จดหมายข่าว
สภาทนายความ สื่อสร้างสรรค์เพื่อทนายความ เผยแพร่งานช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและประโยชน์สาธารณะ
ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
สภาทนายความเปิดช่องทาง
ข่าวสารความรู้ Online ทางรายการ LAW UPDATE
เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ เปิด ตัวรายการ LAW UPDATE เพื่อเป็นสื่อกลางและช่องทางการให้ความรู้ข่าวสารด้านกฎหมายผ่าน ระบบ Online ส�ำหรับทนายความและประชาชนทั่วไป โดยมี นางสาวกุญชนิตา กุญชร ณ อยุธยา อนุกรรมการประชาสัมพันธ์สภาทนายความ / ผูป้ ระกาศข่าวสถานีโทรทัศน์สกี องทัพบกช่อง 7 เป็นผูด้ ำ� เนินรายการ ซึง่ ครัง้ นีเ้ ป็นการออกอากาศ ครั้งแรก มีนายสมศักดิ์ อัจจิกุล กรรมการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมาย ร่วมพูดคุยประเด็นต่างๆ ทั้งนี้ สามารถติดตามรับชมรายการ LAW UPDATE ได้ทุกวันพฤหัสบดี ถ่ายทอดสดผ่านทาง FACEBOOK LIVE เพจสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่เวลา 18.30 น. เป็นต้นไป
สภาทนายฯ ติง
ว่าที่ พ.ต.สมบัติ วงศ์ก�ำแหง อุปนายกฝ่ายบริหาร / โฆษกสภาทนายความใน พระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวถึงกรณีกลุ่มนักค้ายาเสพติดนิยมใช้เด็กและเยาวชนเป็นคนส่ง ยาเสพติด เพราะหากถูกเจ้าหน้าที่จับกุมก็จะด�ำเนินกระบวนวิธีพิจารณาคดีในศาลเยาวชน เน้นการบ�ำบัดฟื้นฟู จึงมักเป็นช่องทางที่เด็กและเยาวชนจะถูกชักจูงให้เป็นเเข้าเหยื่อในการ กระท�ำความผิดเกี่ยวกับการค้ายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ว่า “กรณีน้ี การที่จะลงโทษเด็กหรือไม่นั้น ให้ค�ำนึงถึงเจตนาที่แท้จริงของเด็กด้วยว่า มี ความรูส้ ำ� นึกในการกระท�ำหรือไม่ รูห้ รือไม่วา่ ของทีน่ ำ� ไปส่งนัน้ คือ ยาเสพติด ถ้าไม่รถู้ อื ว่าไม่มี เจตนากระท�ำความผิด เด็กจึงเป็นเพียงเครื่องมือในการกระท�ำความผิดของแก๊งค้ายาเสพติด กรณีเช่นนี้ แก๊งค้ายาเสพติดจึงเป็นผู้ลงมือกระท�ำความผิดโดยอ้อม” “อย่างไรก็ตาม แม้วา่ เด็กจะไม่ผดิ แต่ยงั ถูกควบคุมตัวเข้าสูก่ ระบวนการทางกฎหมายด้วยวิธพี จิ ารณาความคดีเด็กและเยาวชนของศาลเยาวชนฯ ไปก่อน ต้องถูกสอบสวนเพื่อตรวจสอบ ซึ่งเด็กอาจได้รับผลกระทบบ้าง จะให้เบี่ยงออกไปจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเลยคงไม่ได้ มันต้องเข้า เงือ่ นไขประเภทคดี และอัตราโทษคดีนนั้ ๆ แต่คดียาเสพติดเป็นคดีนโยบายรัฐ ดังนัน้ บุคลากรในกระบวนการยุตธิ รรมทัง้ ระบบต้องช่วยกันตรวจสอบ” นอกจากนี้ ปัจจุบันมีพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นฉบับแก้ไขล่าสุด ที่มีสาระส�ำคัญของกฎหมายเปิดโอกาส ให้ผู้ครอบครองเพื่อเสพแต่ถูกจับข้อหาครอบครองเพื่อจ�ำหน่าย ได้พิสูจน์ตนเองว่ามีเจตนาซื้อมาเพื่อเสพเท่านั้น ต่างจากพระราชบัญญัติฯ ฉบับเดิมที่ เป็นเหมือนกฎหมายปิดปาก ใครมียาในปริมาณที่ก�ำหนดให้ถือเด็ดขาดว่าจ�ำหน่าย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 จึงเป็น เปิดโอกาสในการพิสูจน์ความบริสุทธิ์ของจ�ำเลยได้.
ลงโทษเด็ก-เยาวชน ในคดียาเสพติด
ต้องดูทเี่ จตนา
2
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
คุยกับ บก. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 68 “การยื่นและส่งค�ำคู่ความและเอกสารใน
ลักษณะนี้ไม่ว่าการนั้นจะเป็นโดยคู่ความฝ่ายใดท�ำต่อศาลหรือต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง หรือศาลท�ำต่อคู่ ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทุกฝ่าย รวมทั้งการแจ้งค�ำสั่งของศาลหรือข้อความอย่างอื่นไปยังคู่ความหรือ บุคคลอืน่ ใด อาจด�ำเนินการโดยทางไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์หรือสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศอืน่ ใดก็ได้ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีก่ ำ� หนดไว้ในข้อก�ำหนดของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของทีป่ ระชุม ใหญ่ศาลฎีกา และเมื่อข้อก�ำหนดนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้”
ทัศไนย ไชยแขวง
บรรณาธิการบริหาร
ในห้วงเวลานี้ก็คงไม่มีข้อกฎหมายเรื่องใดที่จะได้รับความสนใจและน่าติดตามเท่ากับบทกฎหมายข้างต้นอีกแล้ว บทบัญญัตินี้เป็นเรื่องที่ แก้ไขเพิ่มเติมในกระบวนการวิธีพิจารณาหรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “การยื่นฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Filing” ซึ่งที่จะเป็น จุดเปลี่ยนในเรื่อง ความสะดวก รวดเร็ว และลดค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องตามเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ตราขึ้นมา กฎหมายที่ส�ำคัญๆ ที่ตราออกมาใช้บังคับนั้น สภาทนายความถือว่าเป็นภาระหน้าที่ที่จะต้องน�ำเสนอให้แก่เพื่อนๆ สมาชิกและประชาชน ทั่วไปให้ได้ทราบและเข้าใจถึงบทกฎหมายนั้นๆ ทั้งในรูปแบบของเอกสารเผยแพร่ การบรรยาย รวมถึงการสัมมนา เพื่อความรู้ความเข้าใจใน กฎหมายดังกล่าวให้แก่เพื่อนๆ ทนายความ ในกรณีนี้ก็เช่นกันนอกจากจะน�ำเสนอใน “จดหมายข่าวฯ” ฉบับนี้แล้ว ทางสภาทนายความฯ ก็จะจัด ให้มีการสัมมนาในกฎหมายดังกล่าวเพื่อความรู้ความเข้าใจในการใช้กฎหมายดังกล่าว ขอให้เพื่อนๆ สมาชิกติดตามข่าวสารได้ตามช่องทางการ สื่อสารของสภาทนายความในวัน เวลา สถานที่ในการสัมมนาดังกล่าว ซึ่งการจัดสัมมนาเผยแพร่กฎหมายนั้น จะมีการจัดทั้งในส่วนกลาง และ ส่วนภูมิภาคทั้ง 9 ภาค โดยสลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปในจังหวัดต่างๆ ของแต่ละภาค ซึ่งถือเป็นนโยบายหลักของคณะกรรมการบริหารที่จะ เพิ่มศักยภาพให้แก่เพื่อนสมาชิกให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้
เกร็ดกฎหมาย
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2560 สาระส�ำคัญ :
1. แก้ไขข้อสันนิษฐานเด็ดขาดของกฎหมาย “เพื่อจ�ำหน่าย” จ�ำเลยที่ถูกฟ้องในความผิดฐานผลิต น�ำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบ ครองซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 1 มีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ ประเภท 2, 4 และ 5 สามารถน�ำพยานหลักฐานเข้าสืบหักล้างข้อสันนิษฐานของกฎหมายได้ว่า ตนเองมิได้มีเจตนา “เพื่อจ�ำหน่ายได้” โดยโจทก์หรือจ�ำเลยยื่นค�ำแถลงต่อศาลขอสืบพยาน หลักฐานเพิ่มเติม ส�ำหรับคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น เท่านั้น
2. แก้ไข “บทก�ำหนดโทษ” จ�ำเลยที่ศาลพิพากษาลงโทษฐานผลิต น�ำเข้า ส่งออก ตามมาตรา 65 วรรค 1 จ�ำนวนเล็กน้อย (เช่น ยาบ้าไม่เกิน 15 เม็ด ฯลฯ) มีสิทธิ ยื่นค�ำร้องต่อศาลชั้นต้นที่พิพากษาคดีนั้น เพื่อขอก�ำหนดโทษใหม่ตามมาตรา 65 วรรค 1 ที่แก้ไขใหม่ได้ (จ�ำคุกตั้งแต่สิบปีถึงจ�ำคุกตลอดชีวิต) ส�ำหรับคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ให้ลงโทษตามบทก�ำหนดใหม่ ส่วนคดีที่ถึงที่สุดแล้ว ผู้กระท�ำผิดมี สิทธิยื่นค�ำร้องต่อศาลชั้นต้นี่พิพากษาคดีนั้น เพื่อขอก�ำหนดโทษใหม่
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
3
สั ม ภาษณ์ พ ิ เ ศษ นายภักดี บุษยะบุตรี
โดย กองบรรณาธิการ
อุปนายกฝ่ายเทคโนโลยีและสารสนเทศ
1. การให้บริการผู้ท่ีมีความประสงค์สมัครอบรมเป็น ทนายความ 2. งานให้บริการทนายความ และ 3. การบริการบุคคลทั่วไป ซึง่ งานทัง้ 3 เรือ่ งนี้ ทุกคนต้องสามารถเข้าถึงง่ายและใช้สะดวก เช่นการสมัครหรือยืน่ ค�ำร้องใดๆ สามารถด�ำเนินการทางเว็บไซด์ และ ช�ำระเงินตามร้านสะดวกซื้อ โดยใช้เลขบัตรประชาชน หรือเลขใบ อนุญาตทนายความ งานให้บริการห้องสมุดและกฎหมายใหม่ ให้มี ฐานข้อมูลเดียวที่ท�ำให้การท�ำงานฝ่ายต่างๆ คล่องตัวมากขึ้น และ ประหยัดเวลา ทั้งตัวทนายความและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่าย งานสารสนเทศ เป็นงานน�ำเสนอผลงานและข่าวสารต่อ สาธารณชนและทนายความ ซึง่ ปัจจุบนั สภาทนายความได้นำ� ข่าวสาร ส�ำนักงานเทคโนโลยีและสารสนเทศสภาทนายความ ส่งผ่านเวปไซด์ แต่มีข้อจ�ำกัดคือ สามารถส่งข่าวสารได้เพียง 10 ภายใต้การดูแลของ นายภักดี บุษยะบุตรี อุปนายกฝ่ายเทคโนโลยี รายการ ซึ่งในอนาคตถ้าพัฒนาระบบแล้วจะสามารถจุข่าวสารได้ และสารสนเทศ ซึ่งได้กล่าวถึงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและ มากกว่าทีเ่ ป็นอยู่ นอกจากนีก้ ารถ่ายทอดสดผ่านเฟสบุคไลฟ์ ในการ สารสนเทศของสภาทนายความ ให้รองรับงานบริการวิชาชีพ ประชุมสัมมนาหรือรายการประจ�ำก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ให้บริการ ทนายความในปัจจุบันและอนาคต ว่า แก่เพื่อนทนายความได้ “เทคโนโลยีและสารสนเทศ ในกระแสโลกาภิวัฒน์นับว่าเป็นสิ่ง เนื่องจากงานให้บริการทนายความ เป็นงานที่ต้องท�ำให้กับ ส�ำคัญยิง่ ทีจ่ ะสร้างความก้าวหน้าและทันสมัย สร้างความเชือ่ มโยงทัง้ ภายใน ทนาย ความทั้ ง ประเทศด้ ว ยความเสมอภาค แต่ ใ นความจริ ง และภายนอกองค์กร สนองตอบความต้องการได้อย่างรวดเร็ว งานฝ่ายนีจ้ งึ ทนายความที่อยู่ภูมิภาคในปัจจุบันไม่อาจที่จะเข้าถึงการบริการได้ ต้องแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ งานเทคโนโลยี และงานสารสนเทศ ดังนี้ สะดวก ดั ง นั้ น สภาทนายความจึ ง เน้ น การให้ ค วามสะดวกแก่ งานเทคโนโลยี เป็นงานที่สนองตอบความต้องการใช้งานและการ ทนายความภูมิภาคเป็นพิเศษ” ให้บริการ ปัจจุบันสภาทนายความถือว่ายังต้องปรับปรุงอย่างมาก เพราะ งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ เป็นงานทีจ่ ะได้มาต้องแลกด้วย เมื่อแรกเข้าบริหาร ปรากฏว่าไม่มีระบบเทคโนโลยีใดๆ เลย แม้แต่ เงินจ�ำนวนมากและไม่สามารถหยุดนิง่ ได้ รวมทัง้ ต้องมีระบบป้องกัน คอมพิวเตอร์ก็ยังใช้แอร์การ์ด ปัจจุบันได้เชื่อมระบบแลน แต่ก็เป็นเพียง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ประโยชน์ของทนายความ ภายใต้แนวคิดในการ ชั่วคราว และอยู่ระหว่างเตรียมการติดตั้งระบบอย่างถาวรโดยมีเป้าหมาย พัฒนาระบบให้ “เข้าถึงง่าย ใช้สะดวก”. ในอนาคต 3 เรื่อง คือ
งานเทคโนฯ ยุคใหม่
ระบบเข้าถึงง่าย ใช้สะดวก
ต้อนรับทนายความ DTBA : เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2560 ที่สภาทนายความ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร : นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่ายนโยบายและแผนงาน/เลขาธิการ พร้อมด้วย นายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ/กรรมการประชาสัมพันธ์ และ น.ส.บัวระวงษ์ ทรัพย์กิ่งศาล อนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับและพูดคุยกับคณะทนายความจาก Dai-Ichi Tokyo Bar Association น�ำโดย 1) Mr.Kohtaro YAMAMOTO, President of international exchange committee of DTBA 2) Mr.Shigeki TAKAHASHI, Vice president of international exchange committee of DTBA (Chief of Thai section) 3) Kentaro KOBAYASHI, Member of international exchange committee of DTBA 4) Keiko SHIRAI, Member of international exchange committee of DTBA ซึ่งได้มีการพูดคุยถึงการประชุม LAWASIA Conference 2017 ที่จัดขึ้นในกรุง โตเกียว และเชิญสภาทนายความเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ด้วย.
4
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
สั ม ภาษณ์ พ ิ เ ศษ โดย กองบรรณาธิการ
งานทะเบียนยุคใหม่... ใส่ใจบริการ
นายชัยวัธน์ ประจงใจ นายทะเบียนทนายความ
งานทะเบียนทนายความ เป็นหน่วยงานส�ำคัญล�ำดับต้นๆ ในการบริหารงาน ของสภาทนายความด้านการให้บริการทางวิชาชีพทนายความ ซึ่ง นายชัยวัธน์ ประจงใจ นายทะเบียนทนายความ คนปัจจุบัน (ปี 2559-2562) ได้ก�ำหนดทิศทางและ แผนการบริหารงานทะเบียนทนายความยุคใหม่ เน้นความฉับไว ใส่ใจบริการ โดยนายชัยวัธน์ เปิดเผยถึงแนวนโยบายการบริการงานทะเบียนทนายความยุคใหม่อีก 3 ปีจากนี้ ว่า “ปัจจุบนั เราจะเห็นการเปลีย่ นแปลงของระบบเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ทีม่ คี วามรวดเร็ว มากขึ้น อีกทั้ง ภารกิจด้านการทะเบียนในทุกองค์กรก็มีการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีมาปรับปรุงการให้บริการอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น ส�ำนักทะเบียนสภาทนายความ จึงก�ำหนดนโยบายการด�ำเนินงานเพือ่ ให้มกี ารทบทวนและปรับปรุงตามภารกิจงานทะเบียน ดังนี้
1. ด�ำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนให้ทันสมัยและรองรับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป 2. บริหารจัดการฐานข้อมูลทะเบียนสมาชิกสภาทนายความให้มี ความสมบูรณ์ ถูกต้อง เป็นปัจจุบนั สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด 3. ขยายการใช้ขอ้ มูลทางทะเบียน และการบูรณาการ เพือ่ เชือ่ ม โยงข้อมูลทางทะเบียนกับหน่วยงานอืน่ ๆ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อ สมาชิกสภาทนายความ เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์ ศาล เป็นต้น 4. ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาการให้ บ ริ ก ารทางด้ า นทะเบี ย นและ บัตรประจ�ำตัว ให้มีความสะดวก รวดเร็ว เพื่อตอบสนองความ ต้องการของสมาชิกสภาทนายความมากยิ่งขึ้น 5. ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นากฎหมายให้ ทั น สมั ย และสอดคล้ อ ง กับสภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อรองรับการให้บริการสมาชิก 6. ส� ำ นั ก ทะเบี ย นสภาทนายความ จะเป็ น ส่ ว นงานที่ มี ค วาม ทันสมัยด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถให้บริการด้านงาน ทะเบียนฐานข้อมูลแก่สมาชิกสภาทนายความและประชาชน ได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ นี้ ปัจจุบนั งานทะเบียนทนายความได้ดำ� เนินการด้านการให้บริการ แก่สมาชิกทนายความทั่วประเทศ โดยการปรับระบบงานบริการทางทะเบียน อย่างบูรณาการเพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่สมาชิกทนายความให้ได้รบั ความสะดวก รวดเร็ว ในการติดต่องานให้มากยิ่งขึ้น โดยนายชัยวัธน์ กล่าวว่า “ปัจจุบัน งานทะเบียนทนายความได้มีการปรับแผนงานต่างๆ เพื่อให้สอดรับกับ นโยบายการบริหารงานสภาทนายความ ได้แก่ การลดขั้นตอนการท�ำงาน เพื่อการให้บริการสมาชิกสภาทนายความ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการลดขั้นตอน การท�ำงาน ได้แก่ ปรับเปลี่ยนแบบฟอร์มค�ำขอต่างๆ ให้มีความกระชับยิ่งขึ้น และเพื่อให้สมาชิกสภาทนายความ ได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น ส�ำนักงาน ทะเบียนได้พจิ ารณาปรับเปลีย่ นรายละเอียดของเอกสารประกอบค�ำขอ ต่างๆ เพื่อลดภาระแก่สมาชิกสภาทนายความที่ยื่นค�ำขอให้ได้รับ ความสะดวกและลดขั้ น ตอนการยื่ น ค� ำ ขอให้ มี ค วามกระชั บ และ รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น ค�ำขอออกใบอนุญาตทนายความหรือบัตรประจ�ำตัว ทนายความ กรณีใบอนุญาตหรือบัตรประจ�ำตัวทนายความสูญหาย เดิม จะ ต้องใช้บนั ทึกการแจ้งความจากสถานีตำ� รวจ แต่ปจั จุบนั ยกเลิกการใช้เอกสาร ดังกล่าว โดยใช้บันทึกจากผู้ยื่นค�ำขอแทน,กรณีการจดทะเบียนใหม่ / ค�ำขอ จดทะเบียนใหม่ กรณีเคยเป็นทนายความมาแล้ว เดิม ต้องยืน่ เอกสารประกอบ
ใหม่ แต่ ป ั จ จุ บั น ใช้ ส มุ ด ประจ� ำ ตั ว ทนายความเดิ ม หรื อ บั ต รประจ� ำ ตั ว ทนายความเดิม ส�ำเนาบัตรประชาชน ส�ำเนาทะเบียนบ้าน รูปถ่าย / ค�ำขอ จดทะเบียนใหม่ เดิม แนบใบรับรองแพทย์ออกโดยโรงพยาบาลรัฐหรือเอกชน แต่ปจั จุบนั ใช้ใบรับรองแพทย์ออกโดยโรงพยาบาลรัฐหรือเอกชน หรือคลินกิ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม” “นอกจากนี้ ยังได้น�ำระบบ one stop service มาปรับใช้ในการให้ บริการสมาชิกสภาทนายความ กรณียื่นค�ำขอต่างๆ ที่ผู้ยื่นค�ำขอสามารถรอ รับเอกสารต่างๆ ได้ทันที โดยสิ่งที่ได้ด�ำเนินการไปแล้ว คือ การขอตรวจสอบ สถานะทนายความ รอรับเอกสารได้เลย, การต่อใบอนุญาต รอรับบัตรได้เลย, การเปลี่ ย นบั ต รประจ� ำ ตั ว รอรั บ ได้ เ ลย,การขอหนั ง สื อ รั บ รองการเป็ น ทนายความ ขอหนังสือรับรองเพื่อประกันตัว และหนังสือรับรองทุกกรณี รอ รับได้ภายใน 1 ชั่วโมง เป็นต้น และเพื่อให้สมาชิกสภาทนายความที่ติดต่อ ขอรับบริการงานทะเบียน ได้รับความประทับใจจากการติดต่องานทะเบียน สภาทนายความ จึงจัดเจ้าหน้าที่ต้อนรับ 1 คน ท�ำหน้าที่ในการต้อนรับ ตอบ ข้อซักถาม / แจกแบบฟอร์ม / ตรวจสอบข้อมูลเบือ้ งต้น / จัดล�ำดับการบริการ และจัดเพิม่ จุดรับเรือ่ งหน้าเคาท์เตอร์เพิม่ เป็น 2 จุด โดยมีเจ้าหน้าทีใ่ ห้บริการ 2 คน ท�ำหน้าที่รับเรื่องต่างๆ ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการในส�ำนักงาน ทะเบียนเพือ่ ด�ำเนินการตามค�ำขอต่างๆ ด้วยความถูกต้องรวดเร็วยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับการสร้างความชัดเจนของบัตรสมาชิกทนายความ คือ มีการแก้ไขข้อความระบุหลังบัตรสมาชิกทนายความประเภทตลอดชีพ จาก ค�ำว่า “บัตรหมดอายุ” เปลีย่ นเป็น “ก�ำหนดเปลีย่ นบัตร” เพือ่ สร้างความ เข้าใจแก่สมาชิกสภาทนายความประเภทตลอดชีพ รวมถึงหน่วยงาน หรือ องค์กรทีส่ มาชิกฯ น�ำบัตรสมาชิกทนายความไปติดต่อใช้งาน ลดปัญหาความ สับสนว่าบัตรหมดอายุแล้วใช้ไม่ได้” ส�ำหรับการให้บริการงานทะเบียนแก่สมาชิกฯ ที่อยู่ในภูมิภาคต่างๆ นั้น นายชัยวัธน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “ส�ำนักงานทะเบียนทนายความยังเปิดช่อง ทางการให้บริการแก่สมาชิกสภาทนายความในส่วนภูมิภาค ให้สามารถยื่น ขอรับบริการด้านต่างๆ ได้ทง้ั ทางไปรษณีย์ หรือผ่านประธานสภาทนายความ ประจ�ำจังหวัด หรือกรรมการบริหารสภาทนายความภาค อีกด้วย” จะเห็นได้วา่ การให้บริการของส�ำนักทะเบียนสภาทนายความ จะ เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่สมาชิกสภาทนายความให้ได้รับการบริการที่ดี สะดวก รวดเร็ว เพราะพวกท่าน คือ ผู้มีพระคุณแก่สภาทนายความ ทีท่ ำ� ให้พวกเราได้บริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความ ต้องการของท่านสมาชิกสภาทนายความ.
5
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
กฎหมายใหม่ โดย ว่าที่พันตรี สมบัติ วงศ์ก�ำแหง*
การรื้อฟื้นคดีอาญา ขึ้นพิจารณาใหม่
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยทีเ่ ป็นการสมควรก�ำหนดให้สทิ ธิแก่บคุ คลผูต้ อ้ งรับโทษอาญาโดยค�ำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ในการขอรือ้ ฟืน้ คดีขนึ้ พิจารณาใหม่ในภายหลัง หากปรากฏหลักฐานขึน้ ใหม่วา่ บุคคลนัน้ มิได้ เป็นผูก้ ระท�ำความผิดและก�ำหนดให้สทิ ธิทจี่ ะได้รบั ค่าทดแทนและได้รบั บรรดาสิทธิทเี่ สียไปเพราะผล แห่งค�ำพิพากษานั้นคืน หากปรากฏตามค�ำพิพากษาของศาลที่พิจารณาคดีที่รื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ว่าบุคคลผู้นั้นมิได้กระท�ำความผิด จึงจ�ำเป็น ต้องตราพระราชบัญญัตินี้ คดีอาญาในชั้นศาลใดสามารถขอให้รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ การรือ้ ฟืน้ คดีอาญาขึน้ พิจารณาใหม่และพิพากษาใหม่หลังจากค�ำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ซึง่ คดีอาจถึงทีส่ ดุ ในศาลชัน้ ต้น ศาลอุทธรณ์ หรือศาล ฎีกาก็ได้ และใช้ได้กับคดีอาญาของศาลยุติธรรม ศาลคดีเด็กและเยาวชน หรือศาลทหาร แล้วแต่กรณี การยื่นค�ำร้องขอให้รื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาคดีใหม่ (มาตรา ๕) ต้องปรากฏข้อเท็จจริงอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนี้ ๑. พยานบุคคลซึ่งศาลอาศัยเป็นหลักในการพิพากษาคดีอันถึงที่สุดนั้น ได้มีค�ำพิพากษาอันถึงที่สุดในภายหลังแสดงว่าค�ำเบิกความ ของพยานนั้นเป็นเท็จหรือไม่ถูกต้องตรงกับความจริง (มาตรา ๕ (๑)) พยานบุคคลเบิกความเท็จหรือไม่ถกู ต้องตรงกับความจริง หมายถึง พยานบุคคลในคดีอาญานัน้ มีการเบิกความทีบ่ ดิ เบือน เป็นความเท็จ ไม่ตรงต่อความเป็นจริง ซึง่ พยานบุคคลนัน้ เป็นประจักษ์พยาน หรือพยานบุคคลทีศ่ าลใช้เป็นหลักฐานส�ำคัญในการพิพากษาคดีดว้ ย หากเป็นเพียง พยานพฤติเหตุแวดล้อมหรือพยานบุคคลที่มิได้อาศัยเป็นหลักในการพิพากษาคดี จะอ้างเพื่อเป็นเหตุในการขอให้รื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ไม่ได้ ๒. พยานเอกสารหรือพยานวัตถุอื่นนอกจากพยานบุคคลตามข้อ ๑. ซึ่งศาลได้อาศัยเป็นหลักในการพิจารณาพิพากษาคดีอันถึงที่ สุดนั้น ได้มีค�ำพิพากษาถึงที่สุดในภายหลังแสดงว่าเป็นพยานหลักฐานปลอมหรือเท็จหรือไม่ถูกต้องตรงกับความจริง (มาตรา ๕ (๒)) พยานหลักฐานปลอม คือ พยานหลักฐานที่ถูกท�ำขึ้นใหม่โดยผู้ที่ไม่มีอ�ำนาจ เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นพยานหลักฐานที่แท้จริง รวมถึง การเปลี่ยนแปลงแก้ไขพยานหลักฐานที่แท้จริงด้วย พยานหลักฐานเท็จ คือ พยานหลักฐานที่ท�ำขึ้นโดยผู้ที่มีอ�ำนาจ แต่ได้ท�ำให้ผิดจากความเป็นจริงเพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อหรือเข้าใจผิดตาม พยานหลักฐานดังกล่าว
----------------------------------------------*อุปนายกฝ่ายบริหาร / โฆษกสภาทนายความ / ผู้อำ�นวยการสำ�นักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่งสภาทนายความ
อ่านต่อหน้า
6
6
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
และต้องปรากฏว่าศาลได้อาศัยพยานหลักฐานปลอมหรือ สามารถเปลี่ยนแปลงผลของค�ำพิพากษาที่ได้พิพากษาลงโทษผู้ร้องไป พยานหลักฐานเท็จดังกล่าวข้างต้นเป็นหลักในการพิจารณาพิพากษาคดี แล้วได้หรือไม่ เมื่อค�ำร้องของผู้ร้องอ้างเหตุ ตาม พ.ร.บ. การรื้อฟื้นคดี นั้นด้วย อาญาขึน้ พิจารณาใหม่ มาตรา ๕ (๓) แต่มไิ ด้อา้ งเหตุโดยละเอียดชัดแจ้ง ๓. มีพยานหลักฐานใหม่อนั ชัดแจ้งและส�ำคัญแก่คดี ซึง่ ถ้า ตามมาตรา ๘ จึงฟังไม่ได้ว่าผู้ร้องมีพยานหลักฐานใหม่อันชัดแจ้งและ ได้น�ำมาสืบในคดีอันถึงที่สุดนั้น จะแสดงว่าบุคคลผู้ต้องรับโทษอาญา ส�ำคัญแก่คดี ค�ำร้องขอของผูร้ อ้ งจึงไม่มมี ลู ศาลชอบทีจ่ ะมีคำ� สัง่ ยกค�ำร้อง ของผูร้ อ้ งได้โดยไม่ตอ้ งท�ำการไต่สวน แต่ศาลชัน้ ต้นมีคำ� สัง่ ยกค�ำร้องของ โดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดนั้นไม่ได้กระท�ำความผิด (มาตรา ๕ (๓)) พยานหลักฐานใหม่ หมายถึง พยานทุกประเภท ทั้งพยาน ผู้ร้องโดยมิได้ท�ำความเห็นไปยังศาลอุทธรณ์เพื่อให้ศาลอุทธรณ์มีค�ำสั่ง บุคคล พยานเอกสารและพยานวัตถุ ที่มิได้น�ำสืบไว้ในคดีเดิมที่ศาล และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนย่อมไม่ชอบด้วย มาตรา ๑๐ เพราะอ�ำนาจ พิพากษาถึงที่สุดนั้นและต้องเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลัง ในการมีคำ� สัง่ ตามค�ำร้องในคดีเป็นของศาลอุทธรณ์ แต่เมือ่ คดีได้ขนึ้ มา จากทีค่ ดีเดิมมีคำ� พิพากษาถึงทีส่ ดุ หรือรวมถึงพยานหลักฐานทีม่ อี ยูแ่ ล้ว สู่การพิจารณาของศาลฎีกาแล้ว ศาลฎีกาย่อมมีอ�ำนาจที่จะมีค�ำสั่งยก ในระหว่างพิจารณาคดีเดิมแต่มิได้ยกขึ้นต่อสู้คดี ซึ่งหากศาลเห็นว่าเพื่อ ค�ำร้องของผูร้ อ้ งได้โดยไม่ตอ้ งย้อนส�ำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์มคี ำ� สัง่ ใหม่ ประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลอาจอนุญาตให้ถือเอาพยานหลักฐาน ที่มิได้น�ำเข้าสืบในคดีเดิมนั้น เป็นพยานหลักฐานใหม่ได้ ตัวอย่าง ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๕๕๕/๒๕๔๘ ตามค�ำร้องของ ผู้ร้องอ้างแต่เพียงว่าค�ำเบิกความของพยานบุคคลซึ่งศาลอาศัยเป็นหลัก ในการพิพากษาลงโทษผู้ร้องเป็นค�ำเบิกความเท็จ ไม่ถูกต้องตรงกับ ความจริง โดยไม่ปรากฏว่าได้มีค�ำพิพากษาถึงที่สุดในภายหลังแสดงว่า ค�ำเบิกความของพยานดังกล่าวเป็นเท็จ หรือไม่ถูกต้องตรงกับความจริง ทั้งผู้ร้องเพิ่งจะยื่นฟ้อง ม. เป็นจ�ำเลยในคดีอาญาข้อหาเบิกความเท็จ แจ้งความเท็จ น�ำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานเท็จภายหลังจากที่ผู้ร้อง ได้ยื่นค�ำร้องนี้แล้ว กรณีจึงไม่ต้องด้วย พ.ร.บ.การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้น พิจารณาใหม่ พ.ศ.๒๕๒๖ มาตรา ๕ ตามค�ำร้องของผู้ร้องปรากฏว่าพยานบุคคลที่ผู้ร้องอ้างปาก หนึ่งเคยเบิกความเป็นพยานในคดีนี้แล้ว ส่วนพยานปากอื่นล้วนเป็น บุคคลที่ผู้ร้องรู้จักคุ้นเคยเพราะเป็นพนักงานที่ท�ำงานอยู่ในบริษัท ผู้เสียหายเช่นเดียวกับผู้ร้องบ้าง เป็นญาติพี่น้องกับผู้ร้องบ้างและเป็น เพือ่ นบ้านของผูร้ อ้ งซึง่ อยูก่ บั ผูร้ อ้ งในขณะเกิดเหตุบา้ ง และพยานเอกสาร ทีผ่ รู้ อ้ งอ้างก็เป็นเพียงบันทึกความเห็นและข้อทีพ่ ยานดังกล่าวจะมาเบิก ความ พยานหลักฐานที่ผู้ร้องอ้างตามค�ำร้องจึงเป็นพยานหลักฐานที่มี อยูก่ อ่ นและผูร้ อ้ งทราบดีอยูแ่ ล้ว ไม่ใช่พยานหลักฐานใหม่อนั ชัดแจ้งและ ส�ำคัญแก่คดีที่ผู้ร้องจะอ้างมาเป็นเหตุให้รื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาพิพากษา ใหม่ตาม พ.ร.บ.การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ มาตรา ๕ (๓) ได้ ค�ำร้องของผู้ร้องจึงไม่มีมูล ชอบที่ศาลจะมีค�ำสั่งยกค�ำร้องได้โดยไม่ต้อง ไต่สวน . ศาลชัน้ ต้นมีคำ� สัง่ ยกค�ำร้องของผูร้ อ้ งโดยไม่ทำ� ความเห็นไปยัง ศาลอุทธรณ์เพื่อให้ศาลอุทธรณ์มีค�ำสั่ง เพราะอ�ำนาจในการมีค�ำสั่งเป็น อ�ำนาจของศาลอุทธรณ์และการทีศ่ าลอุทธรณ์พพิ ากษายืน ย่อมเป็นการ ไม่ชอบด้วย พ.ร.บ.การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่มาตรา ๑๐ แต่เมื่อคดีขึ้นมาสู่การพิจารณาของศาลฎีกาแล้ว ศาลฎีกามีอ�ำนาจที่จะ มีคำ� สัง่ ยกค�ำร้องได้ โดยไม่ตอ้ งย้อนส�ำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์มคี ำ� สัง่ ใหม่ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๘๖๘/๒๕๔๔ ผูร้ อ้ งยืน่ ค�ำร้อง ขอให้รอื้ ฟืน้ คดีขนึ้ พิจารณาพิพากษาใหม่ โดยอ้างเหตุแต่เพียงว่า มีพยาน หลักฐานใหม่ตามบัญชีพยานท้ายค�ำร้องทีจ่ ะแสดงชีช้ ดั เท่านัน้ ไม่ปรากฏ ข้ออ้างโดยละเอียดชัดแจ้งเพือ่ ให้เห็นว่า พยานหลักฐานใหม่มคี วามเป็น มาอย่างไร เหตุใดจึงไม่น�ำมาพิสูจน์ว่าผู้ร้องมิได้กระท�ำความผิดตั้งแต่ แรก ที่ส�ำคัญพยานหลักฐานใหม่นั้นมีความส�ำคัญแก่คดีมากพอที่จะ
บุคคลที่มีสิทธิยื่นค�ำร้องขอให้ศาลพิจารณา พิพากษาคดีใหม่ (มาตรา ๖) บุคคลที่มีสิทธิยื่นค�ำร้องขอให้ศาลพิจารณาพิพากษาคดี ได้แก่ (๑) บุคคลที่ต้องรับโทษอาญาโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุด (๒) ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมหรือผูอ้ นุบาลของบุคคลผูต้ อ้ งรับโทษ อาญาโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดนั้น (๓) ผู้จัดการหรือผู้แทนอื่นของนิติบุคคลกรณีผู้ต้องรับโทษ อาญานั้นเป็นนิติบุคคล (๔) ผูบ้ พุ การี ผูส้ บื สันดาน สามีหรือภริยาของบุคคลผูต้ อ้ งรับ โทษอาญาในกรณีทบี่ คุ คลนัน้ ถึงแก่ความตายก่อนทีจ่ ะมีการยืน่ ค�ำร้อง
ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๖๓/๒๕๕๒ ผู้ร้องเป็นสามี จ�ำเลยแต่จ�ำเลยยังมีชีวิตอยู่ ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิยื่นค�ำร้องขอให้รื้อฟื้นคดี อาญาขึ้นพิจารณาใหม่แทนจ�ำเลย ตาม พ.ร.บ.การรื้อฟื้นคดีอาญา ขึ้นพิจารณาใหม่ พ.ศ.๒๕๒๖ มาตรา๖(๔) . (๕) พนักงานอัยการในกรณีที่พนักงานอัยการมิได้เป็นโจทก์ ในคดีเดิม พนักงานอัยการจะยื่นค�ำร้องเมื่อเห็นสมควรเองหรือเมื่อ บุคคลตาม (๑)(๒)(๓) หรือ(๔) ร้องขอก็ได้ ยื่นต่อศาลใด ยื่นต่อศาลชั้นต้นที่ได้พิพากษาคดีนั้น หรือศาลอื่นที่ได้มีเขต อ�ำนาจแทนศาลนั้น เว้นแต่ (๑) คดีของศาลอาญาศึก หรือ ศาลประจ�ำหน่วยทหาร ให้ยื่น ต่อศาลทหารกรุงเทพ (๒) คดีของศาลตามกฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม ที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็น ศาลทหาร และ ไม่เป็นศาลทหารส�ำหรับคดีนั้นแล้ว ให้ยื่น ต่อศาลตามกฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรมที่เคยเป็นศาล ทหารนั้น หรือ ศาลอื่นที่ได้มีเขตอ�ำนาจแทนศาลนั้น มูลเหตุที่ต้องระบุให้ค�ำร้อง ในค�ำร้องต้องอ้างเหตุในการร้องขอให้มีการรื้อฟื้นคดีขึ้น พิจารณาใหม่ตามมาตรา ๕ ให้ละเอียดชัดแจ้ง และถ้าประสงค์จะขอค่า ทดแทนเพือ่ การทีต่ อ้ งรับโทษอาญา หรือขอรับสิทธิทตี่ อ้ งเสียไป อันเป็น ผลโดยตรงจากค�ำพิพากษานั้นคืน ก็ให้ระบุเรื่องค่าทดแทนหรือสิทธิที่ ขอไว้ในค�ำร้องนั้นด้วย โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล สิทธิที่ขอรับ
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
คืนนีม้ ใิ ห้รวมถึงสิทธิในทางทรัพย์สนิ การยืน่ ค�ำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ เป็นคนละกรณีกับ พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย ค่าทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๔ การไต่สวนค�ำร้อง
7
การก�ำหนดค่าทดแทน การก�ำหนดค่าทดแทนให้ได้ไม่เกินจ�ำนวนตามค�ำขอและ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีเกี่ยวกับทรัพย์ กรณีต้องรับโทษริบทรัพย์สิน ต้องคืนทรัพย์สินที่ถูกริบนั้น ให้ศาลที่ได้รับค�ำร้องท�ำการไต่สวนว่ามีมูลพอที่จะรื้อฟื้นคดี ขึน้ พิจารณาพิพากษาใหม่หรือไม่ ลักษณะเดียวกับการไต่สวนมูลฟ้องคดี เว้นแต่เป็นทรัพย์สินที่กฎหมายบัญญัติว่าให้ริบ ไม่ว่าทรัพย์น้ันจะเป็น อาญาทั่วไป เว้นแต่กรณีที่พนักงานอัยการเป็นผู้ร้อง ศาลจะไต่สวน ของผู้กระท�ำความผิดและมีผู้ถูกลงโทษตามค�ำพิพากษาหรือไม่ หากคืน ไม่ได้ก็ให้ชดใช้ราคา ส่วนในกรณีที่เป็นเงินก็ให้ได้รับเงินคืน โดยศาล ค�ำร้องหรือไม่ก็ได้ เฉพาะกรณีพนักงานอัยการยื่นค�ำร้อง หากศาลเห็นว่าไม่ จะก�ำหนดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีของจ�ำนวนเงินนั้นให้ด้วย จ�ำเป็นต้องไต่สวนค�ำร้องของพนักงานอัยการ ก็ให้ศาลสั่งรับค�ำร้องและ ก็ได้ กรณีต้องโทษปรับและได้ช�ำระค่าปรับต่อศาลแล้ว ให้ได้รับ ด�ำเนินการพิจารณาคดีทรี่ อื้ ฟืน้ พิจารณาใหม่ตอ่ ไป ค�ำสัง่ ของศาลชัน้ ต้น เงินค่าปรับคืน โดยศาลจะก�ำหนดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีของ ที่ให้รับค�ำร้องของพนักงานอัยการให้เป็นที่สุด ในการไต่สวนค�ำร้อง ศาลจะส่งส�ำเนาค�ำร้องและแจ้งวันนัด จ�ำนวนเงินนั้นให้ด้วยก็ได้ ให้โจทก์ในคดีเดิมทราบ ซึง่ พนักงานอัยการและโจทก์ในคดีเดิมจะมาฟัง (๒) กรณีไม่เกี่ยวกับทรัพย์ การไต่สวนและซักค้านพยานของผูร้ อ้ งหรือจะแต่งทนายความมาท�ำการ กรณีตอ้ งโทษกักขังหรือจ�ำคุกให้ได้รบั ค่าทดแทนเป็นเงินตาม ไต่สวนแทนหรือไม่ก็ได้ จ�ำนวนวันที่ถูกกักขังหรือจ�ำคุก ในอัตราที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการกักขัง เมือ่ ศาลไต่สวนค�ำร้องเสร็จแล้วให้สง่ ส�ำนวนการไต่สวนพร้อม แทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญา ทั้งความเห็นไปยังศาลอุทธรณ์ ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่าค�ำร้องนั้นมีมูลให้ กรณีต้องรับโทษประหารชีวิตให้ก�ำหนดค่าทดแทนเป็นเงิน ศาลอุทธรณ์สั่งรับค�ำร้องและส่งให้ศาลชั้นต้นที่รับค�ำร้องด�ำเนินการ จ�ำนวนไม่เกินสองแสนบาท (ผูย้ นื่ ค�ำร้องกรณีนคี้ อื ผูบ้ พุ การี ผูส้ บื สันดาน พิจารณาคดีที่รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ต่อไป แต่ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่า สามี หรือภริยา ตามมาตรา ๖ (๔)) ค�ำร้องนั้นไม่มีมูลให้ยกค�ำร้องนั้น ค�ำสั่งรับค�ำร้องหรือค�ำสั่งยกค�ำร้อง กรณีถูกใช้วิธีการส�ำหรับเด็กและเยาวชน ก็ให้ศาลก�ำหนด ของศาลอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด ค่าทดแทนให้ตามที่สมควร ในกรณีที่ศาลสั่งรับค�ำร้องต้องมีการสืบพยาน โดยพนักงาน การสั่งคืนสิทธิที่เสียไป อัยการหรือโจทก์ในคดีเดิมมีสิทธิยื่นค�ำคัดค้านและน�ำพยานหลักฐาน กรณีที่ไม่สามารถคืนสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดที่บุคคลนั้นเสีย ของตนเข้าสืบหักล้างได้ และเมื่อศาลเห็นสมควรศาลจะเรียกพยานที่ ไปอันเป็นผลโดยตรงจากค�ำพิพากษานั้นได้ ให้ศาลก�ำหนดค่าทดแทน น�ำสืบมาแล้วมาสืบเพิ่มเติมหรือเรียกพยานอื่นมาสืบก็ได้ เพื่อสิทธินั้นได้ตามที่เห็นสมควร การปล่อยตัวชั่วคราว การอุทธรณ์หรือฎีกา ในระหว่างด�ำเนินการพิจารณาคดีที่รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ เมื่อศาลได้มีค�ำพิพากษาในคดีที่ได้รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ ศาลชั้นต้นอาจสั่งปล่อยบุคคลผู้ต้องรับโทษอาญานั้นชั่วคราวโดยมี พนักงานอัยการผูร้ อ้ งหรือโจทก์ ในคดีเดิมซึง่ เป็นคูค่ วามมีสทิ ธิอทุ ธรณ์ ประกันหรือมีประกันและหลักประกันด้วยก็ได้ (มาตรา ๑๒) หรือฎีกาต่อไปได้ (มาตรา ๑๕) การพิจารณาคดีที่รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ ยื่นได้เพียงครั้งเดียว ค�ำร้องเกี่ยวกับผู้ต้องรับโทษอาญาคนหนึ่งในคดีหนึ่งให้ยื่น การพิจารณาคดีที่รื้อฟื้นขึ้นพิจารณาใหม่ ให้ศาลมีอ�ำนาจ (๑) ถ้าค�ำพิพากษาที่ถึงที่สุดในคดีเดิมเป็นค�ำพิพากษาของ ได้เพียงครั้งเดียว ศาลชัน้ ต้น ให้ศาลชัน้ ต้นทีร่ บั ค�ำร้องด�ำเนินการพิจารณาพิพากษาต่อไป กรณีผู้ร้องตาย และถ้าเห็นว่าบุคคลนัน้ ได้กระท�ำความผิดจริงก็ให้พพิ ากษายกค�ำร้องนัน้ เมื่อได้มีการยื่นค�ำร้องแล้วปรากฏว่าผู้ยื่นค�ำร้องถึงแก่ความ เสี ย แต่ ถ ้ า เห็ น ว่ า บุ ค คลนั้ น มิ ไ ด้ ก ระท� ำ ความผิ ด ให้ พิ พ ากษายก ตาย ผูบ้ พุ การี ผูส้ บื สันดาน สามีหรือภริยาของบุคคลผูต้ อ้ งรับโทษอาญา ค�ำพิพากษาเดิมและพิพากษาว่าบุคคลนั้นมิได้กระท�ำความผิด โดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดซึ่งยังมีชีวิตอยู่จะด�ำเนินคดีต่างผู้ตายต่อไปก็ได้ (๒) ถ้าในค�ำพิพากษาคดีเดิมเป็นค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๑๙) หรือศาลฎีกาให้ศาลชัน้ ต้นทีร่ บั ค�ำร้องด�ำเนินการพิจารณาและท�ำความ ระยะเวลาที่ต้องยื่นค�ำร้อง เห็นส่งส�ำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณีพจิ ารณาเพือ่ ค�ำร้องขอให้ศาลพิจารณาพิพากษาคดีใหม่ให้ยื่นได้ภายใน พิพากษายกค�ำร้องหรือยกค�ำพิพากษาเดิมและพิพากษาว่าบุคคลนัน้ มิได้ หนึ่งปีนับแต่วันที่ปรากฏข้อเท็จจริงอันเป็นมูลเหตุให้ยื่นค�ำร้องหรือ กระท�ำความผิด ภายในสิ บ ปี นั บ แต่ วั น ที่ ค� ำ พิ พ ากษาในคดี เ ดิ ม ถึ ง ที่ สุ ด แต่ เ มื่ อ มี ในกรณีที่มีค�ำขอค่าทดแทนหรือขอรับสิทธิคืนก็ให้ศาลตาม พฤติ ก ารณ์ พิ เ ศษศาลจะรั บ ค� ำ ร้ อ งที่ ยื่ น เมื่ อ พ้ น ก� ำ หนดเวลานั้ น ไว้ ชัน้ ต้นตาม (๑) หรือ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา (๒) ทีพ่ พิ ากษาว่าบุคคล พิจารณาก็ได้. นั้ น ๆไม่ ไ ด้ ก ระท� ำ ความผิ ด มี ค� ำ สั่ ง เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งค่ า ทดแทนหรื อ สิทธิที่ขอคืนดังกล่าวด้วย (มาตรา ๑๓)
8
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
สรุปบรรยายอบรมวิชาว่าความภาคปฏิบัติ รุ่น 46 : เมื่อวันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม 2560 : ว่าที่พันตรี สมบัติ วงศ์ ก� ำ แหง ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ฝึ ก อบรมวิ ช าว่ า ความแห่ ง สภา ทนายความ เป็นวิทยากรบรรยายสรุปหลักเกณฑ์การเขียนค�ำคู่ความ และขอบเขตการสอบภาคปฏิบัติ นักศึกษาอบรมวิชาว่าความ รุ่น 46 ณ ห้องประชุม ชั้น 5 สภาทนายความ ถ.พหลโยธิน กรุงเทพมหานคร.
ประมวลภาพการอบรมการฝึกทักษะการเขียนคำ�คู่ความ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนทดสอบวิชาว่าความ (ภาคปฏิบัติ) รุ่นที่ 46 ภาค 1
ภาค 4
ภาค 7
ดูงานเรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี : เมื่อวันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม 2560 ณ ห้องประชุม สีหบุรานุกิจ ตึกอ�ำนวยการ เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี : นาย เสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชน ทางกฎหมาย พร้อมด้วยนายสัญญา ภัชระ สามารถ ประธานสภาทนายความจังหวัดมีนบุรี และคณะทนายความ จังหวัดมีนบุรี ร่วมเดินทางศึกษาดูงานเรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี โดยมี นายแพทย์ สมภพ สังคุตแก้ว ผู้บัญชาการเรือนจ�ำ พิเศษมีนบุรี ให้การต้อนรับ โดยรับฟังการบรรยายสรุป บทบาทและภารกิจเรือนจ�ำ รวมถึงหารือแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแนวทางการด�ำเนินงานการช่วยเหลือผู้ต้องขัง ทางกฎหมายเชิงบูรณาการ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้ง ยังเดินเยี่ยมชมส่วนงานต่างๆ ภายในเรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี เช่น สถานตรวจพิสูจน์, ฝ่ายการศึกษา, สถานพยาบาล, สูทกรรม, แดนแรกรับ เป็นต้น.
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
9
นับเป็นความทันสมัยและก้าวทันยุคไทยแลนด์ยุค 4.0 ที่ศาล
ยุตธิ รรมได้เพิม่ ช่องทางในการอ�ำนวยความสะดวก ประหยัดเงินและเวลา ในการฟ้องคดีของประชาชน โดยการน�ำระบบการยื่นและส่งค�ำคู่ความ หรือที่เรียกว่า การฟ้องคดีโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing ) มาใช้ และขณะนีไ้ ด้เปิดให้ทนายความสามารถยืน่ ฟ้องคดีผา่ นระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ได้แล้วตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2560 ที่ผ่าน มา ซึ่งขณะนี้มีศาลน�ำร่องเปิดที่ให้บริการอยู่ 3 ศาล ได้แก่ ศาล แพ่ง, ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลแพ่งธนบุรี ทั้งนี้ คดีที่เข้าข่าย การยืน่ ฟ้องแบบ e-Filing ส่วนใหญ่จะเป็นคดีแพ่ง เช่น ซือ้ ขาย เช่าทรัพย์ จ�ำนอง จ�ำน�ำ ค�้ำประกัน กู้ยืมเงิน เช่าซื้อ และบัตรเครดิต เป็นต้น
ทนายความทีจ่ ะสามารถยืน่ ฟ้องคูค่ วามผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้นั้น ทนายความจะต้องลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานระบบ ทาง เว็บไซต์ e-Filing.coj.go.th สามารถใช้งานได้ทั้งสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ โดยเป็นการลงทะเบียนครั้งเดียวสามารถใช้งาน ได้ 3 ปี และเมื่อครบ 3 ปี ระบบจะให้ทนายความอัพเดตข้อมูลส่วนตัว เพือ่ ต่ออายุ และเมือ่ ลงทะเบียนแล้วทนายความจะได้รบั username และ password และจะสามารถยื่นค�ำฟ้องได้ทันที โดยไม่ต้องเดินทางมา ยืนยันตัวตนทีศ่ าลก่อน แต่จะต้องยืนยันตัวตนในครัง้ ต่อมาเช่นในวันนัด พิจารณาคดีครั้งแรก ส่วนค่าธรรมเนียมศาลแพ่ง ทนายความก็ยังสามารถช�ำระโดย ผ่านบัตรเครดิต หรือบัตรเดบิตได้ จากนั้นหลังจากมีการยื่นฟ้องแล้ว ผู้พิพากษาจะมีค�ำสั่งผ่านระบบ e-Filing ทางทนายความจะได้รับการ ยืนยันการยื่นฟ้องดังกล่าวผ่าน sms หรือ e-mail
สามารถช�ำระเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ในนามขององค์กร ต้องไปผูก ที่ตัวทนายความเท่านั้น ทนายความจะต้องจ่ายผ่านบัตรเครดิตของ ตัวเอง ไม่สามารถผ่านบัตรเครดิตขององค์กร โครงการนี้ในหลักการ ถือว่าดี เป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ทนายความได้คล่องตัว รวดเร็ว ขึ้น แต่ถ้าระบบมันใช้ได้แล้วควรขยายให้มากกว่านี้ แต่สิ่งหนึ่งที่ตามมา คือเมื่อมีการใช้หักเงินผ่านระบบ มักจะมีปัญหาตามมาในเรื่องความ ปลอดภัย จะต้องมีต้องดูว่าระบบวางมาตรการรักษาความปลอดภัย แค่ไหน แฮกเกอร์จะเข้าไปได้หรือไม่ อย่างตอนนี้ในสังคมโลกที่มีระบบ ที่กล่าวกันว่าดีก็มีการแฮกเกอร์ได้ มีการเรียกค่าไถ่ปรากฏขึ้นมา”
“กระบวนการหลังจากยื่นฟ้องระบบอิเล็กทรอนิกส์มา ไม่ว่าจะ เป็นการยืน่ ค�ำให้การ การฟ้องแย้ง การยืน่ บัญชีพยานต่างๆ จะต้องกลับ ไปท�ำที่ศาลทั้งหมด เพราะยังไม่ได้ขยายในส่วนนั้น การแก้ไขค�ำฟ้องถ้า ทั้งนี้ ว่าที่พันตรี สมบัติ วงศ์ก�ำแหง อุปนายกฝ่ายบริหาร/ ระบบคอมพิวเตอร์ผดิ พลาด จะต้องไปดูกนั ว่ามีการแก้ไขตรงไหนอย่างไร โฆษกสภาทนายความ ให้ความเห็นถึงระบบ e-Filing ว่า “หลังจากที่ จะต้องไปแสดงต่อศาลอยูด่ ี ซึง่ เมือ่ ลองเปรียบเทียบไปถึง พ.ร.บ.พาณิชย์ มีการอบรมระบบ e-Filing กับทนายความมาเมื่อประมาณ 1 สัปดาห์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ยกเลิกระบบการใช้กระดาษที่ไม่ต้องใช้ลายเซ็น เท่าที่ทราบคนที่รู้จักยังไม่เคยมีการใช้ระบบดังกล่าว ตอนนี้เป็นแค่ศาล และประกาศใช้มาก่อนหน้านี้ ก็ยงั ไม่สามารถแก้ไขปัญหาวงการค้าบ้าน น�ำร่อง เป็นการเปิดให้เฉพาะทนายความฟ้องคดีให้ประชาชน ยังไปฟ้อง เราได้ เพราะพอส่งเข้ามาสู้คดีก็ยังต้องมีการถกเถียงกันเรื่องต้นฉบับ คดีเองไม่ได้ จึงเป็นการอ�ำนวยความสะดวกเฉพาะทนายที่สามารถยื่น ของลายเซ็น ต้องต่อสู้กันในเรื่องนี้อีก ถ้ามองว่าจะใช้ระบบดังกล่าว ฟ้องได้โดยไม่ตอ้ งผ่านการจราจรและสภาพดินฟ้าอากาศ ฝนตกน�ำ้ ท่วม ด�ำเนินคดีทงั้ หมด อันนัน้ ยังเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งใช้เวลาอีกยาวพอสมควร แต่ ในขณะนี้ ถือว่าเป็นประโยชน์แน่นอน รวมถึงสะดวกในการช�ำระค่า ไม่ใช่ว่าไปไม่ได้ ความพร้อมของสังคมเราตอนนี้ยังไม่พร้อมอยู่ตรงนั้น ธรรมเนียมในชั้นยื่นฟ้อง แต่ขณะนี้ยังไม่ได้ขยายผลว่าจะด�ำเนินการ แต่การเริ่มต้นที่น�ำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาช่วยอ�ำนวยความสะดวก อย่างไรต่อ ส่วนแง่ของความไม่สะดวก เนื่องจากเป็นช่วงเริ่มต้น ใน บ้างในขั้นตอนต่างๆ ผมเห็นด้วยในหลักการถือเป็นนิมิตหมายที่ดี” ลักษณะขององค์กรหรือบริษัทใหญ่ที่ฟ้องคดีกันเยอะในศาลแพ่งยังไม่ ว่าที่พันตรี สมบัติ กล่าว.
10
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
ประชุมกรรมการนโยบายและแผนงาน : เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 ที่ห้องประชุมชั้น 3 อาคารที่ ท� ำ การสภาทนายความ ถนนพหลโยธิ น กรุงเทพฯ : นายสรัลชา ศรีชลวัฒนา อุปนายกฝ่าย นโยบายและแผนงาน/เลขาธิการสภาทนายความ ได้เชิญ ที่ปรึกษาและคณะกรรมการฯ ร่วมประชุมหารือถึงเรื่อง “นโยบายทบทวนกฎหมายห้ามฎีกา” ที่ผู้บริหาร คณะนีไ้ ด้แถลงไว้ในนโยบายข้อที่ 2 ทีจ่ ะทบทวนกฎหมาย ทีม่ ผี ลกระทบต่อทนายความและประชาชน ซึง่ ในวันนีไ้ ด้ มีการหารือกันถึงกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เกี่ยว กับการห้ามฎีกา และได้ข้อสรุปว่า “เราจะร่างหนังสือถึง ท่านประธานศาลฎีกา ตามมติทปี่ ระชุมของประธานสภา ทนายความจังหวัด 112 จังหวัด ที่มีมติให้มีหนังสือเรียน ท่านประธานศาลฎีกา เพื่อขอให้ท่านทบทวนกฎหมาย ดั ง กล่ า ว และได้ โ ปรดพิ จ ารณาออกข้ อ ก� ำ หนดของ ประธานศาลฎี ก า เพื่ อ เป็ น การผ่ อ นปรนให้ ก ารขอ อนุญาตฎีกาได้ง่ายขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อให้ท่าน ประธานศาลฎีกาได้โปรดพิจารณา” เมื่อร่างหนังสือนี้ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ก็ จ ะน� ำ ให้ ท ่ า นนายกสภาทนายความ พิจารณาลงนามเพื่อเรียนท่านประธานศาลฎีกาต่อไป.
โฆษกสภาทนายฯ ร่วมถก “ราชด�ำเนินเสวนา”
ความไม่เป็นธรรมในการใช้กฎหมายปิดปากสือ่ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2560 ที่ห้องประชุมอิศรา อมันตกุล ชั้น 3 สมาคมนักข่าวนัก หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ถนนสามเสน กรุงเทพมหานคร สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์ แห่งประเทศไทย จัดเวทีราชด�ำเนินเสวนา หัวข้อ “ถอดบทเรียนความไม่เป็นธรรมในการ ใช้กฎหมายปิดปากสื่อ” โดย ว่าที่พ.ต.สมบัติ วงศ์ก�ำแหง อุปนายกฝ่ายบริหาร/โฆษก สภาทนายความ ร่ ว มเสวนาในหั ว ข้ อ ดั ง กล่ า วร่ ว มกั บ วิ ท ยากรจากภาคส่ ว นต่ า งๆ ได้ แ ก่ นายยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที นักจัดรายการสถานีโทรทัศน์ช่องนิวส์วัน, พ.ต.อ. วิรุตม์ ศิริสวัสดิบุตร อดีตที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบต�ำรวจ สภาปฏิรูปแห่งชาติ และนายณัชปกร นามเมือง จากโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ซึ่ง ว่าที่พันตรี สมบัติ วงศ์ก�ำแหง ได้ให้ความเห็นทางกฎหมายเกี่ยวกับร่างพระราช บัญญัติคุมสื่อ ผู้ประกอบวิชาชีพสื่อ ไม่เฉพาะสื่อมวลชนแต่รวมถึงผู้ผลิต ผู้ส่งสารทุกรูปแบบเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ ที่ได้รับรายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับนี้ ขณะที่ ผูป้ ระกอบวิชาชีพสือ่ ทุกคนต้องมีใบอนุญาต ซึง่ เกิดกรณีความไม่เป็นธรรมในการใช้กฎหมายปิดปาก สื่อ โดยได้กล่าวถึงในแง่มุมของการท�ำหน้าที่สื่อภายใต้กรอบของกฎหมาย ว่า “เรื่องการพูดต้องพูดด้วยความระมัดระวัง กฎหมายบอกว่าเรื่องจริงพูดไม่ได้ ถ้ากล่าวข้อความที่ไปกล่าวหาคนอื่นแม้เป็นเรื่องจริงก็พูด ไม่ได้ สื่อมวลชนเรียกตัวเองว่าเป็นสุนัขเฝ้าบ้าน เวลามีสัญญาณอะไรก็ปฏิบัติหน้าที่ แต่ก็มีคนบอกว่าสื่อมวลชนก็ใช้ปากเหมือนหน้าที่ที่ท�ำ แต่ก็ ต้องดูว่าสื่อมีเจตนาอะไรหรือไม่ หากไม่เจตนาท�ำผิดองค์ประกอบเจตนาก็หลุดไป ซึ่งการท�ำหน้าที่ของสื่อไม่มีเจตนาก็ไม่เข้าข่ายองค์ประกอบการ กระท�ำความผิด หากอยู่ในขอบเขตที่ท�ำเพื่อประโยชน์สาธารณะโดยใช้หลักสุจริตในการท�ำหน้าที่ ท�ำเพื่อประโยชน์ของสังคม ซึ่งใน พ.ร.บ.การกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ล่าสุดมีโทษถึง 5 ปี ใช้ขั้นตอนออกหมายจับได้เลย โดยไม่ต้องออกหมายเรียก ดังนั้น เมื่อใดที่ใช้กฎหมายผิดประเภท เพราะเขาต้องใช้โทษที่รุนแรงจึงถือว่าเป็นการใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์” “เมือ่ ถูกด�ำเนินคดีแล้วขอให้นกึ ถึงทนายความทันที เพือ่ ให้ทนายความเข้าไปสังเกตการณ์ชว่ ยปกป้องสิทธิข์ องท่านได้เช่นกัน เพราะกฎหมาย เป็นตัวหนังสือ การอ่านกฎหมายต้องตีความจากลายลักษณ์อักษร การที่ไปแปลอะไรมากกว่าที่แปลไว้ก็จะเป็นประเด็นมาใช้งานหรือไม่ ก็เป็น ข้อกังขาที่เกิดขึ้น” ว่าที่ พ.ต.สมบัติ กล่าว.
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
11
กราบถวายสักการะสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 20 : เมื่อวันอังคารที่ 6 มิถุนายน 2560 ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ น�ำคณะผู้บริหารสภาทนายความ, ทนายความ และพนักงานสภาทนายความ เข้ากราบถวายสักการะ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริณายก พระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ วัดราชบพิธสถิต มหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร.
Notarial Services Attorney Training Course No.25 : เมื่อวันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม 2560 ที่ห้องประชุมชั้น 5 สภาทนายความฯ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร : สภา ทนายความ จัดอบรมหลักสูตร “ทนายความผู้ท�ำค�ำรับรอง ลายมือชื่อและเอกสาร” รุ่นที่ 25 โดย ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภาทนายความ เป็นประธานเปิดการอบรมฯ และ ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการ ความส�ำคัญและประโยชน์ของการ รับรองลายมือชื่อและเอกสาร ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ในการท�ำค�ำ รับรองฯ นอกจากนี้ยังมีวิทยากรหลายท่านร่วมบรรยายความรู้ ตลอดการอบรมในหลักสูตรนี้ ได้แก่ นายพจน์ จิรวุฒกิ ลุ ผูอ้ ำ� นวย การส�ำนักทะเบียนแบบการรับรองลายมือชือ่ และเอกสาร/อุปนายก ฝ่ายวิชาการ, ดร.สมบูรณ์ เสงี่ยมบุตร อดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม, ร้อยโท ดร.ธนพจน เอกโยคยะ, นายนันทน อินทนนท์, นายสมศักดิ์ อัจจิกุล กรรมการก�ำกับดูแลการขึ้น ทะเบียนทนายความผู้ท�ำค�ำรับรองลายมือชื่อฯ และนายทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ/กรรมการประชาสัมพันธ์ ทัง้ นี้ การอบรมหลักสูตรดังกล่าวมีระยะเวลา 2 วัน (20-21 พฤษภาคม 2560) มีทนายความให้ความสนใจเข้ารับการอบรมกว่า 395 คน.
12
จดหมายข่าวสภาทนายความ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน 2560
อบรมที่ปรึกษากฎหมายศาลเยาวชน ครั้งที่ 1/2560
เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2560 ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง โดยความร่วมมือของสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดการ อบรมและทดสอบความรู้ผ้ปู ระสงค์จะเป็นที่ปรึกษากฎหมายในศาลที่มี อ�ำนาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ครัง้ ที่ 1/2560 โดย นายชาติ ชาย โฆษิตวัฒนฤกษ์ อธิบดีศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เป็น ประธานเปิดการอบรม เพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับอนุสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เยาวชนและครอบครัว การวิเคราะห์หาสาเหตุแห่งการกระท�ำความผิดและงานสังคมสงเคราะห์เด็กหรือเยาวชน ในกระบวนการยุตธิ รรม วิธพี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว รวมทัง้ เรือ่ งการการเตรียมความพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องทีป่ รึกษากฎหมาย ทั้งในชั้นพิจารณาคดี และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มี นายเสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย, นายนุกูล สิริสุวรรณ์ กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 7 ร่วมพิธีเปิด ได้รับความสนใจจากทนายความเข้ารับการอบรมในครั้งนี้ กว่า 500 คน อีกทั้งเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2560 ว่าที่ร้อยตรี ดร.ถวัลย์ รุยาพร นายกสภา ทนายความ ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายความรู้กฎหมาย หัวข้อ “มาตรฐานสิทธิเด็กไทย กับมาตรฐานสากล” และ นายเสาวภักดิ์ สกุลโรมวิลาส อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชน ทางกฎหมาย บรรยายในหัวข้อ “การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ที่ปรึกษา กฎหมาย” โดยการอบรมฯ จัดขึน้ 3 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 2-4 มิถนุ ายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม จังหวัดนครปฐม จะเห็นได้ว่าการจัดการอบรมดังกล่าว สืบเนื่องมาจากพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและ ครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 มาตรา 121 มาตรา 112 และ มาตรา 124 ก�ำหนดให้ผทู้ ำ� หน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษากฎหมายให้แก่เด็กหรือเยาวชน ซึง่ ต้องหาว่ากระท�ำ ความผิดอาญานัน้ จะต้องผ่านการอบรมจดแจ้งชือ่ ในบัญชีของศาลและปฏิบตั ติ ามระเบียบปฏิบตั ิ ของทีป่ รึกษากฎหมายในศาลทีม่ อี ำ� นาจพิจารณาคดีและเยาวชนและครอบครัว โดยข้อบังคับของ ประธานศาลฎีกาว่าด้วยการอบรมระเบียบปฏิบตั ขิ องทีป่ รึกษากฎหมาย การจดแจ้งและลบชือ่ ออก จากบัญชี พ.ศ.2556 ก�ำหนดให้ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางจัดการอบรมความรูด้ งั กล่าว โดย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ทปี่ รึกษากฎหมายมีจำ� นวนเพียงพอต่อการปฏิบตั หิ น้าทีค่ มุ้ ครองสิทธิเสรีภาพ ของเด็กและเยาวชนทีถ่ กู กล่าวหาว่ากระท�ำความผิดทางอาญา และกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา ของเด็กและเยาวชนสามารถขับเคลื่อนไปได้ตามวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ของกฎหมาย. สภาทนายความในพระบรมราชู มภ : นายกิ่งกาญจน พงศทัต, นายจารึก รัตนบูรณ์, นายฐานสุอิทธิ์ ทองจีนทวีรัชต์, ที่ปรึกษาประจำ �กองบรรณาธิปกถัาร ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220
รวมสงภาพขาว-บทความมาลงเผยแพร
ไดที่ กองบรรณาธ�การ จดหมายขาวสภาทนายความ àÅ¢·Õè 249 ¶¹¹¾ËÅâ¸Թ á¢Ç§Í¹ØÊÒÇÃÕ ࢵºÒ§à¢¹ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 10220
â·ÃÈѾ· 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 µ‹Í 322 â·ÃÊÒà 0-2522-7158
Facebook : ÊÀÒ·¹Ò¤ÇÒÁã¹¾ÃкÃÁÃÒªÙ»¶ÑÁÀ
E-mail : lctnews2013@gmail.com
นายทรงศักดิ์ กอน้อย, นางสาวภัทรานิษฐ์ มหัทธนวิสิทธิ์, นายพลระพีย์ รังสีธรรม, นายภาคภูใบอนุ มิ เศวตรั , นายภิรมย์ สัมมาเมตต์, ญาตเลขทีต่ น์ 5/2559 พท 0-2522-7124-27, 0-2522-7143-47 ตอ 322 โทรสาร 0-2522-7158 กสี่ ตมาศ, นายศิษฎ์ สุนันท์สถาพร, นายยงยุธ บุโทรศั ญทองแก้ ว, นายราเชน กิ่งทอง, นายเรวัต ปิยโชติสกุลชัย, นายวสันต์ ฝีมือช่าง, นายวันปณ.หลั ชัย โฆษิ นายสุกฤษฎิ์ แพรกรีฑาเวศน์, นายชิดชัย สายเชื้อ
บรรณาธิการ : นายทัศไนย ไชยแขวง ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายชนะวัฒน์ ษารักษ์ กองบรรณาธิการ : นายกิตติคณุ แสงหิรญั , นายเกียรติคณุ ต้นยาง, นายเชษฐ์ สุขสมเกษม, นางสาวบัวระวงค์ ทรัพย์กง่ิ ศาล, นายสมภพ หงษ์กติ ติยานนท์, นายอนันต์ชยั ไชยเดช, นายอภินนั ท์ รัตนสุคนธ์, ว่าที่ พ.ต.ธำ�รงเกียรติ กังวาฬไกล, นางกานดา จำ�ปาทิพย์, นางสาวกุญชนิตา กุญชร ณ อยุธยา, นายอานันท์ จันทร์ศรี, นางสาวจิตอารีย์ ปุญญะศรี ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ : นางสาวนัทธมน จันดี, นายไพศาล แก่ฉมิ
• ผลิตโดย สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 249 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7124-27 ต่อ 318, 322 โทรสาร : 0-2522-7158