NITHI FINAL SKETHCBOOK EPISODE 3

Page 1


หนั​ั ง สื​ื อ NITHI: FINAL SKECTHBOOK เป็​็ น หนั​ั ง สื​ื อ รวบรวมภาพ” ลายเส้​้ น ของผม ซึ่​่� ง จั​ั ด ทำำ�ขึ้​้� น ในช่​่ ว งที่​่� ผ มเกษี​ี ย ณจากการทำำ� งานวิ​ิ ช าชี​ีพ สถาปนิ​ิก เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2556 หนั​ังสื​ือเล่​่มแรกได้​้ถู​ูกพิ​ิมพ์​์เผยแพร่​่ออกสู่​่�สายตา ผู้​้�ที่​่�สนใจ เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2559 เป็​็นฉบั​ับภาษาอั​ังกฤษ ได้​้รั​ับการตอบรั​ับอย่​่างดี​ี จากผู้​้�ที่สน �่ ใจในงานเขี​ียนภาพลายเส้​้น และได้​้มี​ีการจั​ัดพิ​ิมพ์​์เป็​็นฉบั​ับภาษาไทย ขึ้​้�นอี​ีกเล่​่มหนึ่​่�งในปี​ี พ.ศ. 2560 โดยมี​ีขนาดหนั​ังสื​ือที่​่�เล็​็กลง ทั้​้�งนี้​้�ก็​็เพื่​่�อให้​้นิ​ิสิ​ิต นั​ักศึ​ึกษาที่​่�สนใจงานเขี​ียนภาพลายเส้​้นได้​้มี​ีโอกาสศึ​ึกษาหาความรู้​้�และฝึ​ึกฝน เขี​ียนภาพลายเส้​้นได้​้สะดวกขึ้​้�น ผมรู้​้�สึ​ึกภาคภู​ูมิ​ิใจ ที่​่�หนั​ังสื​ือทั้​้�ง 2 เล่​่ม คื​ือ ทั้​้�งภาษาอั​ังกฤษและภาษาไทยได้​้ออกสู่​่�สายตาสาธารณชน และมี​ีส่​่วนช่​่วยให้​้ การพั​ัฒนาด้​้านการเขี​ียนภาพลายเส้​้นยั​ังคงมี​ีการทำำ�ขึ้​้�นต่​่อเนื่​่�องควบคู่​่�ไปกั​ับ การเรี​ียนการสอนและการทำำ�งานวิ​ิชาชี​ีพของสถาปนิ​ิกสื​ืบต่​่อไปได้​้ 4

หลั​ังจากหนั​ังสื​ือทั้​้�ง 2 เล่​่มได้​้ถู​ูกเผยแพร่​่ออกไป ผมยั​ังคงใช้​้เวลาว่​่างเขี​ียนภาพ ลายเส้​้ นต่​่ อ เนื่​่� อ งในทุ​ุ ก ช่​่ ว งเวลาที่​่� ทำำ� ได้​้ สนุ​ุ ก สนานและมี​ีความสุ​ุ ข ที่​่�ได้​้ทำำ�งานขี​ีดเขี​ียนภาพเหล่​่านี้​้� บางช่​่วงผมยั​ังมี​ีโอกาสได้​้เขี​ียนภาพลายเส้​้น เพื่​่�อใช้​้ประกอบในงานพิ​ิมพ์​์หนั​ังสื​ือที่​่�สำำ�คั​ัญๆ หลายเล่​่ม ที่​่�ผมและที​ีมงานได้​้ จั​ัดพิ​ิมพ์​์ขึ้​้�นในโอกาสต่​่างๆ เช่​่น หนั​ังสื​ือรวบรวมบ้​้านไทยประเพณี​ีที่​่�สร้​้างขึ้​้�น ในประเทศไทย เมื่​่� อ ปี​ี พ.ศ. 2560 และหนั​ั ง สื​ื อ รวบรวมภาพถ่​่ า ยสถาน เอกอั​ัครราชทู​ูตไทยที่​่�สร้​้างในหลายๆ ประเทศในโลก ซึ่​่�งทำำ�ให้​้กั​ับกระทรวง การต่​่างประเทศเมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2561 เมื่​่�อจั​ัดทำำ�หนั​ังสื​ือทั้​้�ง 2 เล่​่มนี้​้�แล้​้วเสร็​็จ ผมได้​้ตั​ัดสิ​ินใจพิ​ิมพ์​์หนั​ังสื​ือรวบรวมภาพเขี​ียนลายเส้​้นเล่​่มใหม่​่ NITHI: FINAL SKECTHBOOK เล่​่ม 2 โดยให้​้ชื่​่�อว่​่า THE WONDER OF SHADE & SHADOW

ในตอนท้​้ายของหนั​ังสื​ือเล่​่มนี้​้� ผมได้​้รวบรวมภาพเขี​ียนที่​่�เขี​ียนขึ้​้�นด้​้วยเทคนิ​ิค ลายเส้​้นและลงสี​ีน้ำำ�� ทำำ�ให้​้หนั​ังสื​ือเล่​่ม 2 ของผมนี้​้� มี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวามากขึ้​้�น ภาพ ทั้​้�งหมดได้​้บั​ันทึ​ึกไว้​้ไนเล่​่มที่​่� 2 นี้​้� เมื่​่�อย่​่างเข้​้าปี​ี พ.ศ. 2563 เกิ​ิดวิ​ิกฤตครั้​้�งใหญ่​่ในประเทศไทย และอี​ีกหลายๆ ประเทศในโลกที่​่�มี​ีผลกระทบรุ​ุนแรงต่​่อการใช้​้ชี​ีวิ​ิตของผู้​้�คนทั้​้�งโลก คื​ือ วิ​ิกฤต โรคระบาดโควิ​ิด-19 ผู้​้�คนล้​้มตายเป็​็นจำ�น ำ วนมากจนเป็​็นประวั​ัติศิ าสตร์​์หน้​้าใหม่​่ ของมนุ​ุษยชาติ​ิที่​่�ต้​้องจารึ​ึกกั​ันไว้​้ ผลกระทบนี้​้�ทำำ�ให้​้ผู้​้�คนต้​้องงดการเดิ​ินทาง งดพบปะสั​ังสรรค์​์ และต้​้องกั​ักตั​ัวเองอยู่​่�ในบ้​้านของตั​ัวเองนานหลายๆ เดื​ือน ผมเป็​็นคนหนึ่​่�งที่​่�มี​ีโอกาสพั​ักผ่​่อนอยู่​่�ที่​่�บ้​้าน จะออกจากบ้​้านก็​็เฉพาะช่​่วงเวลา ที่​่�ออกไปหาซื้​้�ออาหารและของเครื่​่�องใช้​้ต่​่างๆ มั​ันเป็​็นช่​่วงเวลาที่​่�สงบและแสน วิ​ิเศษสำำ�หรั​ับผม ด้​้วยเป็​็นช่​่วงเวลาที่​่�ไม่​่มี​ีใครมารบกวน ไม่​่มี​ีโทรศั​ัพท์​์ ไม่​่มี​ีการ ติ​ิ ด ต่​่ อ ธุ​ุ ร กิ​ิ จ ใดๆ หลายเดื​ื อ น ผมใช้​้ เวลาในช่​่ ว งแสนวิ​ิ เ ศษนี้​้� เขี​ียนภาพ เขี​ียนหนั​ังสื​ือได้​้มากมาย โดยเฉพาะทำำ�งานเขี​ียนภาพลายเส้​้นตามแนวทางของ ผม ในช่​่วงนี้​้�ผมเขี​ียนภาพได้​้มากกว่​่า 30 ภาพ นึ​ึกอยากเขี​ียนภาพอะไรก็​็เขี​ียน ออกมาได้​้ดั​ังใจ จนแทบไม่​่มี​ีข้​้อมู​ูลใดที่​่�จะนำำ�ไปใช้​้เขี​ียนภาพได้​้ เมื่​่�อนั่​่�งพั​ักผ่​่อน สงบๆ ในบ้​้าน อะไรๆ ก็​็ดู​ูสวยงามไปหมด เขี​ียนได้​้แม้​้แต่​่ต้​้นหมากรากไม้​้ ในกระถาง หม้​้อไหโอ่​่งเซรามิ​ิกที่​่�วางเรี​ียงรายอยู่​่�ในบ้​้านก็​็เขี​ียนออกมาเป็​็นภาพ ได้​้หมด ช่​่วงปลายๆ ปี​ี (พ.ศ. 2563) ซึ่​่�งเป็​็นช่​่วงเวลาที่​่�การระบาดของเชื้​้�อ โควิ​ิด-19 เริ่​่�มคลี่​่�คลายและทุ​ุเลาลง ผู้​้�คนเริ่​่�มปรั​ับตั​ัวและวางระบบการใช้​้ชี​ีวิ​ิต “new normal” กั​ันได้​้ ผมเริ่​่�มออกท่​่องเที่​่�ยว (ภายในประเทศ) กั​ับเพื่​่�อนฝู​ูง ที่​่�อยากออกไปเปิ​ิดหู​ูเปิ​ิดตาในโลกกว้​้างกั​ันอี​ีกครั้​้�ง เช่​่น เรานั​ัดกั​ันไปดู​ูนกป่​่า


ที่​่� ท ะเลสาบบึ​ึงบอระเพ็​็ ด จั​ั ง หวั​ั ด นครสวรรค์​์ ซึ่​่� ง เป็​็ น เขตอนุ​ุ รั​ั ก ษ์​์ น กป่​่ า นกธรรมชาติ​ิ พวกเราตื่​่�นตาตื่​่�นใจกั​ับภาพที่​่เ� ห็​็นด้ว้ ยมี​ีนกป่​่านานาชนิ​ิดมาอาศั​ัย และหากิ​ินอยู่​่�ในทะเลสาบเป็​็นพั​ันๆ หมื่​่�นๆ ตั​ัว ผมเก็​็บภาพมาได้​้มากมายและ กลั​ับมาเขี​ียนภาพได้​้หลายภาพ ทั้​้�งยั​ังเป็​็นช่​่วงเวลาที่​่�เขี​ียนภาพได้​้อย่​่างสงบ และมี​ีความสุ​ุข ไม่​่ต้​้องเร่​่งร้​้อน เป็​็นช่​่วงเวลาที่​่�เริ่​่�มหาสิ่​่�งแปลกใหม่​่ให้​้กั​ับชี​ีวิ​ิต เบื่​่� อ ความจำำ� เจ ด้​้ ว ยภาพเขี​ียนลายเส้​้ น แบบเดิ​ิ ม ที่​่� เขี​ียนเป็​็ น ภาพลายเส้​้ น ขาวดำำ� ผมลองแต่​่งเติ​ิมด้​้วยสี​ีน้ำำ��ลงบนภาพลายเส้​้น ได้​้ภาพเขี​ียนลายเส้​้น ลงสี​ีน้ำำ��ในแนวทางของผมหลายภาพ บางช่​่วงเรายั​ังชวนกั​ันไปเที่​่�ยวทะเลสาบ ป่​่าพรุ​ุที่�จั่ ังหวั​ัดระยอง ป่​่าพรุ​ุโบราณที่​่�จั​ังหวั​ัดระยองนี้​้� มี​ีมาช้​้านานหลายร้​้อยปี​ี ที่​่�ผ่​่านมาคนทั่​่�วไปไม่​่ค่​่อยสนใจ แต่​่นั​ักถ่​่ายภาพทั้​้�งมื​ืออาชี​ีพและสมั​ัครเล่​่นรู้​้�จั​ัก กั​ั นดี​ีด้​้วยมี​ีมุ​ุมให้​้ ถ่​่ายภาพได้​้มากมาย ปั​ั จจุ​ุ บั​ั นทางการได้​้ ประกาศให้​้เป็​็น ป่​่าอนุ​ุรั​ักษ์​์ เพราะเป็​็นป่​่าที่​่�มี​ีต้​้นไม้​้เก่​่าแก่​่อายุ​ุเป็​็นร้​้อยๆ ปี​ี ในฤดู​ูฝน ก็​็จะมี​ี น้ำำ��ท่​่วมขั​ังจนมี​ีสภาพเป็​็นทะเลสาบ มี​ีป่​่าหญ้​้า มี​ีไม้​้น้ำำ�� และมี​ีนกป่​่า นกน้ำำ��มา อาศั​ัยอยู่​่�เป็​็นจำ�น ำ วนมาก ช่​่วงที่​่พ� วกเราไปกั​ันเป็​็นช่​่วงเดื​ือนตุ​ุลาคม ใน ปี​ี พ.ศ. 2563 เชื้​้�อโควิ​ิด-19 ยั​ังระบาด เมื​ืองระยองยั​ังถู​ูกปิ​ิด (lock down) ร้​้านค้​้าร้​้านอาหาร ยั​ังปิ​ิดเงี​ียบ บรรยากาศของเมื​ืองระยองเงี​ียบสงบ อากาศดี​ีไม่​่มี​ีผู้​้�คน ผมได้​้เก็​็บ ภาพของป่​่าพรุ​ุนี้​้�กลั​ับมาเขี​ียนภาพได้​้อี​ีกหลายภาพ เมื่​่อ� เวลาล่​่วงเลยมาถึ​ึงต้​้นปี​ี พ.ศ. 2564 โรคระบาดโควิ​ิด-19 กลั​ับมาระบาดใหม่​่ อี​ีกครั้​้ง� ทั้​้�งที่​่ก� รุ​ุงเทพฯ และอี​ีกหลายๆ จั​ังหวั​ัดเกื​ือบทั่​่�วประเทศ ผมและครอบครั​ัว ต้​้ อ งกั​ั ก ตั​ั ว เองอยู่​่�ในบ้​้ า นอี​ีกวาระหนึ่​่� ง ความสงบสุ​ุ ข กลั​ั บ คื​ื น มาอี​ีกครั้​้� ง เมื่​่�อตั้​้�งสติ​ิได้​้ผมก็​็เริ่​่�มคิ​ิด เริ่​่�มวางแผนที่​่�จะจั​ัดพิ​ิมพ์​์หนั​ังสื​ือ NITHI: FINAL

SKECTHBOOK เล่​่ม 3 เพื่​่�อรวบรวมรู​ูปภาพใหม่​่ๆ โดยเฉพาะรู​ูปภาพที่​่�เขี​ียน ในช่​่วง “lock down Covid-19” ผมหยุ​ุดเขี​ียนรู​ูปและเริ่​่�มเขี​ียนคำำ�บรรยาย ในหนั​ังสื​ือได้​้จนจบเล่​่ม เมื่​่�อต้​้นปี​ี พ.ศ. 2564 ท่​่ามกลางบรรยากาศที่​่�แสนสงบ และมี​ีสมาธิ​ิ ปิ​ิดกระบวนการจั​ัดทำำ�หนั​ังสื​ือเล่​่มใหม่​่นี้​้�ได้​้สำำ�เร็​็จ หนั​ั ง สื​ื อ รวบรวมภาพเขี​ียนเล่​่ ม ใหม่​่ นี้​้� ได้​้ ร วบรวมภาพเขี​ียนได้​้ ม ากกว่​่ า 20 ภาพ เป็​็นผลงานช่​่วงที่​่�รำำ�ลึ​ึกถึ​ึงวั​ันเวลาอั​ันแสนวิ​ิเศษในช่​่วงโควิ​ิด-19 และ เป็​็นเอกสารสำำ�คั​ัญที่​่�รำำ�ลึ​ึกถึ​ึงเวลาอั​ันแสนสาหั​ัสและประวั​ัติ​ิศาสตร์​์ครั้​้�งสำำ�คั​ัญ ของโลกอี​ีกช่​่วงเวลาหนึ่​่�ง หนั​ังสื​ือ NITHI: FINAL SKECTHBOOK เล่​่ม 3 นี้​้� พิ​ิมพ์​์เสร็​็จในกลางปี​ี พ.ศ. 2564 ซึ่​่�งเชื้​้�อโรคโควิ​ิด-19 ก็​็ยั​ังระบาดอยู่​่� และผู้​้�คน ก็​็ยั​ังต้​้องต่​่อสู้​้�กั​ับมั​ัน แบบยั​ังมองไม่​่เห็​็นอนาคต แต่​่สำำ�หรั​ับผม ช่​่วงเวลาที่​่�แสน สงบและแสนวิ​ิเศษนี้​้�ยั​ังเป็​็นที่​่�จดจำำ�ไม่​่รู้​้�ลื​ืม ผมต้​้องขอขอบคุ​ุณที​ีมงานทุ​ุกคนที่​่�ช่​่วยเหลื​ือจั​ัดทำำ�หนั​ังสื​ือนี้​้�จนสำำ�เร็​็จ ออกมา เป็​็นรู​ูปเล่​่มสวยงามอี​ีกวาระหนึ่​่�ง ผมให้​้ชื่​่�อหนั​ังสื​ือนี้​้�ว่​่า “ชี​ีวิ​ิตที่​่�แสนสงบและ แสนวิ​ิเศษ ในช่​่วงวิ​ิกฤตโรคระบาดโควิ​ิด-19” และหวั​ังว่​่า มนุ​ุษยชาติ​ิของเรา จะไม่​่ต้อ้ งเผชิ​ิญกั​ับช่​่วงเวลาที่​่วิ� กิ ฤตเช่​่นนี้​้อี​ี� กในอนาคต และขอขอบคุ​ุณเพื่​่อ� นฝู​ูง และผู้​้�ให้​้การสนั​ับสนุ​ุนในการจั​ัดพิ​ิมพ์​์หนั​ังสื​ือนี้​้�จนสำำ�เร็​็จลุ​ุล่​่วงได้​้อี​ีกวาระหนึ่​่�ง

นิธิ สถาปิตานนท์ ศิลปินแห่งชาติ

5


The year of my retirement as a professional architect in 2013 was the year when we started putting together the book “ NITHI: FINAL SKETCHBOOK”, a compilation of all my pen sketching. The first book was published in English and introduced to the public in 2016, the book was well received by those who were interested in the art of pen sketching. In 2017, a smaller version of this book was published once again in Thai language to serve the needs of art students who are interested in exploring their passion for pen sketching. The introduction of both books to the public became a source of pride for me, as what I saw was the continued development, interest and teaching of pen sketching.

6

After these two publications, I pursued my passion for this form of sketching during my spare time, it gave me much enjoyment. On several occasions, these drawings were used to support other important publications, which I did with my team. For example, we did a book on “Traditional Thai Houses” built in Thailand during 2017 and another book was the compilation of photographs of Thai Embassies around the world, which we did for the Ministry of Foreign Affairs in 2018. It was only after the completion of these two books that I began to put together yet another new book called “NITHI: FINAL SKETCHBOOK ” version 2, the book was named “ THE WONDER OF SHADE & SHADOW”. I later developed a new technique where watercolors are put into my sketches, this has added more life to my drawings. They appear in the latter part of this book and have made my book 2 livelier.

Then in 2020, everything changed as the world came to grip with a deadly pandemic, the “ Covid-19”, a virus that brought on a new way of life for mankind. The “Covid-19” virus made history as we saw high death rate around the world, leading to travel ban, social distancing and quarantine for several months. I was one of those who chose to quarantine myself by staying at home and travelling only when necessary such as going out for food and household necessities. I must admit that I actually did enjoy this “stay at home” period; it brought on such an exceptional peace. There were no family or business visitors or phone calls, it created an “empty space” in time for you to write more and sketch more. During this time, I was able to do more than 20 sketches; it was the time when my “creativity” became boundless. When I was able to sit back and relax, everything around me showed much life and beauty. Simple things around the house such as plant pots and ceramic jars became the subjects of my sketches. In late 2020, the pandemic showed signs of stabilizing and people began to adapt themselves better to the situation with the implementation of “New Normal” lifestyle. After several months of staying at home, the idea of being able to travel again was a welcome change for me. The trip began with “Bueng Boraphet” in Nakhon Sawan, I travelled with a few close friends who like me, enjoyed wild bird watching. The “Beung Boraphet” is a national park where wild birds are protected in their natural habitat. We were much excited by what we saw, there were thousands and thousands of different species of wild birds around the lake. I was able to take many photographs, which I can later use for my sketches.


It was a peaceful and happy time for me, unhurried and a time to explore new dimensions in one’s life. I was beginning to get rather bored with the old style of sketching in black and white, so I began exploring colors on my sketches. What I got was a new colorful approach to my sketches. On one occasion, we visited the lake at “Pa Pru” in Rayong. The ancient “Pa Pru” has been a part of Rayong for several hundred of years. Though “Pa Pru” has been relatively unknown for a long time but it has captured the attention of both professional and amateur photographers for its many scenic locations. Today, the forest is declared a national reserve because of its large numbers of centuries-old trees, during the monsoon season, the forest is completely flooded with long stretches of savanna inhabited by water plants, wild birds and water birds. It was in October 2020, when we visited Rayong, the town was still under lockdown due to Covid-19, it was completely quiet, and the weather was nice but was lacking people. I took several photographs of “Pa Pru” for future sketches.

This new picture book contains over 20 sketches, the book not only represents the special “time gap” I had during the pandemic but it also reminisces the hardship brought on by Covid-19, a time which will leave its mark in history. The book NITHI: FINAL SKETCHBOOK III will be completed in mid 2021; the virus will still be with us without any signs of overcoming it in the foreseeable future. To me, the lockdown period became a very special “time gap” in life, which I will not forget. I would like to take this opportunity to express my heartfelt appreciation to my team for making this book possible. I named the book Blissful Tranquility and Unexpected Peaceful Lockdown and it is my hope that mankind will not need to face a critical time such as this once again in the future. I would also like to thank my friends and all those who supported the publication of this book.

With the onslaught of second attack of Covid-19 in early 2021 in Bangkok, it became an opportune time for my family to once again quarantine ourselves in the peace and quiet of our home. This became the right timing for me to plan for the publication of my FINAL SKETCHBOOK III; the book will contain new sketches done during the lockdown. Amidst the peace and quiet of my lockdown, I started writing captions for the book in the beginning of 2021, making it possible for me to finally complete the book.

Nithi Sthapitanonda, National Artist

7


12

Nithi Sketch III.indd 12

30/3/2564 BE 14:40


Potted Plants in my House I Ekkamai 10, Sukhumvit, Bangkok

2020

ในช่​่วงกั​ักตั​ัวอยู่​่�กั​ับบ้​้าน นั่​่�งๆ นอนๆ อยู่​่�ในศาลาหลั​ังบ้​้าน หมดภู​ูมิ​ิที่​่�จะเขี​ียนรู​ูปอะไรขึ้​้�นมาได้​้ด้​้วยไม่​่ได้​้เดิ​ินทางไปเปิ​ิดหู​ูเปิ​ิดตาที่​่�ไหนมาร่​่วมครึ่​่�งปี​ี นั่​่�งมองต้​้นหมากรากไม้​้ในสวนหลั​ังบ้​้าน รวมทั้​้�งต้​้นไม้​้ที่​่�ปลู​ูกไว้​้ในกระถาง ซึ่​่�งงอกงามสดชื่​่�น ยิ่​่�งเมื่​่�อโดนแสงแดด ยิ่​่�งเป็​็นภาพที่​่�ดู​ูสวยงามจนผมอดไม่​่ได้​้ที่​่�จะลองเขี​ียนภาพต้​้นไม้​้ในกระถาง ตอนเริ่​่�มนำำ�มาจั​ัดวาง ให้​้อยู่​่�ในตำำ�แหน่​่งที่​่�พอใจแล้​้ว ก็​็เริ่​่�มสเก็​็ตช์​์เป็​็นภาพร่​่าง ตอนเริ่​่�มต้​้นนั้​้�นมี​ีความรู้​้�สึ​ึกว่​่ามั​ันเขี​ียนยาก ด้​้วยมี​ีใบไม้​้หลากหลายชนิ​ิดวางซั​ับซ้​้อนกั​ัน ทั้​้�งยั​ังต้​้องเขี​ียนใบไม้​้ให้​้เหมื​ือนจริ​ิงๆ ทุ​ุกๆ ใบ เมื่​่�อตั้​้�งสติ​ิได้​้ก็​็พยายามเขี​ียนเก็​็บรายละเอี​ียดต่​่างๆ จนรู้​้�สึ​ึกสนุ​ุกและทำำ�งานสำำ�เร็​็จได้​้ดั​ังที่​่�เห็​็นนี้​้� I was a captive in my own home in the backyard “sala” for the past six months due to the lockdown, being unable to travel, there was little inspiration to sketch. The trees, plants and potted plants in my garden began to attract my attention; they appear even more beautiful against the sunlight. I started to arrange the pot plants and began to put them in my sketches, the varying leaf formations, overlapping each other, had made it quite difficult to begin my sketch. I tried to capture the details in order to sketch as realistic as I possibly can.

13


Nithi Sketch III.indd 14

30/3/2564 BE 14:41


15

Nithi Sketch III.indd 15

30/3/2564 BE 14:41


22

Nithi Sketch III.indd 22

30/3/2564 BE 14:41


Thai Ceramic Jars in my House Garden Ekkamai 10, Sukhumvit, Bangkok

2020

ผมหลงใหลในความสวยงามของงานเซรามิ​ิก หรื​ืองานปั้​้�นโอ่​่งดิ​ินเผา โดยเฉพาะงานปั้​้�นโอ่​่งใบใหญ่​่ ซึ่​่�งช่​่างปั้​้�นคนไทยของเรา มี​ีความเก่​่งกาจและเชี่​่�ยวชาญมาตั้​้�งแต่​่โบร่ำำ��โบราณ ในปั​ัจจุ​ุบั​ันช่​่างคนไทยของเราก็​็ยั​ังทำำ�อยู่​่�ต่​่อเนื่​่�องเป็​็นที่​่�เลื่​่�องลื​ือในระดั​ับโลก ด้​้วยกรรมวิ​ิธี​ีแบบเดิ​ิม ปั้​้�นด้​้วยมื​ือและเผาด้​้วยเตาแบบโบราณ ผมพบเห็​็นที่​่�ใดก็​็พยายามซื้​้�อหามาเก็​็บไว้​้และตกแต่​่งประดั​ับไว้​้ในสวนรอบๆ บ้​้าน เมื่​่�อตอนกั​ักตั​ัวที่​่�บ้​้านช่​่วงโควิ​ิด-19 หามุ​ุมสวยๆ ในบ้​้านเขี​ียนไม่​่ได้​้ เลยนึ​ึกสนุ​ุกนำำ�โอ่​่งเซรามิ​ิกที่​่�อยู่​่�ในบ้​้านมาจั​ัดวางและเขี​ียนภาพลายเส้​้นลงสี​ีน้ำำ�� ทำำ�ให้​้แก้​้เหงา และตื่​่�นตาตื่​่�นใจกั​ับภาพโอ่​่งเซรามิ​ิกนี้​้�ได้​้ One of my passions is ceramic jars and potteries, especially large size jars crafted by experienced Thai potters practicing ancient pottery techniques. The techniques are world-renowned and are still being practiced until today, handcrafted and using ancient kiln. I started collecting these jars when possible, soon they became an important component of my garden. Being unable to find a likeable subject in the house for my sketches, I began arranging my jars into different attractive grouping as the subject for my watercolor sketches.

23


Forest Bamboo Ratchaburi, Thailand

2019

กอไผ่​่ที่​่�จั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรี​ี พบที่​่�หมู่​่�บ้​้านในชนบท 30 กิ​ิโลเมตร จากชายแดนไทย-เมี​ียนมา จั​ังหวั​ัดราชบุ​ุรี​ี ประเทศไทย กอไผ่​่นี้​้�ไม่​่มี​ีอะไรพิ​ิเศษ แต่​่ที่​่�เก็​็บภาพและนำำ�มาเขี​ียนเป็​็นภาพลายเส้​้นเพราะความสั​ับสนและรกรุ​ุงรั​ังของต้​้นไผ่​่ ทั้​้�งยั​ังมี​ีหน่​่อไผ่​่กำำ�ลั​ังงอก มี​ีรู​ูปลั​ักษณ์​์ที่​่�น่​่าสนใจ ความซั​ับซ้​้อนของลำำ�ต้​้นไม้​้ไผ่​่ ในหลายๆ ชั้​้�น ท้​้าทายให้​้ผมเขี​ียนภาพนี้​้�ขึ้​้�นมา 28

The Forest Bamboo was discovered in a rural village some 30 kilometers from the border of Thai-Myanmar, in Ratchaburi Province, Thailand. There is nothing special about the Forest Bamboo; in fact it has a rather messy appearance showing new sprouts but yet quite interesting to look at. The formation of the trunk with its different layers captured my attention and compelled me to put it in my sketch.


29

Nithi Sketch III.indd 29

30/3/2564 BE 14:41


Hundred Years Pine Forest on the Beach of Ao Manao Prachuap Khiri Khan, Thailand

2020

บรรยากาศป่​่าสนร้​้อยปี​ี ที่​่�อ่​่าวมะนาว จั​ังหวั​ัดประจวบคี​ีรี​ีขั​ันธ์​์ ผมไปเที่​่�ยวจั​ังหวั​ัดประจวบคี​ีรี​ีขั​ันธ์​์ เมื่​่�อต้​้นเดื​ือนกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ พ.ศ. 2563 ก่​่อนทางการประกาศปิ​ิดชายหาด ทั้​้�งหมดในเดื​ือนมี​ีนาคมในปี​ีเดี​ียวกั​ัน ผมมี​ีโอกาสได้​้ไปเยี่​่�ยมชมอ่​่าวมะนาว ซึ่​่�งมี​ีความสวยงามเป็​็นธรรมชาติ​ิ ด้​้วยมี​ีป่​่าสนอายุ​ุเป็​็นร้​้อยปี​ี ปลู​ูกเป็​็นสวนป่​่าตลอดความยาวของชายหาด อ่​่าวมะนาวเป็​็นอ่​่าวที่​่�โอบล้​้อมด้​้วยภู​ูเขาสู​ูงที่​่�ปลายหาดทั้​้�งสองด้​้าน เส้​้นสายของทิ​ิวเขาและหมู่​่�เกาะที่​่�เห็​็นจากอ่​่าวดู​ูสวยงามน่​่าประทั​ับใจ บวกกั​ับภาพของต้​้นสนขนาดใหญ่​่ที่​่�สู​ูงสง่​่าอยู่​่�ริ​ิมหาด ผมอดไม่​่ได้​้ที่​่�จะเขี​ียนภาพเก็​็บไว้​้ และนำำ�มาบั​ันทึ​ึกไว้​้ในหนั​ังสื​ือเล่​่มนี้​้� 40

The atmosphere of the Pine Forest on the Beach of Ao Manao, Prachuap Khiri Khan Province. In early February 2020, prior to the complete closure of the beach at Prachuap Khiri Khan in March, I took the opportunity to visit Ao Manao in Prachuap Khiri Khan. It is here that the 100-year old pine forest forms a long stretch of natural boundary along the beach, with the bay being encircled on each side by mountains. The beauty of the bay is made more impressive by the majestic pine trees and the cluster of islands, which appear over the ocean’s horizon.


41

Nithi Sketch III.indd 41

30/3/2564 BE 14:41


เมื่​่�อไปเที่​่�ยวรั​ัสเซี​ียในฤดู​ูใบไม้​้ร่​่วง ผมพบความพิ​ิเศษและความแปลกแยกของบรรยากาศทั่​่�วๆ ไป โดยเฉพาะในเรื่​่�องสี​ีสั​ันของต้​้นหมากรากไม้​้ในฤดู​ูใบไม้​้ร่​่วงที่​่�อาจดู​ูแตกต่​่างจากสี​ีสั​ันของต้​้นไม้​้ใบไม้​้ ในภู​ูมิ​ิภาคอื่​่�น เช่​่น ญี่​่�ปุ่​่�นหรื​ือเกาหลี​ี รวมทั้​้�งในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ที่​่�ต้​้นไม้​้ใบไม้​้ในฤดู​ูใบไม้​้ร่​่วง จะมี​ีสี​ีสั​ันสดใสฉู​ูดฉาด เช่​่น สี​ีเหลื​ืองเข้​้ม สี​ีส้​้ม หรื​ือแม้​้แต่​่ออกเป็​็นสี​ีแดง ก่​่อนที่​่�จะเปลี่​่�ยนเป็​็นสี​ีน้ำำ��ตาล ในตอนปลายฤดู​ู แต่​่ที่​่�ประเทศรั​ัสเซี​ียทั้​้�งที่​่�กรุ​ุงมอสโกและเมื​ืองเซนต์​์ปี​ีเตอร์​์สเบิ​ิร์​์ก ใบไม้​้ในฤดู​ูใบไม้​้ร่​่วงจะมี​ีแต่​่สี​ีเหลื​ืองเป็​็นส่​่วนใหญ่​่ ทั้​้�งที่​่�อยู่​่�บนต้​้นและที่​่�ร่​่วงลงบนพื้​้�นดิ​ิน ผมพยายามเขี​ียนภาพและลงสี​ีน้ำำ��ให้​้ใกล้​้เคี​ียงความเป็​็นจริ​ิงมากที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อให้​้ระลึ​ึกได้​้ ถึ​ึงความแตกต่​่างจากเมื​ืองอื่​่�นๆ ที่​่�ได้​้ไปพบเห็​็นมา The autumn season in Russia is so unlike other places where I have visited, this is especially true because of the colors of the fall foliage, which are dissimilar to that which you find in Japan, Korea or in the United States. The colorful fall foliage in these countries is vivid yellow and orange and even reddish before they turn brown at the end of the season. In Russia such as in Moscow or St. Petersburg, the autumn foliage is mostly yellow, whether they are on the trees or have already fallen to the ground. I tried to capture this color variation on my sketches by using colors, which are close to that which I saw in Russia.


49

Nithi Sketch III.indd 49

30/3/2564 BE 14:42


บรรยากาศของงานสถาปั​ัตยกรรมในชนบทของประเทศรั​ัสเซี​ียจะไม่​่ค่​่อยมี​ีสี​ีสั​ัน ดู​ูเคร่​่งขรึ​ึม ดู​ูบึ​ึกบึ​ึน ซึ่​่�งก็​็เป็​็นบุ​ุคลิ​ิกอย่​่างหนึ่​่�งของผู้​้�คนที่​่�นั่​่�น อาจเป็​็นด้​้วยภู​ูมิ​ิอากาศ ในฤดู​ูหนาวของที่​่�นั่​่�น มี​ีอากาศหนาวเย็​็นสุ​ุดขั้​้�วและมี​ีระยะเวลายาวนาน อาคารทุ​ุกหลั​ังต้​้องก่​่อสร้​้างกั​ันอย่​่างมั่​่�นคงแข็​็งแรง คงทนต่​่อดิ​ินฟ้​้าอากาศ และเป็​็นที่​่�แน่​่นอนว่​่า ในความที่​่�เคยเป็​็นประเทศที่​่�ปกครองด้​้วยระบอบการปกครองแบบคอมมิ​ิวนิ​ิสต์​์ ที่​่�อยู่​่�อาศั​ัยของผู้​้�คนทั่​่�วไปก็​็ดู​ูสงบเสงี่​่�ยมเป็​็นระเบี​ียบ ไม่​่แสดงความโอ้​้อวด และแสดงความร่ำำ��รวยให้​้เห็​็น เหมื​ือนประเทศฝั่​่�งเสรี​ีประชาธิ​ิปไตยทั่​่�วๆ ไป งานสถาปั​ัตยกรรมของที่​่�นั่​่�นจึ​ึงดู​ูเข้​้ากั​ับสภาพแวดล้​้อม เข้​้ากั​ับธรรมชาติ​ิได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี The harsh long winter seems to have its influence on the architecture of rural Russia. Most buildings there are built to withstand the extreme weather conditions; they appear grim and fortress-like, characteristic of the local people. The places of residence are quiet and orderly in line with the governing style of Communism, unpretentious unlike the democratic western countries. Here, architectural designs tend to blend with the environment.


55

Nithi Sketch III.indd 55

30/3/2564 BE 14:42


Earth Architecture Djenné, Mali

2019

62

ผมสนใจในงานสถาปั​ัตยกรรมทุ​ุกประเภท งานสถาปั​ัตยกรรมประเภทหนึ่​่�งที่​่�ผมสนใจและติ​ิดตามหาข้​้อมู​ูล และพั​ัฒนาการของงานประเภทนี้​้�อยู่​่�อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง คื​ืองานสถาปั​ัตยกรรมที่​่�ทำำ�ขึ้​้�นจากดิ​ินด้​้วยมื​ือของมนุ​ุษย์​์ จะว่​่าไปงานสถาปั​ัตยกรรมประเภทนี้​้�อาจเป็​็นต้​้นกำำ�เนิ​ิดของงานก่​่อสร้​้างที่​่�มนุ​ุษย์​์คิ​ิดค้​้นขึ้​้�นมา ทั้​้�งยั​ังมี​ีการพั​ัฒนาทำำ�ต่​่อเนื่​่�องกั​ัน จนถึ​ึงยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบั​ัน ในหลายๆ ประเทศในโลก ที่​่�ทำำ�กั​ันเป็​็นล่ำำ��เป็​็นสั​ัน ก็​็คงมี​ีให้​้เห็​็นในหลายๆ ประเทศในทวี​ีปแอฟริ​ิกาตะวั​ันตก และบางประเทศในเอเชี​ีย ผมอ่​่านพบในหนั​ังสื​ือกั​ับงานสถาปั​ัตยกรรมดิ​ินที่​่�ว่​่านี้​้�รู้​้�สึ​ึกประทั​ับใจในวิ​ิธี​ีการสร้​้าง และความคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์ของคนพื้​้�นถิ่​่�นของแต่​่ละประเทศจนทำำ�ให้​้งานเหล่​่านี้​้�มี​ีเสน่​่ห์​์ มี​ีเอกลั​ักษณ์​์เฉพาะตั​ัว มี​ีเทคนิ​ิคการจั​ัดทำำ�ที่​่�แปลกและแตกต่​่างจากงานสถาปั​ัตยกรรมที่​่�สร้​้างด้​้วยวั​ัสดุ​ุประเภทอื่​่�นๆ ในช่​่วงที่​่�ผมเขี​ียนงานสถาปั​ัตยกรรมดิ​ินนี้​้� ผมรู้​้�สึ​ึกสั​ัมผั​ัสได้​้ถึ​ึงความตั้​้�งใจและอารมณ์​์ของคนสร้​้างบ้​้านเหล่​่านี้​้� เพราะเขาต้​้องสร้​้างทุ​ุกส่​่วนด้​้วย “มื​ือ” เหมื​ือนอารมณ์​์ของคนปั้​้�นดิ​ิน ปั้​้�นหม้​้อ ปั้​้�นโถ เส้​้นสายต่​่างๆ ที่​่�มองเห็​็นในบ้​้านทำำ�จากมื​ือมนุ​ุษย์​์จริ​ิงๆ I am interested in all kinds of architectures but one form of architecture which greatly captivated my attention is “Mud” Architecture by human hands in Djenné, Mali, West Africa. I followed its development and believed that it could be the beginning of construction invented by mankind and is still being developed until today in several parts of the world. We can see such form of architecture in Africa and some parts of Asia. I read about it and was impressed by the methods of construction and creativity of the local people, it is unique and appealing and different from other forms of architecture. As I write about “Mud” Architecture, I can sense the determination and mood of these builders as everything is done by hand similar to the potter sculpting pots and vases.


63

Nithi Sketch III.indd 63

30/3/2564 BE 14:42


68

Nithi Sketch III.indd 68

30/3/2564 BE 14:42


On the Andaman II Phuket, Thailand

2016

ท้​้องทะเลและหมู่​่�เกาะต่​่างๆ ในทะเลอั​ันดามั​ันสวยงามและมี​ีมนต์​์ขลั​ังในทุ​ุกช่​่วงเวลาที่​่�ได้​้ไปเยี่​่�ยมเยื​ือน ผมได้​้ไปเที่​่�ยวตามเกาะต่​่างๆ หลายโอกาส ชายหาดบนเกาะ น้ำำ��ทะเลที่​่�ใสสะอาด หาดทรายสี​ีขาวเหมื​ือนฝุ่​่�นแป้​้ง และโขดหิ​ินก้​้อนใหญ่​่ที่​่�เกาะกลุ่​่�มกั​ันได้​้จั​ังหวะจะโคน เป็​็นภาพที่​่�สวยงามที่​่�ต้​้องจดจำำ�และกลั​ับมาเขี​ียนภาพลายเส้​้นเป็​็นที่​่�ระลึ​ึกไว้​้ The sea and cluster of beautiful islands in the Andaman Ocean forever keeps a magic spell on visitors, I visited these islands on several occasions. The Andaman’s white sand beaches, crystal clear blue waters and picturesque stone formation left me with no choice put to capture everything into my sketches.

69


Siamese Fireback (Lophura Diardi) Thailand

2020

นกไก่​่ฟ้​้าพญาลอ เป็​็นนกประจำำ�ถิ่​่�นของประเทศไทย อาศั​ัยอยู่​่�ตามป่​่าดงดิ​ิบหรื​ือป่​่าโปร่​่งที่​่�มี​ีไม้​้พื้​้�นล่​่างหนาแน่​่น ปั​ัจจุ​ุบั​ันอาจพบเห็​็นได้​้เฉพาะบางพื้​้�นที่​่� ในช่​่วงปิ​ิดป่​่าตอนโรคโควิ​ิด-19 ระบาด มี​ีคนเห็​็นนกไก่​่ฟ้​้าพญาลอนี้​้�ออกมาปรากฏตั​ัวให้​้เห็​็นมากขึ้​้�น อาจเป็​็นด้​้วยที่​่�นกไก่​่ฟ้​้าพญาลอนี้​้�มี​ีรู​ูปร่​่างที่​่�สวยสง่​่า มี​ีสี​ีขนที่​่�สวยงามสะดุ​ุดตา ทำำ�ให้​้เป็​็นที่​่�ต้​้องการของตลาดค้​้านกหายาก ทั้​้�งในประเทศและในต่​่างประเทศ ผมตั้​้�งใจเขี​ียนรู​ูปภาพลายเส้​้นลงสี​ีน้ำำ��เป็​็นที่​่�ระลึ​ึกไว้​้ เพื่​่�อช่​่วยอนุ​ุรั​ักษ์​์นกไก่​่ฟ้​้านี้​้�ไว้​้อี​ีกทางหนึ่​่�ง ได้​้ส่​่งรู​ูปภาพนี้​้�ให้​้สมาคมอนุ​ุรั​ักษ์​์นกฯ เพื่​่�อนำำ�ไปเผยแพร่​่ รณรงค์​์เรื่​่�องอนุ​ุรั​ักษ์​์นกไก่​่ฟ้​้าของประเทศไทย เมื่​่�อปลายปี​ี พ.ศ. 2563 ที่​่�ผ่​่านมานี้​้� 84

The Siamese Fireback is native bird of Thailand inhabiting in rainforests and sparse forests where there are dense vegetation. Today, they can only be found in some places, which were closed off during the Covid-19 outbreak. More and more, they have been spotted by bird-watchers, probably due to their beautiful shape and colors; they are in much demand by the wild bird traders in Thailand and abroad. As part of my effort in their conservation, I did a watercolor sketch of the Siamese Fireback for the Bird Conservation Society of Thailand at the end of 2020.


89

Nithi Sketch III.indd 89

30/3/2564 BE 14:42


90

Nithi Sketch III.indd 90

30/3/2564 BE 14:42


The Crested Fireback (Lophura Ignita) Chumphon, Thailand

2020

นกไก่​่ฟ้​้าหน้​้าเขี​ียว เป็​็นสั​ัตว์​์ป่​่าหายากที่​่�ได้​้รั​ับคุ้​้�มครองของประเทศไทย ไม่​่มี​ีผู้​้�พบเห็​็นในป่​่าธรรมชาติ​ิมากว่​่า 50 ปี​ี ในช่​่วงปิ​ิดป่​่าครั้​้�งเกิ​ิดโรคระบาดโควิ​ิด-19 มี​ีผู้​้�พบเห็​็นนกไก่​่ฟ้​้าหน้​้าเขี​ียว 1 คู่​่� ทั้​้�งตั​ัวผู้​้�และตั​ัวเมี​ีย ออกมาเดิ​ินหากิ​ินชายป่​่า บริ​ิเวณจุ​ุดสกั​ัดทั​ับอิ​ินทนิ​ิล เขตรั​ักษาพั​ันธุ์​์�สั​ัตว์​์ป่​่า อำำ�เภอท่​่าแซะ จั​ังหวั​ัดชุ​ุมพร เมื่​่�อเดื​ือนเมษายน พ.ศ. 2563 มี​ีเพื่​่�อนในกลุ่​่�มอนุ​ุรั​ักษ์​์นกป่​่า ส่​่งรู​ูปภาพของนกคู่​่�นี้​้�มาให้​้ผม ผมตื่​่�นตา ตื่​่�นใจ และขอเขี​ียนรู​ูปภาพลายเส้​้นลงสี​ีน้ำำ�� เพื่​่�อเป็​็นที่​่�ระลึ​ึกและมี​ีส่​่วนช่​่วยอนุ​ุรั​ักษ์​์นกหายากนี้​้�ไว้​้อี​ีกทางหนึ่​่�ง The Crested Fireback (Lophura Ignita) is rare and endangered bird of Thailand and has not been seen in the natural forest for over 50 years. However, during first closure of the forest due to the Covid-19 Pandemic in April 2020, a pair of male and female Crested Fireback was spotted walking at the forest edge around Thap Inthanin Checkpoint, in the wildlife reserve of Amphoe Tha Sae, Chomphon Province. A friend of mine who is a member of the Wildlife Conservation Group gave me a picture of this pair of Crested Fireback, I was highly impressed and did a watercolor sketch of this rare bird.

91


98

Nithi Sketch III.indd 98

30/3/2564 BE 14:42


Red Junglefowl (Gallus Gallus) Thailand

2021

ไก่​่ป่​่าเป็​็นนกประจำำ�ถิ่​่�นของประเทศไทย ที่​่�พบเห็​็นได้​้ในหลายๆ ภู​ูมิ​ิภาคทั่​่�วประเทศไทย เป็​็นนกป่​่าที่​่�มี​ีรู​ูปร่​่างสวยสง่​่าและมี​ีสี​ีสั​ันสวยสดงดงามที่​่�สุ​ุดชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�พบได้​้ในประเทศ ผมอดไม่​่ได้​้ที่​่�จะเขี​ียนรู​ูปไก่​่ป่​่านี้​้�เป็​็นที่​่�ระลึ​ึกไว้​้ ในหนั​ังสื​ือเล่​่มนี้​้�ด้​้วย โดยได้​้รั​ับข้​้อมู​ูลสนั​ับสนุ​ุนมาจากเพื่​่�อนๆ จากสมาคมอนุ​ุรั​ักษ์​์นกฯ นกไก่​่ป่​่านี้​้�นั​ับวั​ันก็​็จะพบเห็​็นได้​้ยากขึ้​้�น ด้​้วยเป็​็นนกที่​่�สวยงาม ทำำ�ให้​้มี​ีโอกาสถู​ูกล่​่าเพื่​่�อนำำ�ไปขายในตลาดขายสั​ัตว์​์เลี้​้�ยงและส่​่งไปขายในต่​่างประเทศ นกไก่​่ป่​่าจะอาศั​ัยอยู่​่�ตามชายป่​่า ตามทุ่​่�งหญ้​้า ป่​่าโปร่​่งหรื​ือตามป่​่าไผ่​่ และชอบอยู่​่�กั​ันเป็​็นฝู​ูงมี​ีอาณาเขตเป็​็นของตนเอง การเขี​ียนภาพลายเส้​้นและลงสี​ีน้ำำ��ของนกไก่​่ป่​่าตั​ัวนี้​้� ต้​้องเขี​ียนด้​้วยความพิ​ิถี​ีพิ​ิถั​ัน ด้​้วยขนของมั​ันมี​ีความสลั​ับซั​ับซ้​้อน และมี​ีความหลากหลายของขนที่​่�เรี​ียงรายอยู่​่�บนตั​ัวนก ทั้​้�งยั​ังมี​ีสี​ีสั​ันที่​่�มี​ีหลายเฉดสี​ีมากกว่​่า 10 เฉดสี​ี เพี​ียงลงสี​ีให้​้ใกล้​้เคี​ียงของจริ​ิง จากรู​ูปภาพที่​่�มี​ีอยู่​่�ก็​็เป็​็นงานที่​่�ยากมากแล้​้ว จึ​ึงตั​ัดสิ​ินใจลงสี​ีเฉพาะตั​ัวนก เพื่​่�อไม่​่ให้​้ภาพมี​ีสี​ีสั​ันมากเกิ​ินไป ไม่​่รบกวนภาพนกโดยรวม ทั้​้�งยั​ังไม่​่เขี​ียนภาพทิ​ิวทั​ัศน์​์ที่​่�เป็​็นพื้​้�นหลั​ัง เพื่​่�อให้​้สรี​ีระของตั​ัวนกโดดเด่​่นมากขึ้​้�น The Red Junglefowl is Thailand’s local bird and can be found in all regions of the country, it is a majestic-looking wild bird with beautiful vivid colors. With the support of friends and the Bird Conservation Society of Thailand, the motivation to sketch this bird became boundless. The Red Junglefowl is rarely seen and because of its beauty, the fowl is sought after and sold as pets or for export abroad. The habitat of the Red Junglefowl is around forest edge, fields, in open forest or in bamboo forest. They live in flocks within their own territory; there is complexity in the layering of the feathers that are multi-colored in ten different colors. It was, therefore, a rather difficult task to use colors that resembled the natural colors of the Red Jungle fowl. I decided to put colors just on the birds in order to keep the picture from being to colorful and a distraction to the atmosphere of my sketch. I did not sketch the background in order to give greater focus on the sketching of the birds.

95


Silver Pheasant (Lophura Nycthemera) Thailand

2021

นกไก่​่ฟ้​้าหลั​ังขาว นกประจำำ�ถิ่​่�นในประเทศไทย บางพื้​้�นที่​่�เรี​ียกไก่​่ฟ้​้าหลั​ังขาวจั​ันทบู​ูร เป็​็นนกอนุ​ุรั​ักษ์​์ของประเทศที่​่�หายาก และใกล้​้สู​ูญพั​ันธุ์​์� ด้​้วยเป็​็นนกที่​่�สวยสง่​่าทั้​้�งสี​ีสั​ันและรู​ูปร่​่างทำำ�ให้​้มี​ีผู้​้�ล่​่าเพื่​่�อนำำ�ไปเป็​็นสั​ัตว์​์เลี้​้�ยงหรื​ือนำำ�ไปขายในตลาด ทั้​้�งในประเทศและต่​่างประเทศ พบเฉพาะในป่​่าลึ​ึก ป่​่าดงดิ​ิบ บนที่​่�ราบสู​ูงระดั​ับ 700-2,000 เมตร เหนื​ือระดั​ับน้ำำ��ทะเล ภาพนี้​้�เขี​ียนเมื่​่�อตอนอยู่​่�บ้​้านช่​่วงโควิ​ิด-19 มี​ีผู้​้�นำำ�ภาพถ่​่ายมาให้​้ จึ​ึงเขี​ียนรู​ูปนี้​้�ขึ้​้�นมาด้​้วยความประทั​ับใจ และเพื่​่�อช่​่วยอนุ​ุรั​ักษ์​์นกชนิ​ิดนี้​้�ไว้​้อี​ีกทางหนึ่​่�ง 100

The Silver Pheasant is a rare and endangered bird specie of Thailand, it is a difficult to find local bird. The Silver Pheasants is a fascinating bird because of its colors and shape and for these reasons, the Pheasants are much sought after as pets, they are sold locally and exported to markets abroad. The birds are found in deep evergreen forests in elevation of 700-2,000 meters above sea level. The picture of the Silver Pheasant was given to me during my lockdown at home, it greatly impressed me to do a sketch and take part in the conservation of this rare bird.


103

Nithi Sketch III.indd 103

30/3/2564 BE 14:43


The Yellow-Breasted Bunting (Emberiza Aureola) Nakhon Sawan, Thailand

2020

106

เมื่​่�อวั​ันที่​่�ไปเที่​่�ยวทะเลสาบบึ​ึงบอระเพ็​็ด จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ เดื​ือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 เป็​็นช่​่วงที่​่�อุ​ุทยานนกน้ำำ�� บึ​ึงบอระเพ็​็ด เริ่​่�มเปิ​ิดให้​้ประชาชนเข้​้าไปเยี่​่�ยมชมนกป่​่าได้​้ หลั​ังจากปิ​ิดห้​้ามคนเข้​้าไปเยี่​่�ยมชมภายในอุ​ุทยานมากว่​่า 6 เดื​ือน ผมพบฝู​ูงนกป่​่าเป็​็นจำำ�นวนมาก นกทุ​ุกตั​ัวดู​ูแข็​็งแรงและไม่​่กลั​ัวผู้​้�คน อาจเป็​็นด้​้วยห่​่างไกลผู้​้�คนเข้​้าไปรบกวนมาเป็​็นเวลานาน หนึ่​่�งในฝู​ูงนกที่​่�ผมพบเห็​็น และประทั​ับใจ คื​ือ นกกระจาบปี​ีกอ่​่อนอกเหลื​ืองที่​่�อยู่​่�อาศั​ัยกั​ันเป็​็นฝู​ูงตามต้​้นไม้​้ใหญ่​่ริ​ิมทะเลสาบ ทำำ�รั​ังด้​้วยหญ้​้าแห้​้ง นำำ�มาสานกั​ันเป็​็นรู​ูปทรงที่​่�สวยงามสุ​ุดมหั​ัศจรรย์​์ อยู่​่�อาศั​ัยกั​ันเป็​็นคู่​่� รั​ังนกนี้​้�จะยึ​ึดติ​ิดกั​ับกิ่​่�งไม้​้ สู้​้�ลมพายุ​ุ แสงแดด และสายฝนอย่​่างมั่​่�นคงแข็​็งแรง ปั​ัจจุ​ุบั​ันพบหาได้​้ยากขึ้​้�นด้​้วยเหลื​ือจำำ�นวนน้​้อยลง นกที่​่�เห็​็นนี้​้�พบที่​่�อุ​ุทยานนกน้ำำ�� จั​ังหวั​ัดนครสวรรค์​์ ช่​่วงเดื​ือนมิ​ิถุ​ุนายน - กรกฎาคม พ.ศ. 2563 After a six months closure, I had the opportunity to visit the wild bird conservation at the Bueng Boraphet Bird Park in Nakhon Sawan, it was during July 2020. While there I saw large numbers of wild birds, they all appeared healthy and unafraid of visitors; this is probably because they were left undisturbed for a long time. One of the flocks of birds, which greatly impressed me, was flocks of Breasted Bunting, which inhabit amongst the large trees by the lakeside. Their nests built from dry grass and firmly attached to the trees, appear amazing to look at, withstanding the sun, strong wind and rain. These birds live in pairs and today their numbers are dwindling, the birds we saw were at Bueng Boraphet Bird Park in Nakorn Sawan Province during June-July of 2020.


107

Nithi Sketch III.indd 107

30/3/2564 BE 14:43


The Stork-Billed Kingfisher (Pelargopsis Capensis) Nakhon Sawan, Thailand

2020

112

นกกระเต็​็นใหญ่​่ เป็​็นนกประจำำ�ถิ่​่�นที่​่�มี​ีสี​ีสั​ันสวยงามชนิ​ิดหนึ่​่�งที่​่�พบได้​้ในหลายพื้​้�นที่​่�ในประเทศไทย อาศั​ัยอยู่​่�ตามป่​่าชายเลน และริ​ิมหนองน้ำำ�� หาปลาเป็​็นอาหาร นกกระเต็​็นมี​ีหลายสายพั​ันธุ์​์� มี​ีสี​ีสั​ันต่​่างกั​ัน แต่​่ที่​่�พบเห็​็นมากคื​ือ สี​ีฟ้​้า-น้ำำ��เงิ​ินเข้​้ม โดยธรรมชาติ​ิจะหากิ​ินโดดเดี่​่�ยว ไม่​่อยู่​่�เป็​็นฝู​ูง มี​ีความว่​่องไวและมี​ีสายตาที่​่�เฉี​ียบคม เมื่​่�อเห็​็นปลาโผล่​่ขึ้​้�นมาหายใจบนผิ​ิวน้ำำ�� นกกระเต็​็นจะพุ่​่�งลงจั​ับปลาได้​้ทุ​ุกครั้​้�ง เมื่​่�อวั​ันที่​่�ไปเยี่​่�ยมชมนกป่​่าที่​่�ทะเลสาบบึ​ึงบอระเพ็​็ด เมื่​่�อเดื​ือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 พบนกกระเต็​็นใหญ่​่นี้​้�หลายตั​ัว ผมถ่​่ายภาพได้​้และนำำ�มาเขี​ียนภาพไว้​้เป็​็นที่​่�ระลึ​ึก แต่​่ได้​้เขี​ียนภาพออกมาเป็​็นนกฝู​ูงใหญ่​่ ถึ​ึงแม้​้จะผิ​ิดธรรมชาติ​ิไปบ้​้างก็​็เพื่​่�อให้​้ภาพมี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวามากขึ้​้�น The Stork-Billed Kingfisher are colorful native birds inhabiting in several parts of Thailand, they can be found in mangroves and swamp edges finding food mainly fish. There are several species of the Stork-Billed Kingfisher varying in colors but the common ones are blue and dark blue. They hunt alone and do not live in flocks; they are fast with sharp eye-sights for hunting fish as they emerge from the waters. When I visited the wild birds sanctuary in Bueng Boraphet in July 2020, I saw many large size Kingfishers. Contrary to their natural characteristic as loner, I sketched the Kingfishers in large flocks to add life to my drawing.


113

Nithi Sketch III.indd 113

30/3/2564 BE 14:43



นิ​ิธิ​ิ สถาปิ​ิตานนท์​์ เกิ​ิดที่​่�กรุ​ุงเทพมหานคร เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2490 เข้​้าศึ​ึกษาในระดั​ับชั้​้�นประถมและมั​ัธยมที่​่�โรงเรี​ียน วชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย และได้​้เข้​้าศึ​ึกษาในระดั​ับปริ​ิญญาตรี​ี ที่​่�คณะสถาปั​ัตยกรรมศาสตร์​์ จุ​ุฬาลงกรณ์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัย สำำ�เร็​็จการศึ​ึกษาในปี​ี พ.ศ. 2514 หลั​ังจากนั้​้�นได้​้เดิ​ินทางไปศึ​ึกษาวิ​ิชาสถาปั​ัตยกรรมศาสตร์​์ ระดั​ับปริ​ิญญาโท ที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์ ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา

Nithi Sthapitanonda was born in Bangkok in 1947. During his younger years, he undertook his primary and secondary education at Vajiravudh College where he graduated in 1966. Nithi acquired his Bachelor of Architecture Degree from the Faculty of Architecture at the Chulalongkorn University in 1971 and later gained a Master of Architecture Degree from the University of Illinois at Urbana-Champaign, USA.

ขณะที่​่�ศึ​ึกษาอยู่​่�ที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัยนี้​้� ได้​้ส่​่งผลงานออกแบบเข้​้าประกวดโดยแข่​่งขั​ันกั​ับนั​ักศึ​ึกษาระดั​ับปริ​ิญญาโท จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยต่​่างๆ ในสหรั​ัฐอเมริ​ิกา และได้​้รับั รางวั​ัลชนะเลิ​ิศ ในโครงการชื่​่อ� “Housing for Older Adults, Utica, New York” ซึ่​่ง� จั​ัดโดย American Institute of Architects เมื่​่อ� ปี​ี พ.ศ. 2516 และได้​้ส่ง่ ผลงานสเก็​็ตช์​์ รู​ูปเข้​้าแข่​่งขั​ันกั​ับนั​ักศึ​ึกษาในคณะ ในโครงการของมู​ูลนิ​ิธิ​ิ ฟรานซิ​ิส เจ ไพร์​์ม นิ​ิธิ​ิเป็​็นหนึ่​่�งในผู้​้�ที่​่�ได้​้รั​ับรางวั​ัล ชนะเลิ​ิศในครั้​้�งนี้​้� ในปี​ี พ.ศ. 2517 ได้​้รั​ับทุ​ุนจากมหาวิ​ิทยาลั​ัยให้​้ร่​่วมที​ีมของคณาจารย์​์และนั​ักศึ​ึกษาจาก มหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ิลลิ​ินอยส์​์และมหาวิ​ิทยาลั​ัยวิ​ิสคั​ัลซิ​ิล เดิ​ินทางไปทำำ�ผั​ังแม่​่บทให้​้มหาวิ​ิทยาลั​ัยในประเทศอิ​ินเดี​ีย หลั​ังจากสำำ�เร็​็จการศึ​ึกษาระดั​ับปริ​ิญญาโทแล้​้ว ได้​้เข้​้าทำำ�งานในบริ​ิษั​ัท Metcalf and Associates Washington D.C. เป็​็นเวลาหนึ่​่�งปี​ีครึ่​่�ง ก่​่อนเดิ​ินทางกลั​ับประเทศไทย

While in graduate school, Nithi entered a design competition at the Master’s level for universities from across the USA as organized by the American Institute of Architects. He won first prize for his “Housing for Older Adults, Utica, New York” competition entry in 1973. Nithi won another prize for students with a sketch he entered in the “Francis J. Plym Foundation Graduate Student Architectural Sketch Competition” in 1971. Additionally, Nithi also received a fellowship at that time which allowed him to travel to India with a team of professors and students from the Universities of Illinois and Wisconsin. As a result, he subsequently produced a master plan for a university in India.

ในระหว่​่างปี​ี พ.ศ. 2518–2526 ได้​้ทำำ�งานในบริ​ิษั​ัท ดี​ีไซน์​์ 103 จำำ�กั​ัด ได้​้รั​ับตำำ�แหน่​่งกรรมการผู้​้�จั​ัดการ ในปี​ี พ.ศ. 2520 ต่​่อมาในปี​ี พ.ศ. 2526 ได้​้ลาออกจากบริ​ิษั​ัทดี​ีไซน์​์ 103 มาตั้​้�งบริ​ิษั​ัท สถาปนิ​ิก 49 จำำ�กั​ัด และดำำ�รงตำำ�แหน่​่งประธานกรรมการบริ​ิหาร มาจนถึ​ึงปี​ี พ.ศ. 2555 และได้​้เกษียี ณอายุ​ุจากการทำำ�งานในสายวิ​ิชาชี​ีพ ตั้​้�งแต่​่ปลายปี​ี พ.ศ. 2555 ปั​ัจจุ​ุบั​ันดำำ�รงตำำ�แหน่​่งประธานกรรมการ กลุ่​่�มบริ​ิษั​ัทในเครื​ือ 49 ในปี​ี พ.ศ. 2535-2537 ดำำ�รงตำำ�แหน่​่งนายกสมาคมสถาปนิ​ิกสยาม ในพระบรมราชู​ูปถั​ัมภ์​์และดำำ�รงตำำ�แหน่​่ง เลขาธิ​ิการ สภาสถาปนิ​ิก ในปี​ี พ.ศ. 2543-2545 ในปี​ี พ.ศ. 2545 ได้​้รั​ับเกี​ียรติ​ิจากกระทรวงวั​ัฒนธรรม คั​ั ด เลื​ื อ กให้​้ เ ป็​็ นศิ​ิ ล ปิ​ิ น แห่​่ ง ชาติ​ิ ในปี​ี พ.ศ. 2556 ได้​้ รั​ั บ วิ​ิ ท ยาศาสตร์​์ ดุ​ุ ษฎี​ีบั​ั ณ ฑิ​ิ ต กิ​ิ ต ติ​ิ ม ศั​ั ก ดิ์​์� สาขา สถาปั​ัตยกรรมศาสตร์​์จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยศรี​ีปทุ​ุม ต่​่อมาในปี​ี พ.ศ. 2559 ได้​้รั​ับปริ​ิญญาสถาปั​ัตยกรรมศาสตร ดุ​ุษฎี​ีบั​ัณฑิ​ิตกิ​ิตติ​ิมศั​ักดิ์​์�จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยเชี​ียงใหม่​่ และมหาวิ​ิทยาลั​ัยขอนแก่​่น ในปี​ี พ.ศ. 2551 ได้​้รั​ับแต่​่งตั้​้�งให้​้เป็​็นสมาชิ​ิกกิ​ิตติ​ิมศั​ักดิ์​์� จากสมาคมสถาปนิ​ิกแห่​่งสหรั​ัฐอเมริ​ิกา ในปี​ี พ.ศ. 2538 และได้​้รั​ับแต่​่งตั้​้�งให้​้เป็​็นสมาชิ​ิกกิ​ิตติ​ิมศั​ักดิ์​์� จากสมาคมสถาปนิ​ิกแห่​่งประเทศญี่​่�ปุ่​่�น ในปี​ี พ.ศ. 25512555 เป็​็นกรรมการสภามหาวิ​ิทยาลั​ัยศิ​ิลปากร ได้​้รั​ับแต่​่งตั้​้�งเป็​็นกรรมการอำำ�นวยการโรงเรี​ียนวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย ในปี​ี พ.ศ. 2552-2557 และในปี​ี พ.ศ. 2551-2563 ได้​้รั​ับแต่​่งตั้​้�งให้​้เป็​็นกรรมการสภามหาวิ​ิทยาลั​ัยกรุ​ุงเทพ

Upon graduating with his Master’s Degree, Nithi worked for a year and a half at the Metcalf and Associates in Washington D.C. Upon his return to Thailand during the period 1975-1983, Nithi began his architectural career at Design 103 where he became the Managing Director in 1977. Later on in 1983, he resigned from Design 103 in order to establish his own architectural firm under the name “Architect 49”, of which he was the President until he took up semi-retirement at the end of 2012. Currently, Nithi holds the position of Chairman of the Board of Directors of 49 Group. Between the periods 1992-1994, Nithi held the position of President of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage, he was also the Secretary General of the Architect Council of Thailand during the period 2000-2002. In 2002, Nithi also received the honor of being named by the Ministry of Culture as the “National Artist” in the field of Architecture. In 2013, he received an Honorary Doctorate Degree in Science, in the field of Architecture from the Sripratum University. In 2016, Nithi was accorded the Honorary Doctor of Philosophy in Architecture from the University of Chiang Mai and also from the University of Khon Kaen. In 2008, Nithi was appointed as an Honorary Fellow for the American Institute of Architects (Hon. FAIA) in the USA. Additionally, he was also appointed as an Honorary Member of the Japan Institute of Architects (Hon. FJIA) in 1995. During 2008-2012, Nithi became a member of the Council of Silpakorn University. From 2009-2014, Nithi was an active member of the Board of Directors of the Vajiravudh College and from 2008-2020 he was appointed as a committee member of the Council of Bangkok University

Nithi Sthapitanonda, National Artist

141


Platinum sponsor

49GROUP

BOON RAWD BREWERY CO., LTD.

กลุ่มบริษัทในเครือ 49Group

บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำ�กัด

THE SIAM CEMENT PCL.

STONES AND ROSES INTERNATIONAL CO., LTD.

บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด

บริษัท สโตนส์ แอนด์ โรสเสส อินเตอรเ์นชั่นแนล จํากัด

CHANINTR LIVING LIMITED

WORLD TRADE AND ACCOMMODATION CO., LTD

บริษัท ชนินทร์ ลิฟวิ่ง จํากัด

บริษัท เวิลด์เทรดแอนด์แอคคอมโมเดชั่น จํากัด

THAWEEMONGKOL CONSTRUCTION (2000) CO., LTD.

M.K.S. ENGINEERING CO., LTD.

บริษัท ทวีมงคลก่อสร้าง (2000) จํากัด

บริษัท เอ็ม.เค.เอส. เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด

81 Soi Sukhumvit 26, Bangkok 10110

999 Samsen Road, Thanon Nakornchaisri, Dusit, Bangkok 10300

1 Siam Cement Road, Bangsue, Bangkok 10800

164/52-55 Moo 10 Theparak Road, Bangpla, Bangplee, Samutprakarn 10540

109/29 Soi Nawamin 74, Nawamin Road, Krongkum, Buengkum, Bangkok 10240

GPF Witthayu, Tower A, 17th - 18th Floor, 93/1 Wireless Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330

8 Soi Phetch Kasem 48 Yak 13, Bangduan, Phasicharoen, Bangkok 10160

M.K.S. ENGINEERING CO.,LTD

494/2 Soi Tarad-Sathornthip, Sathupradit Road, Bangpongpang, Yannawa, Bangkok 10120


Silver Sponsor

OCEAN NEWLINE CO., Ltd.

RATCHADA MARBLE CO., LTD.

บริษัท โอเชี่ยนนิวไลน์ จํากัด

บริษัท รัชดาหินอ่อน จํากัด

THAI-GERMAN SPECIALTY GLASS CO., LTD.

PRACTIKA CO., LTD.

บริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตี้ กลาส จํากัด

บริษัท แพรคติก้า จำ�กัด

4026 Rama 4 Road, Prakanong, Khlongtoey, Bangkok 10110

999 Moo 6 Khaweng O-ngoen, Sai-Mai, Bangkok 10220

29 Soi 59, Rama 3 Road, Shongnonsea, Yannawa, Bangkok 10120

1/8 Moo 1 Sukhaphiban 5 Road, Soi 94 Sai Mai, Bangkok 10220

BEL VEDERE CO., LTD.

FINE LINE GALLERY

บริษัท เบล วีเดีย จํากัด

ไฟน์ไลน์ แกลเลอรี

82 Soi Saen Sabai, Rama 4 Road, Prakanong, Khlongtoey, Bangkok 10110

A 205 K Village 93,95 Sukhumvit 26 Klongtan, Klongtoey, Bangkok 10111

143


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.