จดหมายข่าวสภาทนายความ ฉบับเดือนพฤษภาคม 2560

Page 1

จดหมายข่าว

สภาทนายความ สื่อสร้างสรรค์เพื่อทนายความ เผยแพร่งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและประโยชน์สาธารณะ

ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

ทนายความพร้อมใจร่วมประชุมใหญ่สามัญปี

60

ลงมติรบั รองงบดุลด้วยเสียงข้างมาก เสนอผูบ้ ริหารฯ ผลักดันงาน ยกระดับวิชาชีพ เมื่อวันเสาร์ที่ 29 เมษายน 2560 เวลา 17.00 น. ที่ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 5 อาคารทีท�ำการใหม่สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถนนพหลโยธิน เขตบางเขน กรุงเทพฯ สภาทนายความฯ จัดประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2560 เพือ่ แถลงผลงานประจ�ำปี 2559, พิจารณารับรองรายงานการ ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559, พิจารณางบดุล ประจ�ำปี 2559 และพิจารณาแต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชีประจ�ำปี 2560 โดย ว่าทีร่ อ้ ยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภา ทนายความ ในฐานะประธานที่ประชุม กล่าวเปิดการประชุม เวลา 17.00 น. และแต่งตั้ง นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน/เลขาธิการสภาทนาย ความ ท�ำหน้าที่ด�ำเนินการประชุม ซึ่งในการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปี 2560 นี้ มีผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ เดินทางมาลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุม 653 คน ทั้งนี้ การประชุมได้เริ่มขึ้นในวาระต่างๆ ตามล�ำดับ ตัง้ แต่การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 มีการขอแก้ไขจากสมาชิกทนายความ และที่ประชุมมีมติ เป็นเอกฉันท์ รับรองรายงานการประชุมใหญ่ ประจ�ำ ปี 2559 อ่านต่อหน้า

2


2

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

คุยกับ บก. การประชุมใหญ่ของสภาทนายความ เป็นบทบัญญัติในหมวด 5 ของพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2528 ซึ่งก�ำหนดให้คณะกรรมการต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี โดยจัดปีละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนเมษายนของทุกปี ซึ่งในปีนี้ได้ก�ำหนดขึ้นในวันเสาร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2560

ทัศไนย ไชยแขวง การประชุมใหญ่สามัญนั้น เป็นการน�ำเสนองบดุลประจ�ำปีเพื่อพิจารณารับรองและการแถลงถึง บรรณาธิการบริหาร ผลงานทีผ่ า่ นมาของคณะกรรมการสภาทนายความ รวมถึงการชีแ้ จงและตอบข้อซักถามของเหล่าสมาชิก ซึ่งในวันนั้นบรรยากาศก็มีความเป็นกันเองตามประสาพี่ๆ น้องๆ ทนายความ หนักนิดเบาหน่อยก็อยู่ในวิสัยที่รับได้ และให้อภัยกันไปตามวิธีทาง ประชาธิปไตย ส่วนรายละเอียดในการประชุมก็คงจะได้รับการเผยแพร่ในโอกาสต่อไป จดหมายข่าวฯ ฉบับนี้ อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย และกรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ทั้งสองท่าน ให้เกียรติอธิบายถึงนโยบายงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย “เชิงรุก” ซึ่งถือว่าเป็นนิมิตใหม่ในงานช่วยเหลือฯ ที่นายกสภาทนายความฯ ท่านได้ให้ความส�ำคัญมาโดยตลอด ทัง้ ต่อประชาชนทีต่ อ้ งได้รบั ประโยชน์จากการช่วยเหลือ และทนายอาสาผูท้ ำ� หน้าทีท่ จี่ ะต้องได้รบั ความคุม้ ครอง ดูแลจากสภาทนายความ ซึ่งต่อจากนี้ไปเพื่อนๆ สมาชิกคงจะได้เห็นความเปลี่ยนแปลงในงานช่วยเหลือฯ ที่เป็นรูปธรรมชัดเจนมากขึ้น ต่อจากหน้า

1

จากนั้ น เป็ น วาระการพิ จ ารณารั บ รองงบดุ ล รายรั บ รายจ่ายของสภาทนายความ โดยแบ่งเป็น 2 งบ คือ งบสภา ทนายความ และงบกองทุนช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ซึ่งสภาทนายความได้รับงบประมาณส่วนนี้จากรัฐบาล ในวาระนี้ สมาชิกฯ ได้ซักถามข้อสงสัยในหลายประเด็น รวมถึงให้ข้อสังเกต ในงบดุลหลายประการ ที่สุดแล้วนายกสภาทนายความได้ขอมติ ที่ประชุมลงคะแนนรับรองงบดุลทั้ง 2 งบ ดังนี้ 1. งบสภาทนายความ ทีป่ ระชุมมีมติเสียงข้างมากรับรอง ด้วยคะแนนเสียง 247 ต่อ 79 เสียง โดยมีเงื่อนไขจะรับข้อ ท้วงติงของสมาชิกฯ ในเรื่องงบดุลกลับไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป 2. งบกองทุนช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ที่ประชุมมีมติเสียงข้างมากรับรองด้วยคะแนนเสียง 372 ต่อ 30 ในการประชุมฯ ครั้งนี้ ที่ประชุมแต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชีคนใหม่ ได้แก่ นายพัฒนา บุญสุข ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 6387 ซึ่งเสนอค่าตอบแทนในการตรวจสอบบัญชี เป็นเงินจ�ำนวน 99,000 บาท ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ เห็นชอบในการแต่งตั้งนายพัฒนาฯ เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีสภาทนายความ พ.ศ. 2560 (มกราคม-ธันวาคม 2560) นอกจากนี​ี้ ยังเป็นการแถลงผลการด�ำเนินงาน (กันยายน 2559-มีนาคม 2560) ในสายงานต่างๆ โดยนายกสภาทนายความเป็นผู้แถลง ต่อที่ประชุม มีการกล่าวถึงผลงานที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จตามนโยบาย ผลการด�ำเนินงานในรอบระยะเวลา 6 เดือน และแผนการด�ำเนินงานใน อนาคตที่จะเร่งผลักดันงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย งานด้านวิชาการเพื่อการพัฒนาและยกระดับวิชาชีพทนายความให้มีความพร้อมใน การให้บริการประชาชน การของบประมาณจากรัฐบาล รวมถึงรักษาคุณภาพมาตรฐานการอบรมวิชาว่าความของส�ำนักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่ง สภาทนายความด้วย จากนั้น ในวาระอื่นๆ ก่อนจะเสร็จสิ้นการประชุม สมาชิกทนายความได้สอบถามและมีข้อเสนอแนะต่อการบริหารงานของคณะกรรมการ บริหารสภาทนายความในประเด็นต่างๆ โดยนายกสภาทนายความได้มกี ารตอบข้อซักถามและรับข้อเสนอแนะในประเด็นต่าง ๆ เกีย่ วกับการบริหาร งานของสภาทนายความจากสมาชิกฯ ไว้พิจารณา โดยเฉพาะข้อซักถามเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างอาคารที่ท�ำการสภาทนายความแห่งใหม่ ทั้งนี้ การประชุมด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และปิดการประชุมในเวลา 20.00 น. โดยประมาณ.


จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

3

สั ม ภาษณ์ พ ิ เ ศษ

สภาทนายความ เตรียมผลักดัน งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายเชิงรุก ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ “สภาทนายความ” ได้ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2528 และ เริม่ มีสำ� นักงานคณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ขึน้ ในปี พ.ศ. 2529 เพือ่ รองรับงานด้านการให้ความช่วยเหลือประชา ชาชนทางกฎหมายตามวัตถุประสงค์หลักของการก่อตั้ง “สภาทนายความ” คือ นอกจากเป็นหน่วยงานที่ดูแลและให้บริการเกี่ยวกับ วิชาชีพทนายความแล้ว ยังเป็นองค์กรหนึง่ ในกระบวนการยุตธิ รรมทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ผู้ยากไร้และไม่ได้รับความเป็นธรรม ให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ปัจจุบันงานด้านการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความยังคงเป็นที่พึ่งที่หวังของประชาชนผู้ได้รับความ เดือดร้อน มีอรรถคดี ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากเรื่องราวต่างๆ เข้ามาขอความช่วยเหลือฯ โดยตลอดปรากฏเป็นรูปธรรมชัดเจนเรื่อยมา นอกจากนี้ ผู้บริหารสภาทนายความยุคปัจจุบันยังให้ความส�ำคัญในการผลักดันงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายให้เป็นไปในแบบเชิงรุก มากขึ้น เข้าหาประชาชนในท้องที่ต่างๆ มากขึ้น ทั้งให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย ตลอดถึงการให้ความช่วยเหลือเยียวยาเบื้องต้น ซึ่งจดหมายข่าว สภาทนายความฉบับนี้ ได้รับเกียรติจาก นายเสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย, นางสาวเสาวรียา ไชยยังธัญทวี กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย และ นายเกียรติศกั ดิ์ เหลืองอังกูร กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับนโยบายการด�ำเนินงานให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความในยุคเปลี่ยนแปลง ดังนี้ นายเสาวภั ก ดิ์ สกุ ล โรมวิ ล าส อุ ป นายกฝ่ า ยช่ ว ยเหลื อ ประชาชนทางกฎหมาย ให้สัมภาษณ์ถึง มุมมองส่วนตัวเกี่ยวกับภาพ รวมนโยบายการด�ำเนินงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของ สภาทนายความ ว่า “สภาทนายความเป็นองค์กรๆ หนึง่ ทีม่ ผี ปู้ ระกอบวิชาชีพกฎหมาย ที่มีความส�ำคัญและเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการยุติธรรมตามพระราช บัญญัตทิ นายความ พ.ศ.2528 ในขณะนี้ ซึง่ ตามพระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ. 2528 มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญในการให้บริการสาธารณะทางด้าน กฎหมายตามมาตรา 7 (5) คือการส่งเสริม ช่วยเหลือ แนะน�ำ เผยแพร่ และ การให้การศึกษาแก่ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย โดยรัฐได้จัดสรร งบประมาณประเภทเงินอุดหนุน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการให้ ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายแก่สภาทนายความ ผ่านกระทรวง ยุติธรรม เป็นประจ�ำทุกปี จากภารกิจส�ำคัญในการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ของสภาทนายความทีม่ ขี อบเขตรับผิดชอบคลอบคลุมทุกเขตอ�ำนาจของศาล จังหวัดทั่วราชอาณาจักร เมื่อพิจารณาจากงบประมาณประเภทเงินอุดหนุน ดังกล่าวที่ได้รับจากภาครัฐ ซึ่งเป็นภาษีจากรายได้ของพี่น้องประชาชนคน ไทยทุกคน และอีกส่วนหนึ่งก็จะเป็นรายได้หรือเงินจากทนายความ ดังนั้น เงินทุกบาททุกสตางค์ของเงินงบประมาณดังกล่าวที่ได้รับมา เราจะต้องใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ และในขณะเดียวกันเราก็จะต้องค�ำนึงถึง ประชาชนผู้ที่อยู่ในฐานะเสียเปรียบและด้อยโอกาส ซึ่งเป็นประชาชน ส่ ว นใหญ่ ข องประเทศ เพื่ อ ให้ เขาเหล่ า นั้ น ได้ มี โ อกาสในการเข้ า ถึ ง กระบวนการยุติธรรมให้ได้ประโยชน์มากที่สุด และท�ำให้เกิดความสมดุล กับงบประมาณที่มีอยู่ให้ได้ผลมากที่สุดเท่าที่จะสามารถด�ำเนินการได้ เช่นกัน ทัง้ นีว้ ตั ถุประสงค์กเ็ พือ่ ให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์สงู สุดอย่างทีไ่ ด้ เรียนมาข้างต้น”

นอกจากนี้ อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ยังกล่าวถึง บทบาทการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายสภา ทนายความในปัจจุบนั ว่า “จากภารกิจและหน้าทีต่ ามวัตถุประสงค์ ของสภาทนายความ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 ดังกล่าว แม้องค์กรสภาทนายความจะไม่ได้มีสถานะเป็นหน่วยงาน ของรัฐอย่างเช่นองค์กรอื่นในกระบวนการยุติธรรมก็ตาม แต่ถือได้ว่า สภาทนายความเป็นองค์กรที่ใช้อ�ำนาจทางการปกครองในการท�ำ หน้าที่แทนรัฐ อาทิเช่น การควบคุมมรรยาททนายความ และการให้ ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย เป็นต้น ทัง้ นี้ โดยลักษณะของ องค์กรที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมายโดยตรง จึงอยู่ในสถานะ ที่สามารถด�ำเนินการได้มากกว่าภาครัฐ ซึ่งบทบาทของการให้ความ ช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนของสภาทนายความปัจจุบันจึง เป็นที่ประจักษ์ในสังคม และจะถูกบรรจุอยู่ในกฎหมายต่างๆ หรือ การด�ำเนินงานของภาครัฐเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน


4

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

ส่วนของกระทรวงยุติธรรม การด�ำเนินงานโดยหลักการได้มีการจัดท�ำ โครงการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายให้สอดคล้องกับการ พัฒนาสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งประกอบด้วย 1. ส�ำนักงานคณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย (ฝ่ายคดี) 2. ส�ำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 3. ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการสิทธิมนุษยชน 4. ส�ำนักงานคดีปกครอง 5. ส�ำนักระงับข้อ พิพาททางเลือก (ศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท) 6. ส�ำนักงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 7. โครงการทนายความอาสาประจ�ำส่วนราชการ 8. โครงการเผยแพร่ ความรูท้ างกฎหมาย 9. โครงการพัฒนาบุคลากร และ 10. ศูนย์นติ ธิ รรม สมานฉันท์ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้ นโยบายการกระจายอ�ำนาจการบริการงานช่วย เหลือประชาชนทางกฎหมายสูส่ ว่ นภูมภิ าค นัน้ นายเสาวภักดิ์ กล่าว ว่า “ต้องอาศัยหลักการท�ำงานด้านการให้ความช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมาย ภายใต้ขอ้ บังคับสภาทนายความว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย พ.ศ.2529 ซึ่งก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ดังนั้น ใน หลักการแล้วกรณีมมี ลู เหตุหรือมูลคดีเกิดขึน้ ในส่วนกลางนัน้ ส่วน กลางจะได้ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือ ส่วนกรณีมูลเหตุหรือมูลคดี เกิดในส่วนภูมิภาคต่างๆ แต่ละจังหวัดจะมีคณะกรรมการช่วยเหลือฯ ประจ�ำจังหวัดรับผิดชอบ โดยมีประธานสภาทนายความจังหวัด เป็น ประธานฯ เรื่องก็จะถูกส่งให้จังหวัดด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือฯ และ กรณีเรือ่ งมูลคดี หากมีเหตุและพฤติการณ์พเิ ศษ ทางคณะกรรมการช่วย เหลือประชาชนทางกฎหมายจะมีการแต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อรับผิดชอบ ในการท�ำงานอย่างบูรณาการร่วมกันระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค อีกด้วย” จะเห็ น ได้ ว ่ า การท� ำ งานให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชนทาง กฎหมายของสภาทนายความนั้น ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ความ สามารถเข้ า มาเป็ น ทนายความอาสาของสภาทนายความ ซึ่ ง สภา ทนายความให้ความส�ำคัญในการพัฒนาศักยภาพทนายความอาสา ของสภาทนายความเพื่อรับใช้ประชาชน มีการปรับกลยุทธ์ใน การสร้างบุคลากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยนายเสาวภักดิ์ กล่าวว่า “ในส่วนของการพัฒนาศักยภาพทนายความเพือ่ รับใช้ประชาชน ซึ่งปัจจุบันเรื่องที่ได้รับการขอรับความช่วยเหลือฯ มีเป็นจ�ำนวนมาก และมีความหลากหลายในส่วนของคดีตา่ ง ๆ จึงได้มกี ารด�ำเนินการและ แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทนายความ กล่าวคือ 1. การอบรมเสริม สร้างกฎหมายใหม่ 2. การปรับวิธีและแนวทางในการปฏิบัติงาน และ 3. การสร้างขวัญก�ำลังใจ และมูลเหตุจูงใจ 1. การอบรมเสริมสร้างกฎหมายใหม่ โดยมีการจัดอบรม สัมมนากฎหมายใหม่ต่างๆ ให้กับทนายความอาสาอย่างต่อเนื่องและ เป็นระยะเพือ่ เป็นการเพิม่ ความรูท้ กั ษะในการปฏิบตั งิ านน�ำเอาไปใช้ใน การให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย 2. การปรับวิธีและแนวทางในการปฏิบัติงาน โดยมีการ ปรับแนวทางในการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายภายใต้ หลักการ “เข้าหา” การเข้าหาประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อนทาง กฎหมาย, “เข้าใจ” การให้ความปรึกษาทางกฎหมายให้ประชาชนรูแ้ ละ เข้าใจถึงสิทธิหน้าทีข่ องตนเองตามกฎหมายก�ำหนด และ “เข้าถึง” การ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายให้ประชาชนได้ใช้สิทธิในการเข้าถึง กระบวนการยุติธรรม”

ทั้งนี้ นายเสาวภักดิ์ ยังกล่าวเพิ่มเติมว่า “ยุทธศาสตร์ในการ สร้างบุคลากรในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้มีการของบประมาณ อุดหนุนจากรัฐบาลประเภทงบบูรณาการจ�ำนวน 3.6 ล้านบาท เพื่อน�ำ มาจัดด�ำเนินการอบรมและเพิ่มศักยภาพบุคลากรทนายความอาสา เป็นการเฉพาะ” นอกจากอุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายแล้ว สภาทนายความยังมี “กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมาย” อีก 2 ท่าน คือ ท่านแรก นางสาวเสาวรียา ไชยยังธัญ ทวี และท่านที่สอง นายเกียรติศักดิ์ เหลืองอังกูร ซึ่งในโอกาสนี้ กองบรรณาธิการจดหมายข่าวสภาทนายความ ได้สัมภาษณ์ถึงภารกิจ งานในหน้าที่และแนวคิดในการผลักดันงานช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมายของสภาทนายความ มาน�ำเสนอดังนี้

นางสาวเสาวรียา ไชยยังธัญทวี กรรมการฝ่ายช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย ซึ่งเป็นผู้หญิงคนเดียวในคณะกรรมการบริหาร สภาทนายความชุดปัจจุบัน (ปี 2559-2562) มีบทบาทหน้าที่หลักใน การดูแลงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายทัว่ ประเทศ โดยเฉพาะงาน ให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายในส่วนกลาง ซึง่ ส่วนใหญ่เป็น งานคดีและการรับเรื่องราวร้องทุกที่ประชาชนเข้ามาขอความช่วยเหลือ ทางกฎหมายจากสภาทนายความในทุกๆ วัน เช่น งานให้คำ� ปรึกษาทาง กฎหมาย มีการจัดทนายความอาสาเพือ่ สอบถามข้อมูลข้อเท็จจริงต่างๆ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือเบือ้ งต้นภายใต้กรอบทีส่ ามารถด�ำเนินการ ได้เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนและเยียวยาความทุกข์ของชาวบ้านได้ อย่างทันท่วงที โดยนางสาวเสาวรียา กล่าวว่า “ในการรองรับงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย นั้น ปัจจุบนั ไม่อยากให้สภาทนายความจ�ำกัดรูปแบบงานอยูแ่ ค่เพียงการรอ รับเรื่องร้องขอความช่วยเหลือจากชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อนเป็น คดีความแล้วเท่านัน้ หรือแค่เพียงรอให้คำ� ปรึกษาทางกฎหมายเบือ้ งต้น เพียงอย่างเดียว ไม่อยากให้ชว่ ยเหลือเพียงแค่กรณีทค่ี ดีเข้าสูก่ ระบวนการ ทางศาล อันเป็นเสมือนปลายเหตุของการเข้าไปแก้ไขปัญหา เพราะ ยังมีประชาชนจ�ำนวนมากที่ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาต่างๆ และต้องการความช่วยเหลือทางกฎหมายเบื้องต้นอย่างทันท่วงที ก่อน เข้าสู่กระบวนการทางศาล และยังมีประชาชนอีกมากมายที่หวังว่า สภาทนายความเป็นที่พึ่งและสามารถให้ความช่วยเหลือในปัญหา ความเดือดร้อนของเขาเหล่านั้นได้ทันที อ่านต่อหน้า

9


จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

5

บทความพิ เ ศษ โดย วาทิน หนูเกื้อ1

ข้อคิดเห็นต่อการแก้ไขเพิ่มเติม

“กฎหมายแรงงานสัมพันธ์” ด้วยกระทรวงแรงงานได้เสนอร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์.... พ.ศ..... เพื่อทดแทน พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ที่ใช้บังคับมาเป็นเวลานานและไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ ในปัจจุบันโดยเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมหลักการในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 หลายประการซึ่งผู้เกี่ยวข้องกับร่างฯกฎหมายฉบับนี้ ทั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน สภาองค์การนายจ้าง สภาองค์การลูกจ้าง ฯลฯ ได้ท�ำการวิพากษ์ระดมความคิดเห็นไปแล้วหลายครั้ง ผูเ้ ขียนเป็นบุคคลหนึง่ ทีไ่ ด้รบั เชิญให้เข้าร่วมวิพากษ์ดงั กล่าวหลายครัง้ ด้วยเช่นกัน ดังนัน้ จึงใคร่ขอเสนอความคิดเห็นเกีย่ วกับร่างพระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ์ที่ได้ด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้ด้วย เพื่อเป็นแนวคิดหนึ่งส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องจะได้น�ำไปพิจารณาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป บทความนี้จะท�ำการพิจารณาวิพากษ์เฉพาะประเด็นที่เห็นว่า มีปัญหาโดยแบ่งออกเป็น 6 ประเด็น คือ เรื่องหลักการและเหตุผล เรื่อง ระยะเวลาในการยืน่ ข้อเรียกร้อง เรือ่ งการยืน่ ข้อเรียกร้องโดยลูกจ้าง เรือ่ ง คุณสมบัติของสมาชิกสหภาพแรงงาน เรื่องคุณสมบัติของกรรมการ สหภาพแรงงาน และเรื่องการกระท�ำอันไม่เป็นธรรม ดังนี้ ประเด็นแรก เรื่อง หลักการและเหตุผล การที่ ใ นหลั ก การและเหตุ ผ ลของร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ แรงงานสัมพันธ์ เขียนว่า “…… เพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาของ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 ……”2 นั้น หมายความว่า ประเทศไทยได้เตรียมกฎหมายฉบับนี้ไว้เพื่อรับรอง อนุสัญญาดังกล่าวใช่หรือไม่ ถ้าเป็นอย่างนั้น บทบัญญัติต่างๆ ในร่าง พระราชบัญญัติฉบับนี้ต้องสอดคล้องกับอนุสัญญาฯทั้งสองฉบับ และ หากบทบัญญัตใิ นมาตราใดไม่สอดคล้องก็ตอ้ งแก้ไขให้สอดคล้องกันตาม หลักการและเหตุผลที่ได้เขียนไว้ แต่เท่าที่พิจารณาดูเห็นว่าในร่างฯ ฉบับนีม้ อี ยูห่ ลายมาตราทีไ่ ม่สอดคล้องกับอนุสญ ั ญาทัง้ 2 ฉบับ ตัวอย่าง เช่น การจ�ำกัดสิทธิในการรวมตัวกันของลูกจ้างที่ไม่ได้มีสัญชาติไทย ตามมาตรา 91 “ลูกจ้างที่มีสัญชาติไทย บรรลุนิติภาวะ จ�ำนวนไม่น้อย กว่าสิบคนมีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานได้ โดยยื่นค�ำขอรับใบส�ำคัญ รับรองการจัดตั้งสหภาพแรงงานต่ออธิบดี พร้อมด้วยข้อบังคับของ สหภาพแรงงาน ....” เป็นต้น ดังนั้น ถ้าต้องการคงบทบัญญัติต่างๆ ไว้ตามร่างฯ เดิม จะ ต้องเขียนหลักการและเหตุผลเสียใหม่ เพื่อไม่ให้ไปผูกพันกับการับรอง อนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับข้างต้น 1

กศ.บ.,น.บ.,น.บ.ท.,น.ม.(กฎหมายอาญา)(ธรรมศาสตร์) หัวหน้าสาขาวิชานิตศิ าสตร์ คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี,กรรมการสายงานแรงงานและสายกฎหมาย สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2 อนุสญ ั ญาแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุม้ ครอง สิทธิในการรวมตัว ส่วนฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรองร่วม

ประเด็นที่ 2 เรื่อง ระยะเวลาในการยื่นข้อเรียกร้อง ในร่างฯ ได้บัญญัติก�ำหนดระยะเวลาการยื่นข้อเรียกร้องไว้ใน มาตรา 14 วรรคสอง “การเรียกร้องให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้าง นายจ้างหรือลูกจ้างต้องแจ้งข้อเรียกร้องภายในระยะเวลา หกสิบวันก่อนวันทีข่ อ้ ตกลงเกีย่ วกับสภาพการจ้างเดิมจะสิน้ สุดลง เว้นแต่ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเดิมได้ก�ำหนดระยะเวลาการแจ้งข้อเรียก ร้องไว้เป็นอย่างอื่น” อันเป็นเรื่องที่ดีที่ได้ก�ำหนดระยะเวลาในการยื่น ข้อเรียกร้องซึ่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบันไม่ได้ก�ำหนดไว้ แต่สมควรก�ำหนดให้ชัดเจนกว่านั้นตามแนว ปฏิบัติของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน คือ ภายในระยะเวลา หกสิบถึงสามสิบ วันก่อนวันที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจ้างเดิมจะสิ้นสุดลง ทั้งนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่รับข้อเรียกร้องได้ มีระยะเวลาในการพิจารณายื่นข้อเรียกร้องได้เช่นเดียวกัน ประเด็นที่ 3 เรื่อง การยื่นข้อเรียกร้องโดยลูกจ้าง ตามที่บัญญัติไว้ในร่างฯ มาตรา 14 วรรคสี่ “ในกรณีที่ลูกจ้าง เป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ข้อเรียกร้องนั้นต้องมีรายชื่อและลายมือชื่อ ของลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องไม่น้อยกว่าร้อยละสิบห้าของ ลูกจ้างทั้งหมดซึ่งเกี่ยวข้องกับ ข้อเรียกร้องนั้นในวันที่แจ้งข้อเรียกร้อง ถ้าลูกจ้างได้เลือกตั้ง ผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจาไว้แล้ว ให้ระบุชื่อผู้แทนผู้เข้าร่วมใน การเจรจาจ�ำนวนไม่เกินเจ็ดคน พร้อมกับการแจ้งข้อเรียกร้องด้วย ถ้าลูกจ้างยังมิได้เลือกตั้งผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา ให้ลูกจ้าง เลื อ กตั้ ง ผู ้ แ ทนเป็ น ผู ้ เข้ า ร่ ว มในการเจรจาและระบุ ชื่ อ ผู ้ แ ทนผู ้ เข้ า ร่วมในการเจรจาจ�ำนวนไม่เกินเจ็ดคนโดยมิชักช้า ทั้งนี้ ข้อเรียกร้องที่ ลูกจ้างได้แจ้งไว้แล้วย่อมไม่เสียไป แม้ภายหลังจะมีเหตุท�ำให้รายชื่อ และลายมือชื่อของลูกจ้างมีไม่ถึงร้อยละสิบห้าของลูกจ้างทั้งหมดซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง”


6

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

จะเห็นได้วา่ บทบัญญัตใิ นตอนท้ายทีว่ า่ “.....ทัง้ นี้ ข้อเรียกร้อง ที่ลูกจ้างได้แจ้งไว้แล้วย่อมไม่เสียไป แม้ภายหลังจะมีเหตุท�ำให้รายชื่อ และลายมือชื่อของลูกจ้างมีไม่ถึงร้อยละสิบห้าของลูกจ้างทั้งหมดซึ่ง เกีย่ วข้องกับข้อเรียกร้อง” นัน้ เป็นการบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมจากหลักการ เดิม ซึ่งศาลฎีกาได้เคยวินิจฉัยตีความไว้ดังนี้ ค�ำพิพากษาฎีกาที่ 3415/2525 “การยืน่ ข้อเรียกร้องของ ลู ก จ้ า งต้ อ งเป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารตามพระราชบั ญ ญั ติ แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 13 โดยจ�ำนวนลูกจ้างจะต้องมีอยู่ ครบจ�ำนวนทีก่ ฎหมายก�ำหนดไว้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิบห้า หาใช่อยูค่ รบ จ�ำนวนเพียงเฉพาะในวันยื่นข้อเรียกร้องไม่ การที่ลูกจ้างผู้สนับสนุนข้อ เรียกร้องไม่ครบร้อยละสิบห้าของลูกจ้างซึง่ เกีย่ วข้องกับข้อเรียกร้อง ตาม มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 นัน้ ข้อพิพาท นี้สิ้นสภาพลงนับแต่วันที่ลูกจ้างผู้สนับสนุนข้อเรียกร้องไม่ครบจ�ำนวน ตามกฎหมาย” และ ค�ำพิพากษาฎีกาที่ 2607-2608/2527 “เมือ่ ลูกจ้างกับ พวกยื่นข้อเรียกร้องต่อนายจ้างโดยมีลายมือชื่อไม่ครบตามพระราช บัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 13 ต่อมามีลายมือชื่อเพิ่ม ขึ้นก็หาท�ำให้ข้อเรียกร้องดังกล่าวถูกต้องตามกฎหมายไม่....” อันเป็นการวินิจฉัยตีความกฎหมายตามหลักทั่วไป คือเมื่อ กฎหมายก�ำหนดจ�ำนวนลูกจ้างที่รวมตัวกันยื่นข้อเรียกร้องไว้จ�ำนวน เท่าใด จ�ำนวนลูกจ้างจะต้องมีอยู่ครบตามจ�ำนวนที่กฎหมายก�ำหนดไว้ ตลอดระยะเวลาที่ข้อเรียกร้องนั้นมีผลอยู่ ไม่ใช่มีอยู่ครบจ�ำนวนเฉพาะ วันทีย่ นื่ เท่านัน้ ดังนัน้ การบัญญัตใิ ห้ขอ้ เรียกร้องไม่ตกไป แม้ตอ่ มาภาย หลังจะมีจำ� นวนลูกจ้างไม่ครบตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดนัน้ ถือว่าเป็นการ บัญญัติกฎหมายที่ขัดกับหลักทั่วไปของการตีความและเจตนารมณ์ของ กฎหมาย เกิดปัญหาในการใช้และการตีความกฎหมายของศาลอย่าง แน่นอน จึงไม่เห็นด้วยทีจ่ ะแก้ไขเพิม่ เติมในประเด็นนีส้ มควรคงหลักการ เดิมตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ฯ ไว้

กิจการเดียวกันกับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน ซึ่งจะเกิดปัญหาใน ความผูกพันของลูกจ้างที่มีต่อข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจาก การยื่นข้อเรียกร้องโดยสหภาพแรงงาน เพราะข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจ้างย่อมมีผลผูกพันนายจ้างและลูกจ้างคนเดียวกันหรือประเภท กิจการเดียวกันที่มีส่วนร่วมในการยื่นข้อเรียกร้อง3 แต่ในกรณีที่สมาชิก สหภาพแรงงานไม่ใช่ลูกจ้างที่มีนายจ้างคนเดียวกันหรือประเภทกิจการ เดียวกันนั้น จะท�ำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างอย่างไรจึงจะผูกพัน สมาชิกสหภาพแรงงานทุกคนทีม่ นี ายจ้างต่างกันและต่างประเภทกิจการ กัน จึงเห็นว่าในประเด็นนี้สมควรคงหลักการเดิมตามพระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ไว้ ประเด็นที่ 5 เรื่องคุณสมบัติของกรรมการ

กรรมการสหภาพแรงงาน ตามพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ที่ ใช้ อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ก� ำ หนดคุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการ สหภาพแรงงานไว้ใน มาตรา 101 “ผู้ซึ่งจะได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็น กรรมการ หรืออนุกรรมการตามมาตรา 100 ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ (1) เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานนั้น (2) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (3) มีอายุไม่ต�่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์” แต่ในร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ... ได้ยกเลิก การก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการสหภาพแรงงานแล้วบัญญัติให้สิทธิ ลูกจ้างต่างด้าวเป็นกรรมการสหภาพแรงงานได้ไม่เกินหนึ่งในห้าของ กรรมการทั้งหมดใน มาตรา 101 วรรคสอง “กรณีสหภาพแรงงานมีสมาชิกเป็นลูกจ้างต่างด้าวรวมอยู่ ด้วย ให้ลกู จ้างต่างด้าวมีสทิ ธิเป็นคณะกรรมการสหภาพแรงงานจ�ำนวน ไม่เกินหนึ่งในห้าของกรรมการทั้งหมด” ผู้เขียนเห็นว่า การก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการสหภาพ แรงงานไว้ตามกฎหมายเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้น ดีอยู่แล้ว เพราะ ประการที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสมาชิก เป็นการก�ำหนดคุณสมบัติของผู้บริหารนิติบุคคลของประเทศไทยเพื่อ สมาชิกสหภาพแรงงานพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ความมั่นคงของชาติ และประเทศอื่นๆ ก็คงจะท�ำเช่นเดียวกัน ไม่ใช่ 2518 มาตรา 95 บัญญัติว่า “ผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานได้ เป็นการเลือกปฏิบัติดังที่หลายฝ่ายเข้าใจเพราะลูกจ้างต่างด้าวก็ย่อมมี จะต้ อ งเป็ น ลู ก จ้ า งของนายจ้ า งคนเดี ย วกั น กั บ ผู ้ ข อจดทะเบี ย น สิทธิที่จะได้รับเลือกให้เป็นผู้แทนลูกจ้างในการเป็นกรรมการสวัสดิการ ญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 สหภาพแรงงานหรือเป็นลูกจ้างซึ่งท�ำงานในกิจการประเภทเดียวกัน ในสถานประกอบกิจการตามพระราชบั 4 กับผู้ขอจดทะเบียนสหภาพแรงงาน และมีอายุตั้งแต่สิบห้าปีขึ้นไป” มาตรา 96 ได้อยู่แล้ว ไม่ใช่เป็นการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้างต่างด้าว แต่ในร่างที่แก้ไขใหม่ได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 96 ว่า “สมาชิกของ จึงเห็นสมควรให้คงหลักการเดิมตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ฯ ไว้ สหภาพแรงงานต้องเป็นลูกจ้าง และลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มี ประเด็นที่ 6 เรื่องการกระท�ำอันไม่เป็นธรรม อ�ำนาจในการจ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้างการให้บ�ำเหน็จหรือการ ลงโทษ จะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งหรือเป็น ในกรณีของการกระท�ำอันไม่เป็นธรรมนัน้ ตามพระราชบัญญัติ สมาชิกอยูไ่ ม่ได้ และลูกจ้างอืน่ จะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานทีล่ กู จ้าง แรงงานสัมพันธ์ฯทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ได้บญ ั ญัติไว้ สามมาตรา คือ มาตรา ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาดังกล่าวได้จัดตั้งขึ้นหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้” อัน 121,มาตรา122 และมาตรา 123 เป็นการห้ามนายจ้างไม่ให้กระท�ำ เป็ น การบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นแปลงหลั ก การเดิ ม ให้ ลู ก จ้ า งที่ เ ป็ น สมาชิ ก 2 มาตรา คือมาตรา 121 กับ มาตรา 123 และห้ามบุคคลอื่นเพียง สหภาพแรงงานไม่ต้องเป็นลูกจ้างของนายจ้างเดียวกันหรือประเภท 1 มาตรา คือ มาตรา 122 แต่ตามร่างฯ มีการแก้ไขเพิม่ เติมห้ามนายจ้าง เพิ่มขึ้นทั้ง 2 มาตรา โดยไม่แก้ไขเพิ่มเติมในมาตรา 122 จึงเห็นควร 3 ดู พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 19 พิจารณาดังนี้ 4 พ.ร.บ. คุ้มครองฯ มาตรา 96 “ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มคี ณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วยผูแ้ ทนฝ่าย ลูกจ้างอย่างน้อยห้าคน..........”


จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

1. ในมาตรา 121 เพิ่มเติมข้อห้ามขึ้นอีก 2 กรณี คือ กรณี กระท�ำการหรือก�ำลังจะกระท�ำการ จัดตัง้ สหภาพแรงงาน กรณีหนึง่ และ กรณีการใช้สิทธิปิดงานแก่ลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเป็นบาง ส่วน หรือบางคนอันเป็นการเลือกปฏิบัติอีกกรณีหนึ่ง5 ซึ่งในกรณีแรกผู้ เขียนเห็นพ้องด้วยเพราะลูกจ้างจะได้ด�ำเนินการอย่างเปิดเผยในการใช้ สิทธิการจัดตัง้ สหภาพแรงงาน แต่กรณีทสี่ องเรือ่ งการใช้สทิ ธิปดิ งานนัน้ เห็นว่าเป็นการบัญญัติไว้เพื่อห้ามนายจ้างมากเกินไปและเป็นปัญหาใน การตีความตีความ กฎหมายเพราะไม่ทราบว่ากรณีเช่นใดจึงจะถือว่า เป็นการเลือกปฏิบัติ จึงเห็นควรให้ตัดกรณีนี้ออก

7

มาตรา 127 ห้ามผู้ใด (1) บังคับ หรือขู่เข็ญโดยทางตรง หรือทางอ้อม ให้ลูกจ้าง ต้องเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรื อ ต้ อ งออกจากการเป็ น สมาชิ ก สหภาพแรงงาน (2) กระท�ำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้นายจ้างฝ่าฝืนมาตรา 126 (3) กระท�ำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้นายจ้างหรือลูกจ้าง ปฏิเสธการเข้าร่วมเจรจาต่อรองร่วมโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

โดยสรุป ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ...... ได้ 2. ในมาตรา 123 เพิ่มเติมข้อห้ามในกรณีที่ไม่จ�ำเป็นต้องยื่น แก้ไขเพิม่ เดิมให้ดขี นึ้ สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบนั หลายประการ ข้อเรียกร้องเพราะต้องการให้ข้อเรียกร้องเดิมมีผลใช้บังคับต่อไป โดย โดยเฉพาะการแก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาและขั้นตอนในการฟ้องเพิกถอน ลูกจ้างที่เกี่ยวกับข้อเรียกร้องก็ยังได้รับความคุ้มครองอยู่เช่นเดิมซึ่ง ค�ำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับ บัญญัติไว้ในร่างฯ มาตรา 128 “ในระหว่างทีข่ อ้ ตกลงเกีย่ วกับสภาพการ กรณีการฟ้องเพิกถอนค�ำสัง่ พนักงานตรวจแรงงานตามกฎหมายคุม้ ครอง จ้างตามมาตรา 13 หรือค�ำชี้ขาดมีผลใช้บังคับ ห้ามนายจ้างเลิกจ้าง แรงงานนั้น ถือว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการ ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง เว้นแต่บุคคลดังกล่าวได้กระท�ำการ บังคับใช้กฎหมาย คงมีบ้างเพียงบางประเด็นดังที่ได้วิพากษ์ไว้ข้างต้น ที่ ดังต่อไปนี.้ ............” กรณีนผี้ เู้ ขียนเห็นพ้องด้วยเพราะจะท�ำให้การยืน่ ข้อ ผู้เกี่ยวข้องสมควรจะได้ด�ำเนินการพิจารณาทบทวนให้เกิดประโยชน์ เรียกร้องไม่จ�ำเป็นต้องกระท�ำทุกปีเมื่อต้องการให้ข้อเรียกร้องเดิมมีผล สูงสุดในการบัญญัติกฎหมายต่อไป. ใช้บงั คับต่อไปโดยลูกจ้างที่ เกีย่ วข้องกับการยืน่ ข้อเรียกร้องก็ไม่เสียสิทธิ ที่จะได้รับความคุ้มครองในเรื่องการ กระท�ำอันไม่เป็นธรรมอยู่เช่นเดิม 3. ในมาตรา 121 ไม่ได้บญ ั ญัตขิ อแก้ไขเพิม่ เติม ซึง่ ผูเ้ ขียนเห็น ว่าสมควรบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมในกรณีทเี่ ป็นการกระท�ำการใด ๆ อันอาจ เป็นผล ให้นายจ้างหรือลูกจ้างปฏิเสธการเจรจาต่อรองร่วมโดยไม่มีเหตุ อันสมควรด้วย ดังกรณีของกฎหมายต่างประเทศ เช่น รัฐบัญญัติว่าด้วย แรงงานสัมพันธ์แห่งชาติ ค.ศ. 1935 (The National Labor Relation Act 1935 (NLRA) ของสหรัฐอเมริกา6 โดยขอเพิ่มเติมในร่างฯ มาตรา 127 (3) ดังนี้

5

ร่างฯ มาตรา ๑๒๖ “ ห้ามนายจ้าง (๑) เลิกจ้างหรือกระท�ำการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนท�ำงานอยู่ต่อ ไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างหรือสหภาพแรงงาน แล้วแต่กรณี กระท�ำการหรือก�ำลังจะกระท�ำ การ ดังต่อไปนี้ (ก) จัดตั้งสหภาพแรงงาน .................. (๕) ใช้สิทธิปิดงานแก่ลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเป็นบางส่วน หรือบางคนอัน เป็นการเลือกปฏิบัติ “ 6 Article 158, The National Labor Relation Act 1935 (NLRA))

ร่วมไว้อาลัย : เมื่อวันจันทร์ที่ 3 เมษายน 2560 : นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบาย และแผนงาน/เลขาธิการสภาทนายความ ร่วมงานฌาปนกิจศพ นายบุญยอด ชัยบัณฑิตย์ อดีตประธานสภาทนายความจังหวัดกบินทร์บุรี ณ วัดเวฬุวนาราม (วัดบ้านไผ่) อ�ำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

ความร่วมมือองค์กรทางกฎหมายระหว่างประเทศ : นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ/ กรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ พร้อมด้วยนางสาวบัวระวงษ์ ทรัพย์ กิง่ ศาล อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับ Mr.Kenneth Kwa Second Secretary (Consular) from the Singapore Embassy in Bangkok ในโอกาสเดิ น ทางมาเยี่ ย มชมการ ด�ำเนินงานของสภาทนายความ และร่วมหารือเกี่ยวกับความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งองค์ ก รทางกฎหมายในประเทศสิ ง คโปร์ กั บ สภาทนายความ รวมถึงแนวทางในการจัดหารายชื่อทนายความ ที่มีความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษในส่วนภูมิภาค เพื่อให้ บริการแก่ชาวสิงคโปร์ ที่อาคารที่ท�ำการสภาทนายความ ถนน พหลโยธิน กรุงเทพมหานคร เมื่อเร็วๆ นี้

ช่วยเหลือสวัสดิการทนายความ : เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 : นาย นิทรารัตน์ แพทย์วงศ์ ประธานสภาทนายความ จังหวัดสมุทรสงคราม มอบเงินช่วยเหลือการ ฌาปนกิจสงเคราะห์ของนายเฉลิม ศรีทัตพันธ์ สมาชิ ก เลขที่ 2857/2555 จ� ำ นวนเงิ น 140,063.20 บาท ให้แก่ นายนริศร ศรีทตั พันธุ์ ทายาท


8

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

สภาทนายฯ เตือนประชาชนอย่าท�ำผิด ระบุจะอ้างไม่รู้กฎหมายไม่ได้

จากกระแส กรณีมีประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาว่า ประมวลกฎหมายอาญาได้มีการ แก้ ไขมาตราการบั ง คั บ คดี อ าญาและการก� ำ หนดโทษปรั บ ทางอาญาที่ เ พิ่ ม โทษปรั บ ในคดี ชาวบ้านๆ ให้สูงขึ้นเป็นสิบเท่า คือ พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2560 ที่มีสาระส�ำคัญ คือ แก้ไขมาตรา 99 โดยก�ำหนดให้การยึดทรัพย์สินหรืออายัด สิทธิเรียกร้องเพื่อใช้ค่าปรับหรือการกักขังแทนค่าปรับต้องกระท�ำภายใน 5 ปี นับแต่วันที่มี ค�ำพิพากษาถึงที่สุด ทั้งนี้เพื่อให้สอดรับกับการแก้ไขมาตรา 29 ที่ก�ำหนดให้สามารถอายัดสิทธิ เรียกร้องเพื่อใช้ค่าปรับนอกเหนือไปจากการยึดทรัพย์ด้วย และปรับอัตราส่วนโทษตามประมวล กฎหมายอาญาในหลายๆ มาตราที่ไม่เคยแก้ไขเลยให้เพิ่มขึ้น 10 เท่า ยกตัวอย่างเช่น จ�ำคุก ไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2,000 บาท ให้เป็นปรับไม่เกิน 20,000 บาท จ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับ ไม่เกิน 4,000 บาท ให้เป็นปรับไม่เกิน 40,000 บาท จะเป็นการสร้างภาระให้จ�ำเลยต้องหา เงินจ�ำนวนมากมาจ่ายค่าปรับ และหากไม่มีเงินก็ต้องนอนคุกยาวนานขึ้นกว่าเดิมหรือไม่นั้น ว่าที่พันตรี สมบัติ วงศ์ก�ำแหง อุปนายกฝ่ายบริหาร/โฆษก สภาทนายความ กล่ า วว่ า การบั ญ ญั ติ ก ฎหมายขึ้ น ใหม่ ดั ง กล่ า ว หมายความว่า เมื่อกฎหมายอาญามีการแก้ไขอัตราโทษใหม่ และศาลมี ค�ำพิพากษาให้มีโทษปรับแก่จ�ำเลยแล้ว ในการยึดทรัพย์สิน หรือการ อายัดทรัพย์สิน สิทธิเรียกร้องเพื่อใช้ค่าปรับตามค�ำพิพากษา หรือการ กักขังแทนค่าปรับตามค�ำพิพากษานั้น ถ้าฝ่ายเจ้าหน้าที่รัฐมิได้กระท�ำ ภายในก�ำหนด 5 ปี นับแต่วันที่มีการฟังค�ำพิพากษาถึงที่สุด ฝ่ายเจ้าหน้าที่รัฐก็จะยึดทรัพย์สิน อายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สิน กักขังแทนค่าปรับไม่ได้ ทั้งนี้ ตามมาตรา 29 ยังบัญญัติสอดคล้องกันอีกว่า “ผู้ใดต้องโทษปรับและไม่ช�ำระ ค่าปรับภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา ผู้นั้นจะต้องถูกยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับ หรือ มิฉะนั้นจะต้องถูกกักขังแทนค่าปรับ แต่ถ้าศาลเห็นเหตุอันควรสงสัยว่าผู้นั้นจะหลีกเลี่ยงไม่ ช�ำระค่าปรับ ศาลจะสั่งเรียกประกันหรือจะสั่งให้กักขังผู้นั้นแทนค่าปรับไปพลางก่อนก็ได้” นอกจากนี้ ยังมีมาตรา 30 วางหลักกฎหมายว่า ในการกักขังแทนค่าปรับ ให้ถือ “อัตรา สองร้อยบาทต่อหนึ่งวัน” และไม่ว่าในกรณีความผิดกระทงเดียวหรือหลายกระทงห้ามกักขัง เกินก�ำหนดหนึ่งปี เว้นแต่ในกรณีที่ศาลพิพากษาให้ปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทขึ้นไป ศาลจะสั่ง ให้กักขังแทนค่าปรับเป็นระยะเวลาเกินกว่าหนึ่งปีแต่ไม่เกินสองปีก็ได้

ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาจากมาตรา 29 และมาตรา 30 แล้ว ในกรณีจ�ำเลยถูกศาล พิพากษาลงโทษปรับและจ�ำเลยไม่มีค่าปรับ ต้องถูกกักขังและการถูกกักขังนั้นก็ให้คิดหักค่า ปรับได้วนั ละ 200 บาท ดังนัน้ การเพิม่ โทษปรับ ย่อมมีผลกระทบผู้ที่ไม่มีเงินช�ำระค่าปรับ ซึ่ง จะท�ำให้ระยะเวลาในการถูกกักขังยาวนานขึ้น แน่นอน แต่อย่างไรก็ตาม การกักขังแทนค่าปรับ ระยะเวลานานสุด (กรณีปรับถึง 8 หมื่นบาท) ก็ให้กักขังไม่เกิน 2 ปี ตนเห็นว่า การเพิ่มโทษ ตามกฎหมายอาญาที่ แ ก้ ไขใหม่ ค รั้ ง นี้ ไม่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เพิ่ ม ระยะเวลากั ก ขั ง แทน ค่าปรับ แต่มเี จตนารมณ์เพือ่ ปรับอัตราโทษปรับ ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพเศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บั น มากกว่า นอกจากนี้ โทษปรับลหุโทษซึ่งได้ แก้ไขไปก่อนหน้านีไ้ ด้ปรับอัตราโทษของลหุโทษ จากจ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1 พันบาท เป็นจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกิน 1 หมื่น บาทแล้ว เพิ่มขึ้น 10 เท่าตัว การแก้ไขครั้งนี้คง ใช้หลักการเดียวกัน เมื่อโทษหนักขึ้นประชาชน จึงไม่ควรท�ำผิดกฎหมาย ก่อนท�ำผิดกฎหมาย จึงต้องคิดให้รอบคอบเสียก่อน เพราะหากไม่มี เงินเสียค่าปรับ ก็จะโดนกักขัง หรือถูกยึดอายัด ทรั พ ย์ ไ ด้ แต่ ต ้ อ งไม่ เ กิ น 5 ปี นับ แต่วันมี ค�ำพิพากษาถึงที่สุด กรณีพบบ่อยและเป็นค�ำถามบ่อยครั้ง ว่า ชาวบ้านธรรมดาย่อมไม่รู้เรื่องว่าท�ำอะไร เป็นการผิดกฎหมาย และไม่รู้ว่ามีอัตราโทษ ปรับสูงจนจ่ายไม่ไหว ประเด็นนี้ว่าที่พันตรี สมบัติ กล่าวว่า ประชาชนจะอ้างว่าไม่รกู้ ฎหมาย เพื่ อ ไม่ ต ้ อ งรั บ โทษไม่ ไ ด้ แต่ อ าจเป็ น เหตุ บรรเทาโทษหรือลดโทษได้เท่านั้น. เชษฐ์ สุขสมเกษม : ข่าว

ความร่วมมือเพื่อพัฒนาสภาวิชาชีพระหว่างประเทศ : เมื่อวันจันทร์ที่ 8 พฤษภาคม 2560 ที่สภาทนายความ ถ.พหลโยธิน กรุงเทพฯ : ว่าทีร่ อ้ ยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภา ทนายความ พร้อมด้วย นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่าง ประเทศ/กรรมการประชาสัมพันธ์, นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน/เลขาธิการสภาทนายความ และ อนุกรรมการส�ำนักงานกิจการระหว่างประเทศ ร่วมให้การต้อนรับ Prof. Jean-Pierre Gasnier, Prof. Claide-Alberic Maetz, and Prof. David Bosco กรรมการสภาทนายความแห่ง MARSEILLE และอาจารย์ผู้สอนกฎหมายประจ�ำมหาวิทยาลัย Aix Marseille ประเทศฝรั่งเศส ในโอกาสเข้าพบอย่างเป็นทางการ เพื่อริเริ่มและ ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาความรูแ้ ละทักษะให้ทงั้ ด้านวิชาการ และวิชาชีพให้นักกฎหมายที่สนใจ อีกทั้งได้มีการหารือแลกเปลี่ยน ความเห็น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาสภาวิชาชีพเพื่อ ประโยชน์แก่นักกฎหมายของไทยในอนาคตอันใกล้


จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

ต่อจากหน้า 4 4 ประเด็นนีจ้ งึ เป็นเรือ่ งส�ำคัญและน่าสนใจ ทีด่ ฉิ นั ให้ความส�ำคัญ และต้องการผลักดันให้งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภา ทนายความ เป็นงานเชิงรุกอย่างบูรณาการร่วมกับภาคส่วนต่างๆ เพื่อ ลดขั้นตอน ลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล ด้วยการให้ความช่วยเหลือทาง กฎหมายแก่ประชาชนตั้งแต่ต้นทางของปัญหา แก้ไขแบบตรงไปตรงมา ตรงประเด็น เพราะการที่เราให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความ เดือดร้อนได้แบบทันที ไม่ว่าจะด้วยการช่วยแก้ไขข้อขัดข้องเบื้องต้นก็ดี ช่วยเป็นตัวกลางในการประสานงานกับหน่วยงานที่มีข้อพิพาทกับ ชาวบ้านก็ดี หรือช่วยเหลือให้เกิดการเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่างๆ หาทางออกร่วมกันให้ปญ ั หาต่างๆ คลีค่ ลายโดยไม่ตอ้ งเข้าสูก่ ารฟ้องคดี ก็ดี เหล่านี้เป็นการช่วยเหลือฯ แบบทันท่วงทีตั้งแต่ต้นทางของปัญหา ทั้งสิ้น เป็นรูปแบบการท�ำงานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายเชิงรุก อีกรูปแบบหนึ่งที่อาศัยการบูรณาการงานร่วมกัน ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชน์ ในการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนเป็นส�ำคัญ” นอกจากนี้ นางสาวเสาวรียา ยังกล่าวต่อไปอีกว่า “สภา ทนายความมีความพร้อมที่จะรองรับงานด้านการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย ทั้งด้านองค์ความรู้ และบุคลากรที่เพียงพอ ซึ่ง ขณะนี้เราเตรียมผลักดันงานช่วยเหลือฯ เชิงรุก ลงพื้นที่เข้าถึงประชาชน โดยตรง ทุ ก ท้ อ งที่ ไม่ ร อเพี ย งแค่ ใ ห้ ช าวบ้ า นเดิ น ทางมาขอความ ช่วยเหลือฯ แล้วจึงค่อยด�ำเนินงานเหมือนทีผ่ า่ นมา เราต้องเปิดช่องทาง ปรับกลยุทธ์เข้าหาประชาชนตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด จนมาสู่ส่วนกลาง เพื่อให้งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของ สภาทนายความเข้าถึงประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น อันเป็น แนวทางหนึ่งในการประชาสัมพันธ์องค์กรให้ประชาชนทราบบทบาท หน้าทีข่ องสภาทนายความ ได้ทราบว่าสภาทนายความสามารถช่วยเหลือ ทางกฎหมายด้านใดแก่ประชาชนได้บ้าง” “อีกประการหนึง่ คือ จะได้ลดปัญหาทีส่ มาชิกทนายความกล่าว กันว่าปัจจุบันสภาทนายความถูกแย่งบทบาทงานจากหน่วยงานใน องค์ ก รยุ ติ ธ รรมอื่ น ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้ า น กฎหมายแก่ประชาชนเช่นเดียวกัน หากสภาทนายความเน้นผลักดันงาน ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายแบบเชิงรุกอย่างจริงจัง เชื่อว่าเมื่อ ประชาชนที่ได้รับความช่วยเหลือจากสภาทนายความอย่างรวดเร็ว และ คลี่คลายปัญหาได้ถูกจุด จะเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้สภาทนายความเป็น องค์กรที่ประชาชนและสังคมให้ความมั่นใจ อีกทั้งยังเป็นการขยายงาน ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความ ให้เป็นทีร่ จู้ กั และ ยอมรับอย่างกว้างขวาง ส่วนในกรณีของประชาชนทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน และเข้าหลักเกณฑ์ยากไร้ไม่ได้รบั ความเป็นธรรมตามเงือ่ นไขของการให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมายของสภาทนายความ นัน้ จะมีคณะกรรมการ ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายเข้ามาช่วยกลัน่ กรองงานเพือ่ จัดตัง้ คณะ ท�ำงานในการช่วยเหลือทางคดีอกี ขัน้ ตอนหนึง่ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งของ การด�ำเนินกระบวนพิจารณาคดีในชัน้ ศาล ทัง้ ในคดีแพ่ง และคดีอาญา” นอกจากนัน้ นางสาวเสาวรียา ยังกล่าวถึงโครงการน�ำร่องทีจ่ ะ เริ่มด�ำเนินการต่อไปเพื่อให้เกิดกระบวนการให้ความช่วยเหลือทาง กฎหมายเชิงรุก ว่า “ต้องเริ่มโครงการลงพื้นที่เข้าถึงประชาชนเพื่อให้ ความรู้ทางกฎหมายไปพร้อมๆ กันกับการรับเรื่องราวร้องทุกข์ และจัด ทนายความอาสาให้ค�ำปรึกษาคลี่คลายปัญหาความเดือดร้อนเบื้องต้น

9

ณ พืน้ ทีน่ นั้ ๆ เลย ให้เป็นเสมือน One Stop Service เป็นหนึง่ ทางเลือก เพื่อเยียวยา สร้างความเชื่อมั่น และเพิ่มช่องทางการเข้าถึงความเป็น ธรรมแก่ประชาชนที่ทั่วถึงและเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นในอนาคต”

นายเกียรติศักดิ์ เหลืองอังกูร กรรมการฝ่ายช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย เป็นอีกท่านหนึง่ ทีเ่ ข้ามารับหน้าทีส่ ำ� คัญในการ ดูแลงานด้านการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายของสภา ทนายความ ซึง่ ท่านให้สมั ภาษณ์ถงึ บทบาทและหน้าทีใ่ นส่วนงานทีท่ า่ น ดูแล ว่า “ผมเชื่อว่าการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายเป็นบทบาท ส�ำคัญอีกบทบาทหนึ่งของสภาทนายความ ดังนั้นกรรมการทุกท่านจะ ต้องร่วมมือพัฒนางานส่วนนี้อย่างเต็มที่ บทบาทของผมในต�ำแหน่ง กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายนัน้ ครอบคลุมตัง้ แต่การ ช่วยกันวางแผนงานและลงพื้นที่จริง โดยผมรับผิดชอบงานช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมายในส่วนภูมิภาค ภาค 1 - 9 และยังรับผิดชอบ ดูแลงานในส่วนของศูนย์นิติธรรมสมานฉันท์ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นบทบาทส�ำคัญครับ” อีกประการส�ำคัญทีท่ า่ นเข้ามาดูแลงานช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมายฯ นั้น ท่านกล่าวถึงแนวความคิดในการพัฒนางานช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความให้เป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้น ว่า “การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย เป็นวัตถุประสงค์หลักของ สภาทนายความ เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีต่ อ้ งการการดูแลเอาใจใส่ และพัฒนา ปรั บ เปลี่ ย นอยู ่ เ สมอ แนวคิ ด ของผมในการพั ฒ นางานช่ ว ยเหลื อ ประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความนั้น ต้องเริ่มด้วยการพัฒนา ระบบงานภายในของสภาทนายความก่อน เมื่อเรามีระบบที่ดี ก็จะเป็น ที่ยอมรับมากขึ้น ส่งผลให้ขยายไปพัฒนาทุกส่วนได้ เช่น พัฒนาและ เสริมสร้างความรู้แก่ทนายความอาสา อันเป็นบุคคลส�ำคัญในการ ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย การพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสาร และส�ำนวนคดี เป็นต้น นอกจากนีผ้ มยังเห็นว่า ทางสภาทนายความต้อง มีความพยายามในการขยายช่องทางให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการ ช่วยเหลือทางกฎหมายได้อย่างต่อเนื่องและสะดวกยิ่งขึ้น เช่น ช่องทาง ออนไลน์ที่เรามีการพัฒนาแนวคิดนี้อยู่เสมอครับ” จะเห็นได้ว่า ผู้บริหารในสายงานการช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมายทั้ง 3 ท่าน ล้วนแล้วแต่มุ่งผลักดันและพัฒนางานช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมายของสภาทนายความในเชิงรุกโดยอาศัยการ ท�ำงานแบบบูรณาการจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ สูงสุดเกิดแก่ประชาชนผูย้ ากไร้ไม่ได้รบั ความเป็นธรรมให้สามารถเข้าถึง ความเป็นธรรม ได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง รวดเร็ว อย่างแท้จริง.


10

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

มอบรางวัลสลากกาชาดสภาทนายความ ประจ�ำปี 2560 รางวัลรถยนต์ Toyota Yaris : เมื่อวันเสาร์ที่ 29 เมษายน 2560 ที่ ส ภาทนายความ ถนน พหลโยธิน กรุงเทพฯ : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวั ล ย์ รุ ย าพร นายกสภา ทนายความ พร้อมด้วย นายอ�ำพล รัตนมูสิก อุปนายกฝ่ายสวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ฯ ร่วมมอบรางวัลสลากกาชาดสภาทนายความ ประจ�ำ ปี 2560 รางวัลที่ 1 รถยนต์ Toyota Yaris 1.2E มูลค่า 549,000 บาท ให้แก่ นางสาวอรอินทร์ ฝอยทอง ผู้โชคดีจากจังหวัดศรีสะเกษ โดยมีกรรมการบริหารสภาทนายความ ร่วมยินดีและเป็นสักขีพยาน ในการส่งมอบรางวัล รางวัลสร้อยคอทองค�ำ (หนัก 1 บาท) : เมื่อวันศุกร์ที่ 21 เมษายน 2560 : นายอ�ำพล รัตนมูสิก อุปนายกฝ่าย สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ พร้อมด้วย นายเสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายก ฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย และกรรมการฝ่ายสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ร่วมมอบรางวัลสลากกาชาดสภาทนายความ ปี 2560 แก่นายปารินทร์ ชาญด้วย กิจ อนุกรรมการสิทธิประโยชน์ ผู้โชคดีได้รับรางวัลหมายเลข 01394 (รางวัลที่ 3) สร้อยคอทองค�ำหนัก 1 บาท (15.2 กรัม) มูลค่า 23,500 บาท ณ ที่ท�ำการสภา ทนายความ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร


จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

11

รับสมัครผู้สมัครรับเลือกตั้ง

กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 6 (แทนต�ำแหน่งที่ว่าง) นายไชยวุฒิ รุจจนเวท ผูอ้ ำ� นวยการเลือกตัง้ ฯ ได้กำ� หนดระยะเวลายืน่ ใบสมัครผูล้ งสมัครรับเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริหารสภาทนายความ ภาค 6 แทนต�ำแหน่งที่ว่าง ตั้งแต่วันที่ 20-26 เมษายน 2560 ตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ ณ ที่ท�ำการสภาทนายความ ชั้น 1 ถนนพหลโยธิน เขตบางเขน กรุงเทพฯ นั้น ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ 28 เมษายน 2560 ผูอ้ ำ� นวยการ เลือกตั้งฯ ได้ประกาศรายชื่อผู้มีิสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง เป็นกรรมการบริหารสภาทนายความภาค 6 (แทน ต�ำแหน่งทีว่ า่ ง) ซึง่ ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัตแิ ล้ว ดังนี้ หมายเลข 1 นายนิพนธ์ จันทเวช หมายเลข 2 นายพงษ์สรรพ์ สรรพานิช หมายเลข 5 นางสาวเอกศจี ศิริวานิช หมายเลข 6 นายสุนทร เอี่ยมสะอาด ส่วนการลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการบริหารสภาทนายความภาค 6 (แทนต�ำแหน่งที่ว่าง) นั้น คณะกรรมการเลือกตั้งฯ ได้ก�ำหนดขึ้นใน วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม 2560 ตั้งแต่เวลา 09.00-15.00 น. ส่วนภูมิภาคลงคะแนนเลือกตั้ง ณ ศาลจังหวัดทุกจังหวัด ส�ำหรับในส่วน กลาง อยู่ระหว่างการติดต่อประสานงานขอใช้สถานที่เลือกตั้ง โดยผู้อ�ำนวยการเลือกตั้งฯ จะประกาศให้ทราบอีกครั้ง. รับเรื่องราวร้องทุกข์ : เมื่อวันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 เวลา 14.30 น. ที่สภา ทนายความ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ : กลุ่มพ่อค้า แม่ค้าตลาด เกรียงไกร (ซอยร่มเกล้า 37) เดินทางมายืน่ เรือ่ งขอความช่วยเหลือทาง กฎหมายจากสภาทนายความ โดย นางสาวเสาวรียา ไชยยังธัญทวี กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายสภาทนายความ ได้รับ เรื่องราวร้องทุกข์ไว้ โดยให้ข้อแนะน�ำเบื้องต้น และจัดทนายความ อาสาสอบถามข้อมูลข้อเท็จจริงเพื่อประโยชน์ในการประสานงานให้ ความ ช่วยเหลือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป.

ตรวจเยี่ยมส่วนงานภูมิภาค : เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน 2560 : คณะ กรรมการสภาทนายความจั ง หวั ด นครพนม และคณะที่ ปรึกษาฯ ร่วมให้การต้อนรับ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ พร้อมด้วย นายถาวร มงคลเคหา กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 4, นายเกียรติศักดิ์ เหลืองอังกูร กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย และคณะ ในโอกาสเดินทางมาตรวจเยี่ยมการด�ำเนินงาน ของสภาทนายความจังหวัดนครพนม.


12

จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2560

มอบเงินช่วยเหลือสวัสดิการทนายความ เมื่อวันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ พร้อมด้วย นายอ�ำพล รัตนมูสิก อุปนายกฝ่ายสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ และนายเกียรติศักดิ์ เหลืองอังกูร กรรมการฝ่ายสวัสดิการ/กรรมการฝ่ายช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย ร่วมมอบเงินสวัสดิการกองทุนเพื่อการ ศึกษาบุตรธิดาทนายความ จ�ำนวน 14 ราย ได้แก่ ด.ญ.วีนัสนันท์ จันทร์น่วม, ด.ญ.รพีพรรณ จันทร์น่วม, ด.ช.นันท์นภัส จิดาเชื้อ, ด.ญ. มนัสนันท์ พงศ์สวัสดิ์, นายชิตวร นามเสถียร, นายศิวกร ยอดมีกลิ่น, นางสาวสุพัตรา ช่องสว่าง, นางสาวพัชราภรณ์ ละมูล พันธ์, นายชัยวัฒน์ ละมูลพันธ์, นายนิติศาสตร์ ประสาทพร, นางสาวนภั ส รา หั ตถีกุล , นางสาวปรางค์ชนก สุทธิป ระภา, นางสาวภัทราพร ซิ้มประยูร และ นางสาวจิราพัชร เลิศศิวาพร รวมเป็นเงินจ�ำนวน 171,535 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นหนึ่งพัน ห้ า ร้ อ ยสามสิ บ ห้ า บาทถ้ ว น) และมอบเงิ น กองทุ น สวั ส ดิ ก าร ทนายความจ�ำนวน 1 ราย ให้แก่ นางกิตติยา เทียนจันทร์ เป็นเงิน จ�ำนวน 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ณ ห้องประชุม ชั้น 4 สภาทนายความ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ

ประชุมหลักสูตร “วิชาชีพกฎหมายชั้นสูง :

เมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน 2560 ที่ห้องประชุม ชั้น 4 สภา ทนายความ กรุงเทพฯ : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภา ทนายความ ในฐานะผู้อ�ำนวยการสถาบันวิชาชีพกฎหมายชั้นสูง เป็น ประธานการประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการสถาบันวิชาชีพกฎหมาย ชั้นสูง ครั้งที่ 4/2560 โดยที่ประชุมได้รับทราบผลการด�ำเนินงานของ สถาบันฯ และมีการวิพากษ์หลักสูตรการเรียนการสอน รวมถึงการ เตรียมความพร้อมในการเปิดการศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปี 2560.

สภาทนายความในพระบรมราชู มภ : นายกิ่งกาญจน พงศทัต, นายจารึก รัตนบูรณ์, นายฐานสุอิทธิ์ ทองจีนทวีรัชต์, ที่ปรึกษาประจำ �กองบรรณาธิปกถัาร ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220

รวมสงภาพขาว-บทความมาลงเผยแพร

ไดที่ กองบรรณาธ�การ จดหมายขาวสภาทนายความ àÅ¢·Õè 249 ¶¹¹¾ËÅâ¸Թ á¢Ç§Í¹ØÊÒÇÃÕ ࢵºÒ§à¢¹ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 10220

â·ÃÈѾ· 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 µ‹Í 322 â·ÃÊÒà 0-2522-7158

Facebook : ÊÀÒ·¹Ò¤ÇÒÁã¹¾ÃкÃÁÃÒªÙ»¶ÑÁÀ

E-mail : lctnews2013@gmail.com

นายทรงศักดิ์ กอน้อย, นางสาวภัทรานิษฐ์ มหัทธนวิสิทธิ์, นายพลระพีย์ รังสีธรรม, นายภาคภูใบอนุ มิ เศวตรั , นายภิรมย์ สัมมาเมตต์, ญาตเลขทีต่ น์ 5/2559 พท 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 ตอ 322 โทรสาร 0-2522-7158 กสี่ ตมาศ, นายศิษฎ์ สุนันท์สถาพร, นายยงยุธ บุโทรศั ญทองแก้ ว, นายราเชน กิ่งทอง, นายเรวัต ปิยโชติสกุลชัย, นายวสันต์ ฝีมือช่าง, นายวันปณ.หลั ชัย โฆษิ นายสุกฤษฎิ์ แพรกรีฑาเวศน์, นายชิดชัย สายเชื้อ

บรรณาธิการ : นายทัศไนย ไชยแขวง ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายชนะวัฒน์ ษารักษ์ กองบรรณาธิการ : นายกิตติคณุ แสงหิรญั , นายเกียรติคณุ ต้นยาง, นายเชษฐ์ สุขสมเกษม, นางสาวบัวระวงค์ ทรัพย์กง่ิ ศาล, นายสมภพ หงษ์กติ ติยานนท์, นายอนันต์ชยั ไชยเดช, นายอภินนั ท์ รัตนสุคนธ์, ว่าที่ พ.ต.ธำ�รงเกียรติ กังวาฬไกล, นางกานดา จำ�ปาทิพย์, นางสาวกุญชนิตา กุญชร ณ อยุธยา, นายอานันท์ จันทร์ศรี, นางสาวจิตอารีย์ ปุญญะศรี ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ : นางสาวนัทธมน จันดี, นายไพศาล แก่ฉมิ

• ผลิตโดย สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7124-27 ต่อ 318, 322 โทรสาร : 0-2522-7158


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.