​ทพ​และ​อา ว​สปั ปะรด​ทบ​่ี างสวน​ถกู ค​ ลืน่ ท​ ะเล​ซดั อ​ อกมา จาก​เรือท​ อ งเทีย่ ว​ทไ​่ี มมร​ี ะบบ​การ​จดั การ​ ขยะ​ท​ด่ี ี จาก​เรือประมง​ท​ท่ี �ำ ​ประมง​อยู​น อก​เขต​และ​ท​จ่ี อด​พกั ​เรือ​อยู​ใ น​เขต​หมูเ กาะ​สรุ นิ ทร ปญหา​ สำ�คัญท​ ไ​่ี มค​ วร​มองขาม คือ ซาก​เรือจ​ ม​ทไ​่ี มมก​ี าร​จดั การเรือ่ งเก็บก​ ท​ู ด่ี ส​ี ราง​ความ​เสียหาย​อยาง​มาก​ ตอ​ปะการัง​เมือ่ ​สว นประกอบ​ของ​เรือ​ท​ม่ี ​ขี นาดใหญ​ถกู ​คลืน่ ​ใต​น�ำ้ ​ซดั ​เขาสู​แ นว​ปะการัง​รมิ ฝง เชน แนว​ปะการัง​เขากวาง​บริเวณ​เกาะ​สตอรค​ถกู ​ซาก​เรือประมง​ท​จ่ี มลง​ดา นน​นอก และ​ถ​กู ลาก​เขามา​ บริเวณ​รมิ ฝง ​ท�ำ ลาย​หายไป​ทง้ั ​แถบ​เปน​ระยะทาง​ยาว มี​พน้ื ที​ม่ ากกวา 500 ตารางเมตร

กา​ร​ลักลอบ​ทำ�​ประมง​ผิดก​ฎ​หมาย (Illegal Fishing) ฤดูล​ มมรสุมต​ ะวันตก​เฉียง​ใตเ​ปนช​ ว งเวลา​ปด ข​ อง​การ​ทอ งเทีย่ ว (ระหวาง​เดือน​พฤษภาคม-ตุลาคม) การ​ลกั ลอบ​เขามา​ท�ำ ป​ ระมง เชน วางอวน วาง​ลอบ ปน ไฟ​ลอ ม​ปลา ยิง​ปลา ตกปลา ดำ�​กงุ มังกร ปลิง และ​หอย​ใน​เขต​พน้ื ที​อ่ ทุ ยานฯ โดยเฉพาะ​บริเวณ​เกาะ ต​อริน​ลา เกาะ​มงั กร เกาะ​สตอรค หิน​กอง หิน​ราบ อาว​แมยาย อาว​ไทร​เอน​และ​หาด​ทรายขาว​เล็ก​ม​ใี ห​เห็น​เปนประจำ�​เมือ่ ​การ​ ออก​ตรวจ​ปอ งกัน​และ​ปราบปราม​ไม​เขมแข็ง และ​ผกู ระทำ�​ผดิ ​ไม​เกรงกลัว​ตอ ​กฎหมาย ความ​เสียหาย​ท​เ่ี กิดขึน้ ​ใน​แนว​ปะการัง​ มี​ผล​โดย​ตรง​ตอ ​ปลา​ใน​กลุม ​เศรษฐกิจ​และ​สวยงาม​เชน ปลา​กะพง ปลา​กะรัง ปลามง ปลา​หมูสี ปลา​กลวย​ญป่ี นุ ปลา​ววั ปลา สาก รวมไปถึง​หมึก​กระดอง หมึก​กลวย และ​กงุ มังกร


50

ระเบิด​ปลา​ใน​แนว​ปะการัง (Blast Fishing) การ​ระเบิดป​ ลา​เปนการ​ท�ำ ลาย​ปะการังอ​ ยาง​รนุ แรง แรง​ระเบิดฆ​ า ป​ ลา​ทกุ ชนิดแ​ ละ​ทกุ ขนาด​ทอ่ี ยูใ​ น​บริเวณ​นน้ั ร​ วมถึงป​ ะการัง​ บริเวณ​รอบๆ แตกหัก​เสียหาย​ใน​ชว่ั พริบตา และ​ตอ ง​ใชเวลา​ฟน ตัว​นาน การ​ระเบิด​ปลา​ในอดีต​เกิดขึน้ ​ทว่ั ไป​รวมถึง​หมูเ กาะ​ สุรนิ ทร และ​ยงั คง​พบ​รอ งรอย​ความ​เสียหาย​ท​เ่ี คย​เกิด​ขน้ึ อยู​บ า ง เชน อาว​แมยาย

การ​ลักลอบ​เก็บ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ใน​แนว​ปะการัง (Poaching) ปะการัง กัลปงหา และ​ดอกไม​ทะเลใน​ธรรมชาติ​ม​สี สี นั ​ท​ส่ี วยงาม​เมือ่ ​ม​ชี วี ติ แม​ตาย​ไป​แลวก็​ยงั คง​ ความ​สวยงาม​จงึ ​เปนที​น่ ยิ ม​น�ำ ​ใช​เปน​เครือ่ ง​ประดับ​ตกแตง หรือ สะสม คน​บาง​กลุม ​ม​คี วาม​เชือ่ ​วา ​ มีอทิ ธิฤทธิ​ป์ อ งกัน​สง่ิ ​ไมดี ปลา​ใน​กลุม ​สตั ว​สวยงาม เชน ปลา​การตนู ปลา​สนิ ​สมุทร ปลา​ผเี สือ้ และ​ มาน�ำ้ ​น�ำ ​ถกู ​มา​เลีย้ ง​เปน​สตั วเลีย้ ง​ใน​ตปู ลา​ตาม​บา นเรือน หรือ ท​ �ำ ​ยาบำ�รุง​ก�ำ ลัง​ตาม​รสนิยม​ความ​ เชื่อ การ​ลักลอบ​เก็บ จับ หรือ ​นำ�ออกมา​จาก​แหลง​ธรรมชาติ​เหลานี้​ถือวา​ผิด​กฎหมาย​ตาม ​ พระ​ราช​บญ ั ญัต​สิ งวน​และ​คมุ ครอง​สตั วปา พ.ศ. 2535 แม​จะ​เปน​เพียงแค​เศษซาก​ของ​สง่ิ มีชวี ติ ​ เหลานี​ก้ ต็ ามความ​เชือ่ ​หรือ​ความรู​ท ​ผ่ี ดิ ​ท​ค่ี ดิ วา​เศษซาก​ของ​สง่ิ มีชวี ติ ​เหลานี​เ้ มือ่ ​ตาย​แลวจะ​กลาย​ เปนข​ ยะ​ใน​ทอ งทะเล และ​พฤติกรรมไมเ​คารพ​กฎ​ระเบียบ​กฎหมาย​ของ​คน​กลุม น​ พ​้ี บเห็นไ​ดใ​น​กลุม ​ ผู​ท ม่ี า​ทอ งเทีย่ ว​และ​ลกั ​เก็บ​บริเวณ​จดุ ​ด�ำ น�ำ้ ​หรือ​ชายหาด​ทพ่ี กั และ​กลุม ​ผ​ทู ​ล่ี กั ลอบ​เขามา​จบั ​เพือ่ ​ สง​ขาย​ตอ

การ​ทองเที่ยว (Tourism) กิจกรรม​ด�ำ น�ำ้ ​ตน้ื (snorkeling) และ​ด�ำ น�ำ้ ​ลกึ (scuba diving) ที​ข่ าด​ความ​รบั ผิดชอบ​และ​ความ​ระมัดระวัง​ม​ผี ล​กระทบ​ตอ ​ แนว​ปะการังโ​ดย​ตรง โดยเฉพาะ​ใน​ชว งเวลา​ทม​่ี น​ี กั ท​ อ งเทีย่ ว​หนาแนน การ​ด�ำ น�ำ้ ต​ น้ื ม​ โ​ี อกาส​สงู ท​ น​่ี กั ท​ อ งเทีย่ ว​จะ​เหยียบ​ยนื บ​ น​ ปะการัง การ​ด�ำ น�ำ้ ​ลกึ ​ม​โี อกาส​สงู ​ท​ต่ี นี กบ หรือ อุปกรณด​ �ำ น�ำ้ ​จะ​กระแทก​ปะการัง​แตกหัก หรือ​นกั ​ด�ำ น�ำ้ ​ไลตอ น​จบั ​สตั วน�ำ้ ​จน​ สัตว​เกิด​ความเครียด​จาก​การ​ถกู ​รบกวน การ​เดิน​คน หา​และ​จบั ​สตั วน�ำ้ ​ท​ห่ี ลบซอน​อยู​ใ ต​ปะการัง​ท​โ่ี ผล​ขน้ึ ​มา​ใน​ชว งเวลา​น�ำ้ ​ลง​ โดย​การ​รอ้ื ห​ รือพ​ ลิกก​ อ น​ปะการังเ​ปนการ​รบกวน​และ​อาจ​สราง​ความ​เสียหาย​กบั ป​ ะการังแ​ ละ​สง่ิ มีชวี ติ ท​ ข​่ี น้ึ อยูใ​ ตป​ ะการังด​ ว ย​ เชนกัน


สภาพปะการังบริเวณอาว​กระทิง ทีร่ ะดับความลึกประมาณ 5 เมตร เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2553

51


52

Chapter 5 บทที่ ๕

CONSERVATION การอนุรักษ์แนวปะการัง


53

แนวปะการังของประเทศไทยไดร้ บั การคุม้ ครองและจัดการ โดยมีเป้าหมายหลักเพือ่ ให้เกิดการจัดการ

ตามหลักวิชาการ และมีสว่ นรว่ มของชุมชน เพือ่ ใหท้ รัพยากรในแนวปะการังถูกใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งสมดุลและเปน็ ธรรมโดย มีแผนแม่บทการจัดการปะการังของประเทศปี พ.ศ.2545 เป็นแนวทางด้านการจัดการปะการัง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การคุม้ ครองพืน้ ทีแ่ ละสิง่ แวดลอ้ มในแนวปะการัง ได้แก่ พระราชบัญญัตกิ ารประมง พ.ศ.2490 (แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2496 และ 2528) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัตคิ วบคุมการสง่ ออกไปนอกราชอาณาจักรซึง่ สินคา้ บางอยา่ ง พ.ศ. 2482 พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 และประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องการกำ�นดเขตพื้นที่และ มาตรการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมในบริเวณพืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ธรณีภบิ ตั จิ งั หวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัด ระนอง และจังหวัดสตูล พ.ศ.2549

5.1 การอนุรักษ์ในปัจจุบัน กรม​อทุ ยาน​แหงชาติ ส​ ตั วปา แ​ ละ​พนั ธุพ ชื ไ​ดก​ �ำ หนด​นโยบาย​และ​แนวทาง​การ​ด�ำ เนินงาน​เพือ่ ใ​หส​ อดคลองกับแ​ ผน​ปฏิบตั ​ิ การ​จัดการ​ทรัพยากร​และ​สิ่ง​แวดลอม​ชาย​ฝงทะเล​ของ​ประเทศ​โดย​มุงเนน​การ​อนุรักษ ​คุมครอง ​ดู​แล​รักษา​ทรัพยากร​ใน​ แนว​ปะการัง​ให​มี​ความ​สมบูรณ​และ​สมดุล​ตาม​ธรรมชาติ ​พรอม​ทั้ง​ลด​และ​ปอง​กัน​ความ​เสื่อมโทรม​ที่​จะ​เกิดขึ้น​ใน​แนว​ ปะการัง ​การ​ติดตาม​และ​เฝาระวัง​การ​เปลี่ยน​แปลง​สถานภาพ​ใน​แนว​ปะการังภาย​ใต​วิกฤตการณ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ตางๆ​​ ที่​เพิ่ม​มากขึ้น​ใน​ปจจุบัน​เปน​เรื่อง​ที่​อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร​มองเห็น​ความ​สำ�คัญ​และ​พยายาม​สนับสนุน​ให​เกิด​ กระบวนการ​ติดตาม​โดย​การ​มี​สวนรวม​ของ​ผู​ใช​ประโยชน​ใน​พื้น​ที่ ​นอก​​จาก​การ​กำ�หนด​เขต​พื้น​ที่​การ​ใช​ประโยชน​ใน​แนว​ ปะการัง​เ​นื่องจาก​เห็น​ประโยชน​จาก​การ​ดำ�เนินงาน​ที่​ทำ�​ให​สามารถ​วาง​แผน​รับมือ​กับ​ปญหา​ได​อยาง​ทันทวงที ​เกิด​ระบบ​ เตือนภัยล​ ว งหนา ก​ าร​ปฏิบตั ง​ิ าน​สามารถ​ท�ำ ไดอ​ ยาง​มป​ี ระสิทธิภาพ​จาก​คน​ทค​ี่ นุ เคย​กบั พ​ นื้ ท​ ี่ ป​ ระหยัดง​ บประมาณ เ​ปนการ​ ปลูกฝง​จิตสำ�นึก​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​ทองถิ่น​ให​กับ​คน​ใน​พื้น​ที่​ ​และ​สราง​ความ​เขม​แข็ง​และ​ความรูสึก​เปน​เจาของ​ให​กับ​ คน​ใน​พื้น​ที่​จาก​การ​มี​บทบาท​รวม​ใน​การ​อนุรักษ ​ใน​ป ​พ.​ศ.​2​5​5​3​​ภารกิจ​การ​ส�ำ รวจ​เก็บขอมูล​สถานภาพ​ใน​แนว​ปะการัง​ ถู​กวาง​แผน​ขึ้น​ตอ​เนื่องจาก​การ​เก็บ​รวบรวม​ขอ​มูลความ​หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ​ใน​แนว​ปะการัง ​(​ขอมูล​ทุติยภูมิ)​ ​เพื่อ​ท�ำ ​ ฐานขอมูลท​ รัพยากร​ทาง​ทะเล​เบือ้ งตน แ​ ผนการ​ส�ำ รวจ​ถกู อ​ อก​แบบ​เพือ่ ใ​หน​ �ำ มา​ใชงาน​ไดจ​ ริง โ​ดย​มอบ​หนาท​ ค​ี่ วาม​รบั ผิด ชอบ​ให​กับ​ผูดู​แล​และ​ใช​ประโยชน​จาก​ทรัพยากร​โดย​ตรง ​คือ ​เจาหนา​ที่​อุทยานฯ ​และ ​ชุมชนมอ​แกน​ให​เปน​ผูปฏิบัตงิ​ าน​ กระบวนการ​ใหค​ วามรูแ​ ละ​ฝก ป​ ฏิบตั ท​ิ เ​ี่ หมาะสมกับแ​ ตละ​กลุม บ​ คุ คล​ถกู น​ �ำ มา​ใชเ​พือ่ ท​ �ำ ความ​เขาใ​จ​และ​เตรียม​ความ​พรอม​ ให​ผูปฏิบัติ​รูจัก​กระบวนการ​ด�ำ เนินงาน​และ​ความ​ส�ำ คัญ​กอน​เริ่ม​ลงมือทำ� ​การ​สำ�รวจ​แนว​ปะการัง ​1​1​​สถานี ​(​รองน�ำ้ ​อาว​ ชอง​ขาด ​แหลม​แมยาย​ทิศ​ใตด้านนอก แ​ หลม​แมยาย​ทิศเหนือด้านใน ​อาว​ไทร​เอน ​อาว​ปอ ​อาว​กระทิง ​อาวบอน ​อาว​เตา​ ใต ​อาว​ผักกาด ​อา​วสุ​เทพ​นอย ​และ​เกาะ​มังกร)​​ใน ​3​​ชวงเวลา ​คือ ก​ อน​มี​การ​ใช​ประโยชน ​ระหวาง​ถูก​ใช​ประโยชน​อยาง​ หนักหนวง ​และ​ระยะ​ฟนตัว ​ถูก​ทำ�​ดวย​วิธี ​R​e​e​f​ ​C​h​e​c​k​ ​และ​ระหวางช่วงเวลา​การ​สำ�รวจ​แตละครั้ง​ แนว​ปะการัง​นอก พื้นที่ 11 สถานีถูก​ติดตาม​สถานภาพ​​ดวย​วิธี R​ ​e​e​f​​W​a​t​c​h​​​รวม​ถึง​การ​ตรวจวัด​คุณภาพ​น�ำ้ ​ทะเล​และ​สภาพ​ภูมิอากาศ​เพื่อ​ ใชเ​ปนข​ อ มูลส​ ภาพ​สงิ่ แ​ วดลอม​ใน​แตละ​พนื้ ท​ ี่ ผ​ ล​การ​ส�ำ รวจ​ถกู น​ �ำ มา​วเิ คราะหส​ ถานภาพ​แนว​ปะการัง แ​ ละ​ผล​กระทบ​จาก​ การ​ใช​ประโยชน​ที่ถือ​เปนภัย​คุกคาม​ตอ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ​เชน ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ทองเ​ที่ยว ​ผล​กระทบ​จาก​ชุมชน​ และ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ท�ำ ป​ ระมง​ใน​ระยะเวลา 1​ ​ป​ ร​ ว มกับผ​ ล​การ​วจิ ยั แ​ ละ​วเิ คราะหจ​ าก​หนวยงาน​อนื่ ๆ​ท​ เ​ี่ คย​เขามา​ส�ำ รวจ​ เพื่อ​ดู​แนวโนม​การ​เปลี่ยน​แปลง​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ​ตั้ง​แต​อดีต​ถึง​ปจจุบัน ​และ​เสนอ​มาตรการ​อนุรักษ​และ​ฟนฟู​แนว​ ปะการังท​ เ​ี่ หมาะสม​ใน​พนื้ ท​ ว​ี่ กิ ฤต​จาก​ภยั ค​ กุ คาม เ​ชน ป​ รากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว น​ อกจาก​นนั้ ก​ าร​ออก​ตรวจตรา​รอบ​ หมูเกาะ​สุรินทร​อาทิตย​ละ ​1​ ​ครั้ง ​ตลอด​ระยะเวลา ​1​ ​ป​เพื่อ​เฝาระวัง​ทรัพยากร​ใน​แนว​ปะการัง​ยัง​ชวย​สอดสอง​และ​ปอง​ กัน​การ​ลัก​ลอบทำ�​ประมง​และ​การ​กระทำ�​ผิด​อื่นๆ​ ​ใน​พื้น​ที่​อุทยานฯ ​ได​ระดับ​หนึ่ง​และ​สามารถ​ชวยชีวิต​สัตว​ทะเล​หลาย ชนิด​จาก​การ​ถูก​จับ


54

​และ​เพื่อ​ประชา​สัมพันธ​ขอมูล​ความรู​ใน​แนว​ปะการัง​หมูเกาะ​สุรินทร​แก​นัก​ทองเ​ที่ยว​และ​บุคคล​ทั่วไป ​บริเวณ​อาคาร​ นิทรรศการ​และ​บอรด​มุม​สรางสรรค​ได​จัด​แสดง​ขอมูล ​ขาวสาร​ตางๆ​​ใน​รูป​แบบ ​2​​มิติ​และ3​​มิติ ​เชน ​เกร็ด​ความรู​ใน​แนว​ ปะการัง ​สถานภาพ​แนว​ปะการัง ว​ ิธีการ​สำ�รวจ ​และ​สำ�หรับ​ผู​ที่​สน​ใจ​สามารถ​เขารวม​กิจกรรม​สำ�รวจ​แนว​ปะการัง​บริเวณ​ หมูเกาะ​สุรินทร​ดวย​วิธี ​R​e​e​f​​W​a​t​c​h​​รวม​กัน​ได​อีกดวย

5.2 การอนุรักษ์ในอนาคต การ​ปฏิบตั ต​ิ าม​ขอ บังคับแ​ ละ​ขอ ค​ วร​ปฏิบตั โ​ิ ดยเฉพาะ​ใน​พนื้ ทีค​่ มุ ครอง​ทรัพยากร​ธรรมชาติซ​ งึ่ ท​ รัพยากร​ถกู ส​ งวน​ไวเ​พือ่ เ​ปน​ แหลง​เพาะพันธุ พักพิง อาศัย​และ​คงไว​ซึ่ง​สภาพ​ธรรมชาติ​และ​ความ​หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ​เปน​ขอ​คำ�นึง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​ อันดับแรก​ที่​อุทยานฯ ตอง​พยายาม​ผลักดัน​ให​เกิดขึ้น​อยาง​จริงจัง​ใน​กลุม​ผูใช​ประโยชน เชน ชาวประมง นัก​ทองเที่ยว ชุนช​นมอ​แกน รวมถึงผ​ คู วบคุมข​ อ บังคับแ​ ละ​ขอ ปฏิบตั เ​ิ อง​ทต​ี่ อ ง​ไมล​ ะเลย หรือ หลงลืม โดย​จะ​ตอ ง​ถอื ป​ ฏิบตั อ​ิ ยาง​เขมงวด​ เพือ่ ล​ ด​ภยั ค​ กุ คาม​ทจี่ ะ​มต​ี อ แ​ นว​ปะการังใ​น​สถานการณเ​สีย่ ง​เชนป​ จ จุบนั ซ​ งึ่ แ​ นว​ปะการังไ​ดรบั ผ​ ล​กระทบ​จาก​ปรากฎ​การณ​ ปะการัง​ฟอกขาว การ​รณรงค​ให​ความรู สราง​สื่อ​ประชา​สัมพันธท​ี่ทำ�ให​นัก​ทองเที่ยว ชุมชนมอ​แกน ชาวประมง และ​บุคคล​ทั่วไป​เขาใจ​ สถานการณป​ จ จุบนั ใ​น​แนว​ปะการัง วิธกี าร​ใชป​ ระโยชนท​ ถ​ี่ กู ตอง​ใน​แนว​ปะการังส​ �ำ หรับแ​ ตละ​กลุม และ​สง เสริมใ​หเ​กิดก​ าร​ มี​สวนรวม​ใน​การ​ติดตาม​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​กับ​บุคคล​ทุก​กลุม​จำ�เปน​ตอง​พัฒนา​ให​มากขึ้น รวมถึง​สนับสนุน​และ​ กระตุน ใ​หเ​จาหนาทีอ​่ ทุ ยานฯ และมอ​แกน​ทไ​ี่ ดรบั ก​ าร​ฝก ฝน​การ​ปฏิบตั ห​ิ นาทีใ​่ น​สว น​นม​ี้ า​กอ น​แลวใ​หถ​ า ยทอด​ความรูแ​ ละ​ ประสบการณ​ที่​มี​กับ​คน​อื่นๆ ตอ​เพื่อ​เผยแพร​ความรู​และ​สราง​เครือขาย​การ​ท�ำ งาน​ให​เกิดขึ้น การ​ติดตาม​สถานภาพ​แนว​ปะการัง​จำ�เปน​ตอง​ดำ�เนิน​ตอไป​อยาง​ตอเนื่อง ใน​ระยะยาว ตอง​มีการศึกษา​วิจัย​เชิง​ลึก​เพื่อ​ ศึกษา​ความ​หลากหลาย​ใน​แนว​ปะการังห​ ลังจาก​ปรากฎ​การณป​ ะการังฟ​ อกขาว​ซงึ่ ท​ �ำ ใหป​ ะการังบ​ าง​กลุม ม​ คี วามหนาแนน​ ลดลง ศึกษา​การ​ฟนตัว​ของ​แนว​ปะการัง (Reef Resilience) ศึกษา​ผล​กระทบ​ที่เกิด​ตอ​ปะการัง​ใน​ระยะยาว ศึกษา​และ​ ทำ�แผนที่​การ​ไหลเวียน​ของ​กระแสน�ำ้ ​ สำ�รวจ​พื้นที่​เปราะบาง ภัย​คุกคาม​ตางๆ สภาพ​สิ่งแวดลอม รวมถึงก​ าร​ประเมิน​มูล คา​ทาง​เศรษฐศาสตร​และ​สังคม​ของ​แนว​ปะการัง​เพื่อ​ใช​อางอิง ซึ่ง​กระบวนการ​ทำ�งาน​นี้​ตอง​มี​การ​ประสานงาน​กับ​ผู​ เชี่ยวชาญ​ใน​กลุม​สาขา​วิจัย​ตางๆ เพื่อ​แลกเปลี่ยน​เรียนรู​ความรู​เพิ่มเติม ฐานขอมูล​ความ​หลากหลาย​ใน​แนว​ปะการัง​ตอง​พัฒนา​ให​มี​ประสิทธิภาพ เปนระบบ​มากขึ้น และ​ทุกคน​สามารถ​เขาถึง​ได สนับสนุนก​ าร​แลกเปลีย่ น​ขอ มูลแ​ ละ​การ​ท�ำ งาน​รว มกับห​ นวยงาน​ตา งๆ ทีเ​่ กีย่ วของ​เพือ่ ส​ ราง​บรรยากาศ​การ​ท�ำ งาน​รว มกัน​ อยาง​จริงจัง และ​ทำ�ให​ขอมูล​เกิด​ประโยชน​สูงสุด


55

5.3 การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และจัดการ การ​ตดิ ตาม​และ​เฝาระวังก​ าร​เปลีย่ น​แปลง​สถานภาพ​ใน​แนว​ปะการังเ​ปนภ​ ารกิจท​ ม​ี่ อบหมาย​ใหเ​ปนความ​รบั ผิดชอบ​ปฏิบตั ​ิ หนาท​ ข​ี่ อง​เจาหนาท​ อ​ี่ ทุ ยานฯ แ​ ละ​ชมุ ชนมอ​แกน​เปนหลัก โ​ดย​ถอื วาท​ งั้ สอง​กลุม เ​ปนผ​ ใ​ู ชป​ ระโยชนแ​ ละ​ผดู แ​ู ล​ผล​ประโยชน​ จาก​ทรัพยากร​รว ม​กนั โ​ดย​การ​สราง​บทบาท​หนาท​ ท​ี่ ป​ี่ ระเมินแ​ ลวว​ า ท​ งั้ สอง​กลุม ม​ ศ​ี กั ยภาพ​เพียงพอ ม​ ค​ี วาม​เหมาะสม​และ​ สามารถ​ปฏิบัติ​ได​จริง ​แม​การ​ท�ำ งาน​จะ​ตอง​อาศัย​หลักวิชาการ​และ​ความ​เชี่ยวชาญ​เฉพาะ​ทาง ​แต​ความรู ​ภูมิปญญา ​และ​ ประสบการณ​ที่มี​คุณคาที่​สั่งสม​มา​ของ​​ทั้งสองกลุม​ไม​อาจ​มองขาม​ได ​การ​พยายาม​ผลักดัน​ให​ทั้งสอง​กลุม​เขามา​มี​สวนรวม​ ใน​ขนั้ ตอน​การ​ด�ำ เนินงาน​มาก​ทสี่ ดุ ภาย​ใตก​ าร​ควบคุมข​ อง​นกั ว​ ชิ าการ​เพือ่ ใ​หการ​ท�ำ งาน​คขู นาน​เกิดขึน้ เ​จาหนาท​ อ​ี่ ทุ ยานฯ​ ที่​มีความรู ​ความ​สามารถ​เฉพาะ​ทาง​ได​ฝกฝน​ท�ำ งาน​ใน​สวน​ของ​การ​วาง​แผน ​การ​สำ�รวจ​เก็บขอมูล ​(​R​e​e​f​ ​C​h​e​c​k​)​ ​การ​ รวบรวม​จดบันทึก ​และ​คิด​วิเคราะห​เชิง​เหตุผล ​สวนมอ​แกน​ที่​มี​ความ​สน​ใจ​ได​ฝกฝน​การ​สังเกต ​การ​สำ�รวจ​เก็บขอมูล ​ (​R​e​e​f​ ​W​a​t​c​h​)​ ​และ​การ​จดบันทึก ​สิ่ง​เหลานี้​คือ​การ​สราง​โอกาส​ให​ทั้งสอง​กลุม​ได​มี​บทบาท​หนา​ที่​ดู​แล​ทรัพยากร​ของ​ตน​ เอง​ตาม​ความ​สามารถ​ที่​มี ​นอกจาก​ทรัพยากร​จะ​ไดรับ​การ​ดู​แล​อยาง​มี​สวนรวม ​ยัง​เปนการ​ดึง​ศักยภาพ​ที่​มี​ออกมา​ใช​จน​ เกิด​ประโยชน ​และ​ทำ�​ให​เกิด​ความรูสึก​หวง​แหน แ​ ละ​ภาคภูมิ​ใจ ​

ห​ นวยงาน​ราชการ (​ใ​น​พนื้ ท​ )ี่ ​ห​ นวย​รกั ษา​ความ​ปลอดภัยท​ าง​ทะเล ฝ​ ง ทะเล​อนั ดามัน (​ท​ หารเรือ)​ม​ ส​ี ว นรวม​ส�ำ รวจ​ตดิ ตาม​ สถานภาพ​แนว​ปะการัง ​โดยเฉพาะ​ชวง​เกิด​ปรากฎ​การณ​ปะการัง​ฟอกขาว ​

ห​ นวยงาน​ราชการ ​(​นอก​พื้น​ที่)​​สถาบัน​การ​ศึกษา​ตางๆ​​เชน ​สถาบันวิจัย​และ​พัฒนา​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล ​ชาย​ฝงทะเล​และ​ ปาชายเลน ​จังหวัด​ภูเก็ต ​มหาวิทยาลัย​เกษตร​ศาตร ​รวม​แลกเปลี่ยน​ขอมูล ​ความรู ​และ​ความ​คิดเห็น


56

References เอกสารอ้างอิง

คณะ​วนศาสตร มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร. 2548. รายงาน​ฉบับ​สุดทาย โครงการ​ศึกษา​ขีดค​ วาม​สามารถ​ใน​การ​รอง​รับได​ของ​ พื้นที่​อุทยาน​แหงชาติ​หมูเกาะ​สุรินทร จังหวัดพ​ ังงา เสนอ กรม​อุทยาน​แหงชาติ สัตวปา และ​พันธุพืช. กระทรวง​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​สิ่งแวดลอม. โครงการ UNEP GEF Project. 2547. แผน​ปฏิบัติ​การ​จัดการ​ฟนฟู เลมท​ ี่ 2 ปะการัง เอกสาร​สวน​ที่ 4 เลม​ที่ 2/7. สถาบันวิจัย​ และ​พัฒนา​กลุม​วิจัย​ความ​หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ​ใน​ทะเล. มหาวิทยาลัย​รามคำ�แหง. กรุง​เทพ. ทนงศักดิ์ จันทร์เมธากุล. 2553. การศึกษาปะการังฟอกขาวบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. นิพนธ พงศ​สุวรรณ. ม.ป.ป. ชนิด​ปะการัง​ในประเทศ​ไทย. เขา​ลาสุด​เมื่อ​เดือน​กันยายน 2553. เว็บไซต: www.pmbc.go.th/ webpmbc/nipon/01.pdf วิสูตร ศรี​สงวน. 2550. การ​สำ�รวจ​แนว​ปะการัง​โดย​วิธี Line Intercept Transect บริเวณ​อาว​แมยาย อุทยาน​แหงชาติห​ มูเกาะ​ สุรินทร. สวน​อุทยาน​แหงชาติ สำ�นัก​บริหาร​พื้นที่​อนุรักษ​ที่ 5. กรม​อุทยาน​แหงชาติ สัตวปา และ​พันธุพืช. ศูนย​วิจัย​ปาไม คณะ​วนศาสตร มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร. 2549. รายงาน​ฉบับ​สมบูรณ โครงการ​สำ�รวจ​และ​จัดทำ�​ขอ​มูลความ​ หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ เลม​ที่ 6 ความ​หลากหลาย​ทาง​ชีวภาพ​ระบบนิเวศ​เกาะ (Biodiversity Survey and Information System Project, BISIS Project) เสนอ สำ�นักงาน​นโยบาย​และ​แผน​ทรัพยากร​ธรรมชาติแ​ ละ​ สิ่งแวดลอม. กระทรวง​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​สิ่งแวดลอม. สถาบันวิจัย​และ​พัฒนา​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล ชาย​ฝงทะเล และ​ปาชายเลน. 2553. แหลง​ปะการัง จังหวัดพ​ ังงา. เขา​ลาสุด​เมื่อ​เดือน​ กันยายน 2553. เว็บไซต: http://www.pmbc.go.th/webpmbc/Coral/new/pungha.files/frame.htm สุ​ชาย วร​ชนะ​นันท. 2543. การ​ศึกษา​การ​แพรกระจาย​ของ​ปะการังอ​ อน​และ​กัลปงหา​ใน​นาน​น้ำ�ไทย. วิทยานิพนธ​วิทยาศาสตร​ มหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร​ทาง​ทะเล). มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร. 210 หนา. สำ�นักอ​ นุรกั ษท​ รัพยากร​ทาง​ทะเล​และ​ชายฝง . 2552. แผน​ยทุ ธศาสตร​และ​แผน​ปฏิบตั ก​ิ าร​บริหาร​จดั การ​แนว​ปะการัง. เอกสาร​เผย แพร​สำ�นัก​อนุรักษ​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​และ​ชายฝง ฉบับ​ที่ 43. กรม​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​และ​ชายฝง. กระทรวง​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​สิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร. 72 หนา. หรรษา จันทร​แสง ​อุกฤต สต​ภูมินทร และ​สมบัติ ภู​วชิรา​นนท. 2542. แผนที่​แนว​ปะการัง​ใน​นาน​น้ำ�ไทย เลม​ที่ 2 อันดามัน. โครงการ​จัดการ​ทรัพยากร​ปะการัง. กรม​ประมง. 198 หนา.


57

อนุวัต สาย​แสง. 2545. การ​ศึกษา​อนุกรม​วิธาน​ของ​ปลา​ใน​ครอบครัว Pomacentridae ใน​แนว​ปะการัง​ของ​ประเทศ​ไทย. วิทยานิพนธ​วิทยาศาสตร​มหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร​ทาง​ทะเล). มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร. 373 หนา. Chansang, H., B.P., P.N., C.C. and W.C. 1986. Infestation of Acanthaster planci in the Andaman Sea. Paper Presented at the Second International Symposium on Marine Biology in Indo-Pacific, Guam. Coral Cay Conservation. 2005. The Coral Reef Resources of Mu Ko Surin National Park, Thailand. Coral Cay Conservation Ltd, London, U.K.; www.coralcay.org Koh L. L., K. P. P. T. and L. M. C. 2003. The Status of Coral Reefs of Surin Islands, Thailand, Based on Surveys in December 2003. REST Technical Report No. 5. National University of Singapore. Loh T.L., S. C., S. S. and L. M. C. 2004. The Status of Coral Reefs of Surin Islands, Thailand, Based on Surveys in December 2004. REST Technical Report No. 7. National University of Singapore. Phongsuwan N. and Chansang H. 2000. Repeated Coral Bleaching in the Andaman Sea, Thiland, During the Last Decade. Abstract in the Proceedings of the 9th International Coral Reef Symposium,Bali,Indonesia. Phongsuwan N. and Brown B. 2007. The Influence of the Indian Ocean tsunami on Coral Reefs of Western Thailand, Andaman Sea, Indian Ocean. Stoddart, D.R. (Ed). Tsunamis and coral reef, Atoll Research Bulletin No. 544. Phongsuwan N., C.Y., S.P. and P.A. 2008. Status of Coral Reefs in the Surin and Similan Archipelagos, Thailand. Obura, D.O., T. J. and L. O. (Eds). Ten Years After Bleaching - Facing the Consequences of Climate Change in the Indian Ocean. CORDIO Status Report 2008. Coastal Oceans Research and Development in the Indian Ocean/Sida-SAREC. Mombasa. http//:www.cordioea.org Saenghaisuk C. and Yeemin T. 2006. Coral Recruitment in Tsunami Affected Coral Reefs of Surin Islands, The Andaman Sea. Abstract in the Asia Pacific Coral Reef Symposium June 18 – 24, 2006. The Chinese University of Hong Kong, Hong Kong Special Administrative Region. China. Satapoomin U., P.N. and B.B. 2006. A Preliminary Synopsis of the Effects of the Indian Ocean Tsunami on Coral Reefs of Western Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin, 67:77-80. Worachananant S. 2007. Management Approaches in Marine Protected Areas: A Case Study of Surin Marine National Park, Thailand. A Thesis Submitted for the Degree of Doctor of Philosophy at the University of Queensland. 252 pp. Worachananant S., C.R.W. and H.M. 2007. Impacts of the 2004 Tsunami on Surin Marine National Park, Thailand. Coastal Management, (35):2-3, 399-412.


58

Appendix ภาคผนวก

ภาคผนวก ก มาตรการ​อนุรักษ​แนว​ปะการัง​ของ​ประเทศ​ไทย

กรม​ประมง​ได​กำ�หนด​มาตรการ​อนุรักษ​ทรัพยากร​สัตวน้ำ�​ดัง​ตอไปนี้ • ผูฝ​ า ฝน ท​ �ำ การ​ประมง​ปะการัง หรือห​ นิ ปะการังท​ กุ ชนิด ทุกข​ นาด​ไมวา ว​ ธิ ใ​ี ดๆ ใน​ทะเล หรืออ​ า ว​ใน​ทอ งทีจ​่ งั หวัดช​ ายทะเล​ ทุก​จังหวัด มีความผิด​ตอง​โทษปรับ​ตั้งแต 5,000-10,000 บาท หรือ​จำ�คุก​ไม​เกิน 1 ปี หรือ​ทั้ง​ปรับ​ทั้ง​จ�ำ • ผู​ฝาฝน​ทำ�การ​ประมง​ด�ำ น้ำ�​โดย​ใชอวน​ลอม​ทุกชนิด​ทุก​ขนาด หรือ​ลักษณะ​คลาย​กัน โดย​วาง​บน​พื้น​ทะเล​แลว​ดำ�น้ำ� เดิน​ เหยียบย่ำ�​บน​แนว​ปะการัง​เพื่อ​ไลตอน​ปลา​เขาอวน มีความผิด​ตอง​โทษปรับ​ตั้งแต 5,000-10,000 บาท หรือ​จำ�คุก​ไม​เกิน 1 ป หรือ​ทั้ง​ปรับ​ทั้ง​จำ� • ผูฝ​ าฝน​ทำ�การ​ประมง​โดย​ใช​กระแสไฟฟา วัตถุระเบิด สารเคมี ยา​เบื่อเมา​มีความผิด​ตองโทษ​จ�ำ คุก​ตั้งแต 6 เดือน - 5 ป และ​ปรับ​ตั้งแต 10,000-100,000 บาท และ​ริบ​ของกลาง​ทั้งสิ้น • ผู​ฝาฝน​สง​ปะการัง ซาก​สวนหนึ่ง​สวน​ใด ผลิตภัณฑ​จาก​ปะการัง​และ​ปลา​สวยงาม​ออก​นอกประเทศ มีความผิด​ตอง​โทษ ปรับ​เปน​เงิน 5 เทา​ของ​สินคา จำ�คุก​ไม​เกิน 10 ป หรือ​ทั้ง​ปรับ​ทั้ง​จ�ำ ​และ​ริบ​ของกลาง​รวมทั้ง​สิ่ง​ที่​บรรจุ​และ​พาหนะ​ใดๆ ที่​ ใช​ใน​การ​บรรทุก​สินคา​ซึ่ง​เกี่ยว​เนื่องดวย​ความ​ผิด • ผู​ฝาฝน​มี​หินปะการัง กัลปงหา เตา​ทะเล กระทะเล​และ​ผลิตภัณฑ​ไว​ใน​ครอบครอง​เพื่อ​การ​คา มีความผิด​ตอง​โทษปรับ​ ไม​เกิน 20,000 บาท หรือ​จ�ำ คุก​ไม​เกิน 1 ป หรือท​ ั้ง​ปรับ​ทั้ง​จ�ำ • ผู​ฝาฝน​ทำ�การ​ประมง​ใน​เขต​รักษา​พืช​พันธุ มีความผิด​ตอง​โทษปรับ 10,000 บาท หรือ​จำ�คุก​ไม​เกิน 6 เดือน หรือ​ทั้ง​ปรับ​ ทั้ง​จำ�


59

ภาคผนวก ข มาตรการ​เรง ดว น​ทค​ี่ วร​ด�ำ เนินการ​ใน​ระยะเวลา 1 - 6 เดือน โดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่

1. ใหก​ รม​อทุ ยาน​แหงชาติ สัตวปา และ​พนั ธุพ ชื และ​กรม​ทรัพยากร​ทาง​ทะเล​และ​ชายฝง ก​ �ำ หนด​มาตรการ​อนุรกั ษแ​ ละ​ฟน ฟู​ แนว​ปะการัง​ที่​เหมาะ​สมใน​พื้นที่​วิกฤต​ปะการัง​ฟอกขาว​แตละ​พื้นที่ ดวย​วิธีการ​ใด​วิธีการ​หนึ่ง​หรือ​หลาย​วิธี​รวมกัน ดังนี้ 1.1 ปด​พื้นที่​ไม​ให​มี​การ​ใช​ประโยชน​ใดๆ ใน​พื้นที่​แนว​ปะการัง​ที่​จ�ำ เปน​ตอง​ไดรับ​การ​คุมครอง​อยาง​เขมงวด 1.2 กำ�หนด​มาตรการ​การ​ใช​ประโยชน​ส�ำ หรับ​กิจกรรม​ตางๆ 1.2.1 จำ�กัด​จำ�นวน​นัก​ทองเที่ยว​ที่​เหมาะ​สมใน​แตละ​บริเวณ 1.2.2 กำ�หนด​ประเภท​กิจกรรม​ที่​เหมาะ​สมใน​แนว​ปะการัง​แตละ​บริเวณ 1.2.3 จัดทำ�​ขอ​ควร​ปฏิบัติ​ที่​เหมาะสม​สำ�หรับ​กิจกรรม​ตางๆ เพื่อให​นัก​ทองเที่ยว​ได​รับทราบ​กอน​เขามา​ ทองเที่ยว​และ​นำ�มา​ปฏิบัติ​ตามอยาง​เครงครัด 1.3 หา​วิธีการ​ลด​การ​ใช​ประโยชน​ใน​แนว​ปะการัง​ตาม​ธรรมชาติ เชน การ​จัด​สราง​แหลง​ดำ�น้ำ�​ใหม หรือ​ปะการัง​เทียม​ เสริม​ใน​บริเวณ​ที่​เหมาะสม หรือ​จัดทำ�​แหลง​ทองเที่ยว​ศึกษา​ธรรมชาติ​บน​บก ตารางพื้นที่แนวปะการังอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ที่นำ�เสนอให้มีการจัดการอย่างเร่งด่วนต่อคณะกรรมการแก้ไขปัญหาผลกระทบของการฟอกขาวต่อสถานภาพปะการัง สถานที่

ลักษณะพื้นที่และการใช้ประโยชน์

เหตุผลที่เสนอให้มีการจัดการเร่งด่วน

มาตรการที่เสนอแนะ

แนว​ป ะการั ง ​บ ริ เ วณ​ แหลม​แมยายทิศใ​ตด​ า น นอก

เปนแนว​ปะการัง​ที่​มี​ปะการัง​หนา แนน มี​การ​ใช​ประโยชน​จาก​การ​ ทองเที่ยว​สูง

ปะการัง​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ฟอกขาว​ นอย​เมื่อ​เทียบกับ​บริเวณ​ใกลเคียง จึง​มี​แนว โน ม ​ส ามารถ​เ ป น ​แ หล ง ​พั น ธุ  ​ใ ห ​กั บ ​แ นว​ ปะการั ง ​ที่ ​เ สี ย หาย​จ าก​ก าร​ฟ อกขาว​ใ น​ บริเวณ​อื่น ๆ

ปด​พื้นที่ ​เพื่อให​มี​การ​ฟนตัว​หรือไม​ให​ถูก​ ทำ�ลาย​เพิ่มเติม

แนว​ปะการังบ​ ริเวณ​อา ว​ โอ ง ​ข อง​เ กาะ​สุ ริ น ทร​ เหนือ

เปนแนว​ปะการัง​ที่​มี​ปะการัง​หนา แน น ​แ ละ​มี ​โ อกาส​ที่ จ ะ​ถู ก ​ใ ช​ ประโยชน​จาก​การ​ทองเที่ยว​สูง

ปะการัง​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ฟอกขาว​ นอย​เมื่อ​เทียบกับ​บริเวณ​ใกลเคียง จึง​มี​แนว โน ม ​ส ามารถ​เ ป น ​แ หล ง ​พั น ธุ  ​ใ ห ​กั บ ​แ นว​ ปะการัง​ที่​เสียหาย​ใน​บริเวณ​อื่นๆ

ปด​พื้นที่ ​เพื่อให​มี​การ​ฟนตัว​หรือไม​ให​ถูก​ ทำ�ลาย​เพิ่มเติม

กอง​หิ น ​ทิ ศ ​ต ะวั น ออก​ ของ​เกาะ​สุรินทร​ใต

ด า น​เ หนื อ ​ข องกอง​หิ น ​เ ป น แนว​ ปะการัง​เขากวาง​น้ำ�​ตื้น​ที่​ลาดเอียง​ ลง​ไป​ถึง​ระดับ​ลึก

ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ฟอกขาว​คอน​ขาง มาก มี​การ​เหยียบย่ำ�​ปะการัง​ใน​ชวง​น้ำ�ลง หรือ นักด​ ำ�น้ำ�​ดำ�​ผาน​ชองแคบ​ไป​ฝง​ดาน​ใต​ ของกอง​หิน

- ให​ความรู​นัก​ทองเที่ยว​และ​ผู​ประกอบการ ​ - ขอ​ความ​รวมมือ​ผู​ประกอบการ​ไม​ให​นำ�​นัก​ ทอง​เที่ยวไป​ดำ�น้ำ�​ใน​บริเวณ​ที่​มี​น้ำ�​ตื้น​หรือ​ บริเวณ​ที่​เปน​ชองแคบ​ที่​เสี่ยง​กับ​การ​เสียหาย​ ของ​แนว​ปะการัง

แนว​ปะการังบ​ ริเวณ​รอ ง น้ำ�อ่าว​ชอง​ขาด​ระหวาง​ เกาะ​สุรินทร​เหนือ-ใต ถึง​บริเวณ​อาว​กระทิง

เปน​บริเวณ​ที่​เริ่มมี​การ​ฟนตัว​ของ​ แนว​ปะการัง

ปะการัง​ไดรับ​ผล​กระทบ​จาก​การ​ฟอกขาว​ นอย​เมือ่ เ​ทียบกับบ​ ริเวณ​ใกลเคียง​แตบ​ ริเวณ​ นีถ​้ กู ใ​ชส​ �ำ หรับก​ าร​สญ ั จร​เรือ จึงเ​สีย่ ง​กบั ก​ าร​ ไดรับ​ความ​เสียหาย​จาก​การกระแทก​ของ​ เรือ ใบพัด​เรือ และ​ตะกอน​ที่​ถูก​พัด​ขึ้น​มา

ทำ�แ​ นว​ทนุ บ​ ริเวณ​รอ งน�้ำ ล​ กึ ส​ �ำ หรับเ​รือว​ งิ่ เพือ่ ​ ปองกัน​ไม​ให​แนว​ปะการัง​น้ำ�​ตื้น​ถูก​รบกวน


aspera

austera

clathrata

cytherea

danai

digitata

divaricata

echinata-group

elseyi

florida

formosa

gemmifera

grandis

granulosa

horida

humilis

hyacinthus

kosurini

latistella

longicyathus

lovelli

microphthalma

millepora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

ชนิด

Acropora

วงศ์ Acroporidae

กลุ่มปะการังแข็ง

สกุล

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

y

y

y

y

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

n

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

y

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

y

n

n

n

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

n

y

n

y

y

y

y

y

y

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

y

n

n

y

y

y

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

ภาคผนวก ค

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

y

y

n

n

n

n

y

n

y

y

n

y

y

n

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

หินกอง เกาะมังกร

y

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

y

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4

2

4

4,5

5

2

3,4

2,4,5

4,5

5

1,2,4,5

4,5

1,2,3,4,5

4,5

5

2,4,5

1,4,5

4

4

1,4,5

2,4,5

2,4,5

4,5

ที่มา

60


monticulosa

nasuta

nobilis

palifera

robusta

spp.

subulata

vaughani

forbesi

matthai

sp.

myriopthalma

ocellata

spp.

aequituberculata

confusa

crassituberculata

digitata

hispida

porites

sp.

spp.

spumosa

stellata

undata

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Acropora

Anacropora

Anacropora

Anacropora

Astreopora

Astreopora

Astreopora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

Montipora

ชนิด

Acropora

สกุล

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

y

y

n

n

n

y

y

n

n

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

y

y

n

y

n

y

n

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

n

y

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

y

y

n

n

y

y

n

n

n

n

y

y

y

y

y

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

y

y

n

y

n

n

y

y

n

y

y

n

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณิหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

y

n

y

n

n

n

y

n

y

y

n

y

y

n

n

หินกอง เกาะมังกร

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4,5

2

2

4

1

2

5

4

4

2

2,4,5

4

4

3

4

4,5

4

2

1,2,4,5

4

3,4,5

3,4,5

1,2,3,4,5

4

4

ที่มา

61


sp.

gardineri

papyracea

spp.

speciosa

gemmae

rugosa

sp.

cactus

clavus

decussata

duerdeni

explanulata

frondifera

varians

venosa

Leptoseris

Leptoseris

Leptoseris

Leptoseris

Pachyseris

Pachyseris

Pachyseris

Pachyseris

Pavona

Pavona

Pavona

Pavona

Pavona

Pavona

Pavona

Pavona

-

Dendrophyllia micrantha

วงศ์ Dendrophylliidae

-

วงศ์ Caryophyllidae

-

-

planulata

Gardineroseris

วงศ์ Astrocoeniidae

mayeri

ชนิด

Coeloseris

วงศ์ Agariciidae

สกุล

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

y

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

n

n

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

y

y

y

n

n

y

y

y

n

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

n

n

y

y

n

n

n

y

y

y

y

n

n

n

n

y

n

y

y

n

n

n

n

y

y

y

n

n

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

y

n

y

n

n

n

y

y

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

y

y

y

y

y

n

n

y

y

y

n

n

y

y

n

y

n

y

n

y

y

y

y

y

y

y

n

n

y

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

n

y

y

n

y

n

y

n

y

n

y

y

y

n

y

n

n

y

y

หินกอง เกาะมังกร

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4,5

3

3

1,4

1,3,4,5

4,5

3,4,5

3

3,4

1,3,5

3,4,5

4

3,4,5

3,4

2,3,4,5

4

4

5

3

3,4,5

3,4,5

ที่มา

62


spp.

frondens

peltata

micrantha

reniformis

Tubastraea

Turbinaria

Turbinaria

Turbinaria

Turbinaria

glabrescens

lichtensteini

simplex

sinuosa

Euphyllia

Physogyra

Plerogyra

Plerogyra

y

micropthalma

spp.

heliopora

horrida

lamellosa

pacificus

abdita

favus

laxa

lizardensis

speciosa

Cyphastrea

Cyphastrea

Diploastrea

Echinopora

Echinopora

Echinopora

Favia

Favia

Favia

Favia

Favia

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะสตอร์ค

Australomussa rowleyersis

วงศ์ Faviidae

ancora

Euphyllia

วงศ์ Euphyllidae

coccinea

ชนิด

Tubastraea

สกุล

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

n

y

y

n

n

y

n

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

y

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

n

y

y

y

n

y

n

y

y

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

y

n

y

y

n

n

y

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y

n

n

y

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

n

n

y

y

y

n

หินกอง เกาะมังกร

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4

3

4

3,4,5

3

3

3,4,5

3,4,5

1,2,3,4,5

4

3,4,5

4

3,4,5

3

3,4,5

3,4,5

3,4,5

2,3,5

3

4

4

4

5

ที่มา

63


stelligera

abdita

halicora

pentagona

spp.

edwarsi

pectinata

retiformis

spp.

transversa

phrygia

crispa

sp.

daedalea

pini

spp.

verweyi

Favia

Favites

Favites

Favites

Favites

Goniastrea

Goniastrea

Goniastrea

Goniastrea

Leptastrea

Leptoria

Oulophyllia

Oulophyllia

Platygyra

Platygyra

Platygyra

Platygyra

echinata

echinata

fungites

spp.

limax

mokai

Ctenactis

Fungia

Fungia

Fungia

Herpolitha

Lithophyllon

วงศ์ Fungiidae

spp.

ชนิด

Favia

สกุล

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

y

n

n

y

n

y

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

y

y

y

n

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

n

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

y

n

y

n

y

n

y

y

y

y

y

n

y

y

n

n

y

y

n

y

y

n

n

n

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

n

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

n

n

n

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

n

n

n

y

n

y

y

n

y

y

y

n

y

n

y

n

n

y

n

y

y

y

y

y

n

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

y

n

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

n

y

n

y

y

y

y

หินกอง เกาะมังกร

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

y

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4

3,4,5

4

1,4,5

1,5

3

4

4

1,5

4,5

4

1,5

1,3,4,5

3,4

4

2,4

3,4,5

3

4

5

4,5

4,5

3,4

4,5

ที่มา

64


crustacea

talpina

robusta

Podabacia

Polyphyllia

Sandalolitha

microconos

rigida

ampliata

scabricula

cylindrica

Hydnophora

Hydnophora

Merulina

Merulina

Scapophyllia

sp.

spp.

radians

recta

sp.

spp.

Lobophyllia

Lobophyllia

Symphyllia

Symphyllia

Symphyllia

Symphyllia

astreata

cryptoramosa

Galaxea

Galaxea

วงศ์ Oculinidae

hemprichii

Lobophyllia

วงศ์ Mussidae

excesa

Hydnophora

วงศ์ Merulinidae

-

-

sp.

Lithophyllon

วงศ์ Meandrinidae

undulatum

ชนิด

Lithophyllon

สกุล

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

n

y

y

n

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

y

n

n

n

y

y

y

n

y

y

y

n

n

y

y

n

y

y

y

y

n

y

n

n

n

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

n

n

n

y

y

y

n

y

y

n

n

n

y

n

n

y

y

y

y

n

y

n

n

n

y

y

y

n

y

y

n

n

n

y

n

n

n

y

y

n

n

y

n

n

n

y

n

y

n

y

y

n

n

n

y

n

n

n

y

y

y

n

y

n

n

n

y

y

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

y

n

n

n

y

n

y

หินกอง เกาะมังกร

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

3

3,4,5

4

1

5

5

4

1

3,5

4

3,4

4,5

3,4,5

3,4

3,4,5

3

3

5

4

4

4

ที่มา

65


fascicularis

Galaxea

aspera

sp.

elephantotus

crassispinosa

lacera

alcicornis

lactuca

paeonia

spp.

Echinophyllia

Echinophyllia

Mycedium

Oxypora

Oxypora

Pectinia

Pectinia

Pectinia

Pectinia

eydouxi

meandrina

verrucosa

hystrix

pistillata

Pocillopora

Pocillopora

Pocillopora

Seriatophora

Stylophora

sp.

fruticosa

spp.

cylindrica

lobata

Alveopora

Goniopora

Goniopora

Porites

Porites

วงศ์ Poritidae

damicornis

Pocillopora

วงศ์ Pocilloporidae

lacrymalis

Cynarina

วงศ์ Pectiniidae

ชนิด

สกุล

y

n

y

y

y

n

n

y

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

y

y

y

y

y

y

y

y

n

n

y

n

y

n

n

y

n

y

y

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

y

n

n

y

n

y

y

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

n

n

y

n

n

y

n

y

y

n

y

y

n

n

n

y

y

n

y

y

y

y

n

n

y

n

y

y

n

y

n

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

n

n

n

n

y

y

n

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

y

n

y

y

n

y

n

y

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

y

n

y

y

n

n

n

n

y

y

n

y

หินกอง เกาะมังกร

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะ ตอรินลา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

4,5

1,3,4,5

3,4

4,5

3,4

3,4,5

3,4,5

1,2,3,4,5

4,5

3,4,5

3,4,5

4

3,4,5

4

5

3

4

5

4,5

4

5

3,4,5

ที่มา

66


solida

Porites

profundacella

Psammocora

tenella

Millepora

sp.

sp.

Sarcophyton

Sinularia

n

n

Dendronephthya sp.

Nephthea

sp.

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

เกาะสตอร์ค

Chironephthya sp.

วงศ์ Nephtheidae

sp.

Lobophytum

วงศ์ Alcyoniidae

กลุ่มปะการังอ่อน

platyphylla

Millepora

วงศ์ Milleporidae

กลุ่มปะการังไฟ

-

-

obtusangula

Psammocora

วงศ์ Trachyphylliidae

digitata

Psammocora

วงศ์ Siderastreidae

-

วงศ์ Rhizangiidae

-

nigrescens

Porites

Porites(Synaraea) rus

lutea

ชนิด

Porites

สกุล

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

y

n

y

y

y

n

y

y

y

y

y

n

y

y

y

n

y

n

y

y

n

y

y

y

n

y

n

y

y

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

n

y

y

y

y

n

n

n

y

n

y

n

n

y

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

y

n

y

y

หินกอง เกาะมังกร

y

y

y

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

เกาะ ตอรินลา

y

y

n

y

y

y

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ริเชลิว

n

y

n

n

n

n

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กองหิน ดีคอม

6

6

6

1,6

1,6

1,6

1,2,3,5

1,2,3,5

3

4

4

1,3,4,5

3

1,2,3,4,5

4

1,2,3,4,5

1,2,4,5

ที่มา

67


sp.

sp.

sp.

sp.

Ellisella

Junceella

sp.

Mopsella

Echinogorgia

sp.

sp.

Melithaea

วงศ์ Plexauridae

sp.

Acabaria

วงศ์ Melithaeidae

Heliopora

ชนิด

coerulea

sp.

Rumphella

วงศ์ Helioporidae

sp.

Hicksonella

วงศ์ Gorgoniidae

sp.

sp.

sp.

Ctenocella

วงศ์ Ellisellidae

Solenocaulon

วงศ์ Anthothelidae

Muricella

วงศ์ Acanthogorgiidae

กลุ่มกัลปังหา

Xenia

วงศ์ Xeniidae

Siphonogorgia

วงศ์ Nidaliidae

Stereonephthya sp.

สกุล

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

หมู่เกาะสุรินทร์

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ช่องขาด

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

หินกอง เกาะมังกร

y

y

y

y

n

y

y

y

y

y

y

y

y

y

y

เกาะ ตอรินลา

n

y

y

y

-

n

y

y

y

y

n

n

y

y

y

กองหิน ริเชลิว

n

n

n

n

-

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

กองหิน ดีคอม

6

6

6

6

2,3

6

6

6

6

6

6

6

6

6

6

ที่มา

68


sp.

ชนิด

ที่มา

n

เกาะสตอร์ค

เกาะสุรินทร์ใต้

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

อ่าวจาก อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด

เกาะสุรินทร์เหนือ

หมู่เกาะสุรินทร์

n

ช่องขาด

n

5 : ศูนย์วิจัยป่าไม้, 2549. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสำ�รวจและจัดทำ�ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ. 6 : สุชาย, 2543. การศึกษาการแพร่กระจายของปะการังอ่อนและกัลปังหาในน่านนำ�้ ไทย.

n

หินกอง เกาะมังกร

4 : คณะวนศาสตร์, 2548. รายงานฉบับสุดท้ายโครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา.

3 : Coral Cay Conservation, 2005. The Coral Reef Resources of Mu Ko Surin National Park, Thailand.

2 : Phongsuwan et. al., 2008. Status of Coral Reefs in the Surin and Similan Archipelagos, Thailand.

1 : วิสูตร, 2550. การสำ�รวจแนวปะการังโดยวิธี Line Intercept Transect บริเวณอ่าวแม่ยาย อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์.

หมายเหตุ : y คือ พบ n คือ ไม่พบ

Subergorgia

วงศ์ Subergorgiidae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปะการังแข็ง ปะการังอ่อน และกัลปังหา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

y

เกาะ ตอรินลา y

กองหิน ริเชลิว y

กองหิน ดีคอม

6

ที่มา

69


grammoptilus (Richardson, 1843)

guttatus

leucosternon (Bennett, 1833)

lineatus (Linnaeus, 1758)

nigricauda (Duncker & Mohr, 1929) Epaulette surgeonfish

pyroferus (Kittlitz, 1834)

triostegus (Linnaeus, 1758)

tristis (Randall, 1993)

leucocheilus (Herre, 1927)

thompsoni (Fowler, 1923)

strigosus (Bennett, 1828)

striatus

brevirostris

hexacanthus (Bleeker, 1855)

lituratus (Foster, 1801)

tuberosus (Lacepede, 1801)

unicornis (Forsskål, 1775)

flavescens (Bennet, 1828)

scopas (Cuvier, 1829)

veliferum (Bloch. 1975)

xanthurum (Blyth, 1852)

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Acanthurus

Ctenochaetus

Ctenochaetus

Naso

Naso

Naso

Naso

Naso

Zebrasoma

Zebrasoma

Zebrasoma

Zebrasoma Yellowtail tang

Sailfin tang

Brushtail tang

Yellow tang

Bluespine unicornfish

Humpnose unicornfish

Orangespine unicornfish

Sleek unicornfish

Spotted unicornfish

Lined bristletooth

Spotted surgeonfish

Thompson’s surgeonfish

Palelipped surgeonfish

Indian mimic surgeonfish

Convict tang

Chocolate surgeonfish

Striped surgeonfish

Powderblue surgeonfish

White spotted surgeonfish

Finelined surgeonfish

Ringtail surgeonfish

blochii

Acanthurus

Orange socket surgeonfish

ชื่อสามัญ

auranticavus (Randall, 1956)

ชนิด

Acanthurus

วงศ์ Acanthuridae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์

ภาคผนวก ง

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

y

n

n

y n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y n

n

n

1

1

1,2

1

1,2

1

1,2

1

2

2

1

1

1

1,2

1,2

1

y n

1

1,2

1,2

2

1

2

1,2

n

y

y

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

70


chrysotaenia Bleeker, 1851

compressus (McCulloch, 1802)

cyanosoma (Bleeker, 1853)

endekataenia Bleeker (Bleeker, 1853) Candystripe cardinalfish

exostigma

fraenatus (Valenciennes, 1832)

fragilis

fucata (Cantor, 1849)

kiensis (Jordan & Snyder, 1901)

lateralis

nigrofasciatus (Lachner,1953)

properupta

ventrifasciatus (Allen & Randall, 1944)

bandanensis (Bleeker, 1854)

kallopterus (Bleeker, 1856)

leai (Waite,1916)

fucata (Cantor, 1849)

macrodon (Lacepede, 1802)

quinquelineatus (Cuvier, 1828)

conspersa (Klunzinger, 1872)

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Archamia

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Apogon

Archamia

Archamia

Cheilodipterus

Cheilodipterus

Vincentia

Southern cardinalfish

Fiveline cardinalfish

Tiger cardinalfish

Narrowlined cardinalfish

Lea’s cardinalfish

Spinyhead cardinalfish

Ghost cardinalfish

Cardinalfish

Coral cardinalfish

Blackstriped cardinalfish

Coastal cardinalfish

Rifle cardinalfish

Orangelined cardinalfish

Fragile cardinalfish

Spinyeye cardinalfish

Narrowstriped cardinalfish

Orangelined cardinalfish

Split band cardinalfish

Yellowlined cardinalfish

Whiteline cardinalfish

cavitiensis (Jordan & Seale, 1907)

Apogon

Ring-tailed cardinalfish

Glassfish

ชื่อสามัญ

aureus (Lacepedce, 1802)

sp.

ชนิด

Apogon

วงศ์ Apogonidae

Ambassis

วงศ์ Ambassidae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

y

y

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n n

y

n

n

y

n

n

y n

y

n

n

n

n

n

y

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

y n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

y

y

n

y

n

y y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

y

n n

y

n

y

n

n

n

n

y

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

1

1

1,2

1,2

1

1

1

1

2

1

2

1

2

2

1

2

1

1

1,2

1

1

1

1

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

71


strigatus

Aeoliscus

conspicillum (Bloch & Schneider, 1801) Clown triggerfish

viridescens (Bloch & Schneider, 1801)

niger (Bloch, 1786)

niger (Rüppel, 1836)

Balistoides

Balistoides

Meilichthys

Odonus

chrysopterum (Bloch & Schneider, 1801) Flagtail triggerfish

Sufflamen

filamentosus (Alleyne & Macleay, 1877) Filamentous blenny

bicolor (Day, 1888)

frontalis (Valenciennes, 1836)

lineatus (Klausewitz, 1962)

midas (Stark, 1969)

lineatus (Valenciennes, 1836)

grammistes (Valenciennes, 1836)

mossambicus (Smith, 1959)

smithi (Klausewitz, 1962)

Cirripectes

Ecsenius

Ecsenius

Ecsenius

Ecsenius

Istiblennius

Meiacanthus

Meiacanthus

Meiacanthus

Nannosalarias nativitatus (Regan, 1909)

valiosus (Williams, 1988)

Cirripectes

Pygmy blenny

Smith’s fangblenny

Mozambique fangblenny

Striped poison-fang blenny

Lined rockskipper

Persian blenny

Lined blenny

Smooth-fin blenny

Bicolor blenny

-

taeniatus (Quoy & Gaimard, 1834)

Aspidontus

False cleanerfish

Boomerang triggerfish

bursa (Bloch & Schneider, 1801)

Sufflamen

วงศ์ Blenniidae

Yellow margin triggerfish

Pseudobalistes flavimarginatus (Rüppel, 1829)

Red toothed triggerfish

Black triggerfish

Titan triggerfish

undulatus (Park, 1797)

Orange lined triggerfish

Razorfish

Trupetfish

ชื่อสามัญ

Balistapus

วงศ์ Balistidae

chinensis (Linnaeus, 1766)

ชนิด

Aulostomus

วงศ์ Aulostomidae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n n

y y

n

n

n

n

y

n

n

n n

y

n

n

y y

n

n

n

n

n

n

n

y y

n

n

n

y n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

y

1

y

1

1,2

1

1

1

1,2

1

1,2

2

1

1

1,2

1

1,2

1,2

1,2

n

y

n

y

n

n

n

y

y

n

n

y

y

1,2

1,2

y n

1,2

2

1,2

n

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

72


rhinorhynchus (Bleeker, 1852)

tapeinosoma

fasciatus (Bloch, 1786)

sinuosus

xestus

variabilis

Plagiotremus

Plagiotremus

Salarias

Salarias

Petroscirtes

Petroscirtes

lunaris (Cuvier, 1830)

teres (Seale, 1906)

xanthonota (Bleeker, 1853)

caerulaurea (Lacepéde, 1801)

chrysozona (Cuvier, 1853)

pisang (Bleeker, 1853)

tile

tessellate

Caesio

Caesio

Caesio

Caesio

Pterocaesio

Pterocaesio

Pterocaesio

Pterocaesio

ferdau (Forsskål, 1775)

gymnostethus (Cuvier, 1851)

melampygus (Cuvier, 1833)

ignobilis

bipinmulatus

lalandi

speciosus (Frosskål, 1775)

Carangoides

Carangoides

Caranx

Caranx

Elagatis

Seriola

Gnathanodon

วงศ์ Carangidae

cunning (Bloch, 1791)

Caesio

วงศ์ Caesionidae

phenax (Smith-Vaniz, 1976)

ชนิด

Plagiotremus

สกุล

Golden trevally

Yellowtail amberjack

Rainbow runner

Giant trevally

Bluefin trevally

Bludger

Yellow spotted trevally

Narrow striped fusilier

Bluestreak fusilier

Banana fusilier

Yellowband fusilier

Blue and gold fusilier

Yellowback fusilier

Blue and yellow fusilier

Lunar fusilier

Fusilier

Variable fangblenny

Smooth fangblenny

Fringelip blenny

Jewelled blenny

Piano fangblenny

Bluestriped fang blenny

Imposter fangblenny

ชื่อสามัญ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

y

y

y n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n n

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

1

2

2

2

1,2

1

1

2

2

1

1

y n

1

1,2

1,2

1

1

2

2

2

1

2

1,2

1,2

n

y

y

y

n

y

y

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

73


melanopterus (Quoy & Gaimard, 1824) Blacktip reef shark

auriga (Forsskål, 1775)

bennetti

collare (Bloch, 1787)

decussatus (Cuvier, 1829)

falcula (Bloch, 1795)

flavocoronatus (Myers, 1980)

ephippium

klenii (Bloch, 1790)

lineolatus (Cuvier, 1831)

lunula (Lacepede, 1802)

melannotus

mertensii (Cuvier, 1831)

modestus (Temminck & Schlegel, 1844) Brown-banded butterflyfish

myersi (Schneider, 1801)

octofasciatus (Bloch, 1787)

rafflesi (Bennett, 1830)

semeion (Bleeker, 1855)

triangulum (Cuvier, 1831)

trifasciatus (Park, 1797)

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Chaetodon

Redfin butterflyfish

Triangular butterflyfish

Dotted butterflyfish

Latticed butterfly

Eight banded butterflyfish

Meyer’s butterflyfish

Yellowback butterflyfish

Black backed butterflyfish

Racoon butterflyfish

Lined butterflyfish

Oval butterfly Fish

Saddled butterflyfish

Yellow-crowned butterflyfish

Saddleback butterflyfish

Indian vagabond butterflyfish

White collar butterflyfish

Eclipse butterflyfish

Threadfin butterflyfish

andamanensis (Kuiter & Debelius, 1999) Anderman butterflyfish

Chaetodon

วงศ์ Chaetodontidae

Carcharhinus

วงศ์ Carcharhinidae

Doublespotted queenfish

Scomberoides lysan (Frosskål, 1775)

ชื่อสามัญ Yellow queenfish

ชนิด

Scomberoides commersonianus (Lacepede, 1801)

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

y

y

n

y n

n y

y y

y y

y

n

n

n

y n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

y

n

n

n

y

n

n

n

y

y

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

y

y

y

n

n

n

y

y

n

y

n

n

y

y

n

y

y

y

n

y

n

y

y n

n

n

n

y

y

n

y

y

y

y

y

y

n

n

n

n

y n

n

y

y

n

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

n

y n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

1,2,3

1,2,3

1,2

y y

1,2,3

1,2

1,2,3

1

1,2

2,3

1,2,3

1,2,3

1

2

1

1,2,3

1,3

1,2,3

2

1,2,3

1,2,3

y

n

n

n

n

n

y

y

y

y

y

y

y

y

1,2

1

y n

1

y

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

74


singularis (Smith & Radcliffe, 1911) Singular bannerfish

diphreutes (Jordan, 1903)

varius

Heniochus

Heniochus

Heniochus

forsteri (Schneider, 1801)

Paracirrhites

Taeniura

วงศ์ Dasyatidae

Heteroconger

Blackside hawkfish

Arc-eye hawkfish

Coral hawkfish

Humphead bannerfish

Schooling bannerfish

Indian bannerfish

lymma (Forsskal, 1775)

Blue-spotted stingray

hassi (Klausewitz & Eibl-Eibesfeldt, Spotted garden eel 1959)

arcatus (Cuvier, 1829)

Paracirrhites

วงศ์ Congeridae

oxycephalus (Bleeker, 1855)

Cirrhitichthys

วงศ์ Cirrhitidae

pleurotaenia (Ahl, 1923)

Heniochus

Masked bannerfish

monoceros (Cuvier, 1831)

Big long nose butterflyfish

Heniochus

longirostris

Forcipiger

Longnose butterfly fish

Longfin bannerfish

flavissimus (Jordan & McGregor, 1898)

Forcipiger

Highfin coralfish

acuminatus (Linnaeus, 1758)

altivelis (McCulloch, 1916)

Coradion

Spot-nape butterflyfish

Heniochus

oxycephalus (Bleeker, 1853)

Chaetodon

Pearlscale butterflyfish

Black pyramid butterflyfish

xanthurus (Bleeker, 1857)

Chaetodon

Yellowheaded butterflyfish

Hemitaurichthys zoster (Bennett, 1831)

xanthocephalus

Chaetodon

Vagabond butterflyfish

Longnose butterfly fish

vagabundus (Linnaeus, 1758)

Chaetodon

Chevroned Butterflyfish

ชื่อสามัญ

Hemitaurichthys polylepis (Bleeker, 1857)

trifascialis

ชนิด

Chaetodon

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

n

n

y n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y n

y

y

n

y

y

n

y

y

n

n

y

1,2,3

3

n

n

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

1

1,2

1

1

y y

1

2

1,2

1,2,3

1,3

1,2

1,2

1,2

1

2

1

1

1

y

y

y

n

n

y

n

n

n

n

n

1

n

n

n

y

y

y

2

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

y

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

75


tiera (Forsskål, 1775)

Platax

semicinctus

natans (Larson, 1985)

Bryaninops

Sigillata pygmygoby

sigillata

mikiae

longipinnis (Gorren, 1978)

scapulostigma (Herre, 1953)

Eviota

Eviota

Fusigobius

Gnatholepis

Eyebar goby

Orange-spotted sand-goby

Yellow & whitestriped pygmygoby

Silverspot shrimp goby

Ctenogobiops crocineus

Redeye goby

Half banded goby

n

n

n

n

n

n

n

y

Amblygobius

Yellowstripe goby

hectori (Smith, 1957)

Amblygobius

n

Whitebarred goby

phalaena (Valenciennes, 1837)

Amblygobius

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

Steinitz’ prawn-goby

n

y

n

n

n

n

Amblyeleotris steinitzi (Klausewitz, 1974)

Tawny nurse shark

หมู่เกาะสุรินทร์

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y n

n

n

y

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

1 1

y

2

2

2

1

2

1,2

1

1

1

1

1

1,2

1,2,3

1

1

1,2

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

y

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

n

ferrugeneus (Lesson, 1831)

Smooth flutemouths

Longfin spadefish

Pinnate spadefish

Orbicular batfish

Live sharksucker

Black blotched porcupinefish

ชื่อสามัญ

Amblyeleotris aurora (Populin & Lubbock, 1977) Pinkbar goby

วงศ์ Gobiidae

Nebrius

วงศ์ Ginglymostomatidae

Fistularia

commersonii (Ruppel, 1838)

pinnatus (Linnaeus, 1758)

Platax

วงศ์ Fistulariidae

orbicularis (Frosskål, 1775)

naucrates (Linnaeus, 1758

liturosus (Shaw, 1804)

ชนิด

Platax

วงศ์ Ephippidae

Echeneis

วงศ์ Echeneidae

Diodon

วงศ์ Diodonthidae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

76


olopomus

decoratus (Herre, 1927)

okinawae (Aoyagi, 1949)

striata (Herre, 1945)

helsdingeni (Bleeker, 1858)

muralis (Valenciennes, 1837)

strigata (Broussonet, 1782)

Oplopomus

Istigobius

Trimma

Trimma

Valenciennea

Valenciennea

Valenciennea

Oriental sweetlips

Plectorhynchus orientalis (Bloch, 1793)

rubrum (Forsskๅl, 1775)

Sargocentron

cinerascens (Frosskål, 1775)

vaigiensis

Kyphosus

Kyphosus

cyanopleura (Bleeker, 1853)

taeniourus (Lacepede, 1801)

lineatus (Randall, 1972)

meleagrides (Valenciennes, 1840)

mesothorax (Bloch & Schneider, 1801 )

Leptojulis

Novaculichthys

Anampses

Anampses

Bodianus

วงศ์ Labridae

bigibbus

Kyphosus

วงศ์ Kyphosidae

hexagona (Lacepede, 1802)

Myripristis

n

n

Yellowtail wrasse

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

Black belt hogfish

หมู่เกาะสุรินทร์

n

n

n

n

n

n

n

n n

y y

y

n

n

y n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

n

y n

n

n

n

n

y n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

1,2

1,2

1,2

1

y n

1

2

1

2

1

1

1

1

n

n

n

n

y

y

y

1

1

y n

1

1

1

1

1

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

2

2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

Lined wrasse

Rockmover wrasse

Shoulder-spot wrasse

Lowfin drummer

Blue sea chub

Gray drummer

Redcoat squirrelfish

Doubletooth soldierfish

Sweetlips brown

Plectorhynchus gibbosus (Lacepede, 1853)

วงศ์ Holocentridae

Sweetlip

Blueband goby

Mural goby

Twostripe goby

Stripehead goby

Okinawa rubble goby

Decorated goby

Sinecheek goby

Eyebar goby

ชื่อสามัญ

Plectorhynchus chaetodonoides (Lacepede, 1801)

วงศ์ Haemulidae

anjerensis

ชนิด

Gnatholepis

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

77


bilunulatus

vulpinus (Richardson, 1850)

diana (Lacepéde, 1801)

fasciatus (Bloch, 1791)

trilobatus (Lacepede, 1801)

undulatus (Rüppel, 1835)

cyanopleura (Bleeker, 1851)

exquisitus

aygula (Lacepede, 1801)

gaimard (Quoy & Gaimard, 1824)

batuensis (Bleeker, 1856)

insidiator (Pallas, 1770)

caeruleus (Lacepede, 1801)

varius

chloropterus (Bloch, 1861)

cosmetus

hortulanus (Lacepede, 1801)

leucoxanthus (Randall & Smith, 1982)

marginatus (Valenciennes, 1839)

nigrescens

podostigma

scapularis (Bennette, 1831)

vrolikii

fasciatus (Bloch, 1792)

melapterus (Bloch, 1791)

Bodianus

Bodianus

Cheilinus

Cheilinus

Cheilinus

Cirrhilabrus

Cirrhilabrus

Coris

Coris

Coris

Epibulus

Gomphosus

Gomphosus

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Halichoeres

Hemigymnus

Hemigymnus

ชนิด

Bodianus

สกุล

Blackeye thicklip

Barred thicklip

Indian pinstripe wrasse

Zigzag wrasse

Axelspot wrasse

Greenback wrasse

Dusky wrasse

Canarytop wrasse

Checker board wrasse

Cosmetic wrasse

Pastel-green wrasse

Bird wrasse

Green birdmouth wrasse

Sling jaw wrasse

Batu coris

African coris

Clown coris

Exquisite wrasse

Blueside wrasse

Humphead wrasse

Tripletail wrasse

Redbreasted wrasse

Diana’s hogfish

Western pigfish

Saddleback hogfish

ชื่อสามัญ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

y

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

n

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n y

n

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

y

y y

n

n

n

n

y

n

n

n

y n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

1,2

1,2

2

1

2

2

1,2

1,2

1,2

2

1

2

1

1,2

1,2

1

1

2

1,2

1,2

y n

1,2

1,2

1,2 n

n

y

n

1

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

2

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

78


bicolor (Fowler & Bean, 1928)

dimidiatus (Valenciennes, 1839)

Labroides

Labroides

Ringtail maori wrasse

Oriental wrasse

Sixstripe wrasse

unifasciatus (Streets, 1877)

celebicus (Bleeker, 1853)

digramma (Rüppell, 1828)

rhodochrous

Oxycheilinus

Oxycheilinus

Oxycheilinus

Oxycheilinus

Pseudocheilinus hexataenia

hardwicke (Bennett, 1830)

jansenii (Bleeker, 1856)

lunare (Linnaeus, 1758)

lutescens

Thalassoma

Thalassoma

Thalassoma

Thalassoma

lentjan (Lacepede, 1802)

olivaceus (Valenciennes, 1830)

grandoculis (Forsskål, 1775)

Lethrinus

Lethrinus

Momotaxis

sordidus (Abe & Shinohara, 1962)

tile (Cuvier, 1830)

xanthura (Bleeker, 1869)

Paracaesio

Paracaesio

Paracaesio

วงศ์ Lutjanidae

harak

Lethrinus

วงศ์ Lethrinidae

bandanensis (Bleeker, 1851)

Stethojulis

Yellowtail blue snapper

Neon fusilier

Blue snapper

Humpnose bigeye bream

Longface emperor

Pinkear emperor

Thumbprint emperor

Sunset wrasse

Crescent wrasse

Jensen’s wrasse

Six bar wrasse

Red shoulder wrasse

trilineatua (Bloch &Schneider, 1801) Fourline wrasse

Stethojulis

Linecheeked wrasse

Celebes wrasse

Black wrasse

Macropharyn- negrosensis (Herre, 1932) godon

Blue streaked cleaner wrasse

Bicolor cleaner wrasse

Tubelip wrasse

unilineatus (Guichenot, 1847)

Labrichthys

ชื่อสามัญ

Ring wrasse

ชนิด

Hologymnosus annulatus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y n

n

n

n

n

y n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n n

y

n

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

n

n

y

n

y

n

n

n

y n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

y

n

y

y n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

y y

n

y

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

1

1

1

1,2

1

1,2

2

2

1,2

1,2

y n

1,2

1

1,2

2

2

1,2

n

n

n

n

1

1

y n

1,2

1,2

1,2

1,2

n

n

y

n

2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

79


bohar (Frosskål, 1775)

decussatus (Cuvier, 1828)

ehrenbergii

fulviflamma (Frosskål, 1775)

gibbus (Forsskål, 1775)

kasmira (Forsskål, 1775)

momostigma (Cuvier, 1828)

quinquelineatus (Bloch, 1790)

russelli

timorensis

niger

macularis

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Lutjanus

Macolor

Macolor

latovittatus (Lacepéde, 1801)

dumerili (Hollard, 1854)

Whitespotted filefish

Blue blanquillo

Midnight snapper

Black snapper

Timor snapper

Russell’s snapper

Five lined snapper

Onespot snapper

Blue striped snapper

Humpback snapper

Dory snapper

Blackspot snapper

Checker snapper

Red snapper

Two spot snapper

ชื่อสามัญ

barberinoides (Bleeker, 1852)

barberinus (Lacep de, 1801)

bifasciatus (Lacepede, 1801)

cyclostomus (Lacepede, 1801)

heptacanthus

indicus (Shaw, 1803)

Parupeneus

Parupeneus

Parupeneus

Parupeneus

Parupeneus

Parupeneus

วงศ์ Mullidae

Indian goatfish

Cinnabar goatfish

Goldsaddle goatfish

Doublebar Goatfish

Dash dot goatfish

Bicolor goatfish

Oxymonacanthus longirostris (Bloch & Schneider, 1801) Harlequin filefish

Cantherhines

วงศ์ Monacanthidae

Malacanthus

วงศ์ Malacanthidae

biguttatus (Valenciennes, 1830)

ชนิด

Lutjanus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

y

y n

n

y

n n

y

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y y

n

n

y n

n

y

n

y

n

y

n

y

y

n

y n

n

y

n

y

y

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

y n

y

n

y n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

1

2

1,2

1

y y

1,2

1

1

1

1,2

2

2,3

2

2

1,2,3

1,2

1,2,3

1,2

1

2,3

1,2,3

1,2,3

1,2,3

n

n

y

n

n

n

y

n

y

n

n

y

y

n

y

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

80


moluccensis (Bleeker, 1855)

tragula (Richardson, 1846)

vanicolensis

Upeneus

Upeneus

Mulloidichthys

javanicus (Bleeker, 1859)

thyrsoideus (Richardson, 1845)

tigrina

Gymnothorax

Gymnothorax

Scutticaria

birostris

Manta

affinis (Peters, 1877)

bilineatus (Bloch, 1793)

ciliatus (Lacepede, 1802)

ghanam

lineatus (Quoy & Gaimard, 1824)

monogramma (Cuvier & Valenciennes, 1830)

margaritifera (Cuvier, 1830)

taeniopterus

xenochros

trivittatus

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Scolopsis

Pentapodus

วงศ์ Nemipteridae

narinari (Euphrasen, 1790)

Aetobatus

วงศ์ Myliobatidae

flavimarginatus (Ruppel, 1830)

Gymnothorax

วงศ์ Muraenidae

arge

ชนิด

Upeneus

สกุล

n

Pearly monocle bream

n

Three striped whiptail

Pearl streaked monocle​ bream

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n y

y y

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

Lattice monocle bream

หมู่เกาะสุรินทร์

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

2

2

2

1

1

1

2

1,2

1,2

1

2

1,2

2

1

1,2

1,2

2

1

1

2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

Monogrammed monocle​ bream

striped monocle bream

Arabian monocle bream

Whitestreak monical bream

Bridled monocle bream

Peters’ monocle bream

Manta ray

Spotted eagle ray

Tiger snake moray

Greyface moray

Giant moray

yellow-edged moray

Yellowfin goatfish

Freckled goatfish

Goldband goatfish

Bandtail goatfish

ชื่อสามัญ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

81


ชนิด

melagris

Ostracion

hexophtalma (Cuvier, 1829)

Parapercis

lineatus

Blacktail anglefish

eibli (Klausewitz, 1963)

flavipectoralis (Randall & Klausewitz, 1977)

mesoleucus (Bloch, 1787)

multispinnis (Playfair, 1867)

annularis (Bloch, 1787)

imperator (Bloch, 1787)

Centropyge

Centropyge

Centropyge

Centropyge

Pomacanthus

Pomacanthus

Emperor angelfish

Blue ringed angelfish

Brown pigmy angelfish

High-fin butterflyfish

Yellowfin angelfish

Black velvet angelfish

Striped catfish

Comet

Speckled sandperch

Reticulated sandperch

Speckled sandperch

Chaetodontoplus melanosoma (Bleeker, 1853)

วงศ์ Pomacanthidae

Plotosus

วงศ์ Plotosidae

Calloplesiops

altivelis

tetracantha (Lacepede, 1802)

Parapercis

วงศ์ Plesiopidae

hexophthalama

Parapercis

วงศ์ Pinguipedidae

Vanikoro sweeper

Pempheris

vanicolensis (Cuvier, 1831)

Pigmy sweeper

Spotted boxfish

Yellow boxfish

Robust jawfish

ชื่อสามัญ

Parapriacanthus ransonneti (Steindachner, 1870)

วงศ์ Pempheridae

cubicus (Linnaeus, 1758)

Ostracion

วงศ์ Ostraciidae

Opisthognathus muscatensis (Boulenger, 1887)

วงศ์ Opistognathidae

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

y

y

n

y n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

y n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

y

y

y

n

n

n

y y

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

y

y

y

n

y

y

n

n

y

n

n

n

n

1,2,3

1,2

1,2

1

1

1,2,3

1

2

2

1,2

1

2

1,2

1

2

1,2

1

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

82


sexstriatus

xanthometopon (Bleeke, 1853r)

diacanthus (Baddaert, 1772)

Pomacanthus

Pomacanthus

Pygoplites

iomelas (Jordan & Seale, 1906)

Chromis

labiatus

lorenzi

notatus (Day, 1870)

vaigiensis (Quoy & Gaimard, 1825)

sexfasciatus

septemfasciatus

sordidus

Abudefduf

Abudefduf

Abudefduf

Abudefduf

Abudefduf

Abudefduf Golden damsel Staghorn damselfish Green damsel

Amblyglyphiodon aureus (Cuvier, 1830)

Amblyglyphiodon curacao (Bloch, 1787)

Amblyglyphiodon indicus

Blackspot sergeant

Banded sergeant

Scissortail sergeant damsel

Indo-Pacific sergeant

Yellowtail sergeant

Blacktail sergeant

Big lip damsel

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

Cheiloprion

Mauritian gregory

n

pelicieri (Allen & Emery, 1985)

n

n

Stegastes

Blunt snout gregory

n

n

lividus (Forster, 1801)

n

n

Stegastes

Pacific gregory

n

fasciolatus (Ogilby, 1889)

n

Stegastes

-

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

sp.

Ocellate damselfish

Scaly damsel

Stegastes

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

vaiuli

n

n

y

n

Pomacentrus

n

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

n

lepidogenys

n

n

n

n

Pomacentrus

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y n

n

n

y y

y

y

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

2

1

1,2,4

4

4

2

1,4

1,2,4

2,4

2,4

1

4

1

1

4

4

4

1,4

4

4

1,2

1,2,3

2

1,2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

Lagoon damselfish

Half-and-half chromis

Bengal sergeant

Regal angelfish

Yellow masked angelfish

Six banded angelfish

Semicircle angelfish

ชื่อสามัญ

หมู่เกาะสุรินทร์

Plectoglyphiodon johnstonianus (Fowler & Ball, 1924) Johnston island damsel

Hemiglyphidodon plagiometopon (Bleeker, 1852)

bengalensis (Bloch, 1787)

Abudefduf

วงศ์ Pomacentridae

semicircularis (Cuvier, 1831)

ชนิด

Pomacanthus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

83


ephippium (Bloch, 1790)

frenatus (Brevoot, 1856)

ocellaris (Cuvier, 1830)

akallopisos (Bleeker, 1853)

caudalis (Randall, 1988)

dimidiate

flavipectoralis (Randall, 1988)

margaritifer (Fowler, 1946)

notata (Teminck & Schlegel, 1843)

opercularis (Günther, 1867)

scotochiloptera (Fowler, 1918)

ternatensis (Bleeker, 1856)

viridis (Cuvier, 1830)

atripectoralis (Welander & Schultz, 1951)

cinerascens (Cuvier, 1830)

weberi (Fowler & Bean, 1928)

biocellata

brownriggii (Bennett, 1828)

cyanea (Quoy & Gaimard, 1825)

parasema (Fowler, 1918)

rollandi (Whitely, 1961)

unimaculata

Amphiprion

Amphiprion

Amphiprion

Amphiprion

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chromis

Chrysiptera

Chrysiptera

Chrysiptera

Chrysiptera

Chrysiptera

Chrysiptera

Onespot demoiselle

Rolland’s demoiselle

Goldtail demoiselle

Sapphire devil

Surge damselfish

Twospot demoiselle

Weber’s cromis

Green puller

Black-axil chromis

Blue green chromis

Ternate chromis

Philippines chromis

Doublebar chromis

Pearl-spot chromis

Bicolor chromis

Malayan cromis

Indian half and half chromis

Blue-axil chromis

Skunk anemonefish

False clown anemonefish

Tomato clownfish

Red saddleback anemonefish

Clark’s anemonefish

clarkii (Bennett, 1830)

Amphiprion

ชื่อสามัญ White belly damsel

ชนิด

Amblyglyphiodon leucogaster (Bleeker, 1847)

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

y

y

y

y

y

n

n

n n

y

n

n

n

n

y

y

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

y

n

y y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

y n

n

n

y n

n

n

y n

y

n

n

y

y n

n

n

n

y

y

y n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

y

n

y

y

y

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

1,2,4

1,2,4

1,4

1,4

1,2

1,4

1

1,4

1

1

1,2,4

2,4

1

1,2,3,4

1,2,3,4

1

1,2,3,4

1,2,3,4

1,2,4

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

n

n

n

n

2,4

1,2,4

1

1

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

y

n

y

n

n

n

y

n

n

y y

n

n

y y

n

n

n

n

y

y

y

y

y

n

y y

n

n

y

y

y

y

4 n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

y

n

n

y

n

n

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y

n

n

n

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

84


auriventris (Allen, 1991)

azuremaculatus (Allen, 1991)

chrysurus

proteus

milleri (Taylor, 1964)

moluccensis (Bleeker, 1853)

philipinus (Everman & Seal, 1907)

trilineatus (Cuvier, 1830)

tripunctatus (Cuvier, 1830)

alleni (Burgess, 1981)

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus

Pomacentrus Andaman damsel

Threespot damsel

Threeline damsel

Philippine damsel

Lemon damsel

Miller’s damselfish

Colombo damsel

Whitetail damsel

Blue spotted damsel

Goldbelly damsel

Ambon damsel

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y n

n

n

n

y n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

y

n

n

n

y

y n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ambioensis (Bleeker, 1868)

Obscure damsel

Pomacentrus

n n

Blackbar damsel

Plectoglyphiodon dickii (Liénard, 1839)

n

adelus (Allen, 1991)

Silver demoiselle

Neopomacentrus anabantoides (Bleeker, 1847)

Pomacentrus

Regal demoiselle

Neopomacentrus cyanomos

n

n

y

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

Chinese demoiselle

Neopomacentrus bankieri (Richrdson, 1846)

หมู่เกาะสุรินทร์

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

y n

y

n

n

y

y n

n

n

y

y

y

n

n

y

n

n

n

y

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

y n

y

n y

n

n

n

y n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

y

n

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

1 1,4

y

1

1,4

1,2,4

1

2

2,4

1,2,4

n

y

y

n

n

n

1,4

1,4

y n

1,4

n

1,2,4

1,2,4

y n

1,4

2,4

1

1,2,4

1,4

1,2,4

1,2,4

1,2,4

1

1,2,4

1,2,4

n

n

y

n

n

n

y

n

y

y

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

Plectoglyphiodon lacrymatus (Quoy & Gaimard, 1825) Jewel damsel

Yellowtail demoiselle

White damsel

Neopomacentrus azyron (Bleeker, 1877)

perspicillatus (Cuvier, 1830)

Dischistodus

Three spot dacyllus

Black and gold chromis

trimaculatus (Rüppel, 1846)

Dascyllus

Reticulate dascyllus

Neoglyphidodon nigroris (Cuvier, 1830)

reticulatus (Richardson, 1846)

Dascyllus

Indian dascyllus

Bowtie damselfish

carneus (Fischer, 1885)

Dascyllus

Humbug dascyllus

ชื่อสามัญ

Neoglyphidodon melas (Cuvier, 1830)

auranus (Linnaeus, 1758)

ชนิด

Dascyllus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

85


similis (Allen, 1991)

simsiang

Pomacentrus

Pomacentrus

evides (Jordan & Hubbs, 1925)

microlepis (Bleeker, 1856)

Ptereleotris

Ptereleotris

soridus (Forsskål, 1775)

strongylocephalus (Bleeker, 1854)

trochelii (Bleeker, 1853)

muricatum

frenatus (Lacepede, 1802)

niger (Forsskal, 1775)

prasiognathus (Valenciennes, 1840) Singapore parrotfish

psittacus

Chlorurus

Chlorurus

Chlorurus

Bulbometopon

Scarus

Scarus

Scarus

Scarus

Palenose parrotfish

Swarthy parrotfish

Bridled parrotfish

Bumphead parrotfish

Greenhead parrotfish

Steephead parrotfish

Bullethead parrotfish

Indian parrotfish

capistratoides

Chlorurus

Bicolor parrotfish

Cobia

bicolor (Rüppel, 1829)

canandan

Pearly dartfish

Twotone dartfish

Blacktail goby

Brown pygmy grouper

Bloch’s bigeye

Blueback damsel

Similar damsel

Blue damsel

Nagasaki damsel

ชื่อสามัญ

Cetoscarus

วงศ์ Scaridae

Rachycentron

วงศ์ Rachycentridae

heteroptera (Bleeker, 1855)

fuscus (Müller & Troschel, 1849)

Ptereleotris

วงศ์ Ptereleotridae

Pseudochromis

วงศ์ Pseudochromidae

Priacanthus

blochii

pavo (Bloch, 1787)

Pomacentrus

วงศ์ Priacanthidae

nagasakiensis (Tanaka, 1917)

ชนิด

Pomacentrus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณิหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

y

y n

n

n n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y n

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

n

y

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

1,2

y

2

1

1,2

1,2

2

1

1,2

2

1,2

y

y

n

2

1,2

1,2

y n

1

1

2

2

1,4

1,2,4

1,4

y

n

n

n

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

86


rivulatus

viridifucatus (Smith, 1956)

ghobban (Forsskål, 1775)

schlegeli (Bleeker, 1861)

Scarus

Scarus

Scarus

Scarus

kanagurta

Rastrelliger

volitans (Linnaeus, 1758)

antennata (Bloch, 1787)

muricata

minor (Smith, 1958)

parvipinnis (Garrett, 1864)

oxycephala (Bleeker, 1849)

Pterois

Pterois

Pterois

Scorpaenodes

Scorpaenodes

Scorpaenopsis

sp.

boenak (Bloch, 1790)

polyspila (Randall & Satapoomin, 2000)

sexmaculata

Cephalopholis

Cephalopholis

Cephalopholis

Cephalopholis

วงศ์ Serranidae

radiata (Cuvier, 1829)

Pterois

วงศ์ Scorpaenidae

Acanthocybium solandi

Bigeye tuna

obesus (Lowe, 1893)

Thunnus

Sixspot grouper

Grouper

Brownbarred rockcod

Starry grouper

Tasselled scorpionfish

Lowfin scorpionfish

Minor scorpionfish

Indian lionfish

Spotfin lionfish

Red lionfish

Whitelined lionfish

Wahoo

Long jawed mackerel

Narrow-barred Spanish​ mackerel

Yellowband parrotfish

Blue barred parrotfish

Roundhead parrotfish

Surf parrotfish

Redlip parrotfish

ชื่อสามัญ

Scomberomorus commerson (Lacepede, 1800)

วงศ์ Scombridae

rubroviolaceus (Bleeker, 1847)

ชนิด

Scarus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

y n

n

y

y n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

y n

n

n

y

y n

y

n

y

n

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

y n

y

n

n

n

n

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

y

n

n

n

y

n

y y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y

n

y

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y y

n

n

n

n

y

n

y n

y

y

y

n

n

y

n

y y

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

3,4

1

1,3

3,4

1,2

1

1

1,2

1,2

1

1

2

2

1

1

1

1,2

1

2

1,2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

87


urodeta

cyanopodus

areolatus (Forsskål, 1775)

coeruleopunctatus (Bloch, 1790)

malabaricus

merra

maculatus (Lacepede, 1790)

squamipinnis (Peters, 1855)

rogaa (Forsskål, 1755)

leucogrammius (Valenciennes)

argus (Bloch & Schneider, 1801)

cyanostigma (Valenciennes, 1828)

formosus (Shaw & Nodder, 1812)

miniata (Forsskål, 1755)

altivelis (Valenciennes, 1828)

fasciatus (Forsskål, 1775)

quoyanus (Valenciennes, 1830)

ongus (Bloch, 1790)

areolatus (Rüppell, 1830)

pessuliferus (Fowler, 1904)

albimarginatal

Cephalopholis

Epinephelus

Epinephelus

Epinephelus

Epinephelus

Epinephelus

Plectropomus

Pseudanthias

Aethaloperca

Anyperodon

Cephalopholis

Cephalopholis

Cephalopholis

Cephalopholis

Cromileptes

Epinephelus

Epinephelus

Epinephelus

Plectropomus

Plectropomus

Variola

corallinus (Valenciennes, 1835)

fuscescens

Siganus

Siganus

วงศ์ Siganidae

sonnerati

ชนิด

Cephalopholis

สกุล

Dusky rabbitfish

Blue-spotted spinefoot

White edge lyretail

Roving coral grouper

Squaretail coralgrouper

Whitestreaked grouper

Longfin grouper

Blacktip grouper

Barramundi

Coral grouper

Bluelined grouper

Bluespot grouper

Peacock grouper

Slender grouper

Redmouth grouper

Red coral perch

Spotted coralgrouper

Honeycomb grouper

Malabar grouper

Whitespotted grouper

Areolate grouper

Speckled grouper

Flagtail grouper

Tomato grouper

ชื่อสามัญ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n y n

y y y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

y

y

y

n

n n

n

n

n

n

n

y

n

n

y n

n

n

y

n

y

n

n

n

y

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

y

y

n

n

n

y

n

n

n

n

y

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

y

n

n

y

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

1,4

1

2

2

3,4

n

n

y

y

y

n

y n

n

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

n

y n

n

n

y

n

n

y

y

y

y

y

n

y

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

y

n

y

y

n

2

1

2

1,2,3

1,2,3

1,2

1,2

1,2

1,2

1,2

1,2

1,2

1,2,3

1,2,3

1,2,3

1

1

3

n

n

n

n

y

n

n

n

n

2 n

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

n

n

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ ช่ อ งชาด หิ น กอง สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

88


javus (Linnaeus, 1766)

magnicificus (Burgess, 1977)

pulloides

punctatus

stellatus

vermiculatus (Valenciennes, 1835)

virgatus (Valenciennesr, 1835)

vulpinus (Schlegel & Müller, 1845)

Siganus

Siganus

Siganus

Siganus

Siganus

Siganus

Siganus

Siganus

paradoxus (Pallas, 1770)

barracuda

qenie

jello

flavicauda

Sphyraena

Sphyraena

Sphyraena

Sphyraena

Saurida

วงศ์ Synodontidae

gracilis (Quoy & Gaimard, 1824)

Corythoichthys flavofasciatus (Ruppel, 1838)

วงศ์ Syngnathidae

putnamae (Jordan & Seal, 1905)

Sphyraena

วงศ์ Sphyraenidae

Acanthopagrus berda (Frosskal, 1775)

วงศ์ Sparidae

Solenostomus

วงศ์ Solenostomidae

Pardachirus

pavoninus (Lacepede, 1802)

guttatus (Bloch, 1787)

Siganus

วงศ์ Soleidae

ชนิด

สกุล

Gracile lizardfish

Network pipefish

Yellowtail barracuda

Pickhandle barracuda

Blackfin barracuda

Great barracuda

Sawtooth barracuda

Goldsilk seabream

Harlequin ghost pipefish

Peacock sole

Foxface

Variegate rabbitfish

Vermiculate rabbitfish

Honeycomb rabbitfish

Gold spot rabbitfish

Blackeyed rabbitfish

Magnificent rabbitfish

Java rabbitfish

Golden rabbitfish

ชื่อสามัญ

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

n

n

n

y n

n

y

y

n

n

y

n

n

n

n

n

y

n

y

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

y

n

n

n

n

n

n

n

y

y

n

n

n

n

y

n

n

n

n

y

y

n

y

n

n

n

y

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

n

y

n

n

n

y

n

n

n

y

y

1

1,2

2

2

2

2

1

1

1

1

1

1,2

1,2

2

2

2

1,2

1,2

1,2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

89


dermatogenys (Fowler, 1912)

indicus (Day, 1873)

variegatus (Lacepde, 1803)

Synodus

Synodus

Synodus

meleagris (Lacepede,1798)

stellatus

solandri (Richardson, 1845)

Arothron

Arothron

Canthigaster

cornutus (Linnaeus, 1758)

ที่มา

Moorish idol

Tropical striped triplefin

Spotted toby

Star puffer

Guineafowl puffer

Blackspot puffer

Bluespot puffer

Reef lizardfish

Indian lizardfish

Clearfin lizardfish

Twospot lizardfish

ชื่อสามัญ

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

y

y

y

y

n

n

n

y

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

n

n

n

n

y (ไม่ได้ระบุสถานที่)

4 : อนุวัต, 2545. การศึกษาอนุกรมวิธานของปลาในครอบครัว Pomacentridae ในแนวปะการังของประเทศไทย.

3 : คณะวนศาสตร์, 2548. รายงานฉบับสุดท้ายโครงการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา.

2 : Coral Cay Conservation, 2005. The Coral Reef Resources of Mu Ko Surin National Park, Thailand.

n

n

n

n

n

n

n

y

n

y

n

y

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

y

n

n

y

y

y

n

y

n

n

1,2

1

1,2

2

1

1,2

2

1,2

1

1,2

2

เกาะ เกาะ เกาะ ที่มา เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ สตอร์ค อ่าวจาก อ่าวไทรเอน อ่าวแม่ยาย อ่าวไม้งาม อ่าวสุเทพ อ่าวเต่า อ่าวผักกาด ช่องชาด หินกอง มังกร ตอรินลา

หมู่เกาะสุรินทร์

1 : ศูนย์วิจัยป่าไม้, 2549. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสำ�รวจและจัดทำ�ข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ.

หมายเหตุ : y คือ พบ n คือ ไม่พบ

Zanclus

วงศ์ Zanclidae

Helcogramma

striata (Hansen, 1986)

nigropuncatus (Bloch & Scheider, 1801)

Arothron

วงศ์ Tripterygiidae

caeruleopunctatus

Arothron

วงศ์ Tertraodontidae

binotatus

ชนิด

Synodus

สกุล

ตารางแสดงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มปลา บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ (ต่อ)

90


ตัว ต่อ 100 ตารางเมตร

0

5

10

15

20

25

30

กุงตัวตลก

เมนดำหนามนยาว

เมนดินสอ

เมนหนามสั้น

ปลิงทะเล

ดาวมงกุฎหนาม

หอยมือเสือ

หอยสังขแตร

กุงมังกร

ช่วงที่ 1 : ธันวาคม 2552

ช่วงที่ 2 : เมษายน 2553

w ​กราฟเปรียบเทียบความชุกชุมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชนิดเป้าหมายแต่ละสถานี ในสามช่วงเวลา (สำ�รวจด้วยวิธี Reef

ภาคผนวก จ

ช่วงที่ 3 : สิงหาคม 2553

91


92

ภาคผนวก ฉ การจัดระดับความชุกชุมของรูปทรงปะการังแข็ง ในการจัดระดับความชุกชุมของรูปทรงปะการังแข็งทีพ่ บในแต่ละบริเวณ ใช้คา่ เปอร์เซนต์การปกคลุมพืน้ ทีข่ องปะการังรูป ทรงต่างๆ เป็นเกณฑ์ในการจัดระดับ (รูปทรงต่างๆ ของปะการังแข็ง ได้แก่ ก้อน กิ่งก้อน กิ่งสั้น กิ่งยาว แผ่นโต๊ะแผ่นแบน แผ่นตั้งแผ่นใบไม้ เคลือบ และเห็ด โดยมีการแบ่งระดับความชุกชุมออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ตารางการจัดระดับความชกชุมของรูปทรงปะการังแข็ง ระดับ

คำ�อธิบาย

ค่าประมาณ

เด่นที่สุด

เป็นกลุ่มเด่นหรือ/และเป็นโครงสร้างหลัก ของแนวปะการัง

>30% ของปะการังที่ปกคลุมพื้นที่ทั้งหมด

พบได้มาก

เป็นกลุ่มที่พบได้มากและเห็นเป็นจำ�นวน มากหรือเด่นรวมกันกับกลุ่มเด่น

10-30% ของจำ�นวนหรือพื้นที่ของประชากรปะการัง ทั้งหมด และ/หรือมีจำ�นวนโคโลนีมาก (พบทันที>100 โคโลนีในพื้นที่ 2,500 ตารางเมตร)

พบได้ง่าย

เป็นกลุ่มที่พบเห็นได้ง่าย แต่ไม่ใช่กลุ่มที่ เด่นทั้งในแง่ของขนาดและการปกคลุม พื้นที่

>1% ของจำ�นวนหรือพื้นที่ของประชากรปะการังทั้งหมด และ/หรือ พบจำ�นวนโคโลนี >20 โคโลนี ในพื้นที่ 2,500 ตารางเมตร

พบไม่ง่าย

เป็นกลุ่มที่พบไม่ง่าย แต่พบเห็นได้หลาย โคโลนี หรือสามารถหาพบได้

<10 โคโลนี ในพื้นที่ 2,500 ตารางเมตร

พบยาก

พบโดยบังเอิญ หรือสามารถหาพบเพียง 1 หรือ 2 โคโลนี

<2 โคโลนี ในพื้นที่ 2,500 ตารางเมตร

ที่มา : ดัดแปลงจาก การจัดระดับความชุกชุมของปะการังแข็ง ในเอกสารเรื่องแนวทางการประเมินความสามารถในการฟื้นตัวของแนวปะการัง เน้นการฟื้นตัวจากปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว โดย ศรีสกุล ภิรมย์วรากร สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นเอกสารประกอบการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นต่อการสำ�รวจ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพแนวปะการังและผลกระทบของการฟอกขาวที่มีต่อระบบนิเวศแนวปะการังในน่านน้ำ�ไทย วันที่ 11-12 ตุลาคม พ.ศ.2553 ณ โรงแรมทีเค พาเลส แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ.


รายชื่อผูรวมสำ�รวจ​สถานภาพ​แนวปะการัง อุทยานเห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ชาวมอแกน

เจ้าหน้าที่อุทยาน แห่งชาติหมู่เกาะ สุรินทร์

ทหารเรือ

เล็ก

กล้าทะเล

โอเล่

กล้าทะเล

มูลิง

กล้าทะเล

ยาเร็จ

กล้าทะเล

ปลา

กล้าทะเล

มูมุด

กล้าทะเล

เจียว

กล้าทะเล

นิน

กล้าทะเล

บาเซียว

กล้าทะเล

จินดา

กล้าทะเล

วีรศักดิ์

ใฝ่สุข

วิรัช

บรรเลง

ฮามิช

หะสะเล็ม

เกษม

คงทอง

วิสูตร

ศรีสงวน

เอนก

วังมา

พิพบ

เดชประสิทธิ์

สุรชัย

และเยาะ

ธีรพล

อยู่ประดิษฐ์

สามารถ

สุระสาร

สมศักดิ์

สลาม

ภัทรพงศ์

มากมูล

เกียรติศักดิ์

สุทธิมานนท์

อารีย์

หมัดจุโกบ

วุฒิชัย

คมขำ�

อนันทา

นุ่นแป้น

จันทิมา

จันทร์ช่วง

ผดุงผล

ศิลปะ

เพียร

อินทนัย

ธีรพล

สุวรรณ

อนุสรณ์

และเยาะ

เสาวภา

อาศน์ศิลารัตน์

กรองแก้ว

สูอำ�พัน

พี่เบิ้ม หมอ

นักท่องเที่ยว

Bradley (Bubu)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.