H - HOUSE / HOME / HAUS H1 “บ้าน” ในความหลากหลาย รูปทรง ขนาด ที่ตั้ง ความเป็นอยู่ สำ�นักพิมพ์ ล�ยเส้น พับบลิชชิ่ง (LI-ZENN PUBLISHING) ้ พิมพ์ครังแรก ตุล�คม 2562 112 สุขุมวิท 26 คลองตัน คลองเตย กรุงเทพมห�นคร 10110 www.li-zenn.com Facebook: Li-Zenn Publishing Line: @li-zenn
728 เลขม�ตรฐ�นส�กลประจำ�หนังสือ 978-616-459-023-6 ข้อมูลท�งบรรณ�นุกรมของสำ�นักหอสมุดแห่งช�ติ ล�ยเส้น พับบลิชชิ่ง. H 1. – กรุงเทพฯ: ล�ยเส้น พับบลิชชิ่ง, 2562. 240 หน้�.-- (H). ่ 1. บ้�น. 2. สถ�ปั ตยกรรมที่อยู่อ�ศัย. I. ชื่อเรือง. สงวนลิขสิทธิ์ 2562 ล�ยเส้น พับบลิชชิ่ง ์ สงวนสิทธิต�มพระร�ชบั ญญัติ ก�รคัดลอกส่วนใด ๆ ในหนังสือ ต้องได้รบ ั อนุญ�ตเป็ นล�ยลักษณ์อักษร พิมพ์ที่ Tiger Printing (Hong Kong)
H1
2
title page
3
H - SERIES สำ�นักพิมพ์ ล�ยเส้น พับบลิชชิ่ง
H1
4
“บ้าน” เป็นหนึ่งในงานออกแบบ สถาปัตยกรรม ที่สํานักพิมพ์ ลายเส้น พับบลิชชิ่ง ให้ความสําคัญ ในการตีพม ิ พ์เผยแพร่ออกสูส ่ าธารณะ เป็นอันดับต้นๆ มาอย่างต่อเนื่อง โดยที่ผ่านมาได้จัดทําหนังสือรวม ผลงานการออกแบบบ้านพักอาศัย ออกมามากมายในรูปแบบหนังสือชุด ที่จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ และ ได้การตอบรับอย่างดีจากกลุ่มผู้อ่าน หนังสือซีรีส์ “H” นี้ เป็นหนังสือ “บ้านอยู่อาศัยฉบับภาษาไทย” ชุดแรกของสํานักพิมพ์ลายเส้นที่ นําเสนอผลงานการออกแบบบ้าน ที่มีเอกลักษณ์ มีความหลากหลาย ทั้งรูปแบบการใช้งาน สไตล์ ที่ตั้ง ทีไ่ ด้รบ ั การคัดเลือกโดยบรรณาธิการ รับเชิญประจําเล่ม จํานวน 8-10 หลัง ข้อมูลการออกแบบและแนวคิด นําเสนอผ่านภาพถ่ายที่ได้คุณภาพ แบบและดีเทลที่ชัดเจน เพิ่มเติม ด้วยข้อมูลความรู้เรื่องวัสดุและ เกร็ดความรู้ต่างๆ ในการออกแบบ จากสถาปนิกและเจ้าของบ้าน ถ่ายทอดผ่านภาษาทีเ่ รียบง่าย เหมาะกับผูอ้ า่ นทัว่ ไป 5
จากบรรณาธิการ เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์
สถาปนิกผูห ้ ลงใหลการออกแบบบ้าน จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริม ่ ริษัท สถาปนิก 49 ่ ต้นอาชีพสถาปนิกทีบ (A49) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2530 มีผลงานออกแบบ บ้านส�าคัญเป็นทีร่ ูจ ้ ักแพร่หลาย ในปี พ.ศ.2557 ได้รว่ มก่อตั้งบริษัท สถาปนิก 49 เฮ้าส์ดีไซน์ (A49HD) รับหน้าทีเ่ ป็นกรรมการผูจ ้ ัดการ ควบคุมและดูแลงานออกแบบบ้านพักอาศัย โดยเฉพาะ นอกเหนือจากงานด้านวิชาชีพแล้ว ยังมีผลงาน การจัดท�าหนังสือหลายๆ เล่ม อาทิ Houses: A New Tropical Dimension, House Modern Diversity, H-Diagram และ H-Definition ฯลฯ ควบคู่ไปกับงานอดิเรก ทีช ่ น ื่ ชอบ คือการวาดรูป ถ่ายรูป และแต่งเพลง
H1
66
ที่ผ่านมา ส�านักพิมพ์ลายเส้นได้จัดท�าหนังสือผลงานการออกแบบ สถาปัตยกรรมของสถาปนิกไทยมาโดยตลอด 13 ปี ซึ่งทั้งหมดจัดท�าเป็นภาษา อังกฤษ เพื่อจุดประสงค์ให้ช่วยเผยแพร่ผลงานการออกแบบของสถาปนิกไทย ไปในระดับนานาชาติ หนังสือ H เล่มนี้ จึงเป็นหนังสือรวบรวมผลงาน การออกแบบของสถาปนิกไทย ฉบับภาษาไทย เล่มแรกของส�านักพิมพ์ลายเส้น โดยเป็นการรวมผลงานการออกแบบบ้านโดยเฉพาะ บ้านแต่ละหลังจะเป็น บ้านที่ถูกออกแบบมาอย่างดี มีเอกลักษณ์พิเศษ มีเนื้อหาสาระต่างๆ ที่น่าสนใจ และให้ความรูใ้ นแง่มุมต่างๆ มากมาย เหมาะอย่างยิ่งส�าหรับคนทั่วไป สถาปนิกและนิสิตนักศึกษาวิชาสถาปัตยกรรม ที่มีความสนใจเรือ ่ งการ ออกแบบบ้าน จะได้รบ ั เรือ ่ งราวที่มาที่ไปในการออกแบบบ้านแต่ละหลัง มากมาย หนังสือ H เล่มนี้ ทีมท�างานมีความตั้งใจให้เป็นหนังสือที่มีขนาดรูปเล่มที่พกพา สะดวก และมีการออกแบบรูปเล่มที่สวยงาม สามารถน�าติดตัวไปดูไปอ่านได้ โดยง่าย โดยที่เนื้อหาของบ้านแต่ละหลัง นอกจากจะมีภาพถ่ายทีส ่ วยงามแล้ว จะได้ทราบถึงแนวความคิดในการออกแบบบ้านแต่ละหลัง ว่ามีความคิด เป็นอย่างไร ซึ่งจะเป็นเรือ ่ งที่น่าติดตาม และบางครัง้ อาจจะเป็นเรือ ่ งทีค ่ าด ไม่ถงึ ว่าการออกแบบบ้านหลังนั้นๆ จะมีแนวความคิดเช่นนี้ น่าจะเป็นเรือ ่ งที่ สนุกส�าหรับคนทัว ่ นใจ และแนวความคิดในการออกแบบนี้เป็นขั้นตอน ่ ๆ ไปทีส ที่สา � คัญอย่างยิ่งของสถาปนิก และนิสิตนักศึกษาวิชาสถาปัตยกรรม จะได้ ศึกษาและเข้าใจถึงแนวความคิดต่างๆ ของการออกแบบบ้านแต่ละหลัง และสามารถน�ามาเป็นตัวอย่าง น�ามาประยุกต์ใช้ในการท�างาน และการเรียน ของตัวเองได้ นอกจากนี้ ในบ้านแต่ละหลังก็จะมีรายละเอียดขยาย (detail) ของจุดที่น่าสนใจของบ้านนั้นๆ ซึ่งก็เป็นส่วนที่ส�าคัญมากๆ ส่วนหนึ่งใน กระบวนการการออกแบบ รวมทั้งจะมีการแนะน�าวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่น่าสนใจ ที่ถูกเลือกใช้ในบ้านแต่ละหลังด้วย นอกเหนือจากบ้านหลายๆ หลังที่เราคัดสรรมาอย่างดีแล้ว หนังสือ H เล่มนี้ ก็จะมีเกร็ดความรูใ้ นด้านต่างๆ เกี่ยวกับบ้านที่น่าสนใจ โดยที่เล่มแรกนี้ เราได้ มีความรูเ้ กี่ยวกับการออกแบบแสงสว่าง น�าเสนอเป็นบทความ ซึ่งในเล่มถัดๆ ไป เราก็จะสรรหาความรูต ้ ่างๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับบ้านในเรือ ่ งอื่นๆ มาน�าเสนอ ต่อๆ ไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ H เล่มนี้ จะเป็นหนังสือบ้านที่หลายๆ คนชอบ และมีเก็บไว้ ซึ่งทางทีมท�างานจะพยายามอย่างยิ่งที่จะน�าเสนอแง่มุมต่างๆ ของการออกแบบบ้านให้เป็นประโยชน์มากที่สุด และหวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะมีส่วนช่วยพัฒนาวงการออกแบบบ้านของไทยได้ไม่มากก็น้อย ได้สร้าง ประโยชน์ ให้ความรูแ ้ ก่คนทั่วๆ ไป สถาปนิกและนิสิตนักศึกษาสถาปัตยกรรม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ก�าลังคิดจะสร้างบ้าน ฝันที่จะมีบ้านสวยๆ ได้คิดถึงหนังสือของเราและได้เริม ่ ต้นความฝันด้วยการได้อ่านหนังสือ H ของเราเป็นอันดับแรกๆ
จากบรรณาธิการ
7
H1 2560-2562
H1
8
H - SERIES
4-5 จากบรรณาธิการ 6-7
H1/1
1ST FLOOR SCALE 1:200
Rabbit Residence 2561 / กรุงเทพมหานคร
14-41
SERIAL
C814
C814
H1/2
C814
Horizontal House 2562 / นครราชสีมา
42-65
C814
C814
H1/3
Y/A/O Residence 2562 / กรุงเทพมหานคร สารบัญ
66-85
9
H1/1
Rabbit Residence 2561 / กรุงเทพมหานคร
เจ้าของ ป๊อก คบคงสันติ สถาปนิก BOONDESIGN ออกแบบภายใน BOONDESIGN และ ป๊อก คบคงสันติ (เฟอร์นิเจอร์ลอยตัว) ภูมิสถาปนิก T.R.O.P : terrains + open space ออกแบบแสงสว่าง BOONDESIGN และ ป๊อก คบคงสันติ วิศวกรโครงสร้าง BOONDESIGN วิศวกรงานระบบ BOONDESIGN พื้นที่ 700 ตารางเมตร ถ่ายภาพ W Workspace เรื่อง BOONDESIGN รางวัล Iconic Awards 2019, Best of Best, Innovative Architecture, Private House Habitus House of the Year 2018, Winner, Architecture and Landscape
H1/1
14
Rabbit Residence
15
บ้านพักอาศัยของครอบครัวที่ประกอบไปด้วยสมาชิกสามคน คือ พ่อ แม่ และลูกชาย ซึ่งแนวทางการออกแบบบ้านหลังนี้เป็นไปตามโจทย์หลักสามประการที่เจ้าของบ้าน ได้ก�าหนดไว้ นั่นคือต้องการบ้านที่สามารถเติบโตไปพร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปในแต่ละช่วงชีวิตของผู้อาศัย ทั้งยังรองรับรูปแบบการอยู่ อาศัยของผู้อาศัยทั้งสองเจเนอเรชันที่ความชื่นชอบและความต้องการแตกต่างกัน ประการสุดท้ายคือบ้านหลังนี้ต้องสร้างปฏิสัมพันธ์อันใกล้ชิดกับธรรมชาติรายล้อม แม้ว่าจะตั้งอยู่ใจกลางเมืองก็ตาม บ้านสามชั้นหลังนี้ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของที่ดินทั้งหมด แต่ขณะเดียวกันปันส่วน พื้นที่เปิดโล่งส�าหรับสระว่ายน�า สนามหญ้า และต้นไม้ใหญ่นานาพันธุ์ เนื่องจาก เจ้าของบ้านเป็นภูมิสถาปนิก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวบ้านและภูมิทัศน์โดยรอบจึงเป็น สิ่งส�าคัญอย่างหนึ่งในการสร้างบ้านหลังนี้ สถาปนิกได้ออกแบบพื้นที่สีเขียวตามความ ต้องการของเจ้าของบ้าน ด้วยการแบ่งปริมาตร (volume) หรือมวลของอาคาร อาคารแบ่งออกเป็นสองส่วนที่เกี่ยวไหลลื่นต่อเนื่องกันและกัน
การแบ่งปริมาตรของบ้าน
H1/1
18 18
มุมมองจากสระว่ายน�าไปยัง คอร์ทรูปตัว V ติดกับห้องรับแขก และสามารถมองเห็นจากห้อง ท�างานชั้น 2
Rabbit Residence
19
ฝ้าของห้องรับแขกแสดงความงาม ของโครงสร้างเหล็ก
คอร์ทของอาคารรับรองเชื่อมต่อห้องนอน ระเบียง และห้องออกก�าลังกาย
H1/3
76
รูปด้านทิศตะวันออก
รูปด้านทิศเหนือ อาคารพักอาศัยหลัก
รูปตัดของอาคาร พักอาศัยหลัก
Y/A/O Residence
77
กระจกเงาในห้องน�าสะท้อนภาพสวนบริเวณ คอร์ทและสวนหลังบ้าน
กระจกเงาภายในห้องน�าสะท้อนวิวสวน บริเวณหลังบ้านเข้ามา
H1/3
78
คอร์ทบริเวณชั้นสองเชื่อมต่อฟังก์ชันต่างๆ ทั้งสี่ด้าน
Y/A/O Residence
79
H1/4
Gliding Villa
2560 / นครราชสีมา เจ้าของ วิภาต ภัคอธิคม สถาปนิก Stu/D/O Architects ออกแบบภายใน Stu/D/O Architects ภูมิสถาปนิก Field Landscape Studio ออกแบบแสงสว่าง ศิรลิ ักษณ์ ชิ้นแสงชัย วิศวกรโครงสร้าง อิทธิพล คนใจซื่อ วิศวกรงานระบบ สุธญ ั ญะ สุขพระหันต์ พื้นที่ 900 ตารางเมตร ถ่ายภาพ Spaceshift Studio / ธนัท ศักดานรเศรษฐ์ เรื่อง Stu/D/O Architects
H1/4
86
Gliding Villa
87
A B C
D E
B F
รูปขยายส่วนอาคาร
A
B
ฝ้าเพดานไม้เต็ง 1”x4” ยาว 2 เมตร บังใบเว้นร่อง
D
ธรรมดา ขอบลาด หนา 9 มม.
5 มม. ย้อมสีเข้ม บนโครงคร่าว
ฉาบรอยต่อเรียบ ทาสี โครงคร่าว
ไม้เนื้อแข็ง
เหล็กชุบสังกะสี
พื้นปูไม้สัก ขนาด 1”x4” ยาว 2 เมตร ตีเว้นร่อง 5 มม.
E
ทําย้อมสีเข้ม ด้านล่างปูมุ้ง
H1/4
Charisma รุน ่ Italian ผิวเรียบ ขนาด 600x600 มม.
ราวกันตก กระจก tempered หนา 8 มม.
พื้นปูกระเบื้อง Porcelain Renaissance สี Orino
ไนล่อนสีดํา บนตงไม้เนื้อแข็ง
C
ฝ้าเพดานยิปซัมบอร์ด ชนิด
(F7A)
F
พื้น ค.ส.ล. ทําผิวขัดมัน
104
A B C D
A B
หลังคาไม้ซีดาร์ หนา 1”
C
ฉนวนใยแก้ว หนา 50 มม.
D
แปไม้หนา 1 1/2”X1 1/2”
E
ฝ้าเพดานไม้เต็ง 1”x4”
แผ่น waterproof membrane ใช้กาวติดตั้ง
(เฉพาะภายใน)
ทุก 40 ซม.
ยาว 2 เมตร บังใบเว้นร่อง 5 มม. ย้อมสีเข้ม โครงคร่าวไม้เนื้อแข็ง อาบน�ายากันปลวก ( C3A )
E
แบบขยายชายคา
Gliding Villa
105
H1/7
OBSERVATION
นอกไปจากรูปทรงและการวางตัวที่ฉวัดเฉวียนดูท้าทายแล้ว องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม ในบ้าน Kelapa ยังมีลักษณะเด่นแปลกตาของผนังสีเขียวสนิมทองแดง และการวางตัวกัน ของหลังคาในแบบบิดหมุนและเอียงทแยง ที่ต้องการการค้นคว้าหาวิธีการพลิกและก่อสร้าง ให้ก้าวข้ามข้อจํากัดทั้งหลาย
งานผนังสีเขียว สนิมทองแดง ผนังสีสนิมทีส ่ ถาปนิกต้องการใช้ทดแทนผนัง ทองแดงสนิมเขียวทีม ่ รี าคาสูงและปัจจัย ของการเกิดสนิมเขียวทีจ ่ า � กัดจากสภาพอากาศ ของทีต ่ ั้ง จึงมีการใช้เทคนิคการท�าสีลงบน ผิวเหล็ก ไฟเบอร์ซเี มนต์ หรือผิวคอนกรีตแทน งานสีสนิม สีแดงและเขียว (Metal Effects Oxidizing Copper Paint and Green Patina) เป็นงานท�าสีสนิมด้วยการพ่น ทา และกลิง้ ทีม ่ ห ี ลายขัน ้ ตอนและใช้เวลาพอสมควร จะต้อง ปฎิบต ั ิตามวิธก ี ารอย่างเคร่งครัด เริม ่ จากการ ท�าความสะอาดโดยใช้น�ายาสีรองพืน ้ ผิวตาม ประเภทวัสดุ จากนั้นทาสี (เหล็ก ทองแดง บรอนซ์) จากนั้นท�าให้เกิดสนิมด้วยน�ายาเร่ง ท�าให้เกิดสนิมด้วยการพ่น กลิ้ง ทาน�ายา จ�านวน 3 เทีย ่ ว หลังพ่นปล่อยให้เกิดสนิม 1-12 ชัว ้ หรือกรณีทพ ี่ น ่ น�ายา ่ โมง หากอากาศชืน ชุม ่ มาก ต้องทิง้ ให้แห้งสนิทอย่างน้อย 1-3 วัน เมือ ่ ได้สนิมตามทีต ่ ้องการก็ต้องท�าการเคลือบ พืน ้ ผิว กึ่งเงา 2 เทีย ่ ว หลีกเลี่ยงขัน ้ ตอนการ ท�าให้เกิดสนิม ในวันทีฝ ่ นตกหรืออากาศ มีความชืน ้ สูง
H1/7 H1/1
ในช่วงทีป ่ ล่อยให้สนิมเกิดขึน ้ อาจท�าให้น�ายา สีสนิมไม่สามารถระเหยแห้งได้ อาจท�าให้เกิด เป็นจุดสีด�า ในระหว่างการเกิดสนิมต้องไม่ให้ น�ายาแห้งเร็วเกินไปก่อนเกิดเป็นสนิม เช่น โดนลมพัด เครือ ่ งปรับอากาศเป่า จะท�าให้สนิม เกิดน้อย ฉะนั้น ผูร้ บ ั เหมาหรือผูต ้ ด ิ ตั้งควร จะได้รบ ั การอบรมแนะน�าอย่างใกล้ชด ิ จาก ผูผ ้ ลิต รวมทัง้ จัดท�าตัวอย่างชิน ้ งาน ลองท�าสี ทีห ่ น้างาน เพือ ่ ขออนุมต ั จ ิ ากผูอ ้ อกแบบและ เจ้าของเพือ ่ ความเข้าใจและความต้องการ ทีต ่ รงกัน Modern Masters ชนิด: สีเพือ ่ การตกแต่งด้วยเทคนิคพิเศษ (สูตรน�า) รุน ่ : Metal Effects สี: สนิมเหล็ก / เขียว / ฟ้า ความหนา: 0.254 มม. ราคาต่อตารางเมตร: 680 บาท การติดตั้ง: สามารถติดตั้งได้ทง ั้ ภายใน และภายนอกอาคาร www.dynopaints.com
174
หลังคาเหล็ก
การออกแบบหลังคาลักษณะแบนเรียบ ไม่ลาด เอียง เพือ ่ ป้องกันแดดและฝนมีสองวิธี หนึ่งใน นั้นคือหลังคาค.ส.ล.หรือเรียกกันติดปากว่า หลังคา slab เป็นทีน ่ ิยมใช้มากทีส ่ ด ุ ลักษณะ เป็นงานก่อสร้างระบบเปียก มีการเทคอนกรีต ในทีพ ่ ร้อมระบบป้องกันการรัว่ ซึม ด้วยการผสม น�ายา การปูแผ่นวัสดุทบ ั หรือ การทาผิวด้วยสี หรือสารเคมีปอ ้ งกันทับอีกชัน ้ ส�าหรับบ้าน Kelapa ทีอ ่ ยูบ ่ นเขายากต่อรถ คอนกรีตส�าเร็จรูปจะเข้าถึงและโครงสร้างหลัก เป็นเหล็กรีดร้อน การเลือกใช้หลังคาทีม ่ น ี �าหนัก เบาและเป็นวัสดุสา � เร็จรูปน�ามาประกอบในไซต์ เป็นวิธท ี ส ี่ องลักษณะเป็นงานก่อสร้างระบบแห้ง การใช้เหล็กแผ่นรีดลอน เป็นวัสดุมงุ หลังคา จะให้ภาพลักษณ์บา ้ นพักอาศัยสมัยใหม่ หรูหรา แสดงออกถึงเทคโนโลยีการก่อสร้าง ทัง้ นี้ปจ ั จัยทีม ่ ผ ี ลต่อภาพลักษณ์คือ ขนาดความ กว้างลอน ลักษณะพับของลอนและสีของแผ่น หลังคา LYSAGHT® 360 SELECT SEAM™ แผ่นหลังคาระบบ Standing Seam Profile เป็นแผ่นหลังคาระบบบล็อกซ้อน 2 ชัน ้ พับ สันลอนสองรอบ ดีกว่าการยิงยึดด้วยสกรู ป้องกัน การรัว่ ซึมของน�าฝนตรงรอยหัวสกรู ไม่มแ ี ผ่น ครอบสันลอน ช่วยป้องกันน�ารัว่ ได้ดียง่ิ ขึน ้ เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์ (colorbond steel) ทีใ่ ช้ผลิตจากเหล็กเคลือบซิงคาลุม (Zincalume) เคลือบสีด้วยเทคโนโลยีระบบสี ขัน ้ สูงต้านทานการหลุดลอกและการแตก ลายงา ป้องกันฝุน ่ ละอองยึดเกาะพืน ้ ผิว
OBSERVATION
ชะล้างออกได้โดยง่ายเมือ ่ ฝนตก ด้วยเทคโนโลยีเทอร์มาเทค (Thermatech Technology) สะท้อนความร้อนจากรังสีแสง อาทิตย์ เสริมกับการใช้ฉนวนทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ ลดเสียงรบกวนยามฝนตก ประหยัดพลังงาน การท�าความเย็นภายในบ้าน
BlueScope รุน ่ Lysaght 360seam Colorbond Steel G300 0.55mm BMT International Brown NS BlueScope Lysaght (Thailand) Ltd. บริษัท เอ็นเอส บลูสโคป ไลสาจท์ (ประเทศไทย) จ�ากัด www.bluescope.co.th
175
โครงสร้างเคเบิลเหล็กที่ห้ิวขั้นบันไดที่มีความบางมาก ท�าหน้าที่เป็นราวกันตกไปในตัว
คานเหล็กแผ่นคู่ ออกแบบให้ซ่อนรางไฟ แบบส่องขึ้นด้านบนเพื่อความสว่าง กับพื้นที่โถงบันได ในขณะเดียวกัน การเปลี่ยนดวงโคมก็ทา � ได้ไม่ยากนัก เพราะระดับของการติดตั้งไม่สูงเกินไป
H1/8
190
11 7
11
8
9
10
12 6 4
14
13
3 11
11
5
2
1
16
แปลนชั้น 1
10
11 15
15 10
17 11
แปลนชั้น 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9
Infinity House
ทางเข้า ที่จอดรถ ทางเข้าภายใน ส่วนพักผ่อนหลัก ห้องรับแขก ส่วนพักผ่อน (เรือนลูก) ห้องออกก�าลังกาย ห้องนอนใหญ่ ห้องท�างาน
10 11 12 13 14 15 16 17
ห้องแต่งตัว ห้องน�า สระว่ายน�า สวน ระเบียงพักผ่อน ห้องนอน ครัว ส่วนบริการ
191
H1 / SELECTION
Poliform
แบรนด์เฟอร์นิเจอร์ Poliform จากประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี 1970 โดยพัฒนามาจากธุรกิจ ช่างฝีมอื ขนาดเล็กในเขต Brianza ทางตอนเหนือของเมืองมิลาน ที่ได้รับการถ่ายทอดฝีมือ มาตั้งแต่ปี 1942
Ego wardrobe with door lock Senzafine walk-in closet with frame side Island รุน ่ SET-UP
H1/1 H1
202
Fitted wardrobe Cover wardrobe
Poliform ได้มีการศึกษาและพัฒนา ตู้เสื้อผ้าระบบ Senzafine มาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน ให้ความสำาคัญ ทั้งในด้านคุณภาพ ฟั งก์ชันการใช้งาน และความสวยงามในการออกแบบ โดยเฉพาะความหลากหลาย ของหน้าบาน finishing หรือแม้แต่ องค์ประกอบย่อยที่เป็ น accessories ภายในตู้เสื้อผ้าก็มีให้เลือกตามรสนิยม ที่พิเศษไปกว่านั้น Poliform ได้รบ ั ความร่วมมือจากนักออกแบบหลายราย เช่น Rodolfo Dordorni, Carlo Colombo, Giuseppe Bavuso, Operadesign เพื่อให้คำาปรึกษา ่ องการตู้เสือผ้ ้ าสำาหรับ สำาหรับลูกค้าทีต้ การใช้งานแบบพิเศษ พร้อมทั้งมี การ customization level ที่สามารถ รองรับความต้องการของลูกค้า ได้มากถึงมากที่สุด ปั จจุบัน Poliform เป็ นหนึ่งในบริษัท เฟอร์นิเจอร์ชั้นนำาระดับสากลที่ได้รบ ั การยอมรับว่ามีความเชี่ยวชาญ ในการใช้เทคโนโลยีผลิตที่ทันสมัย จึงสามารถควบคุมคุณภาพของ การผลิตได้ตรงตามมาตรฐาน มีเอกลักษณ์การออกแบบที่เรียบหรู ร่วมสมัย และยังเป็ นเฟอร์นิเจอร์ Made in Italy 100% ที่ได้รบ ั การ ่ ส่งออกไปยัง 80 ประเทศทัวโลกอี กด้วย สนับสนุนข้อมูลและภาพโดย Grande Armoire www.grandearmoire.com
SELECTION
203 203
H1 / HOW TO
แสงและการรัับรู้
บ้านมักจะเป็นสถานที่ที่เราต้องการทํากิจกรรมหลากหลายอย่าง และต้องการบรรยากาศที่แตกต่างกันไปตามกิจกรรมนั้นๆ ไม่ว่าอยากจะพักผ่อนในบรรยากาศสงบแต่อบอุ่นคนเดียว หรือชวนเพื่อนๆ มาพูดคุยสังสรรค์ในบรรยากาศที่ครื้นเครงและเป็นกันเอง แสงนั้นนอกจากจะให้ความสว่างเพื่อให้มองเห็น พื้น ผนัง ฝ้า และวัตถุต่างๆ แล้ว ยังมีผลต่อการรับรู้พื้นที่และอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ อีกด้วย ในบทความนี้จึงขอนําเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่เกี่ยวกับแสง ซึ่งมีผลต่อการรับรู้ เพื่อผู้อ่านจะได้นําไปเป็นประโยชน์ในการพิจารณาการออกแบบต่อไป แสงที่ทําให้พื้นที่ ดูกว้างขึ้น
TWISTED HOUSE โดย A49HD
เช่นเดียวกับสีตา ่ งๆ ทีม ่ ผ ี ลให้พน ้ื ทีแ ่ ลดู กว้างขึน ้ แสงก็เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบ ทีม ่ ผ ี ลให้พน ื้ ทีห ่ รือสเปซแลดูกว้างขึน ้ ได้เช่นกัน แต่เนื่องจากแสงจะมองเห็น ก็ต่อเมือ ่ กระทบกับผิววัสดุ ดังนั้นพืน ้ ผิว และสีของวัสดุจึงมีความส�าคัญ เป็นอย่างยิง่
เรือ ่ ง: กริช มโนพิโมกษ์ ที่ปรึกษาออกแบบแสงสว่าง ภาพถ่าย: เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ (Rendezvous) W Workspace (Twisted House, Sugar House)
H1/1 H1
RENDEZVOUS โดย A49HD
การจัดแสงเพือ ่ ให้พน ื้ ทีด ่ ก ู ว้างขยาย มากขึน ้ นั้น สามารถให้เห็นผลได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เมือ ่ จัดสมดุลของแสง ให้เกิดความแตกต่างกันระหว่าง บน – ล่าง, ซ้าย – ขวา หรือ หน้า – หลัง ของพืน ้ ที่ เช่น การให้แสงเบาๆ ทีพ ่ น ื้ บริเวณด้านหน้าและให้แสงทัว ่ ทัง้ ผนัง ในบริเวณด้านหลัง เพือ ่ ให้พน ื้ ที่ โดยเฉพาะผนังปลายสายตานั้นแลดู ห่างและกว้างออกไป หรือ การให้แสง เบาๆ แต่ฟงุ้ กระจายกว้างๆ ไปยังผืนฝ้า ในขณะเดียวกันให้แสงสว่างทีแ ่ รง และคมชัดไปยังพืน ้ ด้านล่าง เพือ ่ ให้ผน ื ฝ้า แลดูสงู ขึน ้ และขยายขึน ้ ไปด้านบน เป็นต้น
204
แสงที่ทําให้พื้นที่ ดูลึกและมีมิติ
SUGAR HOUSE โดย A49HD
การจัดแสงเพือ ่ ให้พน ื้ ทีม ่ ม ี ต ิ ิมากขึน ้ นั้น สามารถให้เห็นผลได้ เมือ ่ จัดสมดุล ของแสงทีอ ่ ยูใ่ นระยะใกล้ และระยะไกล ให้เกิดความแตกต่างกัน โดยอาจให้ จังหวะของแสงอย่างต่อเนื่อง หรือให้มี การไล่ระดับความเข้มของแสงจากส่วน ทีส ่ ลัวไปยังส่วนทีส ่ ว่าง ทัง้ นีใ้ ห้ปลายทาง ส่วนทีล ่ ึกกว่าดูสว่างกว่าเสมอ เช่น สร้างจุดของแสงจากส่วนด้านหน้า ต่อเนื่องไปยังส่วนด้านหลังอย่างมี จังหวะ ซึง่ จะจัดอย่างเป็นระเบียบ หรืออย่างไม่เป็นระเบียบ (random) ก็ได้ จะท�าให้พน ื้ ทีน ่ ั้นดูมม ี ต ิ ิหรือมีความ ลึกมากขึน ้ หรือการไล่ระดับความเข้ม ของแสงจากส่วนสลัวไปยังส่วนสว่าง อย่างต่อเนื่อง โดยสลัวทีด ่ ้านหน้า และสว่างทีด ่ า ้ นหลัง ซึง่ อาจจะเป็นแสง ทีเ่ กิดจากการสะท้อนทางอ้อมจากการ ตกกระทบ (indirect light) ทีไ่ ล่ระดับ ความเข้มของแสง จากสว่างไปสลัวทีฝ ่ า ้ ก็สามารถท�าได้เช่นกัน
แสงที่ทําให้พื้นที่ เกิดจุดศูนย์กลาง
SUGAR HOUSE โดย A49HD
TWISTED HOUSE โดย A49HD
การจัดแสงให้พน ้ื ทีเ่ กิดจุดศูนย์กลางนั้น
HOW TO
สามารถให้เห็นผลได้ เมือ ่ ท�าให้เกิดแสง ทีส ่ ว่างท่ามกลางแสงทีส ่ ลัว และให้เกิด ความแตกต่างกันทีช ่ ด ั เจน หรือให้มแ ี สง ทีแ ่ รงและคม เพือ ่ ให้วต ั ถุบริเวณ จุดศูนย์กลางมีเงาและเงาสลัวทีค ่ มชัด โดยบริเวณรอบๆ จัดให้มแ ี สงทีแ ่ บน และเบลอ ก็เป็นอีกวิธท ี จ ี่ ะสามารถสร้าง จุดศูนย์กลางให้เกิดขึน ้ ได้ เช่น การให้ แสงเฉลี่ยเท่าๆ กันทัว ่ ทัง้ บริเวณ โดยให้ มีแสงทีส ่ ว่างเฉพาะจุดทีแ ่ รงและสว่าง บริเวณทีต ่ อ ้ งการเน้นให้เป็นจุดศูนย์กลาง ของพืน ้ ที่ จะสามารถขับให้จด ุ ทีเ่ น้นนั้น โดดเด่นขึน ้ มาจากพืน ้ ทีโ่ ดยรอบ หรือ การให้แสงโดยรอบด้วยแสงทีเ่ กิดจาก การสะท้อนทางอ้อมจากการตกกระทบ หรือแสงทีฟ ่ งุ้ กระจายจากโคมทีม ่ ว ี ส ั ดุ กระจายแสง (diffuser) เพือ ่ สร้างแสง ทีแ ่ บนและเบลอให้เฉลี่ยเท่าๆ กันทัว ่ ทัง้ บริเวณ จากนั้นให้มแ ี สงทีแ ่ รงและคม โดยแสงทีส ่ อ ่ งตกกระทบโดยตรง (direct light) จากโคมจ�าพวก สปอตไลท์หรือดาวน์ไลท์ ทีม ่ ม ี ม ุ แคบ เพือ ่ ให้บริเวณทีต ่ ้องการเน้นนั้นมีเงา และเงาสลัวทีค ่ มชัด ก็จะสามารถท�าให้ พืน ้ ทีเ่ กิดจุดศูนย์กลางทีเ่ ด่นชัด ได้เช่นเดียวกัน
เทคนิคที่น�ามาแนะน�านี้สามารถ น�ามาใช้ประกอบกันได้ ขึ้นกับ ลักษณะของแต่ละพื้นที่ องค์ประกอบ ทางสถาปัตยกรรม รวมถึงพื้นผิว สี และขนาดของวัสดุต่างๆ หรือแม้แต่ ต้องการให้มองเห็นผลลัพธ์เด่นชัด เพียงใด เพราะท้ายที่สุดแล้ว จุดประสงค์หลักของงานออกแบบ ไม่ว่าแขนงใดก็ตาม เชื่อว่าอยู่ที่ ความสุขที่ผู้ใช้สอยรับรูแ ้ ละรูส ้ ึกได้ เมื่อมาเยือนหรือใช้สอยอยู่ ณ พืน ้ ที่ นัน ้ ๆ เป็นส�าคัญ
205 205
Veyla & Eggersmann proudly present Freehold beachfront luxury villa development, One of the most prestigious and private location to beaches in Phuket
Piman 49, Sukhumvit 49 tel. +662 261 1644
H1
www.boundary.co.th ig. @b_o_u_n_d_a_r_y
232
Eggersmann made in Germany since 1908 German craftmanship driven by the vision of Bauhaus combining engineering skill with aesthetics
www.eggersmann.com
233