Hyper objects magazine

Page 1



CONTENTS hyper-object Time lapse reflect

01

05

07

Angled Mirrors & Multiple Reflections Formation of Image by a Plane Mirror Ray Diagrams

shadow 10 การเกิดเงาของวัตถุ Light and Shade Form and Shape Shadows In Science And Art


01


02


03


04


Time lapse 05


Time lapse สั ม ผั ส กั บ ห ว ง เ ว ล า ที่ สั้ น ล ง

การถายภาพในชวงเวลาหนึ่งๆ ใชเทคนิคเหมือนการถายทำภาพยนตรแบบเรง ความเร็ว สามารถยนระยะเวลาจาก ป เดือน วัน ชั่วโมง มาเหลือเพียงนาที หร�อ ไมกี่ว�นาทีเทานั้น การหยุดเหตุการณในเสี้ยวว�นาทีนั้นและบันทึกเหตุการณตอไปโดยกำหนด

"การเคลื่อนที่ของเวลา" ไดดวยแตอาจมีขั้นตอนที่ยุงยากซับซอนกวาการ ถายภาพนิ่งธรรมดา แตไทมแล็ปจะทำใหเราได สัมผัสกับหวงเวลาที่สั้นลง

เทคนิคนี้สามารถยนระยะเวลาของเหตุการณหนึ่งๆใหสั้นลง โดยผูชมไมสามารถ บอกระยะเวลาจร�งๆของเหตุการณนั้นได โดยที่ทุกซอตทุกเฟรมมีความสมบูรณ และมีคุณภาพเปนภาพถาย เราอาจเอาภาพที่บันทึกอยางตอเนื่องมาทำ HDR เพื่อดึงรายละเอียดและเพิ่ม Dynamic ภาพเคลื่อนไหวดวยก็ได

Range ใหกับภาพกอนนำไปทำเปน

06


reflect 07


Angled Mirrors & Multiple Reflections

กระจกสะทอนใหเห็นถึงทุกสิ่งที่อยูตรงหนามันรวมทั้งกระจก อื่นๆ ถาวางกระจก 2 อัน วางทำมุมกันจำนวนภาพที่เกิดข�้นจะข�้นอยูกับขนาด ของมุมที่กระจกทำมุมกันตำแหนงที่ยืนดูและที่ที่วาง วัตถุ

120 º กระจกสองอันวางทำมุม ระหวาง 180 ºและ 90 º สะทอน ใหเห็นถึงวัตถุ 2 ครั้ง เปนมุม 90 องศา จะเห็นกระจกหนึ่งสะทอนใน กระจกอีกอัน แตจะไมเห็นการสะ ทอนกันของวัตถุที่อยูในกระจก

60 º สะทอนวัตถุเกิดเปน ภาพที่สมบูรณ 4 ภาพ และ เป น การสะท อ นประกอบ 1 ภาพ

90 º กระจกสองอันวางเปนมุม ฉาก แสดงวัตถุที่สะทอนอยาง สมบูรณ 2 ภาพ และการสะทอน ของมุมที่นอยกวา 90 º แสดง การสะทอนของวัตถุแบบตรงและ สะทอนบางสวน

45 º ในกระจกแตละบานจะ สะทอนไดวัตถุที่สมบูรณ 3 ภาพ และ วัตถุประกอบ 1 ภาพ รวมแลวจะไดภาพ วัตถุจากการสะทอน 7ภาพ

72 º สะทอนวัตถุเกิดเปนภาพที่ สมบูรณ 4 ภาพ

วางกระจกในลักษณะหลายเ หลี่ยมคลายเพชร การเพิ่มของจำนวนพื้นผิว สะทอน สิ่งที่เห็นจะข�้นอยู กับตำแหนงที่ยืนดู จำนวน ภาพของภาพที ่ ส ะท อ นที ่ สมบู ร ณ แ ละภาพประกอบ จะเปลี่ยมตามการดูจากมุม ที่ตางกัน

180 º กระจกสองอันวางเปนเสนตรง สะทอนใหเห็นวัตถุเพียงครั้งเดียว

วางกระจกขนานกัน จำนวนของการสะทอน มีไมสิ้นสุดถาวางกระจกใหทำมุมเล็กนอยจะ เกิดการสะทอนเปนแนวโคง

08


Formation of Image by a Plane Mirror - Ray Diagrams -รังสีของแสงบนระนาบกระจกที่ทำมุม 90 องศา จะไดรับการสะทอน จากกระจกไปในเสนทางเดียวกัน -รังสีของแสงที่ตกกระทบบนระนาบกระจกจะเทากับรังสีสะทอน -ความสัมพันธของจำนวนรูปที่เกิดจากการสะทอนและขนาดของมุมที่กร ะจกทำมุมกันมีความสัมพันธคือ จำนวนภาพ = เมื่อ คือจำนวนเต็มที่ปดไปในเลขที่ใกลเคียง

การทดลองเร�่องกระจกเงากับจำนวนภาพสะทอน ในตอนเชาทุกคนคงใชกระจกเงาสองหนา ซ�่งเราจะเห็นภาพของ ตั ว เองในกระจกเงากลั บ ซ า ยเป น ขวาและกลั บ ขวาเป น ซ า ย แตการทดลองนี้จะมีความนาสนใจมากข�้น ถาพรอมแลวเร�่ม เตร�ยมหาอุปกรณกันกอน การทดลองนี้ให ใชกระจกเงาบาน เล็ก ๆ จำนวนสองบาน ประเภทที่มีกรอบพลาสติกหุม ไมควร เลือกขนาดของกระจกเงาที่เล็กเกินไป เพราะจะทำใหสังเกตภาพ ที่เกิดข�้นในกระจกเงาไดยาก และไมควรใชกระจกเงาเปลา ๆที่ไมมี ขอบพลาสติกหุม จะทำใหเกิดอุบัติเหตุไดงายเพราะถากระจก เงาแตกจะบาดมือได

09


shadow เมื่อแสงตกกระทบวัตถุทึบแสง แสงไมสามารถผาน ทะลุวัตถุจ�งทำใหเกิดเงาของวัตถุบนฉากทางดานที่แสงไม ได ตกกระทบ เชน คนเปนวัตถุทึบแสง ดังนั้นเมื่อยืนอยู กลางแสงแดดจะเกิดเงาบนพื้นของคนที่ยืน เพราะคนกั้น ทางเดินของแสง ทำใหแสงสองไปไมถึงพื้น

10


การเกิดเงาของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบวัตถุที่ทึบแสง จะเกิดเงาที่ดานหลังวัตถุเสมอ โดยเงาที่เกิดข�้น อาจจะมีทั้งเงามืดหร�อเงามัว จะข�้นอยูกับ 1. ขนาดของแหลงกำเนิดแสง 1.1 แหลงกำเนิดแสงกวางนอยกวาวัตถุ 1.2 แหลงกำเนิดแสงกวางมากกวาวัตถุ 2. ขนาดของวัตถุ 3. ระยะหางระหวางวัตถุกับแหลงกำเนิดแสง 4. การเกิดเงาเมื่อแหลงกำเนิดแสงเปนจ�ด

ขนาดของเงามืดและเงามัวจะข�้นอยูกับระยะใกล - ไกลของฉาก ถาฉาก อยูใกลวัตถุเงามืดจะมีขนาดใหญ แตเงามัวจะมีขนาดเล็กลง ถาฉากอยูไกลจากวัตถุมากข�้น เงามืดจะมีขนาดเล็กลงและเงามัวจะมี ขนาดโตข�้น ยกเวนเฉพาะดวงไฟที่มีขนาดโตเทากับวัตถุ ซ�่งจะใหเงามืด มีขนาดโตเทากับขนาดของวัตถุเสมอ เงา คือ บร�เวณมืดหลังวัตถุที่เกิดจากวัตถุที่เปนตัวกลางทึบแสงมาขวางกั้นทางเดิน ของแสง แบงได 2 ชนิด คือ 1. เงามืด คือ เงาในบร�เวณที่ไมมีแสงผานไปถึง ทำใหบร�เวณนั้นมืดสนิท 2. เงามัว คือ เงาบร�เวณที่มีแสงบางสวนผานไปถึง และทำใหบร�เวณนั้นมืดไมสนิท

11


Light and Shade แสงเปนสวนที่สำคัญที่สุดเพราะเปนตนกำเนิดที่ทำใหเกิดภาพที่ตาของเราสามารถม องเห็น แสงที่เราเห็นเปนสีขาวประกอบดวยคลื่นแสงของสีหลาย ๆ สีมารวมกัน เมื่อแสงเดินทางไปกระทบวัตถุหนึ่ง ๆคลื่นแสงของสีบางสีถูกวัตถุดูดกลืนไปและ สะทอนคลื่นแสงสีอื่นเขาสูตาเราทำใหเรามองเห็นวัตถุเปนสีนั้น การที่ตาของเรา เห็นความเขมของแสงที่บร�เวณตาง ๆบนผิวของวัตถุไมเทากันเนื่องมาจากระยะหาง ระหวางแหลงกำเนิดแสงกับผิวของวัตถุที่บร�เวณตาง ๆ ยาวไมเทากัน และระนาบ ของผิวของวัตถุทำมุมกับแหลงกำเนิดแสงไมเทากัน บร�เวณที่สวางที่สุดบนผิววัตถุ เร�ยกวา Highlight สวนบร�เวณของวัตถุที่ไมถูกแสงกระทบจะพบกับความมืดบนผิว ของวัตถุจะมีมากหร�อนอยข�้นอยูกับวามีแสงจากที่ใดที่หนึ่งมากระทบนอยหร�อมาก บร�เวณที่มืดที่สุดบนผิววัตถุเร�ยกวา High Shadeการที่แสงสองมายังวัตถุ จะถูก ตัววัตถุบังไวทำใหเกิดเงาของวัตถุไปปรากฏบนพื้นที่ที่วางวัตถุนั้น บร�เวณของเงา จะแบงไดเปน 3 สวน สวนที่มืดที่สุดเร�ยกวา Umbra สวนที่มืดปานกลางเร�ยกวา Penumbra สวนที่มืดนอย เปนวงจาง ๆ ถัดจาก Penumbra เร�ยกวา Antumbra ซ�่งบางครั้งจะไมปรากฏชั้นของ Antumbra ใหเห็น

12


“ Form and Shape

รูปทรง (Form) คือรูปที่ลักษณะเปน 3 มิติโดยนอกจากจะแสดง ความกวาง ความยาวแลวยังมีความลึกหร�อความหนา นูนดวย เชน รูปทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก เปนตนใหความรูสึกมีปร�มาตร ความหนาแน น มี ม วลสารที ่ เ กิ ด จากการใช ค  า น้ ำ หนั ก หร� อ การจั ด องคประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน รูปเรขาคณิต (Geometric Form) มีรูปที่แนนอน มาตรฐานสามารถ วัดหร�อคำนวณไดงายมีกฎเกณฑ เกิดจากการสรางของมนุษย เชน รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงร� นอกจากนี้ยังรวมถึงรูปทรงของสิ่งที่ มนุษยประดิษฐคิดคนข�้นอยางมีแบบแผน แนนอน เชน รถยนต เคร�่องจักรกล เคร�่องบิน สิ่งของเคร�่องใชตาง ๆ ที่ผลิตโดยระบบ อุตสาหกรรมก็จัดเปนรูปเรขาคณิตเชนกัน รูปเรขาคณิตเปนรูปที่ให โครงสรางพื้นฐานของรูปตาง ๆ ดังนั้นการสรางสรรครูปอื่น ๆควร ศึกษารูปเรขาคณิตใหเขาใจถองแทเสียกอน รูปอินทร�ย (Organic Form) เปนรูปของสิ่งที่มีช�ว�ตหร�อคลายกับ สิ่งมีช�ว�ตที่สามารถ เจร�ญเติบโต เคลื่อนไหว หร�อเปลี่ยนแปลงรูปได เชน รูปของคน สัตว พืช รูปอิสระ (Free Form) เปนรูปที่ไมใชแบบเรขาคณิต หร�อแบบอินทร�ย แตเกิดข�้นอยางอิสระไมมีโครงสรางที่แนนอนซ�่งเปนไปตามอิทธ�พลและการ กระทำจากสิ่งแวดลอม เชน รูปกอนเมฆ กอนหิน หยดน้ำ ควันซ�่งใหความ รูสึกที่เคลื่อนไหวมีพลังรูปอิสระจะมีลักษณะขัดแยงกับรูปเรขาคณิต แตกลมกลืนกับรูปอินทร�ย รูปอิสระอาจเกิดจากรูปเรขาคณิตหร�อ รูปอินทร�ย ที่ถูกกระทำ จนมีรูปลักษณะเปลี่ยนไปจากเดิมจนไมเหลือสภาพ เชน รถยนตที่ถูกชนจนยับเยินทั้งคัน เคร�่องบินตก ตอไมที่ถูกเผาทำลาย หร�อซากสัตวที่เนาเปอยผุพัง

13


Shadows In Science And Art

การใชเงาทางเรขาคณิต และการแสดงถึงการรับรูถึงการใชเงา 1. Simple Shadows ในหองมืดใหใชจ�ดกำเนิดของแสงในรูปแบบเงาของวัตถุขนาดเล็ก เชน กลองขนาด เล็ก หร�อลูกบอล บนฉาก ไฟฉาย LED ที่มีหลอดเดียวหร�อไฟทายรถยนต ทำหนาที่เปนแหลงกำเนิดแสงที่ดี เมื่อแหลงกำเนิดแสงเพียงจ�ดเดียวใหความสวาง กับวัตถุ จะมีสองสวนที่เปนที่สังเกต สวนแรก คือแสงจากแหลงกำเนิดแสงถูก กำหนดไว เร�ยกสวนนี้วา เงา (umbra) อีกสวนคือพื้นที่นอกเหนือเงาจะไมไดรับ ผลกระทบจากวัตถุ เมื่อมีแหลงกำเนิดแสงสองจ�ด จะเกิดเงาสองประเภทใหสังเกต ประเภทแรก คือ เงา (umbra) เปนสวนที่อยูบนฉากที่อยูในความมืดสนิท ในสวนของเงานี้ แหลงกำเนิด แสงถูกกำหนดไว นอกเหนือพื้นที่เงา เปนสวนของเงามัวที่ลอมรอบเงามืด (penumbra) คือเปนพื้นที่ที่แสงจากแหลงกำเนิดแสงหนึ่งไปถึง แตอีกแหลงกำเนิดไป ไมถึง 2. สมมติฐานเกี่ยวกับเงา มนุษยใชเงาที่จะตัดสิน รูปรางและตำแหนงของวัตถุในสภาพแวดลอมของพวกเขา ในการทำเชนเราทุกคนอาศัยอยูบนสมมติฐานเร�่มตนที่แหลงที่มาของแสงเปน คาใช จายเราอาศัยอยูในโลกที่แสงมักจะมาจากขางบนคุณไดสังเกตเห็นวา เด็กไมเคย หยุดที่จะมีความยินดีโดยผลกระทบที่เกิดจากแสงสวางใบหนาดวยแสง จากดาน ลางไดหร�อไม ทำไมนี้เสมอมาหัวเราะเบา ๆ มนุษยก็ไมเคยเห็นเงา ที่เกิดข�้นจากแหลง กำเนิดแสง อยูใต ใบหนา

3. เงาในศิลปะ เพราะเงาเปดแสดงใหเ ห็น เกี่ยวกับการขยายของวัตถุในพื้นที่ มันเปนสวนหนึ่งของความหมายเช�งลึกของศิลปนที่มีศักยภาพ มากที่สุด ทำใหทราบวาวงกลมจะกลายเปนทรงกลมไดดวยเงา และการแรเงา 4. Turning Things Inside Out with Shadows เงาทำใหรูวาวัตถุนั้นอยูขางในหร�อขางนอก

14


reference http://www.naryak.com/forum/time-lapse-สัมผัสหวงเวลาที่สั้นลง-f8-t594.html http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/1282-groupid=258 http://biologos.org/blog/mathematics-and-beauty-part-3 http://www.halexandria.org/dward118.htm http://7045tws.blogspot.com/2013/09/quantum-jewels-and-hypercubes-wild.html http://metopal.com/projects/hyperobjects.html http://yongyudh.blogspot.com/2009/01/4.html http://rantswithintheundeadgod.blogspot.com/2013/05/polygyny-porn-stashes-and-clash-of.html http://angelgilding.com/Multiple_Reflections.html http://www.sharon-whyte.hubpages.com http://www.arborsci.com/cool/shadows-in-science-art http://www.tutorvista.com/content/science/science-ii/reflection-light/formation-plane-mirror.php http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/1282-groupid=258 http://bomall.blogspot.com/2013/01/light-and-shade-highlight-high-shade-3.html



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.