จดหมายข่าว
สภาทนายความ สื่อสร้างสรรค์เพื่อทนายความ เผยแพร่งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและประโยชน์สาธารณะ
ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
2
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
คุยกับ บก. พระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2528 ได้วางโครงสร้างกิจการของทนายความไว้หลายมิติ นับเป็นคุณูปการของผู้ร่วมสร้างมา หนึ่งในนั้น คือ “การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี” ซึ่งก�ำหนดให้จัด เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้คณะกรรมการสภาทนายความและเหล่าสมาชิกฯ ได้มีส่วนร่วมในการท�ำงาน ซึ่งปีนี้ ได้ก�ำหนดให้วันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2560 เป็นวันประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ทัศไนย ไชยแขวง จดหมายข่าวฉบับนี้ก็เช่นเคยที่เราจะพยายามรวบรวมความรู้ทางด้านกฎหมายในส่วนที่สอดคล้อง บรรณาธิการบริหาร กับวิชาชีพและการใช้งานของทนายความ ฉบับนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากท่านนคร พจนวรพงษ์ กรรมการ ผู้แทนเนติบัณฑิตยสภา ในการรวบรวมการแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา นับแต่ปี 2558 ถึง ปี 2560 ที่มีมากกว่าร้อยมาตรา ด้วยประสบการณ์ทั้ง ทางปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ ท่านได้รวบรวมให้มีความกระชับ ชัดเจน ไว้เพียงสองหน้ากระดาษ เพื่อความสะดวกในการใช้งานของทนายความอย่าง เราๆ ท่านๆ ต้องขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ในส่วนของกฎหมายกีฬาของ ทนายสมศักดิ์ อัจจิกุล ที่ได้ลงพิมพ์ในฉบับที่แล้ว ก็ได้รับความสนอกสนใจจากเพื่อนทนายความ เพราะเป็นเรื่อง ของความแปลกใหม่ และจะสามารถตอบสนองความต้องการของลูกความได้ โดยเฉพาะในต่างจังหวัดที่มีสโมสรฟุตบอลอาชีพ ทางผู้เขียนจึงมีความคิด ว่าจะท�ำการรวบรวมให้เป็นไปในแบบฉบับของการใช้งานจริง ซึ่งก็คงจะได้เห็นในฉบับหน้าและต่อๆ ไป ในบทสุดท้าย ท่านสรัลชา ศรีชลวัฒนา ได้เขียนบทความร�ำลึกถึง ทนายกิตติ คุณะเกษม ทนายความอาวุโส ผู้เป็นที่รักของทนายความ โดย เฉพาะผู้ที่มีโอกาสได้รู้จัก ได้ท�ำงานด้วย โดยส่วนตัวผมคิดว่าชีวิตของพี่กิตติ อธิบายค�ำว่า “อยู่ให้เขารัก จากให้เขาคิดถึง” ได้อย่างชัดเจนที่สุด พี่กิตติท�ำอย่างนั้นจริงๆ ตลอดเวลาที่ผมรู้จักท่าน เช่นเคยครับ ผมอยากเห็นบทความทางกฎหมายจากเพื่อนสมาชิก อยากเห็นสมาชิกมีส่วนร่วมในการท�ำงานให้องค์กรของเรา ส่งมาที่ กองบรรณาธิการฯ ได้เลยนะครับ มาช่วยกัน.
เกร็ดกฎหมาย พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์เรื่อง
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างไร ?
ตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ก�ำหนดเรื่องลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ มี 2 ประเภท คือ 1. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ตามมาตรา 9 (หลักของ ม. 9 คือ การลงลายมือชื่อต้องใช้วิธีการที่เชื่อถือได้) รองรับความเท่าเทียมกันระหว่าง ลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์และลายมือชือ่ ทีเ่ ซ็นต์กนั ปกติ ซึง่ เป็นหลักเปิดกว้างเพือ่ รองรับวิธกี ารทุกประเภททีอ่ าจน�ำมาใช้ในการลงลายมือชือ่ ในข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ โดย มาตรา 9 แบ่งส่วนประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 คือ เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ส่วนที่ 2 คือ การแสดงถึงความเห็นชอบของบุคคลในการรับรองข้อความที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็น “วิธีการ ที่เชื่อถือได้” (ดูพฤติการณ์ที่เหมาะสมในการก�ำหนดว่า อย่างไรคือ วิธีที่เชื่อถือได้ เช่น ความซับซ้อนของเครื่องมือ ศักยภาพของระบบ การติดต่อ สื่อสาร เป็นต้น) 2. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ตามมาตรา 26 เมื่อใช้เทคโนโลยีตามคุณสมบัติหรือหลักเกณฑ์ที่กฎหมายก�ำหนด ให้ถือว่า เป็น ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ โดยวิธีการเชื่อถือได้พิจารณาตามที่กฎหมายก�ำหนด เช่น เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะเป็นลายมือชื่อ ดิจิตัล (digital signature) (หมวด 2 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อเสริมมาตรา 9) ดังนั้น ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตาม มาตรา 26 จึงเป็นการลงลายมือชื่อตามมาตรา 9 และสามารถใช้แทนกันได้ โดยไม่ต้องพิสูจน์ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา 9 วรรคสอง ก. ถึง ค. อีก ขอขอบคุณข้อมูลจาก : ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กรมหาชน) (สพธอ.) / ETDA กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 เดือนมีนาคม 2560
3
สั ม ภาษณ์ พ ิ เ ศษ
ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน กับการ “สร้างคน” ให้เป็น “ทนายความ” ที่ดี ...“การสร้างถาวรวัตถุ” เป็นงานยาก แต่การ “สร้างคน”
เป็นงานยากกว่า...
ข้อคิดส�ำคัญประการหนึ่งที่ท่าน ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน กล่าวเป็นอันดับแรกกับ ทีมงานกองบรรณาธิการ “จดหมายข่าวสภาทนายความ” เมือ่ ครัง้ ได้มโี อกาสพูดคุยสัมภาษณ์ ถึงการสร้างนักกฎมายที่ดีเพื่อรับใช้ประชาชนและสังคมส่วนรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้าง “ทนายความ” ที่มีคุณภาพ มีความสามารถ เพียบพร้อมไปด้วยอุดมการณ์ มีความซื่อสัตย์ต่อ วิชาชีพและต่อลูกความ ซึ่งท่าน ดร.อุกฤษ บอกว่า เป็นงานที่ยากล�ำบาก แต่ถึงจะยากล�ำบาก อย่างไรท่านก็ยังมุ่งมั่นในการ “สร้างคน” เพื่อเป็น “ทนายความ” ที่ดีในอุดมคติไว้มากมาย ตลอดระยะเวลา 47 ปี ที่ท่านก่อตั้งส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน โดยยึดหลัก “นิติธรรม ยุติธรรม สันติธรรม” ไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อถามถึงแนวคิดในการสร้าง “ทนายความ” ที่ดีด้วยวิธีใดนั้น ดร.อุกฤษ เล่าว่า “การฝึกทนายความที่ส�ำนักงานอุกฤษฯ ด�ำเนินการ นั้น เริ่มตั้งแต่เมื่อรับคดี จะแต่งตั้งทนายความเจ้าของเรื่องและคณะทนายความผู้ร่วมงาน เพื่อศึกษาและท�ำแผนด�ำเนินงานมาน�ำเสนอ ซึ่งผมจะ เป็นผูพ้ จิ ารณา เป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ลกู ความ ทนายความ และคณะทนายความทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ทำ� คดี งานแต่ละเรือ่ งมีสารบบคุมงาน มีผู้รู้เรื่องมากกว่าหนึ่งคนและสามารถท�ำงานได้ต่อเนื่องทันทีโดยไม่ต้องศึกษางานใหม่ทั้งหมด ทางส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษฯ จึงเน้นฝึกให้มีการ ท�ำงาน “เป็นทีม” มีการแลกเปลี่ยนความคิดกันอย่างละเอียดกว้างขวางในที่ประชุมระหว่าง “ทนายความรุ่นใหม่เพื่อสู้กับทนายความรุ่นใหญ่” โดยถือหลักหลายหัวดีกว่าหัวเดียว” “นอกจากนี้ ในการได้รบั ค่าตอบแทนในการว่าความ ส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษฯ ยังมีกฎของส�ำนักงานทีไ่ ม่รบั ค่าตอบแทนหรือสินน�ำ้ ใจ นอกเหนือจากค่าวิชาชีพทนายความ ซึ่งถือว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องไม่จ�ำเป็น แม้ลูกความจะสมัครใจให้ด้วยความยินดีก็ตาม อีกประการหนึ่งทนายความ ในส�ำนักงานฯ จะยึดถือเรื่องมารยาทในการรับคดีเป็นส�ำคัญ จะไม่มี “การแย่งคดี” แต่จะยอมรับท�ำคดีให้เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควรและมีคดี เรื่องใหม่ที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องเดิมเท่านั้น” ดร.อุกฤษฯ ยังกล่าวต่อไปอีกว่า “มารยาทที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่มีผู้ต้องการมาเป็นลูกความส�ำนักงานทั้งๆ ที่มีทนายความอยู่แล้ว แต่เกิดไม่เชื่อ หรือไม่ไว้ใจ กรณีเช่นนี้ ส�ำนักงานฯ จะไม่รับท�ำคดีให้โดยเด็ดขาด จนกว่าจะมีการ ตกลงหรื อ มี ก ารบอกเลิ ก กั บ ทนายความเดิ ม เสี ย ก่ อ นจึ ง จะรั บ เป็ น ลู ก ความของ ส�ำนักงาน” ส่วนในเรื่องการปกครองทนายความในส�ำนักกฎหมาย นั้น ดร.อุกฤษฯ กล่าวว่า “อาศัยการปกครองโดยยึดหลักเมตตาธรรม แบบครูกับศิษย์ แบบพ่อกับลูก งานคืองาน ต้องมีความรับผิดชอบ ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ และต่อส�ำนักงาน” และ เมือ่ “ทนายความ” เหล่านีเ้ ติบโตขึน้ ก็สง่ เสริมให้แยกย้ายไปก่อตัง้ ส�ำนักงานของตนเอง โดยนโยบาย ส�ำคัญของส�ำนักงานฯ ให้หลักการว่า “อาชีพทนายความเมื่ออยู่ด้วยกันมาจนกระทั่งเติบโตพอที่จะ ยืนอยู่ด้วยตนเองแล้ว ควรจะแยกตัวไปสร้างรังใหม่ โดยยังคงความเป็นศิษย์-อาจารย์ และคงความ เป็นพันธมิตรกันตลอดกาล” จะเห็นได้ว่าเจตนารมณ์หนึ่งที่ส�ำคัญในการ “สร้างคน” ให้เป็น “นักกฎหมาย” “ทนายความ” ที่ดี นั้น ในฐานะที่ท่าน ดร.อุกฤษ เป็นอาจารย์สอนกฎหมาย จึงเริม่ ต้นจากการก่อตัง้ ส�ำนักงานกฎหมายฯ เพือ่ เป็นการลดช่องว่างระหว่างการเรียนการสอนกฎหมายกับการประกอบ วิชาชีพกฎหมายตามความเป็นจริง กล่าวคือ ต้องการให้มีการน�ำความรู้และประสบการณ์ภาคปฏิบัติไปสอนนิสิตและนักศึกษากฎหมาย ในมหาวิทยาลัยให้มากขึ้น เพื่อให้นิสิตนักศึกษาเหล่านั้นได้มีการเตรียมความพร้อมที่ดีกว่าเมื่อออกมาประกอบอาชีพ อีกทั้ง เพื่อยกระดับและ มาตรฐานวิชาชีพกฎหมายในประเทศไทยด้วย ซึง่ เป็นหลักการ ปรัชญา และแนวปฏิบตั ขิ องส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษฯ ทีม่ ตี อ่ “วิชาชีพทนายความ” ในการสร้างชื่อเสียงให้ส�ำนักงานทนายความ สร้างชื่อเสียงและความเชื่อถือให้ “ทนายความ” อันเป็นสิ่งหนึ่งที่ท่าน ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ภาคภูมิใจจนทุกวันนี้.
4
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
กฎหมายใหม่ โดย นคร พจนวรพงษ์*
* ทนายความ (อดีตผู้พิพากษาอาวุโส) / กรรมการเนติบัณฑิตยสภา (พ.ศ.2559-2563) / กรรมการสภาทนายความ (ผู้แทนเนติบัณฑิตยสภา)
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
5
หารือด้านกิจการระหว่างประเทศ : เมื่อวันจันทร์ที่ 13 มีนาคม 2560 ที่สภาทนายความ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร : นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ พร้อมด้วย นายนันทน อินทนนท์ รองประธานอนุกรรมการส�ำนักงานกิจการระหว่างประเทศ, นายสืบสิริ ทวีผล อนุกรรมการส�ำนักงานกิจการระหว่างประเทศ และนางสาวบัวระวงษ์ ทรัพย์กิ่งศาล อนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับคณะจากสถาบัน International Cooperation Department Research and Training Institute Ministry of Justice Japan ได้แก่ Mr.Ito Hiroyuki Professor and Government Attorney Deputy Director,Mr.Yokoyama Eisaku Professor, Government Attorney, Mr.Higashio Kazuyuki Professor, Government Attorney, Mr.Ijichi Yasuhiro Chief International Cooperation Training Officer, Mr.Yuki Nagata First Secretary Political Affairs Division (เลขานุการเอก แผนกการเมือง สถานทูตญี่ปุ่น) โดยได้มีการหารือและขอความร่วมมือจากสภาทนายความในการจัดประชุม Internation Conference on Dispute Resolution of Intellectual Property in Asia ณ ประเทศญี่ปุ่น ในระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2560 นี้.
6
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
บทความพิ เ ศษ โดย PUALAWYER
กฎหมายควบคุมโฆษณาเหล้า ข้อกฎหมายและสาระส�ำคัญ ข้อกฎหมาย
1.1 พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “สุรา” หมายความรวมถึงวัตถุทงั้ หลายหรือของผสมทีม่ แี อลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน�้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้แต่เมื่อได้ผสมกับ น�้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้วสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน�้ำสุรา 1.2 พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” หมายความว่า สุรา ตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ทั้งนี้ ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น “โฆษณา” หมายความว่า การกระท�ำไม่ว่าโดยวิธีใดๆ ให้ ประชาชนเห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเพื่อประโยชน์ในทางค้า และให้ หมายความรวมถึงการสื่อสารการตลาด “การสือ่ สารการตลาด” หมายความว่า การกระท�ำกิจกรรมใน รูปแบบต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขายสินค้า บริการหรือภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ข่าวสาร การส่งเสริมการขาย การแสดง สินค้า การจัดหรือสนับสนุนให้มกี ารจัดกิจกรรมพิเศษ และการตลาดแบบ ตรง “ข้อความ” หมายความรวมถึง การกระท�ำให้ปรากฏด้วยตัว อักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง เสียง เครือ่ งหมายหรือการกระท�ำอย่างใดๆ ทีท่ ำ� ให้บคุ คลทัว่ ไปสามารถเข้าใจความหมายได้ มาตรา 32 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือ แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์อนั เป็นการอวดอ้าง สรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ใดๆ โดยผู้ผลิตเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ทุกประเภทให้กระท�ำได้เฉพาะการให้ข้อมูลข่าวสาร และ ความรูเ้ ชิงสร้างสรรค์สงั คม โดยไม่มกี ารปรากฏภาพของสินค้าหรือบรรจุ ภัณฑ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้น เว้นแต่เป็นการปรากฏของภาพ สัญลักษณ์ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิต เครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นเท่านั้น ทั้งนี้ตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสอง มิให้ใช้บังคับกับการ โฆษณาที่มีต้นก�ำเนิดนอกราชอาณาจักร มาตรา 43 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 32 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่งแล้ว ผู้ฝ่าฝืนยังต้อง ระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินห้าหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือ จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง มาตรา 45 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะ กรรมการควบคุมมีอำ� นาจเปรียบเทียบได้ และในการนีใ้ ห้คณะกรรมการ ควบคุมมีอำ� นาจมอบหมายให้คณะอนุกรรมการ พนักงานสอบสวน หรือ พนักงานเจ้าหน้าทีด่ ำ� เนินการเปรียบเทียบได้ โดยจะก�ำหนดหลักเกณฑ์ ในการเปรียบเทียบ หรือเงื่อนไขประการใดๆ ให้แก่ผู้ได้รับมอบหมาย ตามที่เห็นสมควรก็ได้ ในการสอบสวน ถ้าพนักงานสอบสวนพบว่าบุคคลใดกระท�ำ ความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี้ และบุคคลนัน้ ยินยอมให้เปรียบเทียบให้ พนักงานสอบสวนส่งเรื่องมายังคณะกรรมการควบคุมหรือผู้ซึ่งคณะ กรรมการควบคุมมอบหมายให้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ผู้นั้นแสดงความยินยอมเปรียบเทียบ เมือ่ ผูก้ ระท�ำความผิดได้เสียค่าเปรียบเทียบแล้วให้ถอื ว่าคดีเลิก กันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1.3 ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์วา่ ด้วย หลักเกณฑ์การเปรียบ เทียบตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ข้อ 11 กรณีที่ผู้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบได้รับค�ำร้องขอให้เปรียบ เทียบตามข้อ 10 ให้ผู้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบด�ำเนินการ ดังนี้ (1) หากผูม้ อี ำ� นาจเปรียบเทียบพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นคดีทมี่ ี อ�ำนาจเปรียบเทียบได้และสมควรเปรียบเทียบ โดยเห็นว่าผู้ต้องหาหรือ
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
ผูก้ ระท�ำความผิดไม่ควรถูกด�ำเนินคดีทางศาลหรือได้รบั โทษถึงจ�ำคุกให้ ผู้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบด�ำเนินการเปรียบเทียบให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า และแจ้งให้ผู้ต้องหาหรือผู้กระท�ำความผิดน�ำเงินค่าปรับมาช�ำระให้แล้ว เสร็จภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งค�ำสั่งนั้น ถ้าผู้ต้องหาหรือ ผู้กระท�ำความผิดไม่สามารถช�ำระเงินค่าปรับได้ภายก�ำหนดเวลา ให้ ผู้มีอ�ำนาจเปรียบเทียบส่งเรื่องให้พนักงานสอบสวนด�ำเนินคดีต่อไป บัญชีอัตราการเปรียบเทียบแนบท้ายระเบียบคณะกรรมการ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบตามพระ ราชบั ญ ญั ติ ควบคุ มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ล�ำดับที่ 26 ฐานความผิดตามมาตรา 32 ต้องระวางโทษ ตามมาตรา 43 อัตราค่าปรับก�ำหนดให้เปรียบเทียบปรับ ครั้งที่ 1 ปรับ 50,000 บาท ครั้งที่ 2 ปรับ 200,000 บาท ครั้งที่ 3 ปรับ 500,000 บาท เว้นแต่เป็นการโฆษณาโดยผู้ผลิตหรือผู้น�ำเข้า รวมถึง นิติบุคคลที่มีผู้ผลิตหรือน�ำเข้าถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป หรือ มีอ�ำนาจบริหารจัดการเหนือนิติบุคคลนั้นให้ปรับ 500,000 บาท
องค์ประกอบความผิดว่าด้วยการโฆษณา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ข้อกฎหมายที่เป็นหลักในการควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ได้แก่ มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 โดยมีลักษณะของการกระท�ำที่ถือว่าเป็น ความผิด ดังนี้ 1. โฆษณาเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ อั น เป็ น การอวดอ้ า ง สรรพคุณโดยตรงหรือโดยอ้อม 2. แสดงชื่ อ ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการอวดอ้าง สรรพคุณโดยตรงหรือโดยอ้อม 3. แสดงเครื่องหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการ อวดอ้างสรรพคุณโดยตรงหรือโดยอ้อม 4. โฆษณาเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ อันเป็นการชักจูงใจให้ ผูอ้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม 5. แสดงชื่ อ ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการชักจูงใจ ให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม 6. แสดงเครื่องหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อันเป็นการ ชักจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม
7
อวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม จึง ไม่เป็นความผิดฐานโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรณีกล่องใส่กระดาษช�ำระทีม่ เี ครือ่ งหมายการค้ารูปช้าง 2 ตัว หันหน้าเข้าหากัน มีรปู ประดิษฐ์คล้ายน�ำ้ พุคนั่ กลาง ประกอบอักษรโรมัน “CHANG” ใช้กบั สินค้าน�ำ้ ดืม่ และน�ำ้ โซดาเป็นการส่งเสริมการขายสินค้า โดยเจาะจงไปทีน่ ำ�้ ดืม่ และน�ำ้ โซดาทีม่ ใิ ช่เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตามนิยาม ความหมาย “เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์” ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 จึงไม่เป็นความผิดฐานโฆษณา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ส�ำหรับแผ่นป้ายโฆษณาชื่อและเครื่องหมายของเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ยี่ห้อช้างและมีข้อความประกอบว่า “ช้างคลาสสิค เข้มใน ความคิด” และเครือ่ งหมายการค้าทีม่ ขี อ้ ความประกอบว่า “ช้าง ดราฟท์ นุ่มลึก กล้าคิดกล้าท�ำ” นอกจากเป็นข้อความที่เพ่งเล็งถึงลักษณะหรือ คุณสมบัติของสินค้าเบียร์ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์อันเป็นการ ประชาสัมพันธ์อวดอ้างสรรพคุณต่อผู้พบเห็นเครื่องหมายการค้าแล้ว ยังมีลกั ษณะเป็นการจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เพือ่ ประโยชน์ ทางการค้า การกระท�ำของจ�ำเลยในส่วนนี้เป็นความผิดฐานโฆษณา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
วิเคราะห์ข้อกฎหมายและค�ำพิพากษาศาลฎีกา
เมือ่ พิจารณามาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ประกอบค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 15453/2557 แล้วเห็นว่า การโฆษณาหรือแสดงชือ่ หรือแสดงเครื่องหมายของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทจี่ ะเป็นความผิดตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 นัน้ จะต้องมีลกั ษณะเป็นการอวดอ้าง สรรพคุณ หรือเป็นการชักจูงใจให้ผอู้ น่ื ดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยตรงหรือ โดยอ้อมเท่านั้น ดังที่ศาลฎีกาวินิจฉัยไว้ในค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 15453/2557 ว่า แผ่นป้ายโฆษณาชื่อและเครื่องหมายของเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ยหี่ อ้ ช้างซึง่ มีขอ้ ความประกอบว่า “ช้างคลาสสิค เข้มในความ คิด” และเครื่องหมายการค้าที่มีข้อความประกอบว่า “ช้าง ดราฟท์ นุ ่ ม ลึ ก กล้ า คิ ด กล้ า ท� ำ ” ข้ อ ความดั ง กล่ า วนอกจากเป็ น ข้ อ ความที่ เพ่งเล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินค้าเบียร์ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์อันเป็นการประชาสัมพันธ์อวดอ้างสรรพคุณต่อผู้พบเห็น เครื่องหมายการค้าแล้วยังมีลักษณะเป็นการจูงใจให้เข้าใจได้ว่า การดื่ม เครื่องดื่มเบียร์ช้างคลาสสิคมีผลให้ ผู้ดื่มมีความเข้มข้นในความคิด ค�ำพิพากษาศาลฎีกาทีเ่ กีย่ วข้อง ส่วนผูท้ ดี่ มื่ เครือ่ งดืม่ ช้างดราฟท์มผี ลให้มคี วามนุม่ ลึกและกล้าคิดกล้าท�ำ ตามค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 15453/2557 ได้วินิจฉัยไว้ว่า กรณี การกระท�ำในลักษณะดังกล่าวจึงเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ แผ่นป้ายโฆษณารับสมัครผูเ้ ข้าประกวด Sexy Leo Girl Season 5 แม้วา่ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 32 วรรคหนึ่ง กรณีที่มีการโฆษณาหรือแสดงชื่อหรือแสดงเครื่องหมายของ จะมี ค� ำ Leo ตรงกั บ ฉลากเครื่ อ งดื่ ม เบี ย ร์ ก็ ต าม แต่ ก็ เ ป็ น การ ประชาสัมพันธ์รบั สมัครบุคคลเข้าประกวดเพือ่ เป็น Brand Ambassador เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยไม่ได้อวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ เลย แม้แผ่นป้ายดั ง กล่ า วสื่อความหมายได้ว ่าเป็น กิจกรรมเกี่ ย วข้ อ งกั บ ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อมไม่เป็นความผิดฐานโฆษณาเครื่องดื่ม เครื่องดื่มเบียร์ที่มีชื่อทางการค้า Leo ในรูปแบบการประชาสัมพันธ์ แอลกอฮอล์ ดั ง ที่ ศ าลฎี ก าวิ นิ จ ฉั ย ไว้ ใ นค� ำ พิ พ ากษาศาลฎี ก าที่ การเผยแพร่ข่าวสาร การส่งเสริมการขาย การแสดงสินค้า การจัด 15453/2557 ว่า กรณีแผ่นป้ายโฆษณารับสมัครผูเ้ ข้าประกวด Sexy Leo หรือสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพิเศษ แต่ก็มิได้มีเนื้อหาอันเป็นการ Girl Season 5 แม้ว่าจะมีค�ำ Leo ตรงกับฉลากเครื่องดื่มเบียร์ก็ตาม
8
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
ลักษณะของป้ายโฆษณาดังกล่าวเป็นการประชาสัมพันธ์รับสมัครบุคคลเข้าประกวดเพื่อเป็น Brand Ambassador แม้แผ่นป้ายดังกล่าว สื่อความหมายได้ว่าเป็นกิจกรรมเกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มเบียร์ที่มีชื่อทางการค้า Leo ในรูปแบบการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ข่าวสาร การส่งเสริม การขาย การแสดงสินค้า การจัดหรือสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพิเศษ แต่ก็มิได้มีเนื้อหาอันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่ม โดยตรงหรือโดยอ้อมจึงไม่เป็นความผิด หรือกรณีกล่องใส่กระดาษช�ำระที่มีเครื่องหมายการค้ารูปช้าง 2 ตัว หันหน้าเข้าหากันมีรูปประดิษฐ์คล้าย น�ำ้ พุคนั่ กลาง ประกอบอักษรโรมัน “CHANG” ใช้กบั สินค้าน�ำ้ ดืม่ และน�ำ้ โซดา กล่องใส่กระดาษช�ำระทีม่ รี ปู ภาพในลักษณะดังกล่าวเป็นการส่งเสริม การขายสินค้าโดยเจาะจงไปที่น�้ำดื่มและน�้ำโซดาที่มิใช่เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามนิยามความหมาย “เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” จึงไม่มีความผิดฐาน โฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ข้อเสนอแนะ
5.1 สถานประกอบการต้องระมัดระวัง ไม่กระท�ำการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข่าวสาร หรือกระท�ำให้ปรากฏด้วยตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง เสียง เครือ่ งหมายให้ประชาชนได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความ หรือกระท�ำกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ขายสินค้า บริการหรือภาพลักษณ์ การส่งเสริมการขาย การแสดงสินค้า การจัดหรือสนับสนุนให้มกี ารจัดกิจกรรมพิเศษ และการตลาดแบบตรง หรือ การกระท�ำอย่างใดๆ ทีท่ ำ� ให้บคุ คลทัว่ ไปเข้าใจได้วา่ เป็นการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ อันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณหรือชักจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม เพราะการกระท�ำในลักษณะดังกล่าวเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 32 วรรคหนึ่ง มีโทษตามมาตรา 43 ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ นอกจากนั้นยังต้องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกิน ห้าหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง 5.2 กรณีที่สถานประกอบการไม่แน่ใจว่ากิจกรรมที่บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทน จ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์น�ำมาให้สถานประกอบการด�ำเนินการนั้นจะเป็นการ เสวนากฎหมายใหม่ : เมื่อวันเสาร์ที่ 11 มีนาคม 2560 : ฝ่ายวิชาการ สภาทนาย ฝ่าฝืนกฎหมายควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือไม่ สถานประกอบการ ความฯ โดยนายพจน์ จิรวุฒิกุล อุปนายกฝ่ายวิชาการ จัดการ ควรปฏิเสธไม่ดำ� เนินการตามทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตหรือตัวแทนจ�ำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ เสวนาทางวิชาการเรือ่ ง “พระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลอาญาคดีทจุ ริต ให้ ท� ำ เพราะการกระท�ำในลักษณะดัง กล่าวเป็น การส่ง เสริ ม การขายของบริ ษัท และประพฤติมิชอบ พ.ศ.2559 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณา คดีทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ.2559 โดยมี ว่าที่ร้อยตรี ผู้ผลิตหรือตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ฝ่ายเดียวไม่ได้ท�ำให้ยอดขายใน ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ เป็นประธานกล่าว สถานประกอบการเพิ่มขึ้น เพราะไม่ว่าลูกค้าจะสั่งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยี่ห้อใด เปิดการเสวนา และได้รับเกียรติจาก นายสิทธิพงษ์ ตัญญพงศ์ ก็เป็นการสัง่ จากสถานประกอบการของท่านทัง้ สิน้ หากสถานประกอบการไม่สามารถ ปรัชญ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจ�ำส�ำนักประธานศาลฎีกา ปฏิ เ สธกิ จ กรรมของบริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ไ ด้ ร่วมเป็นวิทยากร ณ ห้องประชุมชั้น 5 สภาทนายความ ถนน พหลโยธิน กรุงเทพมหานคร. สถานประกอบการต้องให้บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รับรองว่าหากสถานประกอบการถูกจับกุมด�ำเนินคดีเนื่องจากการจัดกิจกรรมดังกล่าว บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะรับผิดชอบจ่ายค่าปรับตาม กฎหมายและชดใช้ค่าเสียหายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นทั้งสิ้น 5.3 กรณีท่ีสถานประกอบการถูกด�ำเนินคดีฐานความผิดโฆษณาเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 มาตรา 32 วรรคหนึ่ ง สถานประกอบการจะต้ อ งพิ จ ารณาว่ า ได้ โ ฆษณาหรือแสดงชื่ อ หรือ แสดงเครื่ อ งหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในลักษณะที่เป็นการอวดอ้างสรรพคุณ หรือในลักษณะทีเ่ ป็นการชักจูงใจให้ผอู้ น่ื ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อมหรือไม่ หากพิจารณา เห็นว่าการโฆษณาหรือแสดงชื่อหรือแสดงเครื่ อ งหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่ได้กระท�ำไปนั้นไม่มีลักษณะที่เป็นการอวดอ้างสรรพคุณ หรือไม่มีลักษณะที่เป็น การชักจูงใจให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม สถานประกอบการไม่ควรยอมรับผิด แต่ควรต่อสู้คดีเพราะกรณีนี้ศาลฎีกาได้มีค�ำพิพากษาแล้วว่าไม่เป็นความผิด หากพิ จ ารณาเห็ น ว่ า การโฆษณาหรือแสดงชื่ อ หรือแสดงเครื่ อ งหมาย ของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ได้กระท�ำไปนั้นมีลักษณะที่เป็นการอวดอ้างสรรพคุณ หรือในลักษณะทีเ่ ป็นการชักจูงใจให้ผอู้ นื่ ดืม่ โดยตรงหรือโดยอ้อม สถานประกอบการ ควรยอมรับผิดและยินยอมให้เปรียบเทียบ เนื่องจากท�ำให้คดีเสร็จสิ้นไปโดยไม่ต้อง ถูกฟ้องต่อศาลและไม่เสี่ยงต่อการถูกพิพากษาให้จ�ำคุก ทั้งนี้ หากเป็นการกระท�ำ ความผิดครัง้ แรกจะถูกเปรียบเทียบปรับ 50,000 บาท กระท�ำผิดครัง้ ทีส่ องจะถูกเปรียบ เทียบปรับ 200,000 บาท กระท�ำผิดครั้งที่สามจะถูกเปรียบเทียบปรับ 500,000 บาท
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
9
กฎหมายกั บ สุ ข ภาพ กองบรรณาธิการ
เกาะกระแสสปา-นวดไทย
หลัง พ.ร.บ.สถานประกอบการเพื่อสุขภาพฯ มีผลบังคับใช้ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพในประเทศไทยทั้งสปา นวด เพื่อ สุขภาพ และนวดเพื่อเสริมความงาม มีเปิดให้บริการทั่วประเทศอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก แต่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานมีจ�ำนวน 1,609 แห่ง ประกอบด้ ว ยสปา 509 แห่ ง นวดเพื่ อ สุ ข ภาพ 1,070 แห่ ง และ นวดเพื่อเสริมความงาม 30 แห่ง ซึ่งหลังจากพระราชบัญญัติสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 มีผลบังคับใช้ (27 กันยายน 2559 เป็นต้นไป) จะท�ำให้สถานประกอบการเพื่อสุขภาพต่างๆ ต้องเข้าสู่ ระบบการควบคุมมาตรฐานเหมือนกันทั่วประเทศ หน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพให้เป็นไป ตามกฎหมายฉบับนี้ ได้แก่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซึ่งมี หน้าที่ในการตรวจประเมินคุณภาพ มาตรฐานสถานประกอบการเพื่อ สุขภาพ การออกใบอนุญาตประกอบกิจการ ผู้ด�ำเนินการ และการขึ้น ทะเบียนผูใ้ ห้บริการในกิจการสถานประอบการเพือ่ สุขภาพทัง้ 3 ประเภท ได้แก่ สปา นวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อเสริมความงาม ทัง้ นี้ ก่อนกฎหมายดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ มีสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพนับพันแห่งและบุคลากรทั้งผู้ด�ำเนินการ และผู้ให้บริการ นั บ หมื่ น รายทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และต่ า งจั ง หวั ด ยื่ น เรื่ อ งขออนุ ญ าต ประกอบกิจการ ขออนุญาตเป็นผู้ด�ำเนินการในสปา และขอขึ้นทะเบียน เป็นผู้ให้บริการตามที่กฎหมายก�ำหนดที่กรมส่งเสริมบริการสุขภาพ และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทัว่ ประเทศ โดยมีการตัง้ อนุกรรมการ ตรวจเข้มมาตรฐาน ท�ำหน้าที่ในการตรวจและประเมินมาตรฐาน สถานประกอบการเพื่อสุขภาพทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด จะใช้ เวลาประมาณ 60 วัน
ร่วมไว้อาลัย : เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายก สภาทนายความ พร้อมด้วย นายอ�ำพล รัตนมูสกิ อุปนายกฝ่ายสวัสดิการ, นายพจน์ จิรวุฒิกุล อุปนายกฝ่ายวิชาการ, นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ/ กรรมการประชาสัมพันธ์ และนายกิตติคุณ แสงหิรัญ อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ ร่วมงานสวดพระอภิธรรม นายวัฒนา ธุวานนท์ ทนายความจังหวัดนนทบุรี และ ได้มอบเงินช่วยเหลือการฌาปนกิจสงเคราะห์ให้แก่ครอบครัว ธุวานนท์ ทีว่ ดั ชมภูเวก จังหวัดนนทบุรี ทั้งนี้ นายวัฒนา ธุวานนท์ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา ระหว่างท�ำหน้าที่ทนายความในศาล
ซึ่งมาตรฐานของสถานประกอบการสปา ประกอบด้วย 1.สถานที่ต้องสะอาด ไม่อยู่ในอาคารเดียวกับสถานบริการทั่วๆ ไป 2.ผู ้ ด� ำ เนิ น การต้ อ งแสดงชื่ อ นามสกุ ล เลขที่ ใ บรั บ รองการเป็ น ผู ้ ด�ำเนินการ และวันที่ออกใบรับรอง 3. ผู้ให้บริการต้องได้รับการอบรม ตามหลักสูตรจากสถาบันหรือสถานศึกษาที่คณะกรรมการตรวจและ ประเมินมาตรฐานรับรอง แต่งเครือ่ งแบบรัดกุม ติดป้ายชือ่ 4.การบริการ หลักจะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การนวดเพื่อสุขภาพ การใช้ น�้ำเพื่อสุขภาพ และมีบริการเสริมอื่นๆ อีก 3 รายการเป็นอย่างน้อย เช่น เซาน่า ฟิตเนต โยคะ เป็นต้น และ 5.ด้านความปลอดภัยมี ชุ ด ปฐมพยาบาลพร้ อ มใช้ ง านได้ ต ลอดเวลา มี ก ารควบคุ ม ดู แ ล การใช้อุปกรณ์อันอาจก่อให้เกิดอันตราย ทั้งนี้ ในการตรวจสอบมาตรฐานสถานประกอบการฯ ของ พนักงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากส่วนกลางและภูมิภาคจะไม่มีการ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น หากพบบุคคลที่มีพฤติกรรมเรียกเก็บ ค่านายหน้า หรือเจ้าหน้าทีม่ กี ารเรียกเก็บค่าใช้จา่ ย ขอให้แจ้งทีส่ ายด่วน คุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ กรม สบส. 0-2193-7999 ตลอด 24 ชั่วโมง กรม สบส.จะเร่งตรวจสอบพร้อมด�ำเนินการทาง กฎหมายและวินัยทันที. ส�ำรวจที่ดินเตรียมสร้างที่ท�ำการสภาทนายความ จ.พะเยา : เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายก สภาทนายความ พร้อมด้วยกรรมการบริหารสภาทนายความ และกรรมการ สภาทนายความจังหวัดพะเยา ร่วมส�ำรวจ ที่ดินทรัพย์สินของสภาทนายความ เพื่อ เตรียมวางแผนการท�ำโครงการก่อสร้าง ที่ท�ำการสภาทนายความจังหวัดพะเยา
10
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
ร�ำลึกถึง พี่..กิตติ คุณะเกษม เมื่อคราวอยู่ ดูแลกัน ฉันท์พี่น้อง ร�ำลึกถึง ความดี ของพี่ชาย ตั้งแต่นี้ ต่อไป ไม่มีแล้ว เจ็ดสมัย ที่ท่านอยู่ คู่สภาฯ
ถึงคราวต้อง จากลา พาใจหาย สุดบรรยาย มากล้น พ้นพรรณนา โอ้พี่แก้ว เคยร่วมทุกข์ สุขหรรษา ชื่อยังจา- รึกไว้ใน ใจทนายความ
ด้วยความรักและอาลัยยิ่ง (สรัลชา ศรีชลวัฒนา)
อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน / เลขาธิการสภาทนายความ
ประวัติ นายกิตติ คุณะเกษม นายกิตติ คุณะเกษม เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2486 เป็นบุตรของนายอัมพร
คุณะเกษม อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดพิษณุโลก กับนางบัวเผื่อน คุณะเกษม โดยนายกิตติ คุณะเกษม เป็นบุตรคนที่ 7 ในพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด 9 คน
การศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา นายกิตติ คุณะเกษม ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนพิรยิ าลัย จังหวัดแพร่ และโรงเรียน พิษณุโลกพิทยาคม จบการศึกษาในรุ่น พ.พ.01 จากนั้นสามารถสอบเทียบเข้าศึกษาในโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร ในระดับอุดมศึกษา นายกิตติ คุณะเกษม จบการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และยังได้รบั พระราชทานวุฒบิ ตั รผูบ้ ริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดับสูงวิทยาลัยการยุตธิ รรม หรือ บ.ย.ส.รุ่นที่ 4
ชีวิตสมรส นายกิตติ คุณะเกษม สมรสกับ นางสุวลักษณ์ คุณะเกษม มีบุตรด้วย กัน 4 คน ได้แก่ 1.นางสาวกฤติมา คุณะเกษม ประกอบธุรกิจส่วนตัว, 2.นางสาวแคทรียา คุณะเกษม สมรสกับนายจักกรี ฟักเจริญ ประกอบธุรกิจ ร้านอาหารซาลาเปาแป้งหมัก จังหวัดพิษณุโลก 3.นางขวัญรพี เชือ้ เมืองพาน ปัจจุบนั รับราชการต�ำแหน่งครูชำ� นาญการพิเศษโรงเรียนบ้านท่าข้าม อ�ำเภอ เวียงแก่น จังหวัดเชียงราย สมรสกับนายสุพจน์ เชื้อเมืองพาน รับราชการ นั ก วิ ช าการสาธารณสุ ข ช� ำ นาญการอ� ำ เภอเวี ย งแก่ น จั ง หวั ด เชี ย งราย, 4.นางสาวระพีพรรณ คุณะเกษม ประกอบอาชีพทนายความ ประจ�ำส�ำนักงาน ทนายความกิตติ คุณะเกษม ระหว่างมีชีวิต นายกิตติ คุณะเกษม ประกอบวิชาชีพทนายความด้วย ความภาคภูมิใจตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2510 โดยเปิดส�ำนักงานทนายความ กิตติ คุณะเกษม แม้ด้วยระดับสติปัญญาของท่านในขณะนั้น การที่จะสอบรับราชการ เป็นข้าราชการระดับสูงในกระบวนการยุติธรรมนั้น ไม่ใช่เรื่องยากเกินความ สามารถ แต่ท่านได้กล่าวให้ฟังอยู่เสมอว่า “ผมต้องการเป็นทนายความ ผมต้องการให้วิชาชีพทนายความเป็นวิชาชีพอันทรงเกียรติ และเป็นที่ยอมรับ โดยเฉพาะทนายความในต่างจังหวัดต้องช่วยกันยกระดับให้เป็นที่ ยอมรับทั้งความรู้ ความสามารถ ความซื่อสัตย์สุจริตไม่ด้อยกว่าอาชีพอัยการ ผู้พิพากษา หรืออาชีพอื่น ๆ”
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
11
นายกิตติ คุณะเกษม เป็นผู้มีจิตใจเอื้อเฟื้อกับมิตรสหาย คอยช่วยเหลือดูแลกิจการงานส่วนรวมของสภาทนายความอยู่ตลอด คอย ช่วยเหลือพี่น้องทนายความ สนับสนุนงานการศึกษากฎหมายของมหาวิทยาลัยต่างๆโดยให้ส�ำนักงานเป็นสถานที่ฝึกงานของพี่น้องทนายความ และนักศึกษากฎหมายมากมายหลายรุ่น โดยไม่หวงแหนความรู้แม้แต่น้อย ท่านคอยช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายโดยเฉพาะผู้ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม ท่านเป็นคนมีเมตตาแม้ขนาดป่วยนอนรักษาตัวอยู่ ท่านยัง กล่าวกับลูกๆ ว่า “อยากไปช่วยท�ำคดีๆ หนึ่งที่ท่านคิดว่าจ�ำเลยยังไม่ได้รับความเป็นธรรม” ความคิดของท่านนั้นแสดงถึงจิตอันเป็น สาธารณะและการอุทิศตนให้กับวิชาชีพทนายความอันทรงเกียรติของท่านอย่างแท้จริง จนคุณความดีของท่านได้รับประกาศให้ปรากฏจาก ต�ำแหน่งที่ได้รับต่างๆ ดังนี้ - ทนายความดีเด่น ปีพุทธศักราช 2548 - กรรมการบริหารสภาทนายความ ภาค 6 เจ็ดสมัย - ประธานชมรมทนายความจังหวัดพิษณุโลก - กรรมการกลั่นกรองกฎหมายแห่งสภาทนายความ - กรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งสภาทนายความ - ที่ปรึกษากฎหมายสมาคมจีนจังหวัดพิษณุโลก - ที่ปรึกษากฎหมายมูลนิธิประสาทบุญสถาน - ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมไหหล�ำภาคเหนือ - ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมนักเรียนเก่า สิ่นหมินพิษณุโลก - ประธานสภาเทศบาลเมืองพิษณุโลก - รองผู้ว่าการสโมสรไลออนส์สากลภาค 310 เอ - นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม - กรรมการมูลนิธิราชประชานุเคราะห์จังหวัดพิษณุโลก - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการจัดสรรที่ดิน จังหวัดพิษณุโลก - ที่ปรึกษาเจ้าพนักงานทีด่ ินจังหวัดพิษณุโลก - อนุกรรมการพิจารณาการด�ำเนินการทางวินยั และการให้ออกจากราชการ จ.พิษณุโลก นอกจากนั้น ในระหว่างมีชีวิตนายกิตติ คุณะเกษม ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นเบจมาภรณ์ มงกุฎไทย และได้รับเหรียญเงินอันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ซึ่งนับเป็นเกียรติประวัติต่อครอบครัวคุณะเกษมอย่างสูงสุด นายกิตติ คุณะเกษม ท่านเป็นสามีอันเป็นศรีแก่ ภริยา เป็นพ่อที่ดีของลูก เป็นพี่ใหญ่ใจดีของน้องๆ ทนายความ เป็นครูที่ดีของศิษย์ เป็นมหามิตรที่หาได้ ยากยิ่ง แต่สรรพสิ่งล้วนไม่เที่ยงแท้ ย่อมแปรเปลี่ยนไป เป็นธรรมดา ด้วยอายุทมี่ ากแล้วตามธาตุ ตามขันธ์ และ กาลเวลา ในวาระสุดท้ายของชีวิตจึงต้องถูกเบียนเบียน จากโรคมะเร็งตับ ซึ่งครอบครัวได้น�ำเข้ารักษาที่โรง พยาบาลพุ ท ธชิ น ราชจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก โดยกลั บ มา พักฟื้นที่บ้านและเข้ารักษาตัวเป็นระยะ แต่อาการก็ ทรุดลงตามล�ำดับ จนวาระสุดท้ายเข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลพิษณุเวช และถึงแก่กรรมด้วยอาการสงบท่ามกลางการดูแลของศรีภริยาและบุตรธิดา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2560 เวลา 1 นาฬิกา 55 นาที ศิริอายุรวม 73 ปี 8 เดือน 9 วัน พ่อคือพระ ผู้สร้าง ทางชีวิต
พ่อคอยสอน คอยเสริม เมื่อพลาดพลั้ง พ่อมีความ จริงใจ ให้หมู่มิตร พ่อสนับสนุน พัฒนา งานทนายความ มาวันนี้ ต้องพลัดพราก จากกันแล้ว ถูกคว้าควัก ต้องพรากจาก ลูกเมียไป ต้องทนฝืน ข่มจิต ให้คิดดี น�ำพ่อสู่ ทิพยวิมาน ชั้นฟ้าพรหม
พ่อคือเพื่อน คู่คิด ยามผิดหวัง พ่อเปรียบดัง แสงสุรีย์ ที่ดีงาม พ่ออุทิศ กายใจ ไม่เกรงขาม พ่อเดินตาม คุณธรรม ที่น�ำใจ ดังดวงแก้ว กิตติ อันผ่องใส หวีดหวิวใน อุรา พาระทม ขอคุณธรรม และความดี ที่สั่งสม ให้สุขสม ในภพหน้า อย่ากังวล
12
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 เดือนเมษายน 2560
วิทยากรพิเศษอบรมทนายความสิ่งแวดล้อม : เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายก สภาทนายความ พร้อมด้วย นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบาย และแผนงาน/เลขาธิการ, นายด�ำรงศักดิ์ เครือแก้ว อุปนายกฝ่ายปฏิบัติการ, นายเสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย, นายขวั ญ ชั ย โชติ พั น ธุ ์ ประธานอนุ ก รรมการสิ่ ง แวดล้ อ มฝ่ า ยฝึ ก อบรมและ วิชาการ และคณะท�ำงาน ร่วมต้อนรับ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ใ ห้เกียรติรับเชิญมาเป็นวิท ยากรพิเศษในการอบรมหลักสูตร “ทนายความ สิ่งแวดล้อม” รุ่นที่ 9 โดยบรรยายหัวข้อ “การพิสูจน์ความเสียหาย และฟื้นฟู สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในเชิงเศรษฐศาสตร์” ณ ห้องประชุม ชั้น 4 สภาทนายความฯ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ
ร่วมแสดงความยินดี : เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ มอบแจกันดอกไม้แสดงความยินดีเนื่องในโอกาส วันครบรอบ 16 ปี ของการเปิดทีท่ ำ� การศาลปกครอง ณ ส�ำนักงานศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร.
บรรยายพิเศษ : เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 : ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายก สภาทนายความ เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ หัวข้อ “พระอัจฉริยภาพทาง ด้านกฎหมายของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช” แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงราย สัมมนาวิชาการกฎหมาย : เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2560 : ว่าที่ ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภา ทนายความ เป็นประธานเปิดการสัมมนา เรื่อง “เสริมสร้างองค์ความรู้กฎหมาย ใหม่เพื่อพัฒนาศักยภาพในการให้ความ ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายอย่างบูรณาการ” ครั้งที่ 4/2560 (สภาทนายความภาค 2) โดยมีวิทยากรผู้ร่วมบรรยายได้แก่ พันต�ำรวจโทวันนพ สมจินตนากุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 4, ดร.อุลิช ดิษฐปราณีต กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 2, นาย สรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน/เลขาธิการ, นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ/กรรมการประชาสัมพันธ์ และนางสาวเสาวรียา ไชยยังธัญทวี กรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย ณ โรงแรมมณีจันทร์รีสอร์ท แอนด์ สปอร์ตคลับ จังหวัดจันทบุรี สภาทนายความในพระบรมราชู มภ : นายกิ่งกาญจน พงศทัต, นายจารึก รัตนบูรณ์, นายฐานสุอิทธิ์ ทองจีนทวีรัชต์, ที่ปรึกษาประจำ �กองบรรณาธิกปถัาร ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220
รวมสงภาพขาว-บทความมาลงเผยแพร
ไดที่ กองบรรณาธ�การ จดหมายขาวสภาทนายความ àÅ¢·Õè 249 ¶¹¹¾ËÅâ¸Թ á¢Ç§Í¹ØÊÒÇÃÕ ࢵºÒ§à¢¹ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 10220
â·ÃÈѾ· 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 µ‹Í 322 â·ÃÊÒà 0-2522-7158
Facebook : ÊÀÒ·¹Ò¤ÇÒÁã¹¾ÃкÃÁÃÒªÙ»¶ÑÁÀ
E-mail : lctnews2013@gmail.com
นายทรงศักดิ์ กอน้อย, นางสาวภัทรานิษฐ์ มหัทธนวิสิทธิ์, นายพลระพีย์ รังสีธรรม, นายภาคภูใบอนุ มิ เศวตรั , นายภิรมย์ สัมมาเมตต์, ญาตเลขทีต่ น์5/2559 พท 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 ตอ 322 โทรสาร 0-2522-7158 กสี่ ตมาศ, นายศิษฎ์ สุนันท์สถาพร, นายยงยุธ บุโทรศั ญทองแก้ ว, นายราเชน กิ่งทอง, นายเรวัต ปิยโชติสกุลชัย, นายวสันต์ ฝีมือช่าง, นายวันปณ.หลั ชัย โฆษิ นายสุกฤษฎิ์ แพรกรีฑาเวศน์, นายชิดชัย สายเชื้อ
บรรณาธิการ : นายทัศไนย ไชยแขวง ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายชนะวัฒน์ ษารักษ์ กองบรรณาธิการ : นายกิตติคณุ แสงหิรญั , นายเกียรติคณุ ต้นยาง, นายเชษฐ์ สุขสมเกษม, นางสาวบัวระวงค์ ทรัพย์กง่ิ ศาล, นายสมภพ หงษ์กติ ติยานนท์, นายอนันต์ชยั ไชยเดช, นายอภินนั ท์ รัตนสุคนธ์, ว่าที่ พ.ต.ธำ�รงเกียรติ กังวาฬไกล, นางกานดา จำ�ปาทิพย์, นางสาวกุญชนิตา กุญชร ณ อยุธยา, นายอานันท์ จันทร์ศรี, นางสาวจิตอารีย์ ปุญญะศรี ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ : นางสาวนัทธมน จันดี, นายไพศาล แก่ฉมิ
• ผลิตโดย สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7124-27 ต่อ 318, 322 โทรสาร : 0-2522-7158