Boutique Hotel

Page 1

Faculty of Architecture @ PNRU

กมลพัชร



Faculty of Architecture @ PNRU

กมลพัชร



คำนำผู้เขียน เมื่อพูดถึงกำรอยู่ในเมือง คุณคิดถึงอะไร... ที่แคบ เสียงดัง ควันรถ เพื่อนบ้ำนไม่น่ำคบ อำชญำกรรม ตึกแถว คอนโดสูง บ้ำนจัดสรร อำกำศ เป็นพิษ ขยะ รถติด ของแพง แก่งแย่ง แออัด ดูเหมือนว่ำชีวิตในเมืองนั้น เต็มไปด้วยข้อจำกัดมำกมำย แต่เพรำะเรำเชื่อว่ำภำยใต้ข้อจำกัดต่ำงๆนำนำนั้น ยังมีทำงเลือกที่ดีกว่ำเสมอ “Boutique Hotel” เป็นหนังสือรวบรวมผลงำนกำรออกแบบ ของนักศึกษำชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม สำขำสถำปัตยกรรม ศำสตร์ มหำวิทยำลัย รำชภั ฏพระนคร โดยกำรออกแบบจะเกี่ยวกับที่อ ยู่ อำศัยขนำดเล็กหรือ “Boutique” ที่มีบรรยำกำศและกำรตกแต่งด้วยสไตล์ที่ แตกต่ำงจำกที่พักมำตรฐำนทั่วไป แต่มีกำรบริกำรที่มีคุณภำพไม่แพ้เครือที่ พักใหญ่ โดยเน้นเอกลักษณ์ของกำรออกแบบในลักษณะเป็น Theme เฉพำะ มีลักษณะเฉพำะตัว มีควำมร่วมสมัย สะดวกสบำยและผ่อนคลำย ด้วยกำร บริกำรใกล้ชิด เอำใจใส่และอบอุ่นเป็นกันเอง กิจกำร Boutique จึงได้รับ ควำมนิยมมำกขึ้นเรื่อยๆ จำกนักท่องเที่ยว ซึ่งผู้ออกแบบจะต้องนำโจทย์ที่ ได้มำออกแบบเป็นผลงำนทีม่ ีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง มีแนวทำงกำรออกแบบ ทั้งรูปทรงภำยนอก ภำยใน แปลน และรูปผลงำนในมุมต่ำงๆ เพื่อให้ผู้อ่ำน สำมำรถมองเห็นภำพผลงำนที่ชัดเจนยิ่งขึ้น กมลพัชร


Contents Introduction Program Requirement 2 วัตถุประสงค์การศึกษา 2 ที่มาและแนวคิดของโครงการ 3 ลักษณะของโครงการ 3 กลุ่มเป้าหมายของโครงการ 4 Final Design & Presentations Program Analysis 6 User 10 Function 19 Relationship Matrix 25 Bubble Diagram 27 Function Relationship Diagram 28 Site Analysis Lecture Design 39 Lecture Design Case Study 48 61

Alila CHA AM

Crystal Towers Hotel & Spa


Student Work 67 Student Work Conclusions 138 141 143

Problems Pros and Cons Future Directions



Program Requirement  วัตถุประสงค์การศึกษา  ที่มาและแนวคิดของโครงการ  ลักษณะของโครงการ  กลุ่มเป้าหมายของโครงการ  งานที่ต้องการ


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Requirement

PROGRAM REQUIREMENT วัตถุประสงค์การศึกษา เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ พั ฒ นาทั ก ษะและกระบวนการออกแบบ สถาปัตยกรรม โดยการฝึกฝนการออกแบบอาคารสาธารณะทีม่ ีความ ซับซ้อนของบริบทสภาพแวดล้อม การใช้สอยและระบบการสัญจรมาก ขึ้น มีการวางผังบริเวณสาหรับกลุ่มอาคารซึ่งต้องตอบสนองลักษณะ ของที่ตั้ง ความต้องการเฉพาะของผู้ใช้และประโยชน์ใช้สอย รวมถึง รายละเอียดของงานสถาปัตยกรรม งานระบบอาคาร เป็ น การบู ร ณาการหลักสถาปัตยกรรมแบบองค์รวมในการออกแบบอาคาร ที่มาและแนวคิดของโครงการ “Boutique” เป็นคาที่ใช้เรียกที่พักอาศัยขนาดเล็กที่มี บรรยากาศและการตกแต่งด้วยสไตล์ที่แตกต่างจากที่พักมาตรฐานทั่วไป แต่มีการบริการที่มีคุณภาพไม่แพ้เครือทีพ่ ักใหญ่ โดยเน้นเอกลักษณ์ของ การออกแบบในลักษณะเป็น Theme เฉพาะ มีลักษณะเฉพาะตัว มีความ ร่วมสมัย สะดวกสบายและผ่อนคลาย ด้วยการบริการใกล้ชิด เอาใจ ใส่และอบอุ่นเป็นกันเอง กิจการ Boutique จึงได้รับความนิยมมากขึ้น เรื่อยๆ จากนักท่องเที่ยว ได้แก่ Boutique Hotel โดยเฉพาะกลุ่มชาว ไทยและชาวต่างประเทศที่อายุระหว่าง 20-55 ปี มีระดับรายได้ปาน กลางถึงสูง เพื่อรองรับการเป็นสมาชิกอาเซียน

2


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Requirement

ลักษณะของโครงการ โครงการนี้เป็นโครงการของเอกชนลักษณะโครงการที่พักอาศัย “Boutique Resident PNRU” - ที่ตั้ งโครงการขนาดที่ ดิน 3 ไร่ (100x48 เมตร) อยู่ใ กล้ สถาบันการศึกษามรภ.พระนคร ( PNRU ) - ให้มีจุดขายที่แตกต่างจากที่พักส่วนใหญ่ในบริเวณเขตบางเขน เช่น อาคารชุด , อาคารสูง , อพาร์ทเมนท์ขนาดใหญ่ , คอนโดมิเนียม - สร้างเอกลักษณ์และบรรยากาศดึงดูดลูกค้าที่พักอยู่ภายในและ ลูก ค้ า ภายนอกเข้ า มาใช้ บ ริ ก ารอื่นๆ ใน “ Boutique Resident PNRU ” ได้แก่ restaurant & bar , coffee & pastry shop , fitness & spa และ meeting room - คานึงถึงปัจจัยทางสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศและภูมิประเทศ กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ กลุ่มเป้าหมายของโครงการ - นักศึกษาในประเทศและนั กศึกษาต่างชาติโครงการแลกเปลี่ยน AEC ข้าราชการ และ บุคลากรใกล้ มรภ.พระนคร ประเด็นที่นักศึกษาจะต้องพิจารณาเป็นพิเศษในกระบวนการ ออกแบบ ได้ แ ก่ การวางผั ง กลุ่ ม อาคารลงในที่ ตั้ ง โครงการ โดย

3


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Requirement

คานึงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อม ภูมิอากาศและภูมิประเทศ กฎหมายและ ข้อบังคับ ต่างๆในการออกแบบอาคาร (ระยะถอยร่น ข้อกาหนดเรื่อ ง ความสูง กฎหมายเกี่ยวกับการออกแบบอาคารที่พักอาศัย ไม่เกิน 7 ชั้น) การจัดระบบการสัญจรภายในโครงการที่สร้างสัมพันธ์ระหว่างทาง สัญจรสาธารณะและทางบริการอย่างเหมาะสม การสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างพื้นที่ใช้สอยภายในและภายนอกอาคาร การออกแบบที่ใช้หลัก ธรรมชาติ (Passive Design) และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมที่ สอดคล้องกับพฤติกรรมและวิถีชีวิต (Lifestyle) ของกลุ่มเป้าหมาย และสนับสนุนการสร้างประสบการณ์ที่ดีระหว่างการเข้าใจโครงการ งานที่ต้องการ ผลงานที่นาเสนอ กาหนดให้มี 2 ส่วน ดังนี้ 1. โมเดล ( physical model ) มาตราส่วน 1:200 ( ทาด้วย วัสดุอะไรก็ได้ ) เขียนชื่อ นามสกุล รหัส ด้านล่าง โมเดลให้อยู่บน ฐานที่แข็งแรง 2. แบบรายละเอียด เขียนลงกระดาษ A2 ประกอบด้วยรายการดังนี้ - Design Concept, Analytical diagram, Concept - Site Plan / Lay out 1 : 500 - Plan ทุกชั้น Scale 1 : 200 - Elevation 4 ด้าน Scale 1 : 200 - Section Scale 1 : 200 อย่างน้อย 2 รูป ตัดผ่าน บริเวณที่สาคัญของโครงการ - Extended Room Scale 1 : 100 ( Set Furniture )

4


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Requirement

 Typical standard room  Typical suite  Typical standard villa  Typical family villa - Interior & Exterior perspective

5



Program Analysis  วิเคราะห์โปรแกรม


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

การวิเคราะห์โปรแกรม Program Analysis โครงการนี้ เ ป็ น โครงการที่ พั ก อาศั ย ขนาดเล็ ก “Boutique Resident PNRU” การออกแบบอาคารสาธารณะที่มีความซับซ้อน ของบริ บ ทสภาพแวดล้ อ ม จ าเป็ นต้ อ งค านึ ง ถึ ง ประเด็ น ส าคั ญต่ า งๆ เพื่อให้ได้ผลงานที่ตรงต่อความต้องการของโครงการ โดยพิจารณาเป็น ข้อๆ ดังนี้ 1. ผูใ้ ช้ User เนื่ อ งจากโครงการที่ ผู้ อ อกแบบได้ รับ เป็ นโครงการ Boutique Resident PNRU หรือที่พักอาศัยขนาดเล็ก ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึง ประเภทของผู้เข้ามาใช้โครงการ ซึ่งสามารถแบ่งได้จากความต้องการ การเข้ามาใช้สอยภายในโครงการ โดยแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผู้ใช้ประจา หมายถึง ผู้ที่ใช้อาคารตามบทบาทหน้าที่ มี ช่ ว งเวลาในการใช้ ง านอาคารที่ แ น่ น อน มี อ าณาเขต ครอบครอง อาทิ พนั ก งานต่ า งๆภายในโครงการ นักศึกษาที่พักอาศัยอยู่ในโครงการเนื่องจากอยู่ใกล้กับมร ภ.พระนคร ข้าราชการและผู้อยู่อาศัยทั่วไป 2. ผู้ใช้ชั่วคราว หมายถึง ผู้ที่เข้ามาใช้อาคารเป็นครั้งคราว ในช่ ว งระยะเวลาสั้ น ๆ ไม่ มี พื้ น ที่ ห รื อ อาณาเขต ครอบครอง ไม่ผูกผันกับสถานที่ใด อาทิ ผู้ที่เข้ามาใช้ บริการในโครงการ ผู้ที่มาติดต่อหรือสอบถาม คนเก็บ ขยะ คนส่งของ เช่น บุรุษไปรษณีย์ คนส่งแก็ส เป็นต้น 3. ผู้สังเกต หมายถึง ผู้ที่รับรู้จากภายนอกไม่ได้ร่วม กิจกรรมภายใน หรืออาจได้รับผลกระทบไม่ทางใดก็ทาง 6


Program Analysis

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

หนึ่ ง อาทิ วิ น มอเตอร์ ไ ซค์ บริ ษั ท ส านั ก งาน หรื อ ร้านค้าโดยรอบโครงการ ผู้ที่สัญจรโดยรอบโครงการ นอกจากนี้ ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึงพฤติกรรมของผู้ใช้ (User Behaviors) ที่เข้ามาใช้งานภายในโครงการ ซึ่งผู้ใช้งานในแต่ละประเภท นั้นก็จะมีความต้องการการใช้งานภายในโครงการที่ แตกต่างกันไป ช่วง ระยะเวลาที่ใช้งาน รวมไปถึงจานวนของผู้ใ ช้งาน โดยแบ่งออกได้เป็ น ตาราง ดังนี้ 1. ผู้ใช้ประจา ตาแหน่ง

จานวน (คน)

ช่วงเวลาที่ใช้

1 1 2 1

9.00 8.00 7.00 8.00

1.5 พนักงานบัญชี

1

8.00 – 17.00

1.6 พนักงาน แคชเชียร์ 1.7 แม่บ้าน 1.8 พนักงานซักรีด 1.9 พนักงานทา ความสะอาด 1.10 หัวหน้าพ่อครัว

1

8.00 – 17.00

2 2 2

7.00 – 17.00

1

7.00 – 19.00

1.1 1.2 1.3 1.4

ผู้จัดการ เลขานุการ พนักงานต้อนรับ พนักงานเอกสาร

– – – –

17.00 17.00 17.00 17.00

7.00 – 17.00 7.00 – 17.00

หน้าที่ ดูแลควบคุมกิจการทั้งโครงการ ประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ ดูแลต้อนรับแขกในโครงการ จัดทาเอกสารต่างๆ และงาน ทะเบียน จัดทารายรับรายจ่ายต่างๆใน โครงการ ดูแลการเก็บเงิน เช็คยอดเงิน รวมทั้งหมดต่อวัน ดูแลการทาความสะอาดห้องพัก ดูแลการซักผ้าต่างๆ ดูและการทาความสะอาด โครงการ ควบคุมการทาอาหาร การปรุง และคิดเมนู

7


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

ตาแหน่ง 1.11 ผู้ช่วยพ่อครัว 1.12 พนักงานสปา 1.13 พนักงานสระ ว่ายน้า 1.14 พนักงาน รักษาความปลอดภัย 1.15 พนักงานฝ่าย ช่างซ่อมบารุง 1.16 ผู้พกั อาศัย ( น.ศ. , ข้าราชการ , คนทั่วไป )

Program Analysis

จานวน (คน) 3

7.00 – 19.00

3 2

7.00 – 17.00 7.00 – 19.00

ดูแลการปรุงอาหาร ทาความ สะอาดภาชนะ ดูแลการทาสปาต่างๆ ดูแลในส่วนของสระว่ายน้า

2

7.00 – 17.00 18.00 – 7.00 8.00 – 17.00

ดูแลตรวจสอบรักษาความ ปลอดภัยในโครงการ ดูแลงานช่างของโครงการ

8.00 – 21.00

เข้าใช้บริการ และพักอาศัย

2

ช่วงเวลาที่ใช้

หน้าที่

2. ผู้ใช้ชั่วคราว ตาแหน่ง

จานวน (คน)

2.1 ผู้ที่มาใช้ บริการต่างๆ ภายในโครงการ 2.2 ผู้ที่มาติดต่อ 2.3 คนส่งของ

1-2

2.4 คนเก็บขยะ

1

8

ช่วงเวลาที่ใช้

หน้าที่

8.00 – 21.00

เข้ามาใช้บริการต่างในโครงการ

8.00 – 17.00

เข้ามาติดต่อประสานงานใน โครงการ ส่งพัสดุ อาหาร จดหมาย และ สิ่งของต่างๆ จัดเก็บขยะออกจากโครงการ


Program Analysis

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

3. ผู้สังเกต ตาแหน่ง 3.1 ผู้ที่อยู่อาศัย โดยรอบโครงการ 3.2 วินมอเตอร์ ไซด์ 3.3 บริษัท สานักงาน หรือ ร้านค้ารอบ โครงการ 3.4 ผู้สัญจร โดยรอบโครงการ

จานวน (คน) -

ช่วงเวลาที่ใช้

หน้าที่ อยู่อาศัยรอบโครงการ

-

รับส่งผู้โดยสารรอบโครงการ

-

ประกอบกิจการต่างๆ

-

สัญจรโดยรอบโครงการ

9


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

พท.รวม

ขนาด/ห้อง

จานวนห้อง

พท.ใช้สอย

ผู้ใช้ (คน)

2. Function 2.1 องค์ประกอบและพื้นที่ใช้สอย Area Detail ผู้ออกแบบจะต้องแสดงรายละเอียดต่างๆ ของพื้นที่ใ ช้ สอยภายในอาคาร ซึ่งจะบ่งบอกให้เห็นถึงหน้าที่ใช้งานที่แตกต่างกันในแต่ ละส่วนของพื้นที่ ช่วงระยะเวลาที่ใช้งานพื้นที่นั้นๆ แล้วผู้ออกแบบยังต้อง ระบุให้เห็นว่าผู้ใช้เป็นประเภทใดที่ทางานในพื้นที่ ประมาณจานวนผู้ใช้งาน แล้วผู้ออกแบบจึงจะคิดขนาดพื้นที่ใช้ สอยโดยประมาณจาก Furniture Lay out แล้วก็จะได้ขนาดของพื้นที่ใช้สอยที่มีขนาดพอเหมาะกับการใช้ งาน โดยควรแยกเป็นส่วนๆ เพื่อให้ง่ายต่อการแสดงรายละเอียดต่างๆ เช่น ส่วนบริหาร , ส่วนบริการ , ส่วนพักผ่อน เป็นต้น

1. Public Space (ส่วนต้อนรับ) Drop – off 1 3 3 area & 0 0 main entrance Main lobby 1 4 4 5 5

Front desk

2

1

9

9

Front office

2

1

2 0

2 0

10

ช่วงเวลา

ความต้องการ

7.00 22.00

- อยู่หน้า lobby - เป็นจุดนาสายตา - เทียบรถได้สะดวก

7.00 22.00

- ติดกับ Drop-off - Take view ได้ดี - สามารถไปยังส่วนอื่นของ โครงการได้ง่าย - เป็นส่วนหนึ่งของ Main lobby - ประสานงานกับ Front office และ administration - เพดานสูงโปรง

8.00 19.00 8.00 19.00


Program Analysis

ขนาด/ห้อง

พท.รวม

ช่วงเวลา

Lounge

1

4 5

4 5

8.00 22.00

Restrooms for guest

2

1 2

2 4

8.00 22.00

พท.ใช้สอย

2.

ผู้ใช้ (คน)

จานวนห้อง

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

- มีความโปร่ง - มีที่นั่งเพียงพอสาหรับ รับแขก - มีจานวนเพียงพอต่อลูกค้า - มีความสะอาดและระบาย อากาศได้ดี

Food and Beverage Service

Boutique Restaurant & bar PNRU

60

1

Coffee & pastry shop

1

Pool bar

1

3.

ความต้องการ

90 90

8.00 - มีพื้นที่กว้าง รองรับผู้มาใช้ บริการ 19.00 - Take view ได้ดี มี บรรยากาศผ่อนคลาย - ใช้งาน out door ช่วง กลางคืนได้ 40 40 8.00 - Take view ได้ดี มี บรรยากาศผ่อนคลาย 22.00 12 12 7.00 - Take view ได้ดี มี บรรยากาศผ่อนคลาย 19.00

Facilities for rent

Business service Meeting room / Games room

15

1

30 30

8.00 17.00

- มีความสะดวกและทันสมัย

1

30 30

8.00 17.00

- มีพื้นที่โล่งสาหรับทา กิจกรรมและร้านเกมส์

11


Library / book shop / Souvenir shop Gym / mini fitness Spa Lobby & reception Locker rooms Treatment rooms Sauna

1 2

พท.รวม

ขนาด/ห้อง

พท.ใช้สอย

Program Analysis

ผู้ใช้ (คน) จานวนห้อง

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

ช่วงเวลา

ความต้องการ

1

30 30

8.00 17.00

- มีพื้นที่วางชั้นหนังสือ - มีบรรยากาศเงียบ สงบ

1

40 40

8.00 17.00

- Take view ได้ดี

1

12 12

- มีบรรยากาศสงบ

2

20 40

6

12 72

8.00 17.00 8.00 17.00 8.00 17.00

2

4

8

8.00 17.00 8.00 17.00

Steam 2 6 12 rooms 4. Guestrooms (ห้องพักแขก) Boutique Resident PNRU ( rooms ) Standard 2 20 36 720 24 rooms hours

Suites

12

2 4

72

288

24 hours

-

มีความเป็นส่วนตัว แยกชาย หญิง บรรยากาศสงบ แยกชาย หญิง มีห้องแบบเดี่ยวและคู่ แยกชาย หญิง

- แยกชาย หญิง

- ห้องพักมีเตียง 1 คู่ หรือเตียงเดี่ยว 2 เตียง - มีห้องน้าภายใน - Take view ได้ดี - มีส่วนพักผ่อน pantry แยกจาก ห้องนอน - มีห้องน้าภายใน - Take view ได้ดี


Program Analysis

พท.รวม

ขนาด/ห้อง

จานวนห้อง

พท.ใช้สอย

ผู้ใช้ (คน)

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

ช่วงเวลา

Boutique Resident PNRU ( Villa ) Standard 2 4 80 320 24 villas hours Family 4 2 10 200 24 villas 0 hours 5. Service Zone (ส่วนบริการ) Service Department ( แผนกบริการ ) Service 1 15 15 7.00 entrance & 19.00 control Loading & unloading platform

1

60 60

7.00 19.00

Garbage room Receiving area Storage

1

9

1

20 20

1

30 30

2

1

30 30

7.00 22.00 7.00 19.00 7.00 19.00 7.00 19.00

6

2

15 30

Personnel department office Staff lockers & WC

9

7.00 19.00

ความต้องการ

-

มีบรรยากาศดี Take view ได้ดี มีบรรยากาศดี Take view ได้ดี

- เป็นส่วนแยกกับ บริเวณต้อนรับ - มีทางเข้าใหญ่พอ สาหรับขนของ - มีพื้นที่วางของขน เข้า-ออกจากรถ - อยู่ติดกับที่จอดรถ บริการ - เป็นพืน้ ที่มีหลังคา - เป็นจัดที่ควรบัง สายตา - อยู่ใกล้กับ Storage - มีประตูกว้างพอ สาหรับขนของ - มีห้องน้าส่วนตัว

- แยกชาย หญิง

13


Staff 1 20 lounge & canteen Staff 1 15 kitchen Housekeeping Department ( Equipment 1 15 room Linen room 1 20

20

พท.ใช้สอย

ผู้ใช้ (คน) จานวนห้อง

พท.รวม

Program Analysis

ขนาด/ห้อง

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

ความต้องการ

7.00 19.00

- อยู่ใกล้กับ Staff kitchen

7.00 - - มีการะบายอากาศได้ 19.00 ดี แผนกแม่บา้ น ) 15 7.00 - - อยู่ใกล้กับ Linen 19.00 และ Laundry room 20 7.00 - - มีความมิดชิด 17.00 - เข้าได้เฉพาะพนักงาน Laundry 1 30 30 7.00 - - มีหน้าต่างมากเพื่อ room 17.00 ระบายอากาศ Food Preparation Department ( แผนกเตรียมอาหาร ) Main 1 40 40 7.00 - - มีส่วนล้าง เตรียม kitchen 22.00 อาหาร ส่วนตรวจเช็ค อาหาร และพักขยะ Main 1 30 30 7.00 - - แยกส่วนอาหาร กับ storage 22.00 เครื่องดื่ม Mechanic and Maintenance Department ( แผนกเครือ่ งกลและซ่อม บารุง ) Maintenance 1 30 30 7.00 - - ห้องเก็บวัสดุ shop 17.00 Electrical 1 12 12 7.00 - - มีความชืน้ น้อย system 17.00 Generator 1 6 6 7.00 - - อยู่ห่างจากส่วนแขก 17.00 - ไม่ควรอยู่ใต้ดิน Air – 7.00 - - แยกส่วนตามห้องพัก conditioning 17.00 - คิด Facade system อาคาร 14

15

ช่วงเวลา


Program Analysis

พท.รวม

ขนาด/ห้อง

จานวนห้อง

พท.ใช้สอย

ผู้ใช้ (คน)

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

1 30 30 Water system 1 40 40 Sanitary system 1 15 15 Engineerin g office 6. Administration Department ( 1 1 25 25 Executive office

Secretary office Accounting office

1

1

16

16

1

1

16

16

Meeting room Panty

15

1

30 30

1

8

8

Storage

1

9

9

Restrooms

2

12

24

7 Outdoor Facilities . Swimming 1 3 pool 0 0

3 0 0

ช่วงเวลา

ความต้องการ

7.00 17.00 7.00 17.00 7.00 17.00

- มีถึงเก็บน้าใต้ดนิ หรือ บนดาดฟ้า -

- อยู่ใกล้ส่วนสานักงาน โครงการ แผนกบริหารและธุรการ ) 7.00 - - มีความเป็นส่วนตัว 17.00 - Take view ได้ดี 7.00 17.00 7.00 17.00 7.00 17.00 7.00 17.00 7.00 17.00 7.00 17.00

7.00 19.00

- อยู่ใกล้ Executive office - อยู่ใกล้ Executive office และ Secretary office - มีความโอ่โถง ใช้เป็นที่ ประชุม - มีเตรียมอาหาร

- แยกชาย หญิง

- Take view และ บรรยากาศดี - มี deck สาหรับพักผ่อน - มีpool bar อยู่ใกล้ๆ

15


พท.รวม

ช่วงเวล า

Theme park

1

3 0 0

300

Gallery exhibition

1

300

Music conner

1

3 0 0 3 0 0

7.00 - Take view ได้ดี และ บรรยากาศดี 19.00 - มีเครื่องเล่นออกกาลัง กาย out door 7.00 - บรรยากาศดี 17.00 7.00 - Take view ได้ดี 21.00

15

75

พท.ใช้สอย

8. Parking Staff parking General parking

16

ผู้ใช้ (คน)

ขนาด/ห้อง

Program Analysis

จานวนห้อง

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

5

300

ความต้องการ

7.00 - - จอดรถแบบส่วนบุคคล 22.00 30 15 450 7.00 - - จอรถผู้พักอาศัย 22.00


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

2.2 Area Requirement ผู้ออกแบบจะต้องแสดงให้เห็นถึง ขนาดพื้นที่ใช้สอยที่เป็น ขนาดมาตรฐาน โดยนาข้อมูลที่ศึกษาจาก Area Requirement มา เป็นข้อมูลข้นต้นในการหาพื้นที่ที่พอเหมาะกับการใช้งาน และยังสามารถ ศึกษาข้อมูลได้จากหัวข้อดังต่อไปนี้  การศึกษา Human Scale หรือสัดส่วนมนุษย์ คือความต้อง ระยะและพื้ น ที่ ใ ช้ ส อยภายใน อาคาร อั น จะเกี่ ย วพั น กั บ การ เดิ น ยื น นั่ ง นอน และการที่ มนุ ษ ย์ จ ะท ากิ จ กรรมต่ า งๆ ใน พื้นที่ว่างอาคาร โดยนาสัดส่วน ของมนุ ษ ย์ ม าเป็ น ตั ว ก าหนด ตาแหน่งระยะต่างๆ ของสิ่งของเครื่องใช้ภายในพื้นที่นั้นๆ โดยการที่จะ ออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ อย่างเช่น โต๊ะหรือเก้าอี้ จะต้องมี ความสูงที่พอเหมาะพอดีกับอิริยาบท ความกว้างของห้องนอน ตาแหน่งการวางและขนาดของ Furniture จะต้องเหมาะสมกับสรีระของผู้ใช้ ซึ่งเป็ นส่วนสาคัญอั นดับแรกที่ต้อ ง

17


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

คานึ ง ถึ ง ในการออกแบบเครื่ อ งมื อ ใช้ สอย และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ  Furniture size หรือ ข น า ด ข อ ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ ที่ ผู้ออกแบบนาไปใส่ลงในพื้นที่ใช้สอย จะช่ว ยทาให้รู้ขนาดของพื้นที่ใช้ ที่ เราต้องการได้  ขนาดพื้ น ที่ ม าตรฐานของ พื้นที่ใช้สอย 

18

Graphic plan


Program Analysis

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

1. 2. 3. 4. 5. 6.

1. Public Space (ส่วนต้อนรับ)

Drop – off area & main entrance Main lobby Front desk Front office Lounge Restrooms for guest

3. Relationship Matrix คือ การจัดความสัมพันธ์ ของพื้นที่ใช้สอยต่างๆ ของอาคารในแต่ ละส่วน โดยพิจารณาว่า พื้นที่ใช้สอยนี้ควรจะต้องอยู่ติดกัน < ควรอยู่ ใกล้ กั นหรื อ ไม่ มี ความเกี่ ย วข้ อ งกัน กั บ พื้ นที่ ส่ ว นอื่ น ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น ตารางสี่เหลี่ยม ที่มีชื่อรายการของพื้นที่ใช้สอย กับช่องว่างสาหรับให้ คะแนน โดยการให้คะแนน ซึ่งเกณฑ์การให้คะแนนจะให้โดยการที่พื้นที่ควร อยู่ติดกันจะให้ใส่เลข 2 พื้นที่ที่ห่างกันเพียงห้องเดียวหรือสองห้องให้ใส่ เลข 1 และพื้นที่ที่ไม่มีความเกี่ยวข้ องที่ต้องอยู่ใกล้กันให้ใส่เลข 0 เพื่อ เป็นข้อมูลในการทา Bubble Diagram ต่อไป

1. Drop – off area & main entrance 2. Main lobby 3. Front desk 4. Front office 5. Lounge 6. Restrooms for guest

2 2 1 1 0

2 2 2 1

2 1 1 1 1 1 -

19


1. Staff Parking 2. General Parking

2 -

3. Facilities for rent

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

20

Business service Meeting room / Games room Library / book shop / Souvenir Gym / mini fitness Lobby & reception Locker rooms Treatment rooms Sauna Steam rooms

1. Business service 2. Meeting room / Games room 3.Library / book shop 4. Gym / mini fitness 5. Lobby & reception 6. Locker rooms 7. Treatment rooms 8. Sauna 9. Steam rooms

2. Parking

Program Analysis

1. Staff Parking 2. General Parking

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

2 1 1 1 0 0 0 0

2 1 1 0 0 0 0

1 1 0 0 0 0

1 2 1 1 1

1 2 2 2

2 2 2 2 2 2 -


Program Analysis

1. 2. 3. 4.

4. Guestrooms (ห้องพักแขก)

Standard rooms Suites Standard villas Family villas

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Standard rooms Suites Standard villas Family villas

1. 2. 3. 4.

5. Outdoor Facilities

2 1 2 1 1 1 -

Swimming pool Theme park Gallery exhibition Music conner

1. 2. 3. 4.

1. 2. 3. 4.

Swimming pool Theme park Gallery exhibition Music conner

2 1 2 1 1 1 21



Executive office Secretary office Accounting office Meeting room Panty Storage Restrooms 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

7. Administration Department ( แผนกบริหารและธุรการ )

Executive office Secretary office Accounting office Meeting room Panty Storage Restrooms

2 1 1 2 0 0

8. Food and Beverage Service

2 1 2 1 1

1 2 1 1

2 2 2

1. Boutique Restaurant & bar 2. Coffee & pastry shop 3. Front desk

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

1. Boutique Restaurant & bar PNRU 2. Coffee & pastry shop 2 3. Pool bar 1 1 -

2 2

2

-

0 = ไม่จาเป็นต้องอยู่ใกล้กัน 1 = ควรอยู่ใกล้กนั 2 = จาเป็นต้องอยู่ใกล้กัน


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

4. Bubble Diagram แผนผังแสดงความสาพันธ์ระหว่างพื้นที่ส่วนต่างๆ ภายในอาคาร และการเข้าถึง เพื่อช่วยให้เข้าใจถึง ลาดับการเข้าถึง การใช้สอยและทิศ ทางการสัญจรได้ง่ายๆ ภายในอาคาร โดยนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษา การจัดความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอย ( Relationship Matrix ) มา ทา Bubble Diagram  ใช้วงกลมขนาดต่างๆ แทนพื้นที่ใช้สอย  ลูกศรอาจหนามากน้อยตามปริมาณผู้สัญจร  อาจแยกเป็นโซน เช่น โซนสาธารณะ (Public Zone) , ส่วนตัว (Private Zone) , โซนบริการ (Service Zone)

24


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

25


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

5. Function Relationship Diagram แผนผังแสดงการติดต่อระหว่างส่วนพื้นที่ใช้สอยต่างๆ ของอาคาร  แยกเป็นส่วนต่างๆ ของกลุ่มพื้นที่ใช้สอย  อาจแยกส่วนที่คิดว่าเป็นชั้ นต่ างๆ ออกจากกันหรือไม่ แยกก็ได้  แยกทางสัญจรของกลุ่มผู้ใช้ เช่น กลุ่มลูกค้า , กลุ่ ม พนักงาน , กลุ่มบริการ เป็นต้น

26


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

6. Site Analysis เนื่องมาจากพื้นที่บริเวณนี้ มีประชากรอยู่มากและเป็นแหล่งชุมชน ซึ่งมีทั้งโรงเรียนและมหาวิทยาลัยต่างๆ อยู่มากมาย รวมไปถึงสถานที่ ราชการต่างๆ และยังติดต่อกับเส้นทางคมนาคมต่างๆ ได้อย่างสะดวก ซึ่งเหมาะกับโครงการนี้ โดยการสร้างอาคารแห่งนี้เป็นสถาปัตยกรรมที่มี รูปแบบและใช้งานได้มาตรฐานเหมาะกับรูปแบบของชุมชนโดยรอบ อีกทั้ง ยังสามารถเป็นที่รองรับหรือที่พัก สาหรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนโครงการ AEC และข้าราชการ หรือบุคลากรต่างๆ ที่มาพักอาศัยหรือจัดงาน สัมมนาต่างๆ

บริบทบริเวณรอบๆ พื้นที่ตั้งโครงการ ประกอบไปด้วย - ห้างสรรพสินค้าอยู่ 3 แห่ง คือ MAX VALU , IT SQUARE , LOTUS

27


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

- มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร , โรงเรียนมัธยมาธิตมหา วิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร , วิ ท ยาลั ย เทค โนโลยี รัตนโกสินทร์ , วิทยาลัยพุทธ และมหาวิทยาลัยเกริก - ศูนย์ราชการต่างๆ เช่น การประปา , การไฟฟ้า , การ สื่อสารโทรคมนาคม , กรมทหาร , สถานีรถไฟ - บริ ษั ท ต่ า งๆ เช่ น บริ ษั ท NXP จ ากั ด , ร้ า น เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ

SITE มรภ.พระนคร

ข้อมูลด้านสถิติ เขตบางเขน - พื้นที่เขตบางเขน 42.123 ตร.กม - ประชากร 188,164 คน (พ.ศ. 2553) - ความหนาแน่น 4,467.01 คน/ตร.กม - กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 302 คนต่อครัวเรือน - รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนต่อเดือน 25,242 บาท /เดือน หรือรายได้เฉลี่ยต่อคน 7,794 บาท /คน /เดือน 28


Program Analysis

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

มรภ.พระนคร วัดพระศรีมหาธาตุฯ

SITE AREA : ตั้งอยู่ ในเขตบางเขน SITE ตั้ง หั น ห น้ า ไ ป ท า ง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า มี ข นาด 3 ไร่ ( 100 x 48 เมตร ) โ ด ย พื้ น ที่ ตั้ ง มี ถ น น ล้อมรอบ 2 ด้านด้วยกัน คือ ด้านบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นบริเวณหน้าโครงการซึ่ง อยู่ติดกับถนนแจ้งวัฒนะ – ปากเกร็ด และอยู่ตรงข้ามกับธนาคาร กรุ ง เทพและศู น ย์ ร ถยนต์ โ ตโยต้ า ห่ า งจาก มรภ.พระนคร โดยประมาณ 150 ม.

29


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ จะต้องพิจารณาถึง  Sun Path ทางด้านหน้าโครงการหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จึงไม่ถูกแสงแดดมากในช่วงตอนเข้า ในช่วงบ่ายทางบริเวณด้านหลังของ โครงการแดดจะร้อนมาก การวางตัวอาคารควรนาอาคารมีลักษณะที่ สูง มาป้องกันแดดทางช่างบ่ายจะทาให้ภายในโครงการมีบริเวณที่ร่ม

 Wind Direction ลมจะพัดมาทางบริเวณด้านหน้าของโครงการ จึงควร ออกแบบ Space ที่มีลักษณะในการเจาะของตัวอาคารหรือ มีระยะห่าง ระหว่างอาคารหรือส่วนต่างๆ เพื่อให้ลมสามารถระบายมายังตัวอาคาร ถัดไป หรือ ไปยังส่วนต่างๆภายในโครง การที่อยู่ด้านในได้ ซึ่งจะทาให้มี การระบายและ ถ่ายเทอากาศภายในโครงการ ทาให้ความรู้สึกเย็น สบาย

30


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

 Approach 1. ทางด้านหน้า SITE : เป็นมุมมองที่สามารถมองเห็น SITE ได้ดีที่สดุ เนื่องจากติดกับถนนแจ้งวัฒนะ ซึ่งการมองสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ทิศทางคือ 1.1. มุมมองมาจากปากเกร็ด และวิภาวดี 1.2. มุมมองมาจาก มรภ.พระนคร ซึ่งการออกแบบควรที่จะมีการออกแบบลักษณะอาคารให้ มีความโดนเด่นเพื่อเป็นจุดสนใจแก่ผู้ที่ผ่านไปผ่านมาได้ง่าย

มุมมองมาจากปากเก็ด และวิภาวดี มุมมองมาจาก มรภ.พระนคร 2. ทางด้านข้าง SITE (ฝั่งซอยแจ้งวัฒนะ 1 ) : เป็น มุมมองที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอกเท่าไหร่นัก เนื่องบริเวณด้าน ซอยมีร้านขายเฟอร์นิเจอร์ตั้งอยู่จงึ ทาให้บังทีท่ างการมอง จะสามารถ มองเห็นได้ชดั เจนต่อเมื่อเข้ามาในซอย ซึ่งมุมมองการมองสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ทาง คือ 2.1 มุมมองตอนเข้าไปในซอย 2.2 มุมมองตอนออกจากซอย ซึ่งการออกแบบทางเข้า หรือ อาคารต่างควรที่จะให้เกิดความ

31


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

สะดุดตามากเป็นพิเศษ เพราะเวลาเข้ามาในซอยจะได้ช่วยดึงดูดผูผ้ ่านไป มา ได้ด้วย

มุมมองตอนเข้าไปภายในซอย

มุมมองตอนออกจากซอย

3. ทางด้านหลัง และ ด้านข้าง ( ฝั่งชุมชนริม คลอง ) ของ SITE : เนื่องจากอยู่ติดกับที่ดินเปล่าจึงไม่สามารถ มองเห็นได้จากภายนอก ดังนั้นการออกแบบควรจะมีการนาส่วน SERVICE ต่างๆที่ไม่ตอ้ งให้เห็นมาไว้บริเวณนี้ได้ แต่กอ็ าจจะคานึงถึง เรื่องของอนาคตทีอ่ าจจะมีการก่อสร้างอาคารข้างเคียงขึ้นมาก็ได้

มุมมองทางด้านข้างฝั่ง ชุมชนริมคลอง

32

มุมมองทางด้านหลัง


Program Analysis

ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

 Accessibility การเข้ า ถึ ง ของโครงการสามารถเดิ น มาได้ ห ลายทาง ได้แก่ ถนนเส้นวิภาวดี – รังสิต , ถนนเส้นพหลโยธิน – สะพานใหม่ , ถนนเส้นแจ้งวัฒนะ – ปากเกร็ด – รามอินทรา

ถนนวิภาวดี

ถนนแจ้งวัฒนะ

SITE

ถนนพหลโยธิน

ถนนวิภาวดี

33


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

ถนนแจ้งวัฒนะ

ถนนพหลโยธิน

 Surrounding โดยพื้นทีต่ ั้งมีถนนล้อมรอบ 2 ด้านด้วยกัน คือ ด้าน บริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นบริเวณหน้าโครงการซึ่งติดกับถนน แจ้งวัฒนะ – ปากเกร็ด

SITE

ถนนโดยรอบโครงการ 34


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

- ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ด้านหน้า SITE : หันหน้าไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับถนนแจ้งวัฒนะ – ปากเกร็ด อยู่ตรงข้ามกับ ธนาคารกรุงเทพ ศูนย์รถยนต์โตโยต้า หมู่บ้าน และชุมชนริมคลอง

SITE

ธนาคารกรุงเทพ

SITE

ศูนย์รถยนต์โตโยต้า

SITE

หมู่บ้าน

SITE

ริมคลอง 35


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ : ติดกับซอย แจ้งวัฒนะ 1 บริเวณหน้าโครงการตรงข้ามเป็นร้านขายเฟอร์นิเจอร์ และบริเวณหน้าโครงการมีวินมอเตอร์ไซด์ตั้งอยู่

ร้านขายเฟอร์นิเจอร์

SITE

วินมอเตอร์ไซค์หน้าโครงการ - ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ : ติดกับพื้นที่ว่างเปล่า SIT E

ติดกับพื้นที่ว่างเปล่า - ทิศตะวันออกเฉียงใต้ : ติดกับพื้นที่ว่างเปล่า แต่ ใกล้กบั ชุมชนริมคลอง

36


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Program Analysis

ติดกับพื้นที่ว่างเปล่า

ชุมชนริมคลอง  Pollution เนื่ องด้ว ยที่ ตั้ งโครงการอยู่ติ ดกั บถนนทั้ งด้ านหน้ าและ ด้านข้างของโครงการ จึงมีปัญหาเรื่องฝุ่นหรือควันจากการสัญจรผ่าน ไปมาของรถยนต์ นอกจากนั้นยังมีปัญหาเรืองของเสียงรบกวนจากการ สัญจรของรถยนต์ เสียงแตร เสียงผู้คน ฯลฯ

37



Lecture Design


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Lecture Design

Lecture Design

1

2

40

อย่ า งไรก็ ต าม ในการออกแบบจะต้ อ ง ผ่านการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ตั้งแต่ผู้ใช้โครงการ หน้ า ที่ ใ ช้ ส อย พื้ น ที่ ใ ช้ ส อย พื้ น ที่ ตั้ ง โครงการ ตลอดจนกฎหมายที่ครอบคลุมในการออกแบบ ซึ่ง ผู้ออกแบบจะต้องศึกษาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนเพื่อ ง่ า ยต่ อ ความเข้ า ใจและสามารถน าไปออกแบบ ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีขั้นตอนดังนี้


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Lecture Design

41


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

42

Lecture Design


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Lecture Design

43


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

44

Lecture Design


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Lecture Design

45


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

46

Lecture Design


Case Study


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

ALILA CHA AM / DUANGRIT BUNNAG ARCHITECTS

โรงแรมอลีลาชะอํา ที่หรูหราระดับห้าดาว ในพื้นที่ที่สําคัญของ ชะอํา โรงแรมเป็นที่เลื่องลือในการบริการของโรงแรมเป็นครั้งแรกในอัตรา และสิ่งอํานวยความสะดวก นักธุรกิจและนักท่องเที่ยวสามารถเพลิดเพลิน ในการตกแต่งภายในที่งดงามและฟังก์ชั่นการพักผ่อนหย่อนใจ ผู้เข้าพัก สามารถอาบแดดสระว่ายน้ํา หรือชุบตัวของพวกเขาในสปาหรูในส่วน ห้องพักของโรงแรม Cha - Am ยังมีร้านอาหารชั้นนําที่รับประกัน คุ ณ ภาพอาหาร โดยบริ ก ารเจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลแขกของโรงแรมที่ จ ะให้ ข้อแนะนําสถานที่ท่องเที่ยว จองทัวร์หรือเที่ยวชมสถานที่รอบ ๆ ชะอํา ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถใช้เวลาของพวกเขาออกไปที่ไฮไลท์ของเมืองและ ร้านค้าของที่ระลึก

48


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

ALILA CHA AM PROFILES Architects Duangrit Bunnag Architect Limited – DBALP Location Cha Am, Petchaburi, Thailand Principal in Charge Duangrit Bunnag Collaborator Architects : Saranya Srisakulchairak /Architect roup Head, Kahitha Boonyatasaneekul / Architect, Rawin Sangsitt ayakorn / Architect, Prinpond Boonkham / Interior, Thiti Tritrakar n / Landscape Archiect Contractor Square Tech Co.,Ltd. Structural Engineer EMS Consultant Co.,Ltd. Client KS Resort and Spa Co.,Ltd. Site area 30,000sqm Building area 18,000sqm Project year 2008sqm Photographs DBALP & KS Resort and Spa

49


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

แนวความคิดในการออกแบบ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โรงแรมในเมืองที่ไม่ซ้ํากันและรีสอร์ท ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก จุ ด เด่ น ของ Alila มีสไตล์, สภาพแวดล้อม ที่ผ่อนคลายและการต้อนรับที่ยอด เยี่ยมที่สร้างประสบการณ์ของผู้เข้า พั ก ที่ ไ ม่ ซ้ํ า กั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ สะท้ อนนิย ามใหม่ที่ดี ที่สุ ดของชีวิ ต และบรรยากาศร่วมสมัย

เริ่ ม ต้ น การเดิ น ทางที่ น่ า จดจํ า เข้ า กั บ วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น สํ า ห รั บ ประ ส บ กา รณ์ ป ลา ยท า ง ทั้งหมด ไม่ว่าผลประโยชน์ส่วนบุคคล ของคุณมีมากมายของประสบการณ์ ใหม่ที่รอคอยการค้นพบของคุณ ไม่ว่า การเรียนรู้เพื่อสร้างรสชาติของอาหาร ท้อ งถิ่ นที่ เพิ่ ม เป็ นอยู่ที่ ดี ของคุ ณผ่ า น ทางศิลปะโบราณในการรักษาหรือชิม ตื่ น เต้ น ขอติ ง กี ฬ าผจญภั ย เคารพ สภาพแวดล้ อ มทางธรรมชาติ ของพื้ น ที่ เ ดิ ม เก็ บ ลายละเอี ย ดของ ธรรมชาติ ให้กลมกลืนกับการใช้ชีวิตของคนในพื้นที่ อย่างลงตัว 50


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

MASTER PLAN

51


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

การแบ่งโซนของพื้นที่โครงการ

52

Case Study


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Lobby ออกแบบเป็ น ลั ก ษณะ Open-Air รับรู้สภาพแวดล้อม เต็ ม ที่ ร้ อ นคื อ ร้ อ น เปี ย กคื อ เปี ย ก หลั ง คาพาดช่ ว งกว้ า ง ซ่อนหลังคากระจกไว้ข้างในเป็น ช่วงๆ ด้านริม 2 ข้างของ หลังคาซ่อนกันสาดผ้าใบ เอาไว้ เลื่อนลงมาบังแดด-ฝน ในยามจําเป็น ตรงกลางมีโต๊ะไม้ขนาดยักษ์วางอยู่ กะคร่าวๆประมาณ 1.5x4.0 เมตรเห็นจะได้ มองจาก Lobby ไปด้าน ใน จะเป็น Reflecting Pool ขนาดใหญ่อยู่ตรงกลาง ด้านล่างของ Reflecting Pool นี้คือ Service และ Function อื่นๆเช่น Spa, Library, Bar, Internet Cafe

รูช่องเปิดโล่งขนาดใหญ่ที่อยู่กลาง Reflecting Pool คือ บริเวณของสระว่ายน้ํา ( Chill Pool) ด้านข้างทั้ง 2 ของ Reflecting Pool คืออาคารห้องพัก ความสูง 3 ชั้น เดินขึ้นลงด้วย บันได ตรงกลางด้านปลาย Reflecting Pool ที่เป็นคล้ายๆศาลาคือ Clouds Loft หรือร้านอาหารแบบ Outdoor ซึ่งจะเห็นวิวทะเลเต็มๆ 53


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Buildings & Details อาคารทั้ ง หมดออกแบบ โดยใช้เนื้อแท้วัสดุจริง ไม้ คอนกรีต หิ น เหล็ ก เส้ น สายเรี ย บง่ า ย จะ มองเห็น ร่องรอย-คราบ-ซีด-ด่าง ตามคุ ณ ลั ก ษณะของไม้ ที่ ใ ช้ ก รุ ผิ ว อาคารชัดเจน ตลอดแนวตรงกลาง ของโครงการจะมี กํ า แพงหิ นภู เ ขา ระเบิ ดอยู่ ภายในตะแกรงเหล็ ก สู ง ประมาณ 4.00 เมตร ทําหน้าที่ เป็นแนวทางเดิน และกรอบผนังของ Function ภายในต่างๆ ด้านบน ข อ ง กํ า แ พ ง ก็ คื อ Reflecting Pool ที่มองเห็ นจาก Lobby นั่นเอง กํ า แพงหิ น นี้ แ ทบจะเป็ น Theme Design หลักของที่นี่เลย ก็ว่าได้ เพราะเห็นได้ จากแทบทุก ที่ เรียกว่าจําติดตาไปเลย

54


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Room ห้ อ งพั ก ออกแบบโล่ ง ๆ นิ่ ง ๆ เน้ น วั ส ดุ ผนั ง คอนกรี ต เปลือยดิบๆ แต่ผิวเรียบเนียนมาก มื อ ลู บ ไม่ ส ากแม้ แ ต่ น้ อ ย เสี ย นิ ด เดี ยวตรงรู สอดเหล็ กไม้ แบบอุด ไม่ เรียบร้อยเท่าที่ควร ทําให้ดูน่ากลัว ในบางจุ ด ฝ้ า เพดานสู ง โปร่ ง ไฟ ดวงโคมมี เฉพาะจุ ด ที่ จํา เป็ นจริ ง ๆ เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ น้ อ ย ชิ้ น ส ไ ต ล์ Minimal ภายในห้องแม้ยังไม่เปิด แอร์ก็ เย็นสบายเพราะผนังอาคาร หนามาก จึ ง เป็ น ฉนวนกั น ความ ร้อนให้ภายในห้องไปในตัว

Room Terrace ห้องพักชั้น 1 จะมี ระเบียงขนาดเล็กๆด้านข้าง ออกมานั่งเล่นได้ พื้นระเบียง เป็นไม้จริง (เช่นเดียวกับผิว ภายนอกของอาคาร)

55


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Bathroom ห้องน้ําขนาดใหญ่ กลางห้องเป็น ที่ โ ล่ ง เ ป็ น ที่ สํ า ห รั บ ยื น อ า บ Rain Shower ขนาดใหญ่ที่ฝังอยู่บนฝ้าเพดาน สูงประมาณ 3.5 เมตร พื้นที่ยืนอาบเป็น หินขนาดใหญ่ยักษ์ 1.2x2.40 เมตร 2 แผ่ น วางเว้ น ร่ อ งด้ า นข้ า ง ซ่ อ นแนว Gutter ของ Floor Drain เอาไว้มิดชิด อ่างล้างหน้าออกแบบซ่อนไฟและ ก๊อกอัตโนมัติเนียนสวย ตัวหลุมอ่างใช้วิธี เจาะหินทั้งแผ่นลงไป 2 แผ่น (แผ่นละประมาณ 2 ซม. ) ด้านข้าง ห้องน้ําเป็นระเบียงเล็กๆ (บางห้องไม่มี) เปิดให้บรรยากาศใกล้ชิดต้นไม้ได้ Clouds Loft ร้านอาหารแบบ Outdoor อยู่ชั้นบนระดับเดียวกับ Lobby และ Reflecting Pool วิวด้านนี้ติดทะเลอ่าวไทย ส่วนใต้หลังคาเป็น Bar และที่นั่งบางส่วน ด้านหลัง Bar มีบันไดเวียนตัวเล็กๆหลบอยู่ เงียบๆ เพื่อเดินลงไปยังครัวและส่วน Service ที่ซ่อนอยู่ด้านใต้นี้อีกที ริมหลังคาโดยรอบ ซ่อนกั นสาดผ้าใบไว้ ปิด ลงมา ยามต้องเผชิ ญกั บ ความจริ ง ของสภาพแวดล้ อ มเช่ น ฝนที่ ม าพร้ อ มลมทะเลอั น รุ น แรง เช่นเดียวกับ Lobby

56


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Chill Pool สระว่ายน้ําที่ตําแหน่ งอยู่ตรงกลางของอาคารห้องพักทั้ง 6 หลัง และอยู่ตรงกลางของ Reflecting Pool โอบล้อมด้วยกําแพงหิน ตลอดแนว 2 ด้านที่ติดกับอาคารห้องพัก กําแพงหินนี้ทําหน้าที่บัง สายตาจากห้องพักที่อยู่ชั้นบนเวลามองลงมาเพราะเมื่อลงไปว่ายน้ําในสระ แล้วมุมของกําแพงจะบังมิดพอดี ทําให้เป็นส่วนตัว มองขึ้นไปก็เห็นแต่ ท้องฟ้า ไม่ต้องกลัวเป็นเป้าสายตาจากห้องทั้งหลายที่อยู่รอบด้าน ด้าน ปลาย 2 ด้านของสระเป็น Spa และ Bar (The Red) ระเบียงสระเป็น ไม้จริง มีรายละเอียดบอกความลึกสระ ด้วยการใช้ Laser Cut ตัดเนื้อ ไม้ให้ลึกลงไปเป็นคําว่า Depth 1.2 M รอบๆสระจะมี Background Noise เป็นเสียงเพลงคลอเบาๆ มองดูดีๆจะเห็นลําโพง Outdoor สี เขียวๆวางอยู่ประปราย

57


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Motion for Breakfast บริ เ วณทางไปทาน อาหารเช้ า อยู่ ด้ า นล่ า งของ Clouds Loft นั่นเอง เป็น ส่ ว นเ ดี ยวที่ จะ ไ ด้ สั ม ผั ส กั บ กํ า แพงหิ นในลั ก ษณะ Indoor ให้ความรู้สึก Contrast อย่าง มาก แต่ ก็ น่ า สนใจไปอี ก แบบ เพราะเราจะได้ นั่ ง ทานอาหาร ข้ า งๆหิ น ระ เบิ ดก้ อนให ญ่ ๆ ด้านข้างจํานวนนับ หมื่นนับพัน ก้ อ น เป็ น ประสบการณ์ ที่ น่ า ประทับใจไม่น้อย

58


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

Fountain Water Feature น้ําพุจํานวน 6 หัว บริเวณลาน หิ น อ่ อ น ก่ อ น เ ดิ น ขึ้ น บั น ไ ด Lobby เป็นน้ําพุหินอ่อนขอบตัด เรียบ กลางคืนซ่อนไฟสวยงาม เ สี ย ง ข อ ง น้ํ า พุ นี้ ช่ ว ย ทํ า ใ ห้ บรรยากาศแข็ ง ๆของ "ลาน เหลี่ยมโล่ง" นี้นุ่มนวลและไม่แข็ง ก ร ะ ด้ า ง จ น เ กิ น ไ ป ส ม ชื่ อ Softscape Event Center เ ป็ น อ า ค า ร เอนกประสงค์ชั้นเดียว วางตัว อยู่ โ ซนด้ า นหน้ า โรงแรม เพื่ อ การจัดกิจกรรมต่างๆ และเอาไว้ ต้อ นรั บทั ว ร์ ที่ มาเป็ นกลุ่ ม ใหญ่ สํ า ห รั บ อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ช้ ง า น อุ ป กรณ์ ต่ า งๆภายในห้ อ งและ ส่ ว น ต่ า ง ๆ ข อ ง Function พร้ อ มข้ อ บั ง คั บ ภายในโรงแรม เพราะค่ อนข้า งมี ระดับ เล็ กน้ อ ย เช่น Apple TV , Wi-Fi และ ระบบไฟ ระบบเสียงต่างๆ

59


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

ข้อดี 1. มีการเปิดมุมมองให้เห็นทั่วถึงทั้งโครงการ 2. โซนส่วนตัวมีการทําทีบ่ ังตา กันไม่ให้คนภายนอกมาเห็น 3. มีการเปิด Space ให้กบั ผูใ้ ช้ภายในโครงการ ได้ทํากิจกรรม ต่างๆ ข้อเสีย

1. ทางเดินไปโซนต่างๆไม่มที ี่บังแสงแดด ฝน 2. โซนเซอร์วิชไม่ควรอยู่ใกล้โซนส่วนตัว 3. จัดโซนกระจายทําให้โซนส่วนตัวอาจถูกรบกวนจาก บุคคลภายนอกได้

60


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

CRYSTAL TOWERS HOTEL & SPA / VIVID ARCHITECTS

Crystal Towers ออกแบบ โ ด ย ส ถ า ป นิ ก ช า วแ อ ฟ ริ ก า Vivid Architects แนวคิดเป็นสองอาคารที่ใช้ ร่วมกันแบบบูรณาการฐานแบบไดนามิก และการดูดซึมของกิจกรรมสาธารณะที่มี สระว่ า ยน้ํ า กล่ อ งลอยอยู่ ใ นระหว่ า ง กึ่งกลาง โฟกัสของฐานนี้เป็นถนนคนเดิน ภายในเพื่อส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางทาง สังคมของกิจกรรม Architect: Vivid Architects Project: Crystal Towers Location: Cape Town, South Africa 61


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

62

Case Study


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

รูปทรงอาคารเป็นแบบ โมเดิร์นด้านหน้าของตัวอาคารที่ เป็ น ส่ ว นต้ อ นรั บ แขก ชั้ น ล่ า งมี ลักษณะเปิดโล่ง ได้รับร่มเงาจาก ส่วนบนที่เป็นส่วนของสระว่ายน้ํา ที่ เ ป็ น อี ก จุ ด เด่ น หนึ่ ง ของทาง โรงแรมที่น่าสนใจ

63


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

64

Case Study


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

65


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Case Study

โรงแรมทาวเวอร์ เ ป็ น ม่านผนังด้านหน้าเพื่อสะท้อนให้ เห็ น ถึ ง ประสบการณ์ ร่ ว มสมั ย ขณะที่ ก ารเพิ่ ม มุ ม มองที่ สู ง ขึ้ น อ ย่ า ง ม า ก ข อ ง ฉ า ย เ ฟ ร ม อลู มิ เ นี ย มที่ ใ ห้ อ าคารสมมาตร โดยรวมอาคารสํ า นั ก งานอิ ส ระ ตอกย้ํ าความคิ ด ของการมีก าร ออกแบบfacade

66


Student Work


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย พันธกานต์ ทองประพันธ์ รหัส 5210116519022 แนวความคิด : Smart Planet เป็ น แนวความคิ ด ในการ ออกแบบ Apartment Service แห่งนี้ Smart = architecture + living Planet = people + world ประกอบกับยุคปัจจุบันเป็นยุคที่จะเข้าสู่อาเซียน ( AEC ) และแน่นอนที่จะต้องมีการรองรับ ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ Smart Planet จึ งเป็ นที่ อยู่ อ าศั ย ที่ เพียบพร้อมด้วยสถาปัตยกรรมและความเป็นอยู่ ที่ทันสมัย ที่พร้อมรองรับชาวอาเซียนทุกคนที่จะ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ Smart Planet

Plan 1 Scale 1:200 68

Plan 2 Scale 1:200


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Project Design

Plan 3 Scale 1:200

Plan 4 Scale 1:200

Section A - B

69


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 1 - 2

Elevation3

Detail ในส่วนขยายห้องพักต่างๆ

70


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Project Design

71


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว นุสราภรณ์ คุดนา รหัส 5210116519043 แนวความคิด : แนวความคิดในการออกแบบ ไ ด้ แรงบั น ดาลใจมาจากเทพนิ ย าย นิ ท านใน จิ น ตนาการ โดยน าเอาลั ก ษณ์ พิ เ ศษของ เนื้อ หาในนิทานมาเล่าเรื่อ งผ่ านรู ปแบบของ เฟอร์นิเจอร์ การตกแต่งผนัง การ ใช้สีสันสดใสที่โดดเด่น การเน้นตามสไตล์ของ แต่ ล ะห้ อ งที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น การออกแบบจะ สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นเทพ นิยาย เมื่อลูกค้าเข้ามาพักจะได้รู้สึกเป็นเจ้า หญิ ง เจ้ า ชายอี ก ครั้ ง ท าให้ อ ารมณ์ ดี อบอุ่นในแบบฉบับของโรงแรมอารมณ์ดี

72

Student Work


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Site & Plan 1 1. 2. 3. 4. 5.

Standard Villas 4 หลัง Family Villas 2 หลัง สระว่ายน้า ทีจอดรถ ส่วน Service ทางเข้าหลัก Service

ทางเข้า

73


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 2 3. 5. 6. 7. 8.

สระว่ายน้า Service ร้านอาหาร Drop off Fitness

9. Bar 10. Water Closet 11. Spa 12. Coffee & Bakery

Plan 3

74


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 4

Plan 5

Section A - B

75


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Suite Plan

Perspective

76


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Standard Rooms Plan

Section Standard Villas

77


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation Standard Villas

Perspective

78


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan Family Villas

Section Family Villas

Elevation Family Villas

79


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย กิตติศักดิ์ หล้าบุญมา รหัส 5310116519039 แนวความคิด : True nature สถาปัตยกรรมแนว ธรรมชาติ (Natural Architecture) ปั จ จุ บั น ธรรมเราหั น มาสนใจสร้ า งสรรค์ ง าน ออกแบบในแนวความคิ ด “สถาปั ต ยกรรมแนว ธ ร ร ม ช า ติ ” “ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม เ ขี ย ว ” “สถาปัตยกรรมเชิงนิเวศ” มากขึ้นเช่นกัน โดย สาระใหญ่ คือ การมุ่ ง เน้ นการ วางผั ง เมื อ ง ผั ง ชุ ม ชน การออกแบบและก่ อ สร้ า งอาคารที่ กลมกลืน เป็นมิตรกับธรรมชาติ ระบบนิเวศ และ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เนื่องจากเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วย ท าให้ ชี วิ ต การอยู่ อ าศั ย มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น ประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ กับทั้ง สามารถช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อนได้เป็นอย่างดี

>>> Bestment

80


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 1

Plan 2

Plan 3

81


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 4

Section A

Section B

Elevation 1 82


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 2

Elevation 3

Elevation 4

83


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว กมลพัชร สรรพกิจจานนท์ รหัส 5310116519037 แนวความคิด : “Green Shadow” ร่มรื่นใต้เงาไม้ เนื่ อ งจากบริ บ ทรอบนอกของโครงการซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ยอาคารบ้ า นเรื อ น รถ ถนน ความแออัด และสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้า ว จึ ง อ อ ก แ บ บ ใ ห้ มี ก า ร น า ต้ น ไ ม้ ม า เ ป็ น องค์ประกอบของอาคาร เพื่อให้เกิดความร่ม รื่น อยู่แล้วเย็นสบาย ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่ ท่ามกลางธรรมชาติ

Ground Floor Plan 84


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Second Floor Plan

3 Floor Plan

85


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Section A - B

Elevation 1,2,3,4 86


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Model

87


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย นัทธพงศ์ ศุภลักษณ์ รหัส 5310116519039 แนวความคิด : ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ พั ก อ า ศั ย ส ไ ต ล์ Boutique เป็นการตอบสนองต่อผู้ที่เดินทางมา พักอาศัยที่ต้องการมาผ่อนคลาย ด้วยการบริการ ที่ใกล้ชิด เอาใจใส่ ทาให้มีความรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน จึ ง ได้ น าไม้ กั บ น ามาสร้ า งบรรยากาศให้ เ ข้ า กั บ ผลงานทาให้รู้สึกมีความผ่อนคลายกลมกลืนกับ ธรรมชาติและยังต้อง รักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้ชื่อ แนวความคิดว่า Eco

Basement

88


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Ground Floor Plan

Plan 2

89


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 2

Plan 3

Section A 90


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Section B

Elevation 1

Elevation 2

Elevation 3 91


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 4

Detail

92


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Perspective & Model

93


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว พรรณวดี โรจนศิริ รหัส 5310116519041 แนวความคิด : Valleys and lake. อาคารที่ มี ความเป็ นธรรมชาติ แ บบ สมัยใหม่ ให้รู้สึกกลมกลืนเหมือนอยู่ กลางป่าในหุบเขาล้อ มรอบทะเลสาบ ลักษณะอาคารเป็นคอนกรีตเปลือย+ ไม้เลื้อยและระแนงไม้ ดูแล้วเหมือนดัง อยู่ในธรรมชาติยุคใหม่

Basement

94


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Ground Floor Plan

Plan 2-3

95


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 4

Section A-B 96


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 1 – 2

Elevation 3 - 4 97


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Detail & Model

98


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย อมร เมืองตรีงาม รหัส 5310116519042 แนวความคิด : ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจาก Eco Resort ที่เน้นการพักผ่อนแบบธรรมชาติ ให้ความรู้สึกถึงความใกล้ชิดธรรมชาติในวิถี ชีวิตคนเมือง ดูหรูหราด้วยการใช้กระจกใน การแสดงถึงความทันสมัย สื่อถึงการใช้แสง จากธรรมชาติ

Lay - Out

99


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan

Plan 1

100


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 2

Plan 3

Plan 4 101


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Section A

Section B

Elevation 1

Elevation 2

Elevation 3

Elevation 4 102


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Detail 103


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Perspective 104


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย สัณหกฤษฏ์ อัษฎาวรพัฒน์ รหัส 5310116519046 แนวความคิด : ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจากอาคารแนว Modern สมัยใหม่ ในการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ อ้อมล้อมธรรมชาติโดยการนาธรรมชาติมาแทรกใน องค์อาคาร ให้รู้สึกถึงความร่มรื่นเย็นสบายใต้ร่มเงาไม้

Lay - Out

Plan 1

105


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 2

Plan 3

Plan 4

106


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Perspective & Model

107


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย จักรภพ วิรัชนิดากุล รหัส 5310116519049 แนวความคิด : “การไหลของน้า” การใช้น้าแทรก ระหว่างองค์อาคาร ให้เกิดความเย็นสบาย ทังตัวอาคารและผูอ้ ยู่อาศัย และใช้การไหล ของน้าเป็นตัวแบ่งความส้าคัญ การใช้สอย ของอาคาร และความเป็นส่วนตัวของผูอ้ ยู่ อาศัย

108

Student Work


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

109


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว แพรวพรรณ รหัส 5310116519054

ศรีทอง

แนวความคิด : Mood Green ได้รับแรงบันดาล ใจมาจากธรรมชาติ และไม้ มาปรับให้เข้ากับโครงการ เพื่อให้ดูน่าอยู่เหมือนอยู่ใกล้ธรรมชาติมากยิ่งขึ้น Mood = จะใช้ไม้มาปรับใช้กับโครงงาน จะเน้นเกี่ยวกับวัสดุ โครงสร้างและพื้นผิวต่างๆ ของโครงการให้ดูน่าอยู่ยิ่งขึ้น Green = นาธรรมชาติมาสร้างเสริมบรรยากาศให้ร่มรื่นเป็น สีเขียวเหมาะกับโครงการ เสมือนมาอยู่ในมุมที่เงียบสงบ

Plan 1-2

110


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 3-4

Section A-B

111


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Model

112


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว ชวนชื่น คงสินธุ์ รหัส 5310116519055 แนวความคิด : เนื่ อ งจากสภาพแวดล้ อ มโดยรอบ โครงการที่ ห นาแน่ นไปด้ ว ยอาคารบ้ า นเรื อ น ขาดพื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ผู้ อ อกแบบจึ ง ออกแบบ โครงการที่พักอาศัยนี้โดยเน้นความร่มรื่นของธรรมชาติให้เข้ามาเป็นส่วน สาคัญในโครงการ ให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกร่มรื่น สบายกายใจเวลาพักผ่อน สะดวกต่อการใช้งาน

Lay-Out 113


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

BaseMent

Ground Floor Plan

114


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

2 Floor Plan

3 Floor Plan

4 Floor Plan

115


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

116

Student Work


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Perspective 117


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Model 118


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว ชนัญชิดา จงเจริญ รหัส 5310116519056 แนวความคิด : ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจาก สถาปัตยกรรมไทยในยุคอดีต เนื่องจากใน ปั จ จุ บั น มี ก า ร นิ ย ม อ า ค า ร รู ป แ บ บ Modern เสี ย ส่ ว นใหญ่ รวมถึ ง สภาพแวดล้อมรอบโครงการ ที่เต็มไปด้วย ความหนาแน่ น ของบ้ า นเรื อ น ถนน ร ถ ย น ต์ ผู้ ค น แ ล ะ ส ภ า พ อ า ก า ศ ผู้ออกแบบจึงนาความเป็นไทยเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของโครงการ ให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึก ถึงความเป็นไทย พักอาศัยอย่างร่มรื่นมี ความสุข

119


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 1

Plan 2 120


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 3

Plan 4

121


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 1

Elevation 2-3

Elevation 4

122


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว เบญจวรรณ วัตตะโร รหัส 5310116519057 แนวความคิด : “วิเศษนิยม” เป็นรูปแบบ อาคาร Modern ร่วมสมัย ลักษณะที่ ใช้ กั บ อาคารเป็ น แบบปู น เปลื อ ยตาม สมัยนิยม

Plan 1

123


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 2

Plan 3

124


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Plan 4

Plan 5

125


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Section A

Section B

126


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นาย วีรพล โยธี รหัส 5310116519060 แนวความคิด : “ความเป็นไทย” โดยเน้ น เอกลั ก ษณ์ ที่ สื่ อ ถึ ง ความเป็ นไทย อาทิ การยกพื้ น สู ง ของบ้ า นเรื อ น ท าให้ ดู ปลอดโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก ผสม กั บ รู ป แบบอาคารสมั ย ใหม่ จ นเกิ ด เป็ น เอกลักษณ์ที่โดเด่นเฉพาะตัว

Lay-Out

127


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Basement & Ground Floor Plan

128

Student Work


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

2 Floor Plan & 3 Floor Plan

129


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Section A

Section B

Elevation 1 130


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 2

Elevation 3

Elevation 4 131


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Model 132


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Project Design : Boutique Resident PNRU นักศึกษา : นางสาว ธัญญานันท์ กิตติวรุณโรจน์ รหัส 5310116519061 แนวความคิด : "วิถีชีวิต วัฒนธรรม การดารงอยู่" บริ บ ทโดยรอบโครงการ ที่ ตั้ ง โครงการไม่ มี มุ ม มองวิ ว ที่ ดี ดังนั้นการสร้างภูมิทัศให้กับโครงการ โดยการล้อมรอบด้วยตัวอาคารที่มี ความร่วมสมัย จาลองวิถีชีวิตแบบชาวกรุงเพื่อให้ผู้ที่เข้ามาใช้โครงการได้ สัมผัสกับความเป็นอยู่อย่างไทย

Basement

133


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Ground Floor Plan

Second Floor Plan

134


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

3-4 Floor Plan

Section A - B

Elevation 1 – 2 135


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Student Work

Elevation 3 – 4

Model 136


Conclusions    

Problems Pros and Cons Future Directions Conclusions


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

PROBLEMS ปัญหาโปรแกรมการออกแบบ อย่างไรก็ตาม การออกแบบทุกครั้งมักจะเกิดปัญหาในด้าน ต่างๆ อาทิ ปัญหาเกี่ยวกับสถานที่ตงั้ ปัญหาด้านการออกแบบที่ว่างและ การใช้ ส อย ระยะเวลาในการออกแบบ รวมไปถึ ง ความรู้ ด้ า นระบบ โครงสร้าง ซึ่ง เป็นส่ วนหนึ่ งของโปรแกรมการออกแบบ ที่ผู้ออกแบบ จะต้องวิเคราะห์แล้วนามาแก้ไขและทาความเข้าใจในโปรแกรม ซึ่งเป็นสิ่งที่ ควรปรับปรุง เพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบในกรณีที่ออกแบบอาคาร ในรูปแบบอาคารสาธารณะ  ปัญหาความไม่เข้าใจในตัวโปรแกรม Problem in Program อย่ า งไรก็ ต าม การเข้ า ใจในโปรแกรมเป็ นส่ ว นส าคั ญที่ สุ ด ในการ ออกแบบ ซึ่งจะสื่อให้เห็นถึงผลงานที่ออกแบบออกมาว่าตรงกับที่โจทย์ กาหนดมากน้อยเพียงไร หรือ แตกต่างออกไปไม่ตรงกับที่โจทย์ต้องการ โปรแกรมที่ได้รับ คือ Boutique Hotel ซึ่งหมายถึงที่พักอาศัยขนาด เล็กที่มีลักษณะเฉพาะตัว ผู้ออกแบบยังมีความไม่เข้าใจระหว่างโรงแรม รี สอร์ท และ Boutique Hotel ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร จึงทาให้ ผลงานที่ออกแบบออกมาไม่สามารถดึงความเป็นเอกลักษณ์ของโครงการ ออกมาได้ ไม่มีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น Program ศึกษาหาข้อมูลเพิ่ม ทาความเข้าใจ โปรแกรมให้ชัดเจน จะทาให้ได้ผลงานที่ ดีออกมา 138

ความเข้าใจโปรแกรม ไม่สามารถออกแบบ ผลงานที่ได้ตามความต้องการของโจทย์ เป็นปัญหาต่อไป ถ้ายังไม่ทาความเข้าใจ กับโปรแกรม


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

 ปัญหาเรื่องระยะเวลา Problem in Design Period ในการออกแบบโปรแกรมในครั้ง นี้ มี ระยะเวลาสั้ น เนื่ อ งจากต้ อ ง วิเคราะห์ค้นคว้าหาข้อมูลจากโปรแกรมที่ได้รับแล้ว นักศึกษาจะต้องวาง แผนการจัดการงานกับเวลาที่มีให้ตรงกับเวลาที่ทางอาจารย์จัดมาให้ ระยะเวลาในการท าผลงานขั้ นสุ ด ท้ าย ( Final Design & Presentations ) มีระยะเวลาน้อย ทาให้นักศึกษาผลิตผลงานออกมา ได้ไม่ทันและไม่มีศักยภาพพอ Time จัดสรรเวลาไม่ดี จัดตารางเวลาใหม่ เมื่อตรวจ แบบแล้วควรที่จะแก้ไขภายใน ชั่วโมงเรียน รีบทางานให้เสร็จ ก่อนเวลา

รบกวนเวลางานในวิชาต่างๆ ทาให้เกิดงานที่คั่งค้าง

 ปัญหาเรื่องความรู้เชิงสร้างสรรค์ Problem in Knowledge of Creative โปรแกรมที่ได้รับในครั้งนี้ เป็น Boutique Hotel ซึ่งหมายถึงที่พัก ขนาดเล็กที่มีความเป็ น Theme ของตนเอง หรือเรียกอีกอย่างว่า โรงแรมสั่งตัด ต่างจากโรงแรมอื่น เป็นโจทย์ที่กาหนดให้นักศึกษาต้อง ออกแบบให้เห็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจน ออกแบบให้เห็นจุดเด่นที่ชัดเจน แต่ ผลงานที่ ไ ด้ รั บ หลั ง จากการออกแบบ ผลงานของนั ก ศึ ก ษายั ง ไม่ มี ประสิทธิภาพพอ ไม่สามารถสร้างเอกลักษณ์ของงานได้ นักศึกษายังไม่

139


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

สามารถนาแนวความคิดของตนไปแปรเป็นผลงาน ยังขาดความคิดใน เชิงสร้างสรรค์ Creative ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม หมั่นดู Case Study

ขาดความคิดสร้างสรรค์ ผลงานจะออกมาไม่มี ประสิทธิภาพพอ

 ประโยชน์ที่ได้รับ โปรแกรมออกแบบที่ได้รับนี้ ทาให้ได้รับรู้ข้อแตกต่างในด้านต่างๆ ของ ผลงานที่เคยได้รับการออกแบบ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์มากมาย ดังนี้ 1. นักศึกษาได้เรียนรู้การออกแบบในลักษณะที่แปลกใหม่ขึ้น ลักษณะการใช้อาคารที่แตกต่างจากผลงานที่เคยออกแบบ 2. นักศึกษาได้พัฒนาการออกแบบในเชิงสร้างสรรค์ โดยการ ออกแบบชิ้นงานนี้ให้มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์เป็นของ ตนเอง 3. นักศึกษาเรียนรู้ที่จะพัฒนาการออกแบบด้วยตนเอง ลอง ผิดลองถูก ในหลายหลายทิศทาง 4. นักศึกษาเรียนรู้ที่จะศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง รวมไปถึง การทางานร่วมกันในหมู่นักศึกษาด้วยกันเอง 5. นักศึกษาได้ศึกษาวิเคราะห์ในหลายๆประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ งานออกแบบ

140


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

Pros and Cons ข้อดี-ข้อเสีย โปรแกรมการออกแบบชิ้นนี้เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งในรายวิชานี้ ซึ่ ง ผลงานที่ ไ ด้ นาเสนอแสดงให้ เ ห็ นถึ ง ศั ก ยภาพของนั ก ศึ ก ษาในการ แก้ปัญหาต่างๆ ที่โจทย์กาหนดให้ได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามการกาหนด ขอบเขตและเนื้อหาของโปรแกรมชิ้นนี้ยังมีข้อบกพร่องและข้อดีในหลาย ประเด็น ดังนี้ 1. ด้านการเรียนการสอน รายวิชานี้เป็นภาคปฏิบัติ นักศึกษาต้องทาการออกแบบและ นาเสนอแนวความคิดในระยะเวลาที่กาหนดให้จากโจทย์ที่ได้รับ โดยรับฟัง การบรรยายและพิจารณาแบบจากอาจารย์ผู้สอนในทุกๆการเรียนการ สอน ข้อดี

ทาให้นักศึกษาได้มีการศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมที่ได้รับ ทั้งจากตนเองและอาจารย์ผู้สอน มีการแบ่งหน้าที่ในการศึกษา หาข้อมูลในหมู่นักศึกษาและนาข้อมูลที่ได้รับมาแบ่งปันกัน และ นักศึกษาสามารถพัฒนาแบบได้ดีมากขึ้นเมื่อได้รับพิจารณา แบบจากผู้สอน

ข้อเสีย นักศึกษายังขาดความเข้าใจในตัวโปรแกรม การใช้งานต่างๆ ภายในโครงการ ลองผิดลองถูกในการทางาน ทาให้ออกแบบ ผลงานออกมาไม่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น

141


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

2. ด้านโปรแกรมและความต้องการ ลักษณะของโปรแกรมยังเป็นสิ่งใหม่และกาลังนิยมสาหรับวงการ การออกแบบเป็นอย่างมาก จึงทาให้เกิดความไม่เข้าใจในตัว โปรแกรม การหารูป แบบตัว อย่ า งอาคารที่ มี ลั ก ษณะเป็ นที่ พั ก อาศั ย ขนาดเล็ ก ที่ ลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น จึงมีให้ค้นคว้าสังเกตอยู่เป็นจานวนน้อย มี ความซั บ ซ้ อ นของบริ บ ทรอบโครงการและความต้ อ งการใช้ ข องผู้ ใ ช้ ความต้องการต่างๆ ที่โจทย์ให้มา ซึ่งมีผลต่อการออกแบบ ข้อดี

นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบอาคารลักษณะแปลก ใหม่ เรียนรู้การจัดการกับความต้องการใช้สอยของผู้ใช้ในแต่ละ พื้นที่ ซึ่งมีความแตกต่างจากที่นักศึกษาได้ออกแบบมาก่อ น หน้านี้

ข้อเสีย ความแปลกใหม่ ข องโปรแกรมท าให้ เ กิ ด ความไม่ เ ข้ า ใจของ นักศึกษา ทั้งยังไม่สามารถหาอาคารตัวอย่างที่ถูกต้องและมี ลั ก ษณะเฉพาะตั ว มาเป็ น กรณี ศึ ก ษาได้ อี ก ท าให้ ผ ลงานที่ ออกมาไม่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

142


ออกแบบสถาปัตยกรรม 5

Conclusions

Future Directions แนวทางในอนาคต โปรแกรมที่ ไ ด้ รั บ มี ลั ก ษณะเป็ น อาคารสาธารณะที่ มี ค วาม ซั บ ซ้ อ นของบริ บ ทสภาพแวดล้ อ ม การใช้ ส อยและระบบการสั ญ จร สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางการเรียนการสอนได้ แต่ควรมีการปรับปรุง แก้ไขในส่วนต่างๆ ของโปรแกรมตามที่ได้นาเสนอไปในข้างต้น เพื่อให้ ผลงานที่ นั ก ศึ ก ษาได้ อ อกแบบมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น โดยการ ปรับเปลี่ยนจะต้องพิจารณาถึงขอบเขตของโปรแกรมออกแบบในลักษณะ ใกล้เคียงกัน ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะของโปรแกรมได้หลายรูปแบบ ดังนี้ 1. ปรับเปลี่ยนลักษณะที่ตั้งโครงการ ให้มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ที่จะวิเคราะห์และแก้ปัญหาต่างๆ ที่อยู่รอบ โครงการ 2. ปรับเปลี่ยนขนาดพื้นที่ใช้สอย อาจจะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง ตามแต่ ที่ โ จทย์จ ะก าหนด หรื อ เปลี่ย นหน้ าที่ ของพื้ นที่นั้นๆ ให้ มี ลักษณะกิจกรรมที่แตกต่างกันไป 3. ปรับเปลี่ยนข้อจากัดแนวความคิด ให้มีความหลากหลาย ผลงาน สื่อออกมาอย่างชัดเจน 4. ปรับเปลี่ยนลักษณะโปรแกรม ให้มีลักษณะอาคารที่เป็นสาธารณะ มากยิ่ง ขึ้น เช่ น โรงแรม ซึ่ง มีฟัง ก์ชั่ นเช่ นเดีย วกั บ Boutique Hotel เพียงแต่จะมีรายละเอียดในเรื่องของผู้ใช้ หน้าที่และพื้นที่ การใช้สอย และอื่นๆ ที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมมากยิ่งขึ้น 5. ปรับใช้เป็นแบบฝึกหัด หรือ SKD. เบื้องต้น เพื่อ เป็นแนวทางให้ นักศึกษาได้ออกแบบก่อนเริ่มใส่รายละเอียดลงไปในผลงานตัวหลัก

143





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.