บทคัดย่อ โครงการออกแบบวางผังชุมชนบึงพระราม
9 บ่อ 3 ที่ตั้งชุมชนอยู่ติดกับคลองลาดพร้าว ซื่อเป็นการถือครองที่ดินของ
กรมธนารักษ์และสานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีความต้องการที่จะปรับปรุงชุมชนเพื่อความมั่นคงแข็งแรง และถูกต้องตาม กฎหมาย โดยสถาบันพัฒนาชุมชน (องค์กรมหาชน ) ได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาองค์กรชุมชนที่สอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่น เข้ามามีบทบาทสาคัญในการแก้ไขปัญหาความยากจนและความแออัดขงชุมชน โครงการออกแบบวางผังชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 เป็นโครงการตัวอย่างออกแบบให้มีความเหมาะสมกับวิถีชีวิตเดิมภายใน ชุมชน การออกแบบวางผังสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ลดปัญหาความแออัดที่เกิดขึ้ น รวมถึงออกแบบเพิ่มพื้นที่ส่วนกลางสาหรับทา กิจกรรมร่วมกันอีกด้วย วัตถุประสงค์ของโครงการออกแบบวางผังชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 1. เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดที่มีอยู่เดิม ทาให้เกิดความมั่นคงในที่อยู่อาศัย 2. สร้างปฏิสัมพันธ์ในชุมชน มีกิจกรรมร่วมกันกับชุมชน ได้พบปะพูดคุยทาให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน 3. ฝึกการวางผังชุมชนอย่างมีระบบและทางานเป็นกลุ่มร่วมกับชุมชน ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการออกแบบวางผังชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 1. สามารถออกแบบสถาปัตยกรรมพักอาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อยให้สอดคล้องกับ พื้นที่ส่วนกลาง กับ พื้นที่ส่วนรวม 2. มีความรู้ด้านกฎหมายอาคารสาหรับผู้มีรายได้น้อย 3. สามารถการวางผังชุมชนอย่างมีระบบและทางานเป็นกลุ่มร่วมกับชุมชน 4. แบบที่เสร็จสมบูรณ์สามารถนาไปใช้สร้างจริงร่วมกับชุมชนได้
ABSTRACT
สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย…………………………………………………………………................………………………………………………………............................. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ…………………………………………………………….................………………………………………………………............................. บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ความเป็นมาของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.)
2
1.2 ที่มาของโครงการออกแบบชุมชน
7
1.3 นิยามความหมายของการออกแบบชุมชน
8
บทที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล
9
2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบชุมชน
10
2.2 กรณีศึกษาชุมชนตัวอย่าง
12
2.3 ขั้นตอนและวิธีการเก็บข้อมูลของชุมชน
23
2.3.1 ลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เดินสารวจพื้นที่เบื้องต้น
23
2.3.2 ลงพื้นที่ครั้งที่ 2 กิจกรรมที่ 1 ชุมชนในฝัน
30
2.3.3 ลงพื้นที่ครั้งที่ 3 กิจกรรมที่ 2 ปักสนุก
36
2.3.4 ลงพื้นที่ครั้งที่ 4 กิจกรรมที่ 3 ผังในฝัน
39
บทที่ 3 การสังเคราะห์ข้อมูล
43
3.1 ข้อมูลพื้นฐานประชากรของชุมชน
45
3.2 ข้อมูลพื้นฐานด้านรูปแบบที่อยู่อาศัยเดิมและวิเคราะห์ปัญหาภายในชุมชน
47
3.3 ข้อมูลพื้นฐานความต้องการของชุมชน
49
3.4 ข้อมูลพื้นฐานด้านข้อกฎหมาย
51
3.5 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
54
3.6 วัตถุประสงค์ของการออกแบบ
62
3.7 แบบร่างโครงการชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3
64
3.7.1 กลุ่มที่ 1
66
3.7.2 กลุ่มที่ 2
74
3.7.3 กลุ่มที่ 3
80
3.7.4 กลุ่มที่ 4
88
3.7.5 กลุ่มที่ 5
94
3.8 สรุปผลการจัดทาแบบร่างทั้ง 5 กลุ่ม บทที่ 4 สรุปโครงการออกแบบชุมชนบึงพระราม 9 บ่อสาม 4.1 รายละเอียดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย 4.1.1 แนวความคิดในการออกแบบ 4.1.2 ผังบริเวณชุมชน 4.1.3 ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการของชุมชน 4.1.4 พื้นที่ส่วนกลางของชุมชน 4.1.5 แบบบ้านพักอาศัย 4.1.6 สรุปราคาค่าก่อสร้าง 4.1.7 หุ่นจาลองโครงการ
100 103
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 5.1 ปัญหาที่พบจากการทางาน 5.2 ข้อดีและข้อเสียจากการทางาน 5.3 แนวทางในอนาคต บรรณานุกรม………………………………………………………………………….......……………………………………………………………….............................. นักศึกษาผู้ร่วมทาโครงการ...................................................................... ………………………………………………………………........………………..
บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ความเป็นมาของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) สถานภาพ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันพัฒนาองค์ กรชุมชน (องค์การมหาชน ) พ.ศ. 2543 เป็นองค์กรของรัฐตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ .ศ.2542 ภายใต้การกากับดูแลของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ต่อมาในเดือนตุลาคม 2545 ได้ย้ายมาอยู่ภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 6 ปี แห่งกระบวนการจัดตั้ง การเตรียมการจัดตั้งเริ่มมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2537 เมื่อ หน่วยงานพัฒนาหลายฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ประชุมระดม ความคิดเห็นหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้งองค์กรเพื่อทาหน้าที่ สนับสนุนการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็นรากฐานสาคัญในกา ร พัฒนาสังคมและประเทศชาติ ต่อมาเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2538 กระทรวงการคลังและภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมจัดทาแผนการเงินและ การคลังเพื่อสังคมขึ้น ภายใต้มาตรการสนับสนุนการพัฒนาองค์กร ชุมชนให้ครอบคลุมทั้งภาคเมืองและภาคชนบท ทั้งนี้ มาตรการสาคัญ ประการหนึ่งที่เห็นชอบร่วม กันคือ “การจัดตั้งธนาคารเพื่อการพัฒนา องค์กรชุมชน” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นสถาบันกลางทางการเงิน และการพัฒนาที่มีบทบาทในการสนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนา องค์กรชุมชน โดยมีข้อเสนอให้รวม 2 หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานพัฒนาชุมชนเมือง การเคหะแห่งชาติ และสานักงานก องทุน พัฒนาชนบท สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ เข้าด้วยกันซึ่งเป็นวิธีการที่สะดวกเพราะมีทุน กลไกการ ดาเนินงานและบุคลากรอยู่แล้ว 2
การดาเนินการเพื่อจัดตั้งองค์กรใหม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ช่วงปี 2538-2543ได้มีการประชุมสัมมนาผู้เกี่ยวข้อง ทั้ง ภาครัฐ องค์กรชุมชนเมืองและชนบท องค์กรพัฒนาเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึง 8 เวที มีหน่วยงานร่วมระดมความ คิดเห็นถึง 101 องค์กร จนได้ข้อสรุปให้มีการจัดตั้งองค์กรเพื่อ สนับสนุนกระบวนการพัฒนาและสนับสนุนการเงินให้แก่ องค์กรชุมชนในรูปแบบองค์การมหาชน โดยใช้ชื่อ "สถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (พอช .)" ร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง พอช .ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีสมัยนายกรัฐมนตรี บรรหาร ศิลปอาชา ตั้งแต่ ปลายปี พ .ศ.2539 และได้นา ทูลเกล้ารอลงพระปรมาภิไธ แต่ต้องสะดุดหยุดลงเนื่องจาก การปรับเปลี่ยนรัฐบาลช่วงกลางปี 2540 คณะรัฐมนตรีรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธได้มีมติอนุมัติหลักการร่างพระราช กฤษฎีกาจัดตั้ง พอช .และส่งให้สานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาพิจารณาอีกครั้งเมื่อเดือ นกันยายน 2540 จากการ จัดประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นว่าวัตถุประสงค์การจัดตั้งควร มุ่งเน้นการพัฒนาองค์กรชุมชนเป็นหลัก การให้บริการสินเชื่อ ควรเป็นวัตถุประสงค์รอง พอช .ควรเป็นองค์กรประสานงาน ด้านการพัฒนาชุมชนกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เข้าถึง ชุมชนอย่างแท้จริ ง ซึ่งขอบเขตงานดังกล่าวไม่ซ้าซ้อนกับ หน่วยงานใด อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากได้ข้อสรุปดังกล่าวก็ ได้มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอีกครั้งจึงไม่ได้เสนอกลับไปยัง คณะรัฐมนตรี
จนกระทั่งถึงรัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย คณะทางานร่วมองค์กรชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชนที่ได้ ติดตามการจัดตั้ ง พอช .มาโดยตลอดเห็นว่ามีความจาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องเร่งให้มีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อช่วยส่งเสริม ความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน จึงได้เข้าพบรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง ซึ่งกระทรวงการคลังเห็นด้วยในหลักการ และส่งหนังสือยืนยันการจัดตั้ง พอช .ไปยังคณะกรรมการ กฤษฎีกา (สคก.) สคก.ได้พิจารณาตรวจร่างพระราชกฤษฎีกา ฯแล้วเสร็จในและส่งไปให้สานักเลขาธิการ ครม . เมื่อเดือน เมษายน 2542 สานักเลขาธิการ ครม . ได้ส่งเรื่องกลับไปให้ กระทรวงการคลังยืนยันการจัดตั้งอีกครั้ง และสอบถาม ความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในที่สุดกระทรวงการคลัง สรุ ปว่ามีความจาเป็นที่ต้องจัดตั้ง พอช . และควรใช้ พ .ร.บ. องค์การมหาชนเป็นกฎหมายในการจัดตั้ง สานักงาน เลขาธิการ ครม .ได้ส่งเรื่องไปให้คณะกรรมการปฏิรูประบบ ราชการ (ปรร.)พิจารณาอีกครั้ง เมื่อ ปรร .เห็นชอบจึงได้เสนอ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 และเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2543 ต่อมาในวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 จึงได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 117 ตอนที่ 71 ก โดยให้ยุบรวมสานักงานพัฒนาชุมชนเมือง 3
โครงการพิเศษในสังกัดการเคหะแห่งชาติ และสานักงาน กองทุนพัฒนาชนบท ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเข้าด้วยกัน และใน เบื้องต้น ได้มีการโอนงบประมาณและทรัพย์สินจากทั้งสอง หน่วยงานมารวมกันทั้งสิ้น 3,274.35 ล้านบาท เพื่อสนับสนุน และให้การช่วยเหลือแก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กร ชุมชนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การเพิ่ม รายได้ การพัฒนาที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม และการพัฒนา ชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชน ทั้งในเมืองและชนบท และเพื่อให้มีการสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางการเงิน แก่องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ยิ่งขึ้น อันจะเป็นพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยให้เศรษฐกิจและ สังคมไทยเติบโตอย่างมีคุณภาพและมีการกระจายความเจริ ญ ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างทั่วถึงและยั่งยืน"
องค์กรแห่งการมีส่วนร่วม กระบวนการจัดตั้ง พอช . เกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้ที่ เกี่ยวข้องมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปลายปี 2537
จากการที่
หน่วยงานพัฒนาทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน ได้ร่วมประชุม ระดมความคิดเห็นเพื่อหาแนวทา งที่เหมาะสมในการจัดตั้ง องค์กรที่มีหน้าที่ในการสนับสนุนการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาสังคม และประเทศชาติ ใน ระหว่างปี 2538 – 2543 ได้มีการประชุมสัมมนาผู้ที่เกี่ยวข้ อง 4
ทั้งภาคชุมชนเมือง ชุมชนชนบท ภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิ ต่อเนื่องหลายครั้ง ภายหลังจา กที่ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบหลักการร่างพระราชกฤษฎีกา จัดตั้ง พอช .แล้ว (เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543) ก็ได้มี คณะทางานองค์กรชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชน ไปร่วมจัด เวทีให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้ง พอช. และระดมความเห็นจาก องค์กรชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินงาน พอช. โดยได้จัดเวทีในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ 8 พื้นที่ มี เครือข่ายองค์กรชุมชนรวมกว่า 100 เครือข่าย ภายหลังจากที่ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2543) ก็ได้มีการ สัมมนารวม “การมีส่วน ร่วมขององค์กรชุมชนและผู้ที่ เกี่ยวข้องในการจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ” ขึ้นอีกครั้ง หนึ่งโดยได้สรุปภาพรวมความเห็นจากเวทีต่าง ๆ ทั่วประเทศ ว่า อยากให้ พอช . เป็นองค์กรแบบใด ทางานอย่างไร การมี ส่วนร่วมขององค์กรชุมชนใน พอช . ควรมีวิธีการ /ช่องทาง อย่างไร เป้าหมายแ ละวิธีการของชาวบ้านที่จะไปสู่การเป็น องค์กรชุมชนเข้มแข็งเป็นอย่างไร และ พอช . จะสนับสนุน องค์กรชุมชนอย่างไร ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ให้ ข้อเสนอแนะและความคาดหวังต่อการทางานของพอช . ไว้ อย่างหลากหลาย ทั้งในระยะ 1 ปี 5 ปี และ 20 ปี ซึ่ง คณะกรรมการเตรียมการจัดตั้ งสถาบันและผู้บริหารของ สถาบันได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารองค์กรเพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
การบริหารงานของ พอช .เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน โดยใน คณะกรรมการสถาบัน (บอร์ด พอช.) ซึ่งมีจานวน 11 คน มี กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชนอยู่จานวน 3 คน ซึ่งสรรหามา จากองค์กรชุมชนทั่วประเทศ นอกจากนั้นยังได้มีการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการประสานงานกา รพัฒนาองค์กรชุมชน ประกอบด้วย ตัวแทนจากองค์กรชุมชนทุกภาคเพื่อเป็นให้ คาปรึกษา เชื่อมประสานนโยบายและแนวทางการแก้ไข ปัญหากับชุมชน หลักการทางานของ พอช . เน้นการมีส่วนร่วมในทุก ขั้นตอน ทั้งนี้ ในคณะกรรมการ /คณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ จะมีผู้แทนองค์กรชุมชน องค์กรพัฒ นาเอกชน นักวิชาการ และหน่วยงานรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องร่วมด้วยเสมอ เช่น คณะกรรมการสวัสดิการชุมชน คณะกรรมการแผนชุมชน คณะกรรมการสินเชื่อ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการโครงการเสริมสร้างขีดความสามารถขององค์กร ชุมชน ฯลฯ และเพื่อให้การสนับสนุนการพัฒนาองค์กรชุม ชน สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น สถาบันได้กระจาย การบริหารจัดการไปยังสานักงานปฏิบัติการภาค โดยมี คณะกรรมการภาคซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์กรชุมชน หน่วยงานรัฐ นักวิชาการ /องค์กรพัฒนาเอกชน /ผู้ทรงคุณวุฒิ ประชาสังคม และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ในพื้นที่ร่วมบริหารและ กากับดูแล
ลาดับเหตุการณ์สาคัญ ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553-กันยายน 2554) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน 2553 4 ต.ค.การจัดการน้าชุมชน /สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้า การเกษตรและพอช . ลงน้าบันทึกความร่วมมือ สนับสนุน ชุมชนจัดการน้าใน๘๔ พื้นที่ทั่วประเทศ 7-22 ต.ค.วันที่อยู่อาศัยโลก/เครือข่ายองค์กรชุมชนเมืองและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องจัดงานวันที่อยู่อาศัยโลกในหัวข้อ “ ปฏิรูปที่ดินทากินและที่อยู่อาศัยโดยชุมชนท้องถิ่น ”มีการ จัดเวทีใน 9 เมืองทั่วประเทศ มีคนเข้าร่วมกว่า 11,000 คน และจัดเวทีระดับชาติที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล ธัญบุรีมีคนเข้าร่วมกว่า 1,700 คน 26-27 ต.ค./10 ปีพอช . พอช .จัด งานครบรอบ 10 พอช . สาระสาคัญเกี่ยวกับการปฏิรูปพอช.และขบวนองค์กรชุ มชน มี ผู้นาชุมชนเข้าร่วมกว่า 900 คน พ.ย./พายุหมุนที่อ่าวปัตตานี /เครือข่ายองค์กรชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันช่วยเหลือครัว เรือนที่ประสบภัย พายุหมุนจานวน 32 ครัวเรือน เรือเสียหายกว่า 100 ลา 17 พ.ย.ช่วยน้าท่วม /คณะอนุกรรมการโคร งการบ้านมั่นคง อนุมัติงบประมาณ 10 ล้านบาทช่วยเหลือชุมชนประสบภัยน้า ท่วมในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13-14 ธ.ค.ขบวนสวัสดิการ/เครือข่ายสวัสดิการชุมชน สัมมนาทิศทางงานสวัสดิการชุมชน 2554 ที่กรุงเทพ 5
2554 27-30 ม.ค./สัมมนาคนทางานพัฒนาเมืองเอเซีย / มูลนิธิศูนย์ ศึกษาที่อยู่อาสัยแห่งเอเซีย (ACHR) และพอช.ร่วมกันจัดสัมมนา คนทางานพัฒนาคนจ นเมืองจาก ๑๖ประเทศในเอเชียกว่า 120 คนที่กรุงเทพ 25 ก.พ.รมว.พม.เปิดบ้านมั่นคง/รมว.พม.นายอิสสระ สมชัยเปิด บ้านมั่นคงเมืองทุ่งสงจ.นครศรีธรรมราชและบ้านมั่นคงที่บ้านส้อง จ.สุราษฎร์ธานี เครือข่ายองค์ กรชุมชนปฏิรูปประเทศไทย /เครือข่ายสภาองค์กร ชุมชนทุกจังหวัดทั่วประเทศจัดเวทีปฏิรูปประเทศไทย และมี ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปจานวนมาก 4 มี . ค./สวัสดิการถ้วนหน้าที่มุกดาหาร /เครือข่ายสวัสดิการ ชุมชนคนมุกดาหารจัดงานรณรงค์เพื่อให้คนมุกดาหารมีสวัสดิการ ถ้วนหน้าในปี 2560 มีคนเข้าร่วมกว่า 5,000 คน 27 มี.ค./นายกฯมอบสวัสดิการท/นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ มอบเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนสมทบจากรัฐบาลให้กับ กองทุนสวัสดิการชุมชนในภาคอิสานจานวน 157 กองทุนที่จ . นครราชสีมาและมีการมอบทุนสมทบให้ กองทุนสวัสดิการชุมชน ทั่วประเทศ 1,578 กองทุนที่ ทาเนียบรัฐบาลในวันที่ 29 เมษายน 2554 มีกรรมการกองทุนทั่วประเทศเข้าร่วมกว่า 1,900 คน 3-8 เม.ย/.กองทุนรักแม่น้าโขง /เครือข่ายองค์กรประชาชน 8 จังหวัดลุ่มน้าโขงจัดเวทีเสียงประชาชนลุ่มน้าโขงที่อ .เชียงของ จ. เชียงราย อ.เชียงคาน จ.เลย อ.ศรีเชียงใหม่จ.หนองคาย อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ อ .ธาตุพนมจ .นครพนมและอ .เมืองจ .อุบลราชธานี รณรงค์แก้ปัญหาน้าโขงแห้งและตั้งกองทุนรักษ์แม่น้าโขง 6
25 เมย.ร่วมมือเรื่องแหล่งเรียนรู้ สานักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK Park)มูลนิธิสัมมาชีพและพอช .ลงนามบันทึกความร่วมมือจัดทา แหล่งเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่นาร่อง 4 แห่ง 30 เม.ย./นายกฯมอบบ้านไทยเข้มแข็งที่รือเสาะ /นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มอบบ้านใหม่ให้ กับชาวบ้านที่ต .วาสุรี อ.รือ เสาะ จ.นราธิวาตามโครงการแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินทากิน โดยชุมชน โดยมีการอนุมัติซ่อมสร้างบ้านแล้วกว่า 20,000 หลัง มี คนเข้าร่วมงานกว่า 3,000 คน 25-28 พ.ค.ผู้นาการเปลี่ยนแปลง /มูลนิธิสัมมาชีพ เครือข่าย องค์กรชุมชนและพอช .ร่วมจัดอบร มผู้นาชุมชนหลักสูตรผ่านเพื่อ การเปลี่ยนแปลงครั้งที่๑ มีผู้นาชุมชนเข้าร่วมกว่า 150 คน 22-24 มิ.ย./เวทีคนจนเมืองเอเซีย/กระทรวงพัฒนาสังคมฯ พอช. และACHR จัดเวทีคนจนเมืองเอเซีย-แปซิฟิคที่กรุงเทพคู่ขนานกับ เวที Asia-Pacific Urban Forum มีผู้นาในเอเซียเข้าร่วมเวที คู่ขนานกว่า 50 คนและมีการศึกษาดูงานในโครงการบ้านมั่นคง ด้วย 14 ก.ค. แผนชุมชนบัวใหญ่ เครือข่ายองค์กรชุมชนต .บัวใหญ่ อ. นาน้อย จ.น่าน ประกาศใช้แผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม 13-15 ก.ย.สมัชชาเครือข่ายองค์กรชุมชนและสภาองค์กร ชุมชน/เครือข่ายองค์กรชุมชนทั่ วประเทศจัดงาน “สานพลังชุมชน ท้องถิ่นและภาคีสู่การจัดการตนเอง ”ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต มีผู้นาชุมชนเข้าร่วมกว่า 1,000 คน วันที่ 15 กันยายนเป็น การประชุมระดับชาติของสภาองค์กรชุมชนตาบล
1.2 ที่มาของโครงการออกแบบชุมชน กลุ่มออมทรัพย์บึงพระราม 9 ปากคลองลาดพร้าวที่ตั้งโครงการ : 600/62 ถ.ริมคลองลาดพร้าว แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 เบอร์โทรศัพท์ : 092-423-4637 ผู้ประสานงาน : นางพรทิพย์ ชมมิน ( ประธานกลุ่มออมทรัพย์ ) ชื่อชุมชน 1. ชุมชนริมคลองลาดพร้าว 46 2. ชุมชนหลังสมาคมไทยญี่ปุ่น 3. ชุมชนร่วมใจพิบูล 2 4. ชุมชนลาดพร้าว 80 5. ชุมชนซอยลาดพร้าว 45 6. ชุมชนริมคลองบางซื่อรัชดาภิเษก 7. ชุมชนริมคลองบางซื่อลาดพร้าว 8. ชุมชนริมคลองบางซื่อลาดพร้าว 34 9. ชุมชนบึงพระรามเก้าบ่อสาม 10. ชุมชนพระรามเก้าพัฒนา 11. ชุมชนโรงปูนเหนือ 12. ชุมชนเพชรพระราม 13. ชุมชนทับแก้ว 14. ชุมชนโรงปูนใต้ 15. ชุมชน ส.พัทยา 16. ชุมชนพัทลุง 17. ชุมชนริมคลองลาดพร้าวประชาอุทิศ 18. ชุมชนอามานะฮ์พัฒนา 19. ชุมชนรุ่งเรืองตอนปลาย 20. ชุมชนเพชรบุรี 40 21. ริมคลองลาดพร้าวประชาอุทิศ รวม 20 ชุมชน
จานวนหลังคา 99 140 161 225 230 52 203 87 250 360 255 320 126 235 314 117 98 10 54 70 98 3,432
เจ้าของที่ดิน กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ ทรัพย์สินฯ ทรัพย์สินฯ การรถไฟฯ การรถไฟฯ การรถไฟฯ การรถไฟฯ เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน มูลนิธิสุเหร่ามหานาค กรมธนารักษ์
คณะทางานเมือง – สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ / กรมธนารักษ์เจ้าของที่ดิน / สานักงานเขตห้วยขวาง / เครือข่าย คพชส. / สถานีตารวจ / สหพันธ์พัฒนาองค์กรชุมชนคนจนเมืองแห่งชาติ ( สอช. )
7
1.3 นิยามความหมายของการออกแบบชุมชน
2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ตั้งแต่การก่อตัวขึ้นพัฒนาการ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการที่มี
ชุมชนเมืองมีวิวัฒนาการที่เคียงคู่กับการคาดหวังใน
2.1 เพื่อทาความเข้าใจถึงแนวทางการออกแบบชุมชนเมืองที่ยั่งยืน ความสาคัญในต่างประเทศ
สิ่งที่ดีที่สุดในสังคมมนุษย์ วิวัฒนาการดังกล่าว ดาเนินไป
2.2 เพื่อศึกษาและเรียนรู้ถึงลักษณะที่สาคัญในบริบทของ
ควบคู่กับการก่อตัวขึ้นขององค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชา
สังคมไทย รวมไปถึงสภาพเงื่อนไขที่เคยเกิดขึ้นกับแนวคิดและโครงการ
ต่างๆ อันล้วนแต่มุ่งหมายในการสร้าง สรรค์สิ่งที่ดีงาม สิ่งที่ดี
อันเกี่ยวเนื่องกับชุมชนเมืองที่ยั่งยืนในประเทศไทย
แก่ชีวิต สิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ชีวิตและแปรเปลี่ยนมาถึง
2.3 เพื่อค้นหาและนาเสนอองค์ความรู้ทางการออกแบบชุมชน
ทรรศนะในการตักตวงประโยชน์ที่มากที่สุดให้กับชีวิต
เมืองที่ยั่งยืนในบริบทของไทย ด้วยหลักการและวิธีการที่มีความชัดเจน
ทรรศนะของมนุษย์เช่นนั้นส่งผลต่อรูปการณ์ของสัมพันธภาพ อันล่อแหลมระหว่างเมืองกับธรรมชาติ ที่แผ่ขยายขอบเขตของ ปัญหาอันกลายเป็นวิกฤตซับซ้อนปั่นป่วนหลากหลายมิติ และ ท้ายสุดปัญหาทั้งหมกได้ตกลงสู่สภาพจิตใจของมนุษย์ ที่ จาต้องตระหนักและทาการทบทวนถึงการพัฒนาในช่วงที่ผ่าน มาของตนอย่างแท้จริง ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.ความมุ่งหมายของการศึกษา เพื่อนาเสนอหลักการและแนวคิดทางการออกแบบ
ความหมายชอง "การพัฒนาอย่างยั่งยืน" การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ กระแสแนวความคิดที่มีอิทธิพล สาคัญต่อการพัฒนาในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาของสายงานระดับต่างๆ ทั่วโลก และเป็นแนวคิดที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในนานา ประเทศ ด้วยอิทธิพลสาคัญในแนวคิดนี้ได้กลายเป็นรากฐานทาง แนวคิดในการก้าวข้ามจากศตวรรษ 20 มาสู่ศตวรรษที่ 21 และเป็น ต้นกาเนิดของความพยายามในการค้นหาทางออกไ ปสู่ความมุ่งหมาย ดังกล่าวอย่างกว้างขวางในทุกระดับ ในส่วนประเทศไทยนับเป็นเวลา
ชุมชนเมืองที่ยั่งยืนในบริบทไทยที่มีความเหมาะสมในอนาคต
กว่า 10 ปีที่เรามีแนวคิดของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นหลักการ
ด้วยหลักการอันสอดคล้องสัมพันธ์กันกับลักษณะทางบริบท
สาคัญตั้งแต่ปี พ .ศ.2535 ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่สาคัญของสังคมไทย
ฉบับที่ 7 และแนวคิดก็เป็นหลักการสาคัญเฉกเช่นเดียวกับนานา ประเทศในระดับสังคมโลก
8
บทที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล
9
งานและการสร้างสรรค์สังคมละแวกใกล้เคียงที่มีชีวิตชีวาและ
2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบชุมชน
สามารถรองรับผู้อยู่อาศัยในแต่ละระดับของภายใต้ชีวิตของเขาเอง
1. เพื่อความประหยัด ( Economy & Cheap ) -
การออกแบบให้ประหยัดพลังงาน
-
การออกแบบที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
4 . ก ารสนับสนุนและกระตุ้นการพัฒนาพื้นที่แบบ ผสมผสาน (Encourage Mixed-Use Development)
( Recycle material ) ในการออกแบบให้สามารถนาวัสดุที่ใช้ แล้วกลับมาใช้ใหม่ได้หรือสามารถใช้ซ้าๆกันหลายรอบได้นั้น สามารถเพิ่มมูลค่าได้ในหลายด้าน เช่น เพิ่มมูลค่าของสิ่งของ ลด
การบูรณาการการใช้ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกันและ ประเภทของอาคารที่แตกต่างกัน สามารถสร้างสีสันชุมชนคนเดิน เท้าที่เหมาะและมีความหลากหลายยิ่งขึ้น
มูลค่าการซื้อวัสดุ ก็จะเข้ากับหลักการออกแบบในด้านการ
5. การปกปักรักษาศูนย์กลางชุมชนเมือง
ประหยัดราคาในการเลือกใช้วัสดุและการก่อสร้างได้
(Preserve Urban Centers)
-
การคืนสภาพฟื้นฟูและพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนในเมือง
Modular system
สามารถที่จะได้ประโยชน์จากการเชื่อมต่อของท้องถนนและ
2. การออกแบบภายใต้สัดส่วนของมนุษย์
อาคาร
(Design on a Human Scale) ควรมีความกระชับ มีทางเดินที่ เป็นมิตรกับผู้ใช้ โดยให้ การเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อยู่อาศัยที่จะเดินไปยังร้านค้า
,ร้าน
โดยหลีกเลี่ยงความจาเป็นสาหรับการสร้างโครงสร้าง
พื้นฐานใหม่ ซึ่งจะช่วยลดการแผ่ของการกระจัดกระจายของเมือง และส่งเสริมความมั่นคงสาหรับละแวกใกล้เคียงภายในชุมชนเมือง
บริการ ,แหล่งข้อมูลวัฒนธรรม ,และงานที่มีความหลากหลายมี
6. การมีระบบคมนาคมขนส่งหลากหลายทางเลือก
ความสะดวกสบาย ซึ่งสามารถลดความแออัดของจราจรและจะ
(Vary Transportation Options)
เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้คนในละแวกนั้น 3. สิทธิในการเลือกหนทางเลี้ยงชีพ (Provide Choices) ผู้คนมีความต้องการที่ความหลากหลายในการเลือกที่ อยู่อาศัย, แหล่งช็อปปิ้ง, พื้นที่นันทนาการ, การขนส่ง, การจ้าง 10
การทาให้คนที่มีตัวเลือกในการเดินหรือขับขี่ จักรยาน และการใช้การบริการขนส่งสาธารณะ นอกจากจะช่วย ลดปริมาณรถยนต์และลดความแออัดของการจราจร
ซึ่งจะช่วย
ปกป้องสภาพแวดล้อมและกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางกายมากขึ้น
7. การออกแบบสรรค์สร้างพื้นที่ว่างสาธารณะให้มีชีวิตชีวา (Build Vibrant Public Spaces) พื้นที่ต้อนรับถือเป็นความจาเป็นสาหรับประชาชน โดยจะต้องกาหนดสถานที่สาธารณะเพื่อกระตุ้นให้เกิดการ ปฏิสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว, มีพื้นที่สาหรับเฉลิมฉลองและไว้อาลัย มีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพลเมือง การชื่นชมศิลปะของ พื้นที่สาธารณะ และการรวบรวมกิจกรรมภายในพื้นที่สาธารณะ 8.การออกแบบสร้างสรรค์ละแวกชุมชนให้มีอัตลักษณ์ (Create a Neighborhood Identity) “การรับรู้ต่อสถานที่ ” ให้ชุมชนละแวกใกล้เคียงมี เอกลักษณ์ที่ไม่ซ้ากัน ซึ่งจะช่วยเพิ่มสภาพแวดล้อมของการเดิน และการสร้างความภาคภูมิใจในชุมชน
11.การออกแบบที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ( Recycle material ) ในการออกแบบให้สามารถนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ ใหม่ได้หรือสามารถใช้ซ้าๆกันหลายรอบได้นั้น สามารถเพิ่มมูลค่า ได้ในหลายด้าน เช่น เพิ่มมูลค่าข องสิ่งของ ลดมูลค่าการซื้อวัสดุ ก็จะเข้ากับหลักการออกแบบในด้านการประหยัดราคาในการ เลือกใช้วัสดุและการก่อสร้างได้
หลักในการออกแบบ
9.การพิทักษ์รักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Protect Environmental Resources) ที่สุดของการ ออกแบบ คือความสมดุลของธรรมชาติ และการพัฒนาระบบการรักษาธรรมชาติ โดยจะช่วยปกป้อง แหล่งน้าจากมลพิษ การลดมลพิษทางอากาศและการปกป้องค่า สมบัติของส่วนรวม
การออกแบบที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
10.การสงวนรักษาภูมิสถาปัตยกรรม (Conserve Landscapes) ควรมีพื้นที่เปิดโล่ง ฟาร์มและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งมีความจาเป็นสาหรับการรักษาสิ่งแวดล้อม และการพักผ่อน หย่อนใจ รวมถึงภูมิวัฒนธรรมของชุมชน
ในด้านการประหยัดราคาในการเลือกใช้วัสดุและการ
( Recycle material ) ในการออกแบบให้สามารถนาวัสดุที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ใหม่ได้หรือสามารถใช้ซ้าๆกันหลายรอบได้นั้น สามา รถเพิ่มมูลค่าได้ในหลายด้าน เช่น เพิ่มมูลค่าของ สิ่งของ ลดมูลค่าการซื้อวัสดุ ก็จะเข้ากับหลักการออกแบบ ก่อสร้างได้
11
2.2 กรณีศึกษาชุมชนตัวอย่าง
12
13
14
กลุ่มสถาปนิก CASE แปลงโฉมบ้านเก่าให้เป็นห้ องสมุดชุมชน กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีสถาปนิกกลุ่มหนึ่งตั้ง คาถามที่น่าสนใจขึ้นมาว่า งานออกแบบที่ยั่งยืนคืออะไร … และสถาปนิกกลุ่มนั้นก็ตอบคาถามต่อสังคมด้วยงาน ออกแบบด้วยแนวคิดที่เน้นการกระตุ้นกลุ่มคนในชุมชนให้ เกิดความเข้าใจในพื้นที่ที่ตนเองอยู่อาศัย มองเห็น จุดเด่นจุด ด้อยของพื้นที่ สามารถตั้งคาถาม และสามารถหาวิธี แก้ปัญหา จนเกิดการพัฒนาพื้นที่ชุมชน โดยมีความ คาดหวังคือเมื่อกลุ่มคนนอก (สถาปนิก ) ออกจากพื้นที่ไป คนในพื้นที่สามารถสร้างสรรค์หรือทางานต่อไปด้วยตัวเอง ได้ สถาปนิกที่ว่านี้คือกลุ่ม CASE
(Community
Architects for Shelter and Environment) ผู้ดูแล กระบวนการทั้งหมดของโครงการห้องสมุดชุมชนมีนบุรี แนวความคิดหลักของการปรับปรุงบ้านเก่าให้ เป็นห้องสมุด คือมีการวางแผนเรื่องการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ แล้วเพื่อเป็นตัวอย่างในการปรับปรุงบ้านหลังอื่นๆ โดยใช้ งบประมาณที่น้อยที่สุ ด ด้วยการใช้ของเก่าจากการเดินเก็บ เศษวัสดุชิ้นเล็กชิ้นน้อยและขอบริจาคจากคนในชุมชน รวม ไปถึงบ้านเก่าหลังนี้ก็ยังเกิดจากการยกให้ฟรีจากคนใน ชุมชนด้วยกันเอง
การทางานเป็นการร่วมงานระหว่างชาวบ้านชุมชนตลาดเก่า มีนบุรีและสถาปนิก โดยในส่วนงานก่อสร้างได้กลุ่ม TYIN ซึ่ง เป็นนักศึกษาสถาปัตยกรรมจากประเทศนอร์เวย์มาร่วม ออกแบบโครงสร้างตามปริมาณวัสดุที่มีอยู่ โดยเป็นการ แลกเปลี่ยนความรู้ในการก่อสร้างด้วย และหลังจากนั้น สถาปนิกและชาวบ้านก็ร่วมกันก่อสร้างห้องสมุดของชุมชนจน เสร็จสมบูรณ์
15
การพัฒนาในชุมชนอาจจะไม่ได้เกิดอย่างฉับพลันทั นที แต่ ด้วยโครงการลักษณะเดียวกันนี้เชื่อว่าจะสามารถสร้างความ เปลี่ยนแปลงทีละน้อย เริ่มจากสร้างความเข้าใจ ปลูกฝังให้ คนในชุมชนมีจิตสานึกรัก สร้างความรู้สึก ‘เป็นเจ้าของ’ ซึ่ง จะโยงไปถึงการดูแลรักษาให้ยั่งยืนร่วมกันต่อไป
16
‘Low Cost House’ บ้านต้นทุนต่าสาหรับผู้มีรายได้น้อยในเวียดนาม ในทุกวันนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าเงิน คือปั จจัยสาคัญใน การเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ และจากการใช้เงินเป็นสื่อกลาง การแลกเปลี่ยนทรัพยากร ได้ส่งผลให้คนจนหรือผู้มีรายได้ น้อยต้องตกอยู่ในภาวะขาดแคลนทรัพยากรอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ โดยเฉพาะด้านที่อยู่อาศัยซึ่งจาเป็นที่จะต้องหา ทรัพยากร รวมทั้งแรงงานจานวนมากเพื่อมาใ ช้ในการสร้าง ซึ่งหมายถึงต้องใช้เงินจานวนมากในการจัดหาทรัพยากร เหล่านั้น จากปัญหาดังกล่าว ได้ทาให้ Vo Trong Nghia Architects ซึ่งเป็นบริษัทสถาปนิกชื่อดังสัญชาติเวียดนาม มีแนวคิดที่จะออกแบบ บ้านสาหรับผู้มีรายได้น้อย จาก แนวคิดดังกล่าว ได้รับการพัฒนาเป็นบ้านต้น แบบจานวน 2 หลัง ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ก่อสร้างโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดดองไน (Dong Nai) ประเทศเวียดนาม บ้าน ต้นแบบทั้ง 2 หลังนี้ สร้างขึ้นจากวัสดุที่หาได้ง่ายและราคา ถูก โครงสร้างตัวบ้านทาจากโครงเหล็กเบา ซึ่งมีความ แข็งแรง ราคาถูก และสามารถก่อสร้างได้ง่ าย ผนัง ภายนอกทาจากแผ่นโพลีคาร์บอเนตที่มีความโปร่งแสงและ ทนทาน ผนังภายในประกอบขึ้นจากไม้ไผ่ โดยนามาวาง เรียงกันจนเป็นแนวผนัง ให้ความรู้สึกไม่โปร่งและไม่ทึบ จนเกินไป และยังช่วยกรองแสงจากภายนอก สะท้อน เอกลักษณ์ของบ้านในเขตร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี ในส่วนของ โครงหลัง คาทาจากโครงเหล็กถัก และมุงด้วยกระเบื้องเพื่อ ช่วยกันความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านโดยตรง
การใช้งานภายในจะใช้พื้นที่น้อยที่สุด ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เน้นที่ความเรียบง่ายและความอเนกประโยชน์ จะไม่ มีการกั้นห้องถาวร แต่จะใช้การปรับเปลี่ยนไปตามการใช้ งานที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้ม่านสาหรับกั้นพื้นที่ รวมทั้งมี เฟอร์นิเจอร์ที่สามารถพับเก็บได้ เช่น โต๊ะติดผนัง ทาให้มี การปรับเปลี่ยนการใช้งานได้โดยง่าย บ้านหลังต้นแบบทั้ง 2 หลังนี้ ถูกสร้างขึ้นและทดลองใช้จริงในการเป็นออฟฟิศ สาหรับโครงการก่อสร้างโรงเรียน ส่วนราคาค่าก่อสร้างทั้งหมดอ ยู่ที่หลังละ 3,200 เหรียญสหรัฐเท่านั้น ซึ่งทางผู้ออกแบบมีแนวคิดที่จะพัฒนา ต่อไปเพื่อให้ได้แบบที่สมบูรณ์ที่สุด เป็นบ้านราคาถูกที่คนมี รายได้น้อยทั่วไปสามารถซื้อหาได้ และเมือโครงการนี้ สาเร็จ ‘บ้าน’ ซึ่งถือเป็นปัจจัยที่ขาดไม่ได้ในการดาเนิน ชีวิตจะไม่ใช่สิ่งที่ขา ดแคลนอีกต่อไป
17
18
ที่อยู่อาศัยเอื้ออาทรในชิลี ออกแบบ+ต่อเติมเองได้โดยเจ้าของ Villa Verde Housing คือโครงการที่พักอาศัย ต้นแบบสาหรับผู้มีรายได้น้อยในเมือง Arauco ทางตอนกลาง ของประเทศชิลี ตัวโครงการตั้งอยู่บนพื้นที่ 85,000 ตาราง เมตร ประกอบด้วยที่พักอาศัยจานวน 484 หน่วย พร้อมด้วย ศูนย์กลางชุมชน 3 แห่ง ภายในแต่ละหน่วยพักอาศัยจะแบ่ง พื้นที่ใช้สอยเป็นสัดส่วน ทั้งห้องนอน ห้องน้า ห้องครัว และ พื้นที่อเนกประสงค์ สาหรับรองรับกิจกรรมในชีวิตประจาวัน ทุกหลังก่อสร้างด้วยวัสดุที่หาได้ง่ายและมีราคาถูก โดยมีฐาน รากเป็นคอนกรีต โครงผนังทาด้วยไม้ทาให้มีน้าหนักเบา กรุ ผนังด้วยซีเมนต์บอร์ด และใช้แผ่นโลหะในการมุงหลังคา
กลุ่ม Elemental เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของสถาปนิก ชาวชิลี โดยมีเป้าหมายให้เป็นองค์กรออกแบบที่เน้นผลงาน ออกแบบสาหรับผู้มีรายได้น้อย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้าง ความเท่าเทียมกันในสังคม โดยผลงานที่สร้างชื่อส่วนใหญ่ของ Elemental จะเป็นที่อยู่อาศัยสาหรับคนยากจนในเขตเมือง ความ โดดเด่นของทุกชิ้นงานอยู่ที่การออกแบบโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจากัด ทั้งเงิน ที่ดิน และแรงงาน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งโครงการ Villa Verde Housing ด้วยเช่นกัน 19
กลุ่มสถาปนิก Elemental ได้ใช้ แนวคิดในการออกแบบเช่นเดียวกันกับ ผลงานหลายๆ ชิ้นที่สร้างชื่อเสียงให้กับ สานักงานแห่งนี้คือ แนวคิดที่ให้ผู้อยู่อาศัย สามารถต่อเติมเองได้ โดยออกแบบและ สร้างหน่วยพักอาศัยแต่ละหน่วยเพียงแค่ ครึ่งเดียว และในอาคารส่วนที่เหลือจะมีการ ออกแบบโครงสร้างเผื่อไว้ การก่อสร้าง หน่วยพักอาศัยแค่ครึ่งเดียวก็เพื่ อลดต้นทุน ในการก่อสร้าง ทาให้ที่พักแต่ละหน่วยมี ราคาถูก ผู้มีรายได้น้อยสามารถซื้อหาได้ไม่ ยาก และเมื่อเข้าพักอาศัยแล้ว เจ้าของแต่ ละหน่วย สามารถออกแบบและต่อเติม อาคารส่วนที่เหลือได้เองเมื่อมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ละหน่วยพักอาศัยจะมีขนาดประมาณ 57 ตารามเมตร ซึ่งเมื่ อต่อเติมเสร็จสมบูรณ์ จะมีขนาดได้ถึง 85 ตารางเมตร Villa Verde Housing ถือเป็นโครงการนวัตกรรม ทางด้านที่อยู่อาศัย โดยยังมีแผนการที่จะ ก่อสร้างชุมชนลักษณะนี้เพิ่ม ให้ครบ 9,000 หน่วย กระจายไปตามเมืองต่างๆ 30 แห่ง และจะกลายเป็นต้นแบบให้กับโครงการ สาหรับผู้มีรายได้ น้อยทั่วโลกได้ดูเป็น แบบอย่าง 20
21
1
22
2.3 ขั้นตอนและวิธีการเก็บข้อมูลของชุมชน 2.3.1 ลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เดินสารวจพื้นที่เบื้องต้น วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ทาการเดินสารวจชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 ครั้งแรก เริ่มต้นแนะนา ตัวกับผู้นาชุมชนและชาวบ้าน ชี้แจงการเข้ามาทาหน้าที่ของ พอช.และนักศึกษา เข้าไปพูดคุยเก็บภาพการใช้ชีวิตประจาวันของผู้อยู่อาศัยในชุมชน รวมถึงสรุป ข้อมูลชุมชนที่ได้รับ เริ่มต้นด้วยการแนะนาตัวกันระหว่างชาวบ้าน พอช . และนักศึกษา ณ ที่ทาการชุมชนบึงพระราม 9 รวมถึงชี้แจงความเป็นมาของโครงการ หน้าที่ ของพอช.และนักศึกษา เพื่อขอความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชน
23
หลังจากนั้นจึงเริ่มเดินสารวจชุมชน โดย แบ่งเป็นสองกลุ่ม เดินสารวจจากต้นชุมชน บริเวณโซน 1 และเริ่มจากท้า ยชุมชนบริเวณ โซน 4 มีหัวหน้าชุมชนช่วยพาเดินชมและให้ ข้อมูลต่างๆ
24
ชุมชนบึงพระราม
9 บ่อ 3 เดิมมีวิถีชีวิตริมคลอง
ลาดพร้ าว มีการสัญจรโดยเรือ ต่อมามีการสร้างถนน ทางด้านตรงข้ามกับคลอง ทาให้การคมนาคมเปลี่ยนไปใช้ รถ ทาให้เดิมที่หน้าบ้านหันหน้าเข้าหาคลอง เปลี่ยนเป็น หันเข้าหาถนนแทน
25
บ้านส่วนที่อยู่ด้านริมคลองยังคงหันหน้าเข้าหาคลอง ส่วนใหญ่
บ้านบางส่วนที่หันหลังบ้านเข้าริมคลองลาดพร้าวได้มีการรุกล้า
เป็นบ้านปูนผสมไม้ มีสภาพค่อนข้างทรุดโทรม แ
พื้นที่โดยมีการปลูกต้นไม้บริเวณรอบๆ ขึ้นรกขาดการดูแลทา
ละได้รับ
ผลกระทบจากการน้ากัดเซาะ บ้านในโซน 1-3 ที่ติดริมน้ามี
ให้มีปัญหาเกี่ยวกับสัตว์อันตรายในบริเวณบ้าน และยังมีการตั้ง
ตอม่อปักลงในน้าทาให้ตอม่อเกิดความเสียหายอย่างมาก
ของส่วนตัวล้าออกมายังทางเดินริมคลอง
บริเวณบ้านโซน 4 ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากน้ากัดเซาะเป็น เพราะบริเวณข้างเคียงคืออุโมงค์ยักษ์ของกรุงเทพฯ ทาให้ บริเวณตรงนั้นมีการสร้างเขื่อนกั้นน้า
26
บริเวณทางเดินริมคลองมีการใช้เป็น พื้นที่ตากผ้า และทาสวน ทาให้กีดขวางทางเดิน แต่มีการประยุคใช้สิ่งของเดิมที่มีอยู่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์อีกด้วย
27
ชุมชนนี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลามมากกว่าศาสนาพุทธถึง 1 ใน 4 ทา ให้สัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นแมวและนก ส่วน ศาสนาพุทธเลี้ยงสุนักเป็นบางบ้าน แต่จะมี ปัญหาเรื่องมูลสัตว์และการควบคุมจานวน เพราะเป็นการเลี้ยงแบบปล่อย
ทางเดินส่วนใหญ่ในชุมชนค่อนข้างแคบ มีกระเบื้องแตกหรือไม้ปูทับเพื่อความสะดวกในช่วงฝนตก และมีขยะแขวน อยู่ตามรั้วทางเดินต่างๆ บ้านที่มีส่วนต่อเติมขยายตามการเพิ่มสมาชิกในครอบครัวหลายบ้านมีทางเข้าที่เข้าถึงได้ยาก
28
หลังจากการสารวจชุมชนเสร็จสิ้น นักศึกษาจึงร่วมกันสรุปผลที่
ได้จากการ
สารวจและนาเสนอกับ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน พร้อมทัง้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการแก้ปัญหาภายใยชุมชนด้วย 29
2.3.2 ลงพื้นที่ครั้งที่ 2 กิจกรรมที่ 1 ชุมชนในฝัน วันที่ 24 พฤศจิกายน 2556 จุดประสงค์ของการลงพื้นที่ 1. สร้างปฏิสัมพันธ์กับคนในชุมชน 2. เก็บข้อมูลสามะโนครัวของชาวบ้าน 3. เก็บข้อมูลด้านกายภาพของชุมชน เวลา 10.00 – 11.50 น. กิจกรรมแรก “ครอบครัวของฉัน” นากระดาษตุ๊กตาต่างๆมาใส่กล่องไว้ รวมกลุ่มกันแล้วให้ นั กศึกษา แจกซองจดหมายโดยแจกครัวเรือนละ
1 ซอง ให้ชาวบ้าน
เขียน ชื่อ , บ้านเลขที่ , โซน หน้าซองจดหมาย แล้วให้ชาวบ้านออกมา เลือกตุ๊กตาเพื่อใส่ซองจดหมายไว้ตามข้อมูลของแต่ละครัวเรือน (เช่นบ้านป้าแจ๋วมีคนแก่ 1 คน มีเด็ก 2 คน มีผู้ชาย 1 คน เลี้ยงแมว 3 ตัว มีรถมอเตอร์ ไซค์ 1 คัน ศาสนาอิสลาม : ที่ตุ๊กตาคนจะมีให้ กลอกข้อมูลว่าใครชื่ออะไร? อายุเท่าไร? อาชีพอะไร?) เป็นการเก็บข้อมูล ประชากร โดยให้ชาวบ้านแต่ละครัวเรือน ร่วมกิจกรรมทีโ่ ดยให้ชาวบ้านตัดกระดาษด้วยอุปกรณ์ดังนี้
30
31
แล้วให้ชาวบ้านนาซองไปใส่กล่องตามโซนของตนเองไว้
32
เวลา 11.50 – 13.00 น. ให้ชาวบ้านพักผ่อนทานอาหาร ละมาด กัน เวลา 13.00 – 14.30 น. ให้ชาวบ้านเลือกประเภทบ้านที่ตนเองต้องการ โดยจะมีนักศึกษาคอยให้คาแนะนา
บ้านเดี่ยว
บ้านแฝด
บ้านยกใต้ถุน
บ้านแถว
ชาวบ้านแยกกลุ่มตามประเภทบ้านที่ตน เลือกไว้แล้ว แจกกระดาษให้กลุ่มละ
1 แผ่น เขียนเหตุผลที่เลือกบ้าน
ประเภทนี้ และบ้านที่อยากให้เป็น และมี
นักศึกษา คอยให้
ความรู้แก่ชาวบ้านด้วยแล้วให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มทั้ง นักศึกษา และตัวแทนชาวบ้านออกมานาเสนอ
33
สรุป จากกิจกรรมครอบครัวของฉัน ทาให้เรารู้ว่า มีจานวนประชากรทั้งหมด 371 คน 86 ครัวเรือน เราจะกาหนดขนาดของบ้านที่ทาการออกแบบโดย การยึด หลักของจานวนสมาชิกในครัวเรือนเป็นหลัก มีหลักการคือ ให้จานวนสมาชิกครอบครัว 2 – 5 คน มีขนาดบ้านไซซ์ S ให้จานวนสมาชิกครอบครัว 6 – 9 คน มีขนาดบ้านไซซ์ M ให้จานวนสมาชิกครอบครัว 10 – 14 คน มีขนาดบ้านไซซ์ L จากขนาดของบ้านสรุปได้ว่าบ้านไซซ์ S มีจานวน 41 ครัวเรือน บ้าน ไซซ์ M มีจานวน 38 ครัวเรือน และบ้านไซซ์ L มีจานวน 7 ครัวเรือน จากกิจกรรมบ้านในฝัน ทาให้เรารู้ว่า ชาวบ้านมีความต้องการมีบ้าน เดียวมีบริเวณพื้นที่พบปะของสมาชิกในครอบครัวหรือแม้แต่เพื่อนบ้าน แต่มี ชาวบ้านส่วนน้อยที่ต้องการมีบ้านแถวหรือบ้านแฝดเพราะต้องการจะประหยัด ค่า ก่อสร้าง
34
35
2.3.3 ลงพื้นที่ครั้งที่ 3 กิจกรรมที่ 2 ปักสนุก วันที่ 1 ธันวาคม 2556 จุดประสงค์ของโครงการ 1. ต้องการทราบจานวนบ้านที่เข้าร่วมโครงการ 2. ข้อมูลทางกายภาพของชุมชน 3. ลักษณะผังชุมชนเดิมของชาวบ้าน เวลา 9:30 – 10:00 น
กิจกรรมแรก “ปักสนุก” - นัดประชุมและเตรียมงานในพื้นที่ อธิบายกิจกรรมให้ชาวบ้านฟัง - แบ่งชาวบ้านออกเป็นกลุ่มๆตามโซน โดยมีนักศึกษาที่เรามอบหมายหน้าที่ ให้ เข้าไปแทรกในแต่ละโซน กลุ่ม 1,5 โซน 1, กลุ่ม 2 โซน 2, กลุ่ม 3 โซน 3, กลุ่ม 4 โซน 4 - ทาการแจกอุปกรณ์ให้นักศึกษาตามกลุ่ม และอธิบายให้ชาวบ้านฟังอีกครั้ง - แต่ละโซนจะได้รับ โมเดลผัง (โมเดลที่นักศึกษาทาไป ) ธงรูปสี่เหลี่ยม บอร์ด บอกรายละเอียดของธง ทาการสอบถามชาวบ้านที่ละบ้าน แล้วปักธงลงบน ผัง (ธงสี่เหลี่ยม) โดยนักศึกษาเป็นคนปักธงให้ชาวบ้าน และแต่ละกลุ่มหา คนเก็บข้อมูล1คน ดูแลเรื่องอุปกรณ์ ตากล้อง และคนพูดคุยกับชาวบ้าน
36
- เลือกธงจากประเด็นดังนี้ ( ธงสี่เหลี่ยม ) - บ้านที่มีพื้นที่เช่ากับทางทรัพย์สิน ( ธงสีเหลือง ) - บ้านที่ไม่ได้เช่า / แอบสร้าง ( สีแดง ) - พื้นที่ว่างของทรัพย์สิน / ที่ส่วนกลาง ( สีเขียว ) - บ้านที่เจ้าของไม่อยู่แต่ปล่อยเช่า ( สีน้าเงิน ) - บ้านร้าง ( สีน้าตาล ) - บ้านที่เช่ากับพื้นที่ธนารักษ์ ( สีม่วง ) - บ้านที่ไม่เข้าร่วมโครงการ ( สีดา )
37
-
สอบถามข้อมูลสถานะของบ้าน ( ธงสามเหลี่ยม ) โดยเลือก จากประเด็นดังนี้ - บ้านที่ต้องการรื้อถอนหรือสร้างใหม่ - บ้านเดิมที่ต้องการปรับปรุงหรือซ่อมแซม - คงเดิมคือบ้านที่ปลูกสร้างไปแล้วหรือบ้านที่ไม่ต้องการ เข้าร่วมโครงการ
******ทาการสอบถามชาวบ้านที่ละบ้าน แล้วปักธงลงบนผัง (ธงสามเหลี่ยม) โดยนักศึกษาเป็นคนปักให้ชาวบ้าน****** แล้วเอาผังของแต่ละโซนมาต่อกันเพื่อให้เห็นภาพรวมของชุมชน
38
2.3.4 ลงพื้นที่ครั้งที่ 4 กิจกรรมที่ 3 ผังในฝัน วันที่ 15 ธันวาคม 2556 จุดประสงค์ของโครงการ 1. ต้องการทราบความต้องการในการวางรูปแบบบ้าน 2. ข้อมูลตาแหน่งแบบบ้านและพื้นที่ส่วนกลาง 3. ผังชุมชนของชาวบ้าน เวลา 9:30 – 10:00 น กิจกรรมแรก “ผังในฝัน” - นัดประชุมและเตรียมงานในพื้นที่ อธิบายกิจกรรมให้ชาวบ้านฟัง และเตรียมอุปกรณ์ แผ่นโฟมขนาดบ้าน,แผ่นไวนิลแสดงพื้นที่ออกแบบ เส้นขนาดถนนภายในชุมชน,กาวสองหน้า,กรรไกร,กระดาษโพสอิท
39
นาอุปกรณ์ที่เตรียมมาอธิบายถึงวิธีการจัดบ้าน แบบต่างๆแล้วให้ชาวบ้านช่วยกันวางผังในแบบที่ ชุมชนต้องการ โดยมีนักศึกษาคอยให้คาแนะนา
40
41
12:00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00 น. - แบ่งกลุ่มเก็บข้อมูลช่วงบ่าย เป็น5กลุ่ม - หัวข้อที่แต่ละกลุ่มจะต้องเก็บข้อมูล -
ปักเส้นทางสัญจรบนผังโมเดลร่วมกับตัวแทนชาวบ้าน
ของแต่ละโซนและ สอบถามสภาพสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน เช่น พื้นที่ทิ้งขยะ ขยะตกค้าง และมลภาวะ - ลงพื้นที่เก็บข้อมูลต้นไม้ที่ยังคงเก็บไว้ภายในชุมชน
42
-
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลระยะเสาไฟฟ้า ระยะถนนหลัก
-
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลพื้นที่จอดรถ
3 การสังเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 3 การสังเคราะห์ข้อมูล
43
44
3.1 ข้อมูลพื้นฐานประชากรของชุมชน 200
สารวจประชากรในชุมชน
180
174
160 140 120 100
109
80 60 40 40
38
20 0
เด็1ก ( 0-14ปี )
วัย2รุ่น ( 15-24ปี )
3 ผู้ใหญ่ ( 25-59ปี )
4 วัยชรา 60 ปีขึ้นไป
จานวนประชากรทั้งหมด 371 คน 86 ครัวเรือน แบ่งตามอายุ เด็ก (0-14ปี) จานวน 109 คน วัยรุ่น (15-24ปี) จานวน 38 คน ผู้ใหญ่ (25-59ปี) จานวน 174 คน และวัยชรา (อายุตั้งแต่ 60ปีขึ้นไป) 40 คน ประชากรนับถือศาสนามุสลิม 83 % ของจานวน ประชากรทั้งหมด
45
46
3.2 ข้อมูลพื้นฐานด้านรูปแบบที่อยู่อาศัยเดิมและวิเคราะห์ปัญหาภายในชุมชน ชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 เดิมมีวิถีชีวิตริมคลองลาดพร้าว มีการสัญจร โดยเรือ ต่อมามีการสร้างถนนทางด้านตรงข้ามกับคลอง ทาให้การคมนาคม เปลี่ยนไปใช้รถ ทาให้เดิมที่หน้าบ้านหันหน้าเข้าหาคลอง เปลี่ยนเป็นหันเข้าหาถนน แทน แต่ยังคงมีการสัญจรโดยทางเรืออยู่ บ้านที่อยู่ติดกับริมคลองลาดพร้าวยังคงหันหน้าเข้าหาคลอง ส่วนใหญ่เป็น บ้านปูนผสมไม้ มีสภาพค่อนข้างทรุดโทรม ต้นไม้บริเวณรอบๆขึ้นรกขาดการดูแลทา ให้มีปัญหาเกี่ยวกับสัตว์อันตรายในบริเวณบ้าน บ้านที่อยู่ติดกับริมคลองหันหลังบ้าน หาคลองจะมีการบุกรุกล้าพื้นที่ทางสัญจรทางริมคลอง โดยการปลูกต้นไม้หรือการ ตากผ้า ทาให้ภาพที่มองอาจไม่สวยงาม และทาให้เกิดการกีดขวางของทางสัญจร ปัญหาบ้านริมคลองในโซน 1-3 ที่ติดริมน้ามีตอม่อปักลงในน้าทาให้ตอม่อ เกิดความเสียหายอย่างมาก บริเวณบ้านโซน 4 ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากน้ากัดเซาะ เป็นเพราะบริเวณข้างเคียงคืออุโมงค์ยักษ์ของกรุงเทพฯ ทาให้บริเวณตรงนั้นมีการ สร้างเขื่อนกั้นน้า
47
ทางเดินส่วนใหญ่ในชุมชนค่อนข้างแคบ มี กระเบื้องแตกหรือไม้ปูทับเพื่อความสะดวกในช่วงฝน ตก แต่นั้นก็เป็นสิ่งชอบของสัตว์เลื่อนคลาน และมี ขยะแขวนอยู่ตามรั้วทางเดินต่างๆ บ้านที่มีส่วนต่อ เติมขยายตามการเพิ่มสมาชิกในครอบครัวหลายบ้าน มีทางเข้าที่เข้าถึงได้ยาก และทาให้เกิดการซ้อนกัน ของหลังคา ชุมชนนี้ส่วน ใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มากกว่าศาสนาพุทธถึง 1 ใน 4 ทาให้สัตว์เลี้ยงส่วน ใหญ่เป็นแมวและนก ส่วนศาสนาพุทธเลี้ยงสุนักเป็น บางบ้าน แต่จะมีปัญหาเรื่องมูลสัตว์และการควบคุม จานวนเพราะเป็นการเลี้ยงแบบปล่อย
48
3.3 ข้อมูลพื้นฐานความต้องการของชุมชน ความเป็นอยู่ที่มั่นคงนาไปสู่ความสุขของผู้คนที่อาศัยใน ชุมชน มีการจัดการระบบสาธารณูปโภค สภาพแวดล้อมที่ไม่ เป็นแหล่งมั่วสุมเอื้อประโยชน์ต่อการใช้สอยต่อผู้คนในชุมชน
บ้ านเดียวโดยมีพื ้นที่บริเวณรอบบ้ าน
พื ้นที่สนามเด็กเล่น
พื ้นที่สาหรับการพบปะสังสรรค์
จากกิจกกรมผั งในฝั นทาให้ ชาวบ้ านเห็นว่า ความ ต้ องการที่ทกุ คนอยากได้ บ้านเดียวไม่มีทางเป็ นไปได้ เพราะ ด้ วยพื ้นที่ที่มีจากัด ต้ องทาให้ มีบ้านแฝด บ้ านแถว
49
50
3.4 ข้อมูลพื้นฐานด้านข้อกฎหมาย กฎกระทรวง
“บ้านแถวสาหรับผู้มีรายได้น้อย”
ว่าด้วยการยกเว้น ผ่อนผัน หรือ กาหนดเงื่อนไขใน การปฏิบัติกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารสาหรับอาคารใน โครงการที่รัฐจัดให้มีหรือพัฒนาเพื่อเป็นที่อยู่สาหรับผู้มีรายได้ น้อย (2554 ) หมวด ๑ บททั่วไป
“บ้านแฝดสาหรับผู้มีรายได้น้อย”
“บ้านเดี่ยวสาหรับผู้รายได้น้อย”
“อาคารอยู่อาศัยรวมสาหรับผู้มีรายได้น้อย”
“บ้านกลุ่มสาหรับผู้มีรายได้น้อย”
51
หมวด ๒ ลักษณะของอาคาร
หมวด ๓ พื้นที่ภายในอาคารและห้องน้า
หมวด ๔ ที่ว่างภายในอาคาร
52
หมวด ๕ แนวอาคารและระยะต่างๆของอาคาร
53
3.5 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 ถนนริมคลองลาดพร้าว แขวงห้วยขวาง เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานครฯ 10310 ขนาดที่ตั้งโครงการ 8,108 ตารางเมตร ประชากร 397 ราย 86 ครัวเรือน
54
55
ชุมชนพระราม 9 บ่อ 3 อยู่ในที่ดินธนารักษ์ 3
การออกแบบแหล่งชุมชนโดยคานึงถึงรูปแบบและการ
ไร่ 48 ตารางวา หรือประมาณ 8,108 ตารางเมตร
ใช้ งานที่ได้ มาตรฐานเหมาะ สมกับความเป็ น อยู่ชมุ ชน
พื้นที่โครงการบริเวณนี้เป็ นแหล่งชุมชนของผู้มีรายได้
ที่มีมาอย่างยาวนาน
น้ อย มีจานวนประชากรที่หนาแน่น 56
57
พื้นที่ตั้งโครงการชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3 ขนาดพื้นที่โครงการ 8,108 ตารางเมตร
58
เส้นทางสัญจรหลักภายในชุมชน
ปัญหาของที่ตั้งโครงการ คือ ติดริมน้้าและมีบริเวณที่เป็นแอ่งน้้าขัง ภายใน โซน 4 ได้มีการจัดการเป็นเขื่อนกั้นน้้า โซน 3 มี ปัญหาน้้าขังมากที่สุดของโครงการ
59
60
Sun Path
Accessibility
ทางด้านหน้าโครงการ
ติดกับพื้นที่ของ
ส้านักงานทรัพย์สินฯ จึงไม่ถูกแสงแดดในตอนเช้า ในช่วง
การเข้าถึงโครงการได้ทางเดียว คือ ทางถนน ประดิษฐ์มนูธรรม
บ่ายจะโดดแดดตลอดแนวหน้าโครงการท้าให้บ้านที่อยู่ ทางด้านหน้าโครงการควรหัน ส่วนหลังบ้านเพราะพื้นที่ บริเวณซักล้าง ท้าครัวหรือแม้แต่ตากผ้าพื้นที่ทางด้านนี้ ถือว่าเหมาะสม ทางด้านพื้นที่ตั้งโครงการติดกับริมคลอง ลาดพร้าว การวางแนวอาคารลักษณะโดยหันหน้าไปทาง ริมคลองลาดพร้าวหรือหันแนวอาคารตามขวางท้าให้ อาคารได้รับแสงแดดอ่อนๆในตอนเช้า Wind Direction
สามารถเข้าโครงการด้วยทางเท้า จาก 2 ทาง
ทิศทางของลมจะพัดเข้ามาทางด้านริมคลอง ลาดพร้าวกับทางหน้าโครงการ
คือ ใต้ทางด่วนพิเศษฉลองรัช และ ริมคลองลาดพร้าว
จึงควร การวางแนว
อาคารให้เป็นซอยย่อยๆ มีระยะห่างระหว่างอาคารหรือ ส่วนต่างๆ เพื่อให้ลมสามารถ ระบายมายังอาคารถัดไป หรือไปยังส่วนต่างๆภายในอาคาร การระบายอากาศ ถ่ายเทได้สะดวกท้าให้มีความไม่อึดอัด รู้สึกโปร่งโล่ง สบาย
61
3.6 วัตถุประสงค์ของการออกแบบ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ยังคงวิถีชีวิตประจ้าวันของคนใน ชุมชนให้คงเดิมไว้ 2. เพื่อศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัยส้าหรับผู้มีรายได้น้อยระหว่างพื้นที่ส่วนตัวกับพื้นที่ส่วนรวมให้ สอดคล้องกัน 3. เพื่อให้นักศึกษารวบรวมข้อมูลน้ามาวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อการออกแบบ 4. เรียนรู้กฎหมายอาคารส้าหรับผู้มีรายได้น้อย 5. ฝึกการออกแบบวางผังอย่างเป็นระบบ 6. ฝึกการท้างานเป็นกลุ่มร่วมกับชุมชน และนักศึกษาด้วยกัน
62
63
Group I
Group II
Group III
Group IV
Group V
64
3.7 แบบร่างโครงการชุมชนบึงพระราม 9 บ่อ 3
65
การกระจายของการแบ่งส่วนในทุกพื้นที่
บ้านได้ถูกออกแบบให้มี
พื้นที่เพียงพอสาหรับการดารงชีวิต เป็นวัสดุเหลือใช้และราคาถูกเพื่อ ประหยัดเวลาในการก่อสร้าง โดยมีการจัดสรรพื้นที่ให้มีการแบ่งปัน ให้ใช้สอยอย่างคุณค่าที่สุด 66
Group I
67
68
69
70
71
Model
72
I
73
74
Group II
จากข้อมูลที่ได้ศึกษาพฤติกรรมการใช้สอยของคนภายในชุมชนได้ พบว่ามีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน และผู้อยู่อาศัยจะมีพื้นที่ในการ ประกอบอาชีพที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการจัดสรรพื้นที่ไว้ให้ และพื้นที่ นั้นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อรองรับการใช้งานไว้หลายๆประเภท การออกแบบที่อยู่อาศัย สาหรับผู้มีรายได้น้อยจะต้องคานึกถึงผู้ อาศัยและรายได้ของผู้อยู่เป็นหลักซึ่งจะต้องให้เกิดประโยชน์มาก ที่สุดในแต่ละพื้นที่และต้องคานึงถึงพื้นที่ส่วนรวมเป็นหลักภายใต้ แนวความคิด “วิถีชุมชน” 75
76
Model
I
77
78
3
79
80
Group III
81
82
83
84
85
86
MODEL
87
88
Group IV
89
90
91
92
93
CONCEPT บ้านเข้าใจอยู่ บ้าน – คือ ที่อยู่อาศัยของมนุษย์ ให้ความ รัก ความอบอุ่น ความปลอดภัย เป็นศูนย์ รวมของทุกคนในครอบครัว เข้า – คือ การเข้าถึงปัญหาต่างๆ ของผู้ อยู่อาศัย และนามาออกแบบเพื่อให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใจ – คือ เข้าใจ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และ เข้าใจความต้องการของคนในชุมชน อยู่ – คื อ อยู่อาศัยอย่างสบายและ ตอบสนองความต้องการของผู้ อยู่อาศัยได้ อย่างมีคุณภาพ แนวความคิด “บ้านเข้าใจอยู่ ” คือบ้านที่เข้าใจและเข้าถึงปัญหาของผู้ อยู่ อาศัย และนามาแก้ปัญหา อย่างตรงจุด เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยมีความสุข ความ สะดวกสบาย และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
94
Group V
95
96
97
98
Model
I
99