ส้ม

Page 1

สม

เทคนิคการทำ

เพ�อผลผลิตที่สมบูรณและมีคุณภาพ

ขั้นเทพ เทพวัฒนา ตราปลาคู @thepwatana

บริษัท เทพวัฒนา จำกัด 326 ซ.ศรีนครินทร 24 (ซ.อนามัย) ถ.ศรีนครินทร สวนหลวง 10250 โทร. 0-2721-3510 www.thepwatana.com


ปญหาที่มักเกิดประจำใน

สม

สายพันธุโชกุน หรือ สายน้ำผึ้ง


ปญหาระบบราก เน�องจากระบบรากของสมมีความสำคัญอยางยิ่ง เพราะเปนอวัยวะในการแสวงหาน้ำและธาตุอาหารจากดิน การใหธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม มักนิยมใสทางดิน เพราะตนสมจะสามารถคัดเลือกธาตุตามที่ตองการได แตปญหาที่ระบบรากนั้นมักเกิดจากมนุษย การใหสิ่งที่ตนไมไมตองการมากเกินไป ทำใหระบบของตนไมตอ งทำงานหนักมากขึน้ ในการดูดซึมธาตุทต่ี อ งการ ซึง่ การใหเฉพาะธาตุอาหารหลัก ก็จะทำใหดนิ เปนกรดจัดหรือดางจัดเกินไป จึงไประงับการละลายตัว ของธาตุอาหารรอง-เสริม ทำใหเกิดอาการขาดธาตุดังกลาวใหเห็น

การทำเขตกรรมที่ผิดกับระบบราก

หมายถึง การรบกวนสภาพแวดลอมบริเวณรากเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยเปน เชน การนำดินมาถมราก การใหน้ำมากเกินไป การระบายน้ำไมดี การสับที่รากฝอย การไถพรวนบริเวณราก การใสปุยเคมีที่รากฝอย การใสปูนในเวลาที่ ไมเหมาะสม การทำโคนเตียนโลงเกินไปทำใหรากฝอยถูกแดดเผา เหลานี้สงผลกระทบตอกิจกรรมของรากทั้งสิ้น ปริมาณของรากโดยเฉพาะรากฝอยลดลง เกิดรากตายมากยิ่งขึ้น กิจกรรมในการดูดน้ำและธาตุอาหารไมสมดุลกับสภาพใบและตนดานบน จึงมักแสดงอาการใบมวนงอ และในบางครั้งจะแสดงอาการขาดการใหธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง-เสริม ดังนั้น การสรางสภาพแวดลอมบริเวณโคนตน ผิวดิน และรากใหเหมาะสม จะชวยลดปญหาตางๆ ซึ่งสามารถทำไดโดยการเลี้ยงหญา คลุมโคนตน โดยจำกัดความสูงของหญาใหเหมาะสม โดยการใชสารกำจัดวัชพืช จะทำใหสภาพบริเวณโคนตนเปลี่ยนไป จนทำใหระบบ รากที่ผิวดินถูกทำลาย เน�องจากถูกสารกำจัดวัชพืชโดยตรง ดังนั้น การเลี้ยงหญาและวัชพืชตัดคลุมบริเวณโคนตนจะเปนการเพิ่มผิว หนาดินอยางหนึ่ง ไมควรทำโคนลาดเตียนเกินไป รากของหญาจะชวยสรางโพรงอากาศ ทำใหรากสมมีอากาศหายใจมากขึ้น โดยเฉพาะ ในหนาฝน น้ำมักจะเขาไปแทนที่โพรงอากาศในดิน ทำใหรากขาดอากาศหายใจ สภาวะดูดซึมอาหารลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งถาโครงสราง ของดินเปนดินเหนียวดวยแลว ปญหาจะยิ่งเกิดเปนทวีคูณ การแกไขโครงสรางของดิน โดยการใชรากหญาและซากหญาที่ตายคลุมนั้น มีสวนชวยใหเกิดหนาดินไดดีกวาเนื้อดินที่แทจริง การตัดหญาในขณะที่หญากำลังมีดอกแลวหวานปุยหมักทับซากหญา จะชวยใหหญายอยสลายไดเร็วขึ้น เพราะเม�อยอยสลายแลวจะทำให เกิดจุลินทรียที่เปนประโยชนเพิ่มมากขึ้น ทำใหไดธาตุอาหารที่มีคุณสมบัติที่ดีกวาจากหญา เพราะอยู ในรูปที่ตนสมยอมรับไดมากกวา เน�องจากเปนสารอินทรีย ตางจากปุยเคมีที่เปนสารอนินทรีย ซึ่งปุยหมักที่ ใช ควรพิจารณาความเปนประโยชน ความสม่ำเสมอของเนื้อ ปุยเม�อสลายตัวหมดแลวตองมีจำนวนมากพอที่จะใชได มีชิ้นเนื้อหยาบ มีความชื้นพอเหมาะ ใหความเปนกรดเปนดางที่เหมาะสม เพราะ การยอยสลายของหญามักเกิดกรด การใสปุยเคมีไวบนซากหญาจะใหผลดีกวาใสไวบนรากสม เน�องจากปุยสวนใหญมีความเขมขนสูง อาจทำใหรากบนผิวหนาดินเนาได ซึ่ง การใสปุยบนซากหญานั้นทำใหรากสมและรากหญาคอยๆดูดซับรวมกัน โดยสวนหนึ่งของปุย สมจะไดรับโดยตรง อีกสวนหนึ่งจะถูก ดูดซับโดยหญา ซึ่งมิไดสูญเสียไปกับการถูกตรึงโดยดิน แตหญานั้นดูดไปใชเพ�อการเจริญเติบโต


ความยาก

สม

การใสปุยหรือธาตุอาหารหลัก มีสวนรบกวนกิจกรรมของรากทั้งทางตรงและทางออม มีผลตอ การพัฒนาของตนและผลสม แตก็มีความจำเปนที่ตองใส โดยตองใส ใหถูกอัตราสวนและชวงเวลา และ ตองทำความเขาใจถึงผลขางเคียงที่จะตามมา ซึ่งมักจะเกิดจากปุย ชนิดนั้นละลายตัวเองแลวกลายเปนสารละลาย ที่เปนกรดหรือดาง โดยสวนมากปุยที่ละลายตัวจะเปนกรด ทำใหดินมีคา pH เปลี่ยนไปถึง 15 วัน สวนปุยที่มีการละลายตัวเปนดาง แตหากมีแคลเซียมสูงในองคประกอบก็จะไมทำใหคา pH เปลี่ยนแปลงไปมากนัก

ไนโตรเจน

มีการใหกับสมในหลายสูตร เชน 15-0-0, 21-0-0, 46-0-0, โปแทสเซียม ทำใหคุณภาพของผลสมไมดี ในชวงเก็บเกี่ยว 16-16-16, 15-15-15, 15-0-14, เปอรกา (19-0-0+35 สวน แคลเซียม ไซยานาไมด จะสลายตัวใหธาตุไนโตรเจนพรอม กับแคลเซียมไดนานถึง 4 เดือน แตก็มีผลเสียตอคุณภาพของสม แคลเซียม) ซึ่งสามารถแบงกวางๆ โดยหลักพื้นฐานของรูปไนโตรเจน ไดแก นอยกวา แอมโมเนียม เพราะมีแคลเซียมที่สูงกวาทำใหคุณภาพ ไนเตรท แอมโมเนียม แคลเซียมไซยานาไมด เราควรเขาใจหลัก ของเนื้อสมดีกวา เน�องจากการเจริญเติบโตของตนสมและผลสม การสลายตัวของแตละรูปซึ่ง ไนเตรท นั้นจะใหไนโตรเจนที่ซึมเขาสู เกิดจาก ไนโตรเจนและแคลเซียม ในปริมาณที่สูงทั้งในเนื้อเย�อและ ตนและสลายตัวเร็วดังนัน้ ดินจึงถูกชะลางไดงา ย สวน แอมโมเนียม องคประกอบ ฉะนั้นการเลือกใชปุยไนโตรเจนที่เหมาะสมในสม ตอง มักสลายตัวใหธาตุไนโตรเจนในรูปของไนเตรทและแอมโมเนียม พิจาณาถึงวิธีการลดผลเสียเน�องจากการใชไนโตรเจนในรูปตางๆ เน�องจากแอมโมเนียมสลายตัวชา จึงใหธาตุไนโตรเจนไมทันในระยะ ทีม่ ผี ลขางเคียง แตไมควรลืมวาไนโตรเจนทีม่ าจากธรรมชาติ (น้ำฝน) บางทีมปี ริมาณมากเกินไปในชวงที่ ไมตอ งการก็จะสงผลเสียเชนกัน เวลาที่พืชพัฒนาผลออน และมีผลรบกวนธาตุฟอสฟอรัส และ >> ไนโตรเจน << มีผลสงเสริม ในการดูดซึมธาตุแมกนีเซียม มีผลตอตาน การดูดซึมของธาตุโพแทสเซียม โบรอน และ ทองแดง ฉะนั้น ปุยไนโตรเจนที่จะแนะนำใหใชคือ เปอรกา อัตราใช 1-2 กิโลกรัมตอตน ในชวงผลออน 1-4 เดือนแรกหลังดอกบาน ใสรวมกับ ยูทา 10 อัตราใช 500 กรัมตอตน และใสเพ�อเรงผลอีกครั้งดวย เปอรกา อัตราใช 1 กิโลกรัมตอตน หรือใส แคลเซียมไนเตรท อัตราใช 500 กรัมตอตน หางกัน 15 วันตอครั้ง ใสประมาณ 4-6 ครั้ง

ฟอสฟอรัส

เปนธาตุที่ ใชในการเรงการออกดอกสำหรับสม เปนตัวชวยทำให การใสปุยที่มีฟอสฟอรัสมากเกินไปจะมีผลใหพืชขาดธาตุสังกะสี คุณภาพของเนื้อเย�อสมดีขึ้น คือ ชานสม หรือกากนิ่ม กรอบ ไปดวย ทำใหผลออนสมแตกในชวงขยายขนาดผล นอกจากนี้ ปุย ชวนรับประทาน ฟอสฟอรัสที่นิยมใชมีหลายสูตร เชน 8-24-24, ฟอสฟอรัสบางชนิด เม�อสลายตัวเปนกรดจัดทำใหดินปลอยธาตุ 14-14-21, 16-16-16, 12-24-12, โทมัสคาลี (0-9-20), ซุเปอร อาหารเสริมในสารละลายดินต่ำ ตนสมก็จะขาดธาตุอาหารเสริมอ�นๆ ตามมา การดูดซึมธาตุฟอสฟอรัสของผลสมจะไดประสิทธิภาพดี ฟอสเฟต, ทริปเปลฟอสเฟต, 0-3-0 ฟอสฟอรัส มักสลายตัวยาก ชะลางนอย แตกลับถูกตรึงอยู ใน ก็ตอเม�อมี แมกนีเซียม ในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอ แตถาขาด แมกนีเซียม สมก็จะไดรบั ฟอสฟอรัสนอยถึงแมจะใหในดินมากก็ตาม ดินมากกวา อีกทั้งชอบรวมตัวกับธาตุอาหารเสริม เชน สังกะสี >> ฟอสฟอรัส << การใหฟอสฟอรัสทางใบ เปนการใหที่มีประสิทธิภาพที่สุด ซึ่งมีการสูญเสียและผลขางเคียงที่ต่ำ ฉะนั้น ปุยฟอสฟอรัสที่แนะนำใหใชในสมคือ แมมมอท สุพรีม (0-28-18) ฉีดพนทางใบอัตราใช 20 ซีซี.ตอน้ำ 20 ลิตร ในชวงผลเล็ก และชวงกอนเก็บเกี่ยว 2 เดือน ใชรวมกับ ยูทา 10 อัตราใช 500 กรัมตอตน เพ�อเรงสี เรงสุก นอกจากนี้การใช แมมมอท สุพรีม ฉีดพนในชวงหนาฝนหรือมีฝนตกหนักติดตอกันนานๆ จะชวยปรับสมดุลของธาตุอาหารภายในตน เพ�อปองกันอาการใบบาง เปลือกบาง ลดการเขาทำลายของแบคทีเรียได การเกิดโรคแคงเกอรจากเชื้อแบคทีเรียจะลดลง เปลือกจะหนา ตอมน้ำมันที่ผิวจะแนน คุมการเขาของ น้ำที่เปลือกได ลดการติดเชื้อที่เปลือก ตนเหตุอาการแตมเหลือง หรือดาวกระจายที่จะทำใหเกิดอาการผลแตกตามมา


โพแทสเซียม

เปนธาตุอาหารที่ ใชในการสรางน้ำตาล ความหวาน เปลี่ยนจากกรด โพแทสเซียม จะถูกดูดซึมเขาสูตนไดนอย เน�องจากการลดการให เปนน้ำตาล ลดบทบาทของธาตุไนโตรเจนทางดานการเจริญเติบโต น้ำตนสม ซึ่งเปนการลดบทบาทของไนโตรเจน สงผลใหพืชได ขยายขนาดผล เรงการเก็บเกี่ยวใหไดเร็ว ปุยทางดินที่ ใชกับสม โพแทสเซียมไมเพียงพอ ดังนั้นคุณภาพของผลสมจึงไมดี เพราะ ไนโตรเจนกับโพแทสเซียมทำงานมีผลตอกันและกัน แตหากมี เชน 0-0-30, 0-9-20+3, 15-0-14, 0-0-22+18, 13-0-46 มีความเขาใจวา ถาใสโพแทสเซียมแลวสมจะหวานทันที แตทจ่ี ริงตอง โพแทสเซียมมากเกินไป จะกลายเปนลดบทบาทของไนโตรเจน จึง ใชเวลาในการเปลี่ยนแปลง เพราะความหวานของสมเกิดจากการ จำเปนตองใส ใหถูกชวงระยะเวลา เปลีย่ นกรดเปนน้ำตาล ซึง่ ตางจากผลไมอน� ๆ ทีเ่ ปลีย่ นจากแปงเปน ปญหาในการเคล�อนยายโพแทสเซียมที่ ไมดี เกิดจากการขาดธาตุ น้ำตาล รวมทัง้ การใหโพแทสเซียมทีผ่ ดิ จังหวะในชวงขยายขนาดผล ทองแดง โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีไนโตรเจนมากเกินไป จะทำใหทอ ดวยแลว จะสงผลใหผลสมเล็ก แตหากใสชา ไปในชวงทีส่ ม กำลังสุก น้ำ ทออาหารออนแอ เพราะขาดธาตุทองแดงในการสรางลิกนิน >> โพแทสเซียม << มีผลสงเสริม การดูดซึมธาตุเหล็ก และ แมงกานีส มีผลตอตาน การดูดซึมของธาตุโบรอน และ แมกนีเซียม ฉะนั้น ปุยโพแทสเซียมที่แนะนำใหใชในสมคือ แมมมอท สุพรีม (0-28-18) ฉีดพนทางใบอัตราใช 20 ซีซี.ตอน้ำ 20 ลิตร ฉีดพนเดือนละ 1 ครั้ง เพ�อใหมีธาตุฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เพียงพอในการใช หากในระยะเรงสุกหรือตองการใหออกดอกมาก หรือในชวงฝนตก หนักติดตอกันนาน การเพิ่มอัตราใช 2-3 เทา จะชวยใหไดผลตามที่ตองการไดเร็วขึ้น หากตองการใหสมหวานจัดกอนการเก็บเกี่ยวใหใช แมมมอท สุพรีม (0-0-30) อัตราใช 20-40 ซีซี.ตอน้ำ 20 ลิตร รวมกับ แมมมอท แคลเซียม โบรอน และ แมมมอท แม็กนีเซียม จะไดสมที่สุกเร็วและหวานจัด

แมกนีเซียม

เปนธาตุที่จำเปนอยางมากโดยเฉพาะในสมโชกุนและสมสายน้ำผึ้ง มักพบปญหากลีบแฉะ เพราะเป น ธาตุ ท ี ่ ช ี ้ ข าดทางด า นคุ ณ ภาพของผลส ม เลยก็ ว  า ได ซึ่งการขาดธาตุ แมกนีเซียม จะกอใหเกิดปญหาลูกโซตามมาหลาย แมกนีเซียม เปนสิ่งจำเปนตอสมในทุกๆ สวนทั้งราก ตน ใบ และ อยาง คือ แมกนีเซียมสวนมากจะอยู ในสารละลายของเซลล อีกสวน ผล เพราะแมกนีเซียมเปนธาตุทอ่ี ยู ในโครงสรางเม็ดสีทกุ ชนิดในสม จะอยูในโครงสรางการสังเคราะหแสง เม�อมีฝนตกมากทำใหการสะสม ในใบ เปลือก และน้ำสม อีกทัง้ ยังเปนธาตุทจ่ี ำเปนตอระบบการหายใจ ไนโตรเจนก็มากดวย ดังนั้นแมกนีเซียมอิสระในสารละลายจะลดต่ำ ของราก เปนเม็ดสีของโครงสรางการสังเคราะหแสง ธาตุอาหาร ลงมาก เกิดความไมสมดุลของธาตุอาหาร ใบสังเคราะหแสงนอย หลักทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียม ซึ่งเหลานี้ตองใช ลงเพราะมีความเขมของแสงต่ำ จึงทำใหมีอาหารไปเลี้ยงรากไมพอ ขาดอาหาร และการดูดซึมธาตุแมกนีเซียมมาชดเชยก็ยังนอยไปอีก แมกนีเซียมไปรวมดวยในหลายองคประกอบ ลักษณะเฉพาะของ แมกนีเซียม คือ สามารถเคล�อนยายไดดี จึง หากดินยิ่งเปนกรดมากก็ยิ่งทำใหขาดธาตุมากขึ้นไปอีก และยิ่งทำให มักเห็นการขาดในสวนใบเกาแกของตน แตหากเกิดการขาดมากจะ ความจำเปนที่จะใหธาตุแมกนีเซียมในการสรางเม็ดสีของผลสมจะ ทำใหสม ทิง้ ใบเร็วเกินไป หากรุนแรงมากสมจะแสดงอาการใบเหลือง มากขึ้นไปดวย การขาดธาตุจะทวีความรุนแรงจนบางทีการเปลี่ยน มวนหอทั้งตน ซึ่งมักเกิดมากในชวงที่สมใกลสุก หรือบางครั้งใน สีขณะสุกของสม จะดึงมาจากโครงสรางการสังเคราะหแสง ทำให ระยะแรกของการสุกแกของสมไมพรอมกัน ผลไหนสุกกอนก็จะได เกิดอาการใบรวงมากตามไปดวย เม�อใบรวงมาก รากก็จะขาดอาหาร ธาตุแมกนีเซียมครบไดเก็บเกี่ยวไปกอน สวนผลสมหลังๆ ก็จะขาด มากไปกวาเดิม อาการตนโทรมจะยิง่ ปรากฎใหเห็นชัดเจนขึน้ ผลรวง ธาตุแมกนีเซียมเกิดปญหาผลนิ่ม ไมเขาสี จืด หรือมีรสเปรี้ยว และ ขั้วเหลือง กนเหลือง แสดงอาการขาดแคลเซียมรวมดวยชัดเจน >> แมกนีเซียม << มีผลสงเสริม การดูดซึมธาตุฟอสฟอรัส มีผลตอตาน การดูดซึมของธาตุโพแทสเซียม แมกนีเซียม ที่นิยมใชกับตน ไดแก แมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมไนเตรท การใหทางดิน แมกนีเซียมในรูปคีเลท (ยูทา10) สวนทางใบ แมกนีเซียมซัลเฟอร ในรูปคีเลท (แมมมอท แม็กนีเซียม) เพราะเปนการใหแมกนีเซียมอยางถูกวิธีและมีประโยชน เน�องจากตนสม มักตองการแมกนีเซียมในการรักษาสมดุลของไนโตรเจน หากใหแมกนีเซียมไนเตรทจะไมเกิดประโยชนจากแมกนีเซียมอยางเพียงพอ เพราะ ไนโตรเจนมักมีเกินกวาแมกนีเซียมที่ตนจะรับมือไหว สวนการใหแมกนีเซียมทางดินจะชวยในการฟนตัว สรางความแข็งแรงของรากและ ใบออนใหม สวนการเรงสี เรงสุกนั้น จำเปนตองใชแมกนีเซียมอยางมาก ประกอบกับถูกปุยโพแทสเซียมกดการดูดซึมเขาสูราก และจะ แสดงอาการขาดธาตุรุนแรงปจจุบันทันที ในระยะนี้อยางมาก จะเกิดใบรวงและผลรวงมากจนนาตกใจ จึงแนะนำใหใส ยูทา 10 ทางดิน อัตราใช 500 กรัมตอตน ในระยะฟนตนและระยะเรงสี เรงสุก พรอมกับการฉีดพน แมมมอท สุพรีม


ความยาก

สม

แคลเซียม โบรอน และ โมลิบดินั่ม

เปนธาตุอาหารที่จำเปนในการควบคุมและยกระดับคุณภาพของผลสมใหสูงสุดได แตจุดออนของการใหธาตุนี้ คือ เกิดการ เคล�อนยายไดนอยมาก จึงแสดงผลไดดีมาก จากการฉีดพนทางใบโดยเฉพาะการใช แคลเซียม โบรอน ผสม โมลิบดินั่ม ที่ดีที่สุด คือ โมสาท บี-พลัส เพราะมี แคลเซียม ในอัตรา 6% W/W โบรอน อัตรา 2% W/W และ โมลิบดินั่ม 0.2% W/W ซึ่งเปน ตัวเรงปฏิกริ ยิ าการเปลีย่ นไนโตรเจนใหเปนประโยชน โดยเหลือไนโตรเจนไวในสารละลายของเซลล ในภาวะทีส่ มดุลทีส่ ดุ เพ�อใหเกิดคุณภาพ ที่ดีที่สุด เพราะเวลาสมใกลสุกหรือสุกจัดแลวก็ตองคงคุณภาพใหสมดุลมากที่สุด หากเสียสมดุลไปเน�องจากไนโตรเจนจะกอใหเกิดปญหา หลายอยางตามมา เชน หัวจุก เปลือกเหอ เนื้อขาว ฝาม น้ำคางไส กลีบแฉะ ชานเหนียว การรักษาสมดุลน้ำในผลไมดี รสชาติไมเขมขน - แคลเซียม ลดการดูดซึมธาตุโปแตสเซียม โบรอน เหล็ก แมงกานีส แมกนีเซียม - โบรอน จะดูดซึมไดนอยมาก เพราะมีโปแตสเซียม แคลเซียม ไนโตรเจนในดินมาก แนะนำใหใช โมสาท บี-พลัส หรือ แมมมอท แคลเซียม โบรอน ฉีดพนทางใบอยางสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในชวงฝนตกหนัก และชวงเรงสี เรงสุก อัตราใช 30 ซีซี.ตอน้ำ 20 ลิตร แต ในชวงวิกฤติหรือตองการใหเรงสุกมากใหใชอัตรา 50-80 ซีซี.ตอน้ำ 20 ลิตร รวมกับ แมมมอท สุพรีม 0-0-30 จะทำใหไดสมรสหวานจัด

เหล็ก สังกะสี และ แมงกานีส

เปนธาตุอาหารที่ ใชในการเพิ่มสารสีเขียวเนื้อเย�อในสม ใหฉีดพน ทางใบดวย โมสาท ดีซ หรือ แมมมอท คอมบิ โดยเนนในชวง ระยะใบออน ควรฉีดพนเปนประจำ เพ�อใหเกิดความสม่ำเสมอและ สะสมธาตุอาหารที่ ใบไวเพียงพอ การใหทางดินก็จะนอยหากใชปุย ทางดินอยางถูกวิธี และจะไมรบกวนธาตุอาหารเหลานี้มากนัก แต การใหทางใบจะเกิดประโยชนเม�อฉีดพนใหทั่วถึงทุกสวนของใบบน ตน แนะนำใหใช โมสาท ดีซ หรือ แมมมอท คอมบิ อัตราใช 50 ซีซี. ตอน้ำ 20 ลิตร ซึ่งโดยมากสมจะแสดงอาการขาดมากในระยะหลัง

คอปเปอร

เปนธาตุอาหารเสริมที่จำเปนมาก เพราะคอปเปอรเปนธาตุตัวรวม ปฏิกิริยาตางๆ ของการสังเคราะหแสงและการเผาผลาญพลังงาน ของเซลล คอปเปอร เปนองคประกอบหลักในการสังเคราะหลกิ นิน ซึ ่ ง เป น ส ว นของสารสี น ้ ำ ตาลที ่ เ พิ ่ ม ความแข็ ง แรงของท อ น้ ำ ทออาหาร คอปเปอรจะมีความจำเปนผกผันตามปริมาณไนโตรเจน หากมีไนโตรเจนมากความจำเปนในการใชคอปเปอรก็จะยิ่งมากตาม แตก็มักจะขาดแคลนเสมอ จึงทำใหทอน้ำ ทออาหารไมแข็งแรง กิ่ง ใหมมักจะชะลูด เม�อมีผลและน้ำหนักเพิ่มขึ้น กิ่งก็จะโคงงอ ทอน้ำ ทออาหารจึงโคงงอบิดเกลียว ทำใหการเดินของธาตุอาหารไมดีเทา ที่ควร สวนใบจะแสดงอาการปลายบิดไมรับแสง ใบหอ ใบลู มัก แสดงอาการขาดโพแทสเซียมที่ผลและใบ เพราะธาตุอาหารเดินไปไม

เก็บเกี่ยว จึงจำเปนตองเรงใหในระยะที่แตกยอดและดอกครั้งแรก เปนจำนวนมาก เพราะใบออน ดอกออน และผลออน ในระยะที่ผาน หนาวมา สมตองการธาตุอาหารเหลานี้อยางมากและโดยเร็วที่สุด เพ�อใหสวนของใบออนมีขนาดใหญและหนาแข็งแรง เพ�อทำการ สังเคราะหแสง คายน้ำ และรับธาตุอาหารใหเร็วที่สุดเพ�อมาเลี้ยงผล ออนที่จะออกมาพรอมกันไปดวย กลไกการเจริญเติบโตของสมจะ พัฒนาเร็วมากในระยะนี้ รวมทั้งในสวนของดินและราก ซึ่งถาเราให ธาตุอาหารครบอยางรวดเร็วและมากเพียงพอ ก็จะทำใหตน สมเจริญ เติบโตไดอยางสมบูรณมากที่สุด

ถึงปลายยอดและผลถึงแมจะใสโพแทสเซียมมากทางดินก็ตาม แต การเคล�อนยายไมสำเร็จเพราะระบบทอลำเลียงไมดี การให คอปเปอร ควรฉีดพนทางใบในระยะแตกยอดใบ โดยเฉลี่ย เดือนละ 1 ครั้ง แนะนำใหใช โมสาท คอปเปอร เพราะเปนธาตุอาหารที่ถูกทำใหอยู ในรูปคีเลทซึ่งเหมาะสมแกการดูดซึม การจะรอใหคอปเปอรที่ ใชใน การเปนยาฆาเชือ้ รา สลายตัวเขาสูต น นัน้ คอนขางยากมากไมเหมาะสม และไมเพียงพอตอความตองการของสม เพราะสมจะยอมรับ คอปเปอร ในรูปเคมีเขาสู ใบไดนอยมาก และคอปเปอรจะถูกดูดซึม ต่ำเม�อดินมีไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสูง


สม

ปญหาการตัดแตงกิ่งผิดวิธี ใน สงผลอยางไร?

ธรรมชาติโดยพื้นฐานของสมสายพันธุโชกุน หรือสายน้ำผึ้ง จะมีการเจริญเติบโต ของกิ่งน้ำคางมากกวากิ่งดานขาง จึงทำใหโครงสรางตนสูง กิ่งชะลูดมากการออก ดอก ติดผล จึงเกิดที่ปลายยอดของกิ่งกระโดงเปนจำนวนมาก หากมีการแตงกิ่ง นอยและไมไดจัดโครงสรางตนมา ซึ่งบางสวนอาจชอบ เพราะทำใหดอกออกดก และมีจำนวนมาก เปนกระจุกพวงที่ปลายยอด แตผลที่จะเกิดจากกิ่งน้ำคางเหลานี้ มักพบวาทำใหไดผลสมที่มีคุณภาพต่ำ และมักเกิดปญหามากเม�อผลสมสุกและเก็บ ขายในชวงฤดูฝน แตจะพบปญหานอยมากหากเก็บในชวงตรุษจีน ยกเวนเม�อเริ่ม มีฝนตก คุณภาพของสมก็จะต่ำอยางรวดเร็ว อาการที่พบบอยคือ เปลือกพอง หัวขาว เนื้อสมเปนขาวสาร ฝาม และแดดเผาจำนวนมาก หวานนอย กลีบแฉะ เหม็นบูด ซึ่งเปนสิ่งที่ตลาดไมตองการ ปญหาที่เกิดนี้หากวิเคราะหวา ขาดปุยโปแตสเซียมที่ผลสม ขาดแคลเซียม โบรอน และธาตุอน� ๆ หรือไมกเ็ กิดจากการไดรบั ธาตุไนโตรเจนตกคางก็คงไมผดิ เพราะอาการ ดังกลาวเกิดลักษณะนั้นจริง แตหากสังเกตดีๆ แลว อาการมักเกิดกับผลสมที่อยู บนกิ่งน้ำคาง หรือกิ่งชะลูด เพราะเม�อผลสมมีน้ำหนักมากขึ้นกิ่งจะโนม โคงงอ และ บางกิ่งบิดเปนเกลียว ซึ่งมักจะเกิดสูงจากพื้นดินมากกวา 2 เมตร และยังพบวาใบ บิดอีกดวย ทำใหรับแสงแดดไดไมเต็มที่ แสดงอาการใบหอเหลือง มีอาการไหมที่ ปลายใบ

กิ่งมุมแคบ 4 กิ่งน้ำคาง 5 หรือกิ่งกระโดง 6

กิ่งไขวชี้ผิดทิศทาง

ก 3 กิที่ง่ขเล็ ึ้นแซม

2 กิ่งซอนทับกัน

1 กิ่งใหมจากตาดานบน

การแสดงอาการดังกลาวและปญหาที่เกิดขึ้นมานั้นเกิดจากการไวกิ่งชะลูดทั้งสิ้น เพราะกิ่งชะลูดเปนกิ่งที่เจริญเติบโตเร็วจากอิทธิพลของไนโตรเจน และขมกิ่งที่ทำ มุมกวางออกไปจากแนวตนใหแหงตายหมดไปได อีกทั้งกิ่งชะลูดมีการเติบโตเร็ว ทำใหระบบทอลำเลียงไมแข็งแรงพอ เพราะการดูดซึมคอปเปอรไมพอใชสรางความ แข็งแรงใหกับทอลำเลียงได เม�อกิ่งชะลูดสูงมากๆ มักจะออกดอกเพราะปลายยอด ขาดน้ำ สงผลใหระดับของคารบอนตอไนโตรเจนมีเพียงพอที่จะออกดอก ติดผล แตเม�อผลมีน้ำหนักมากขึ้น กิ่งโคงงอ การสงผานของน้ำและธาตุอาหารจากรากสู ปลายยอดและผลทำไดลำบากยิ่งขึ้น จึงไมแปลกที่พืชจะแสดงอาการขาดน้ำ ขาด ธาตุอาหารใหเห็น

วิธีการแกที่ปลายเหตุ

ฉีดพนทางใบดวย โมสาท คอปเปอร ในขณะติดผลเปนระยะๆ และเสริมดวย ธาตุอาหารตางๆ

วิธีการแกที่ตนเหตุ

ลักษณะของกิ่งชนิดตางๆ ที่ควรตัดออก

ทำไดโดยการตัดแตงกิ่งเหลานั้นออกไปตั้งแตแรก ใหเลี้ยงกิ่งที่ทำมุมขนานกับตน แทน ใหทรงพุมแผออกไปรับแดดใหมากที่สุด

หลักการตัดแตงกิ่ง สรุปคราวๆ ไดดังนี้ ตัดกิ่งกระโดง กิ่งที่ตั้งฉากกับพื้นดิน กิ่งน้ำคาง กิ่งที่แทงแทรกในทรงพุม กิ่งแหง กิ่งตาย หรือกิ่งนอกทรงพุม ที่บังกิ่งนอกทรงพุมอ�นดวยกัน จนไมสามารถแยกชั้นทรงพุมได กิ่งที่บังกิ่งอ�นไม ใหถูกแสงแดด เหลานี้ ใหตัดออกใหหมด


สภาพอากาศที่ ไมแนนอน

สงผลอยางไรตอ สม

สภาพอากาศที ่ ไ ม แ น น อนและไม ส ามารถ คาดเดาไดทำใหเกิ​ิดปญหาที่ ไมคาดคิดได เชน โรค หรือแมลงที่ ไมนา จะระบาดรุนแรง กลับสรางความเสียหาย มากมาย ซ้ำรายความสมดุลของธาตุอาหารที่มีผลตอคุณภาพ ของผลผลิตมีอนั ตองเสียไปดวย เพราะฝนทีต่ กยืดเยือ้ ผิดฤดูกาล แสงแดดที่นาจะพอเพียงก็ตองถูกบดบังไปเพราะเมฆหมอก จึงควรนำ มาเปนจุดวิเคราะห เพ�อหาแนวทางที่ ใชบรรเทาปญหามากกวาจะเปนสิ่ง ที่คิดวามนุษยนั้นไมสามารถเอาชนะได ซึ่งเกษตรกรตองปรับตัวเขาหา ธรรมชาติ พืชเองก็ตองมีการปรับตัวใหเขากับธรรมชาติในสภาวะที่เปลี่ยนแปลง อยูตลอดเวลา เพราะพืชเองไมสามารถเคล�อนที่ ไปหาสิ่งที่ตองการได ดังนัน้ พืชจึงแสดงออกตอปจจัยตางๆ ทีเ่ ขามาสูต นเอง และการทีม่ นุษย แสวงหาเก็บเกี่ยวผลสุกลูกไมจากพืช และมีการใหปจจัยการผลิต เพ�อ ใหเกิดผลผลิตที่ ไปสูการไดประโยชนของมนุษยมากที่สุด แตเม�อสภาวะ อากาศไมวา จะฝนตกหรือแดดออก ซึง่ เปนสิง่ ทีม่ นุษยไมไมสามารถจัดหา ใหพืชกลางแจงได ธาตุอาหารก็จะเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะ ไนโตรเจน ทีม่ ากับน้ำฝน หรือปริมาณน้ำทีท่ ำใหการละลายตัวของธาตุตา งออกมา อยางไมเหมาะสมกับเวลาและโอกาส จึงมีผลตอการปรับตัวของพืชเอง จนเกิดผลผลิตที่ ไมพึงประสงคกับที่เราตองการ เชน สมสายน้ำผึ้งมี ผลผลิตถูกผลกระทบจากสภาพอากาศที่ ไมแนนอน ทำใหปริมาณผล ขนาดผล คุณภาพผลไมเปนไปตามที่คาดไวไดอยางไร? อากาศหนาวที่เขาๆ ออกๆ รวมกับฝนตกดวยแลว ทำใหสมมีสภาวะที่ ตองปรับตัวบอยมาก จนทำใหมีอาการเปลือกบวม เนื้อฟาม กลีบแฉะ น้ำคางไส ประากฎใหเห็นอยางชัดเจน ซึ่งแตเดิมจะเกิดก็ตอเม�อหมด อากาศหนาวเริ่มมีอากาศอุนขึ้นแลวเทานั้น ดังนั้น เรามาวิเคราะห สภาพอากาศปกติ กันกอน ถาอากาศหนาวเร็ว (ตัง้ แตเดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนมกราคม) เปนสภาพอากาศทีเ่ หมาะ

ในการทำใหสมสุกไดอยางมีคุณภาพ เพราะธาตุตางๆ ทำงานไดทันกับ ไนโตรเจนที่เขาสูตนพืช การสะสมกรดและเปลี่ยนกรดเปนน้ำตาลไดมาก โดยไมถกู ดึงไปใชในการลดความเปนพิษจากไนโตรเจน พืชจึงมีการขยาย ขนาดลดลงแตมีความเขมขนของน้ำตาลในผลมากขึ้น จึงทำใหคุณภาพ ของสมในตอนนี้ดีสุด เพราะธรรมชาติและสภาพอากาศเปนใจอยางยิ่ง แต ในทางกลับกันที่ สภาวะอากาศที่แปรปรวน ไนโตรเจนแสดงผล อยูตลอดเวลา ผลสมตองเสียคารโบไฮเดรตจำนวนมากในการจับกับ ไนโตรเจนสวนเกินจึงทำใหผลสมมีรสชาติไมเขมขน และเม�อไนโตรเจน รวมกับคารโบไฮเดรตจะเปลี่ยนเปนสารที่กระตุนการสรางเนื้อเย�อใหม ที่บริเวณขั้วผลแสดงอาการหัวขาว แตหากมีคารโบไฮเดรตเพียงพอก็ จะมีเพียงเนือ้ ไตเปนเม็ดขาวสาร แตหากมีคารโบไฮเดรตไมพอและยังขาด ธาตุอ�นๆ ดวย เชน โบรอน แคลเซียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม อาการ ก็จะรุนแรงไปจนถึงผลเสียทั้งผล หรือเกิดอาการหลุดรวงและเสียหาย มาก ในขณะที่เปลือกถูกกระตุนใหมีการขยายขนาด เปลือกจะหนาและฟู จึงเกิดอาการ เปลือกเหอและแยกจากเนื้อ เพราะเปลือกสมสูญเสีย แคลเซียม โบรอน และ แมกนีเซียม ไปรวมตัวกับไนโตรเจน จน ทำใหการสะสมของธาตุดงั กลาวต่ำ เนือ้ เย�อของเปลือกเกาะกันไมเหนียว แนนพอ ความมันหรือไขของเปลือกสมนอยลง จนทำใหน้ำสามารถ ผานเขาไปใตเปลือกได ซึ่งเชื้อโรคพืชตางๆ จะสามารถผานเขาไปสราง ความเสียหายได ซึ่งการเสียหายจากโรคก็จะมากดวยเชนกัน ปญหาตางๆ เหมือนวาจะมาจาก ปริมาณน้ำหรือฝนที่มากเกินไป หรือ ปุยไนโตรเจนที่ละลายตัวออกมามากเม�อมีน้ำมาก จนทำให เกิด แอมโมเนียตกคางในเนื้อเย�อ จึงจำเปนตองใหปุยฟอสเฟต โพแทสเซียม แมกนีเซียมมากเพียงพอ (แมมมอท สุพรีม) ตัง้ แต เดือนตุลาคมของทุกป และฉีดพนทางใบเพิ่มเติมดวย โมสาท บี-พลัส โมสาท แม็ก และ โมสาท ดีซ เพ�อชดเชยธาตุที่ ใชจับไนโตรเจน โดยยังมีธาตุเพียงพอ

หากกลัววาการใหปุยฟอสเฟตและโพแทสเซียมเร็วเกินไปจะมีผลตอการขยายขนาดผล การเลือกใชปุยไนเตรทในการเพิ่มไนโตรเจนจะดีกวาให แอมโมเนียม เพราะพืชสามารถสะสมไนเตรทโดยที่ ไมเปนพิษเหมือนแอมโมเนียม ซึ่งไนเตรทสามารถเก็บไวในเนื้อเย�อและทะยอยปลดปลอยออก มาไดเม�อมีธาตุเพียงพอ การจัดการไวผลในตำแหนงที่เหมาะสมจะชวยในการจัดการธาตุอาหารไดเหมือนกัน เพราะผลที่อยูบนกิ่งกระโดง หรือกิ่ง ที่ตั้งฉากกับพืช มักมีการสะสมของไนโตรเจนในผลมากกวาเปนเพราะกิ่งกระโดงมักโคงงอเม�อผลมีน้ำหนัก ทอลำเลียงจึงไมสามารถนำธาตุอาหาร เดินทางไดสะดวก ความสมดุลที่ผลปลายกิ่งยิ่งเกิดขึ้นไดยาก เพราะธาตุที่เคล�อนที่ ไดดีและเร็วมีเพียงไนโตรเจน แตธาตุอ�นๆ กลับตามไมทัน คุณภาพผลที่ ไมดีจึงมีมากหากติดผลบนกิ่งกระโดงเยอะ ถากิ่งแนนทึบถูกแสงแดดไมทั่วถึงคุณภาพผลสมก็​็จะไมดี ซ้ำรายหากมีตะไครน้ำขึ้นตาม กิ่งในทรงพุม ความชื้นในทรงพุมจะสูงเปนที่อาศัยของแมลงไดอยางดี การระบาดของไรสนิม เพลี้ยหอย เพลี้ยแปงก็จะลามมาที่ผล ทำใหเกิด เปลือกลาย เปลือกดำมาก ฉีดพนสารกำจัดแมลงและไรเทาใดก็จะไมสามารถจัดการไดอยางราบคาบ การกำจัดตะไครน้ำจึงเปนการจัดการปญหาที่ ตรงประเด็นมากกวา ปญหาที่เกิดขึ้นนั้นหากดูที่ธรรมชาติเปนผูสรางแตเราสามารถควบคุมรับมือหรือปองกันไวกอน ปญหาตางๆ ก็จะเปลี่ยนจากวิกฤติเปนโอกาส สำหรับผูที่แกไขปญหานั้นไดก็จะไดรับผลตอบแทนที่คุมคา


อาการเปลือกบวม เปลือกเหอ หัวขาว กลีบแฉะ น้ำคางไส อาการเหลานี้เปนลักษณะที่เกิดจาก..

ธาตุอาหารในตนสมขาดความสมดุล โดยมีไนโตรเจนเปนตนเหตุของปญหา

ซึ่งในสภาพปกติบทบาทของไนโตรเจนจะอยู ในสภาพที่สมดุล ถาหากธรรมชาติไมมีฝนตก ตนสมก็จะคายน้ำนอย การตกคางของไนโตรเจนก็จะนอยจนสามารถจัดสมดุลไดดี ปริมาณของน้ำตาลในผลและการเจริญเติบโตของผลก็จะเปนไปตามปกติ เพราะน้ำตาลในผลไมถูกนำไปลดความเปนพิษของไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย

แต ในทางกลับกัน..การที่มีฝนตกนอกฤดู ตนสมจะมีการคายน้ำมาก

การตกคางของไนโตรเจนในตนและผลก็จะมากตามไปดวย ตนสมก็ตองใชน้ำตาลในผลจำนวนมาก เพ�อไปลดความเปนพิษของแอมโมเนีย โดยเม�อน้ำตาลรวมกับแอมโมเนียแลวจะไดสารที่มีผลในการสรางเนื้อเย�อใหม จนเกิดการคลายตัวของเปลือกและเนื้อใหม ยิ่งหากการสะสมแคลเซียมในตน ใบ และผลไมเพียงพอ จะยิ่งทำใหเปลืองพองและไมแข็งแรง เกิดการเสียหายของคุณภาพผล เชน อาการหัวขาว กลีบแฉะ และน้ำคางไส เปนตน

ตองปองกันอยางไร?

ฉีดพนทางใบ

แมมมอท แมมมอท แมมมอท แคลเซียม โบรอน ชูการ เอ็กซเพรส สุพรีม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

ใสทางดิน

หมายเหตุ : หากตองการขยายขนาดผลเพิ่มขึ้นอีกหรือตองการดึงอายุการ เก็บเกี่ยวผลสมรุนนั้นออกไปอีกใหหวาน เปอรกา อัตราใช 1-2 กิโลกรัม

ยูทา 10 อัตราใช 500 กรัม ตอตน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ผลสมหลุดรวง เกิดจากแผลที่เปลือกสม อาการนี้เปนลักษณะที่เกิดจาก.. ความสามารถที่ลดลง

ในการปองกันน้ำไม ใหผานเขาไปในเปลือกผล

เม�อน้ำผานเปลือกสมเขาไปได โรคตางๆ ก็จะสามารถติดเขาไปสราง ความเสียหายแกผลสมได ซึ่งการใชสารปองกันกำจัดโรคอยางเดียว ไมสามารถจัดการปญหาไดอยางเด็ดขาด เพราะเชื้อโรคสามารถ เขาทำลายไดใหม ตราบใดที่เปลือกผลสมนั้นยังไมสามารถปองกันน้ำได

ตองปองกันอยางไร? การที่สมปองกันน้ำไดนั้น เราตองสรางความมันของเปลือกใหเพิ่มขึ้น โดยการเพิ่มธาตุแมกนีเซียม

ฉีดพนทางใบ

ใสทางดิน

แมมมอท แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม สุพรีม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

ยูทา 10 อัตราใช 500 กรัม ตอตน

อีกอาการที่พบเห็นไดบอย คือ อาการผลไหม (Sun Burn) อาการแดดเผาที่เปลือกผล ทำใหผิวสมไหม ผลผลิตเสียหายมาก โดยเฉพาะดานทิศตะวันตก ในชวงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม ฉีดพนเพ�อปองกันดวย แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. เพ�อใหผิวเปลือกสมหนาขึ้น

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การติดผลดก ทำใหผลเล็ก ตองปองกันอยางไร?

การติดผลดก ทำใหเกิดการแยงอาหารเพ�อใชในการสรางเนื้อเย�อผล ทำใหไดผลที่มีขนาดเล็กลง และมีลักษณะการติดผลเปนพวงจำนวนมาก สงผลใหผลสมโตไมสม่ำเสมอมากยิ่งขึ้น เพราะกระบวนการใชธาตุอาหารจะมีความจำเปนตอเน�องแบบลูกโซ ซึ่งถาเกิดการขาดธาตุตัวหนึ่งไปกระบวนการ จะหยุดชะงักและไมสามารถดำเนินกระบวนการตอไปไดจนกวาจะไดธาตุนั้นมาเพ�อทำใหกระบวนการดำเนินตอไป การขาดธาตุอาหาร หรือการมีธาตุอาหารไมเพียงพอ จะทำใหผลผลิตที่ ไดมีขนาดเล็กไมสมบูรณ

ฉีดพนทางใบทุกๆ 10 วัน

ฉีดพนทางใบทุกๆ 10 วัน

แมมมอท แมมมอท แมมมอท คอมบิ แคลเซียม แม็กนีเซียม สุพรีม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท แมมมอท แคลเซียม โบรอน โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

ใสทางดิน (อัตราใชตอตน)

เปอรกา ฟูลเฮาส อัตราใช 1-2 กิโลกรัม อัตราใช 100-200 กรัม

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สรางดอกสมโชกุนอยางไร โดยไมตองกักน้ำ การสรางดอกสมโชกุนนอกฤดูเปนเปาหมายของหลายๆ สวน เพราะสามารถ ทำการเฉลี่ยผลผลิตสมใหมีสำหรับทำตลาดไดตลอดทั้งป และยังมีโอกาสได ราคาที่ดีกวาในเทศกาลสมลนตลาด ซึ่งการสรางดอกนอกฤดูก็มีหลายวิธี ดวยกัน และการกักน้ำก็เปนวิธีที่ ไดผลและนิยมใชในสมเขียวหวาน แตสำหรับสมโชกุนอาจจะยากกวาและไมประสบความสำเร็จเทาทีค่ วร กลับมีผล ขางเคียงที่มีผลเสียหายหลายประการตามมา เชน ผลโตชาในรุนที่ติดผล อยูแลว ใบแกรวงเร็วเกินไป ใบไหมแดด ใบมวนงอไมสูแดด ระบบรากขาด อาหาร พบปริมาณรากตายมากขึ้น ผลสมมีอาการไหมแดดเพิ่มขึ้น การขาด แมกนีเซียมมีมากขึ้นในทุกสวนของสม จึงทำใหเกิดอาการผลแตกมากเม�อมี ฝนตกมาก หากเราจะวิเคราะหวา วัตถุประสงคของการกักน้ำของสม เพ�อลดบทบาทของธาตุไนโตรเจน การกระทำการอยางอ�นเพ�อ ลดบทบาทของธาตุไนโตรเจนก็นา จะไดผลในการทำสมออกดอกไดเชนกัน แตวธิ กี ารดังกลาวตองมีผลขางเคียงทีน่ อ ยกวา การกักน้ำ ซึ่งวิธีการหนึ่งที่นำมาใชอยางไดผล คือ การใชธาตุอาหารที่มีความสามารถในการจัดสมดุลของธาตุไนโตรเจน เชน โพแทสเซียม แคลเซียม โบรอน และโมลิบดินัม

ทางใบใส แมมมอท ฮอลท อัตราใช 200 ซีซี.ตอน้ำ 200 ลิตร รวมกับธาตุอาหารเสริมอ�นๆ ไดแก แมมมอท สุพรีม และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส เพ�อจัดการไนโตรเจนสวนเกินอยางไดผลตองทำการฉีดพนติดตอกันอยางนอย 3-5 ครั้ง เพ�อใหใบออนที่อยูบนตนแกจัดและขอใบสั้น ใบกางแผเต็มใบ พื้นใบมีสีเขียวเขมเปนมันหนา จะทำใหใบสังเคราะหแสง และสะสมคารโบไฮเดรทไดมากพอ เพ�อจะเปลี่ยนตายอดเปนตาดอกเม�อมีการแตกใบออนเพิ่มเติมในเดือนพฤษภาคมและ มิถุนายน

หากการแตกยอดออนใหมยังคงมี ใบมากกวาดอก แสดงวาการสะสมคารโบไฮเดรทยังไมมาก เพียงพอหรืออิทธิพลของไนโตรเจนยังมากอยู โดยสังเกตจากยอดที่ออกมาใหมมีขอที่หาง เกินไป ตองทำการฉีดพน แมมมอท ฮอลท ตอไปอีก เพ�อจัดการไนโตรเจนใหเกิดสมดุล มากที่สุด เม�อใบแกรอบใหดึงยอดและตาดอกดวย แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส และ แมมมอท ฟองดู เพ�อไดดอกพรอมใบ


อาการผิดปกติของ อ สมโชกุน ชวงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคมจะมีอาการผิดปกติของสมโชกุนหรือ สมสายน้ำผึ้งที่ควรนำมาวิเคราะหติดตาม คือ ลักษณะอาการผลสมที่มี อายุ 5-6 เดือน จะมีอาการเปนแผลจ้ำสีเหลืองที่เปลือกผล โดยเฉพาะผล ที่อยูนอกทรงพุมที่รับแดดรับฝนหนักๆ ภายใน 2-3 วัน อาการแผลจ้ำ สีเหลืองจะกลายเปนรอยแหงสีน้ำตาลหรือบางที่จะมีโรคแคงเกอรเกิดขึ้น บริเวณนั้น เม�อเวลาผานไปผลขยายมากขึ้นจะเกิดอาการผลแตกบริเวณ รอยแผลนั้น เปนที่นาสังเกตวาทำไมถึงเกิดกับผลขนาดเดียวกันและเปน ผลที่อยูนอกทรงพุมมากกวาอยูภายใน เม�อพิจารณาดูผลที่มีอายุ 5-6 เดือนจะเปนระยะที่มีการพัฒนาผลเร็วที่สุด ผลไหนมีการขยายขนาดของ เปลือกมากจนเปลือกหนามาก ตอมน้ำมันหาง ผิวเปลือกดูหยาบ สีเปลือก ไมเขียวเขมดูไมมันวาว มักจะมีอาการมากกวาผลที่มีเปลือกไมหนามากและ สีเปลือกเขียวเขมมัน จึงอาจสันนิษฐานไดวาเชื้อโรคสาเหตุตางๆ นาจะเขาทำลายไดงายหากผิวของผลหยาบและสีไมเขียวเขม ขาดความมันวาวที่ เปลือก การกำจัดโรคใหหมดไปจะทำไดยากกวาการที่พืชมีการปองกันตนเองที่ดี แลวอะไรเปนสาเหตุทท่ี ำใหเปลือกมีความเขียวมันลดลง เม�อพิจารณาเร�องการใหปยุ ในระยะนีข้ องสมจะมีการใหปยุ ไนโตรเจน ปริมาณมากเพ�อกระตุนใหผลสมขยายขนาดใหเร็วที่สุด แตธาตุอ�นนอกเหนือจาก N-P-K แลว ตนสมตองดูดซึมเองจาก โครงสรางดิน ซึง่ มีปริมาณนอยและมักถูกขัดขวางจากสภาวะทีส่ ารละลายดินเปนกรดเน�องจากปุย ละลายตัว ทำใหธาตุอาหาร ที่มีสวนในการสรางสารสีเขียวและสรางเนื้อเย�อที่แข็งแรงไมเพียงพอและไมทันกับความตองการของผลสม จึงเกิดอาการ เปลือกหนาแตสีไมเขียวเขม ผิวไมมัน และยิ่งผลไหนอยูนอกทรงพุมโดนทั้งแดดเผาและน้ำฝนลางความมันออกไปมากดวย แลว หยดน้ำก็จะเกาะไดดีจนเชื้อโรคสามารถเขาทำลายไดงาย

การจะใหเปลือกสมเขียวเขมเปนมันวาวอยูตลอด ควรมี การเพิ่มธาตุอาหารเสริมทางดินบางดวย ยูทา 10 อัตราใช 500 กรัมตอตน และฉีดพนอาหารเสริมทางใบดวย แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. ตอน้ำ 200 ลิตร ชวยใหธาตุอาหารกระจายตัวไปไดทั่วตน และทันกับความตองการเม�อสมมีการพัฒนาตัวที่สูง


การระบาดของตะไครน้ำ ตองปองกันอยางไร?

ตะไครที่เกาะอยูตามเปลือกของไมผล จะทำใหมีความชื้นที่ผิวลำตนสูง เปนที่อยูอาศัยของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด เชน เพลี้ยหอย เพลี้ยแปง เพลี้ยไฟ ไรสนิม ไรเหลือง หนอนชอนเปลือก เปนตน เพราะการมีความชื้นสูงเหมาะในการเพิ่มจำนวน ของแมลงศัตรูทำใหไมสามารถกำจัดไดเด็ดขาดและสิ้นเปลืองคาใชจายจำนวนมาก ดังนั้นการกำจัดตะไครใหหมดไปจากลำตน จะทำใหการระบาดของแมลงศัตรูพืชลดลง และบางชนิดไมพบเลย ซึ่งการควบคุมกำจัดก็สามารถกระทำไดโดยงาย


ตะไครในที่นี้หมายถึงพืชสีเขียวขนาดเล็ก ไมมีเนื้อเย�อลำเลียงอาหาร มักขึ้นเปนกลุมอยูตามเปลือกไม ภายในทรงพุมของตนไม เชน ทุเรียน สม ลองกอง มังคุด ซึ่งหากดูผิวเผินแลวตะไครไมนาจะกอปญหาอะไรไดมากมายนัก กับไมผล แตเม�อพิจารณาดีๆ กลับเปนสาเหตุเริ่มแรกของการ เกิ ด ป ญ หาโรคและแมลงที ่ ต  อ งสิ ้ น เปลื อ งค า ใช จ  า ยในการ จัดการปญหาดังกลาวจำนวนมากและบางทีก็ไมสามารถจัดการ ไดเด็ดขาด จนเกิดปญหาเดิมๆ ซ้ำแลวซ้ำอีกไมสิ้นสุดกับการ ตองเปลืองสารเคมีกำจัดโรคและแมลง ตะไครมกั จะเกิดและเพิม่ จำนวนมากขึน้ เม�อเริม่ เขาสูฤ ดูฝน เพราะ โดยธรรมชาติตะไครจะเจริญไดดีเม�อมีความช�นสูงและแสงแดด รำไร โดยอาศัยผิวเปลือกเปนที่ยึดเกาะและเพิ่มจำนวนไดดี ความตองการพื้นฐานทางดานธาตุอาหารก็เหมือนกับที่พืช ประธานตองการทุกอยาง เพราะฉะนั้นการใหธาตุอาหารเสริม และปุยทางใบ ก็เทากับเปนการสงเสริมการเจริญเติบโตและเพิ่ม จำนวนของตะไครมากขึ้น การเจริญที่ซอนทับกันหลายๆ ชั้น ทำใหการกำจัดทำไดยากลำบากมากขึน้ ไปอีก การใชสารเคมีกำจัด โรคบางชนิดเปนประจำ ซึง่ ไมใชสารเคมีกำจัดโรคทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการควบคุมตะไคร จะยิ่งทำใหตะไครเพิ่มจำนวนโดยไมมีการ ยับยั้ง จนบางทีตะไครระบาดลุกลามไปบดบังพื้นที่ของใบ ซึ่ง ทำใหการสังเคราะหแสงไดไมเต็มที่ โดยเฉพาะความเขมแสงใน ฤดูฝนที่ต่ำอยูดวยแลว ตะไครที่เกาะอยูตามเปลือกของกิ่งที่ปลายทรงพุมโดยเฉพาะ พุมไมที่ซอนทับกันมากๆ เชนใน สม มะนาว ทุเรียน มักพบการ ระบาดของเชื้อสาเหตุโรคที่เปนเห็ดและราบางชนิดจนกอปญหา การเกิดโรคกิ่งแหงตาย เกิดโรคใบติดไดงายและรุนแรงมากกวา ปกติ นอกจากนี้ตะไครที่เกิดขึ้นมากบริเวณโคนตนก็จะพบการ เกิดโรคโคนเนาไดมากกวาปกติโดยเฉพาะที่โคนตนมักจะพบ อาการเปลือกแตกยางไหล ซึ่งเปนสาเหตุมาจากเชื้อที่เขาไปกับ เปลือกที่ชื้น

การระบาดของตะไครน้ำที่กิ่ง ลำตน จะไมกอใหเกิดความเสียหายโดยตรงเลย หากไมไดระบาดลามไปที่ ใบ ทำใหบดบังการ สังเคราะหแสง หรือติดที่ผลจนลางไมออก แตสิ่งที่ตะไครน้ำทำใหเกิความเสียหายที่แทจริง คือ.. เปนแหลงสะสมความชื้นภายในทรงพุมสูง ทั้งที่กิ่ง ลำตน ใบและผล ทำใหเกิดการ เพิ่มจำนวนมากขึ้นของไรและแมลง

เพราะตะไครที่มีการออกดอกในฤดูฝน มักพบอาการดอกแหง หรือดอกหด ซึ่งเกิดจากเชื้อราและมักจะเกิดตามกิ่งที่มีตะไคร ปกคลุมอยูมาก การจัดการปญหาตะไครสามารถทำไดดีและประสบความสำเร็จ สูงในสภาพอากาศทีม่ คี วามชืน้ นอย สรุปคือ กอนเขาสูฤ ดูฝน จะทำการกำจัดไดงายกวา เม�อทำการกำจัดในฤดูฝนซึ่งมีฝนตก ตลอด ทำไดอยางมากสุดแคควบคุมการระบาด แตไมสามารถ กำจัดเด็ดขาดได

ซึ่งการใชสารเคมีอยางเดียว ไมสามารถจัดการปญหาไดอยางเด็ดขาด อีกทั้งยังสรางความเสียหาย เกิดผลลายและผลดำจำนวนมาก ยิ่งถาฝนตกบอยความชื้นในทรงพุมจะยิ่งมาก การปองกันและกำจัดตะไครน้ำใหหมดจากตนและกิ่งใหเร็วที่สุด จึงเปนการควบคุมและลดปญหาการระบาดปญหาเปลือกลาย เปลือกดำของผลสมได


การระบาดของตะไครน้ำ คือแหลงสะสมของไรสนิม

ในชวงฤดูฝนตอฤดูหนาวมักพบ.. การระบาดของไรสนิมเขาทำลายสรางความเสียหายแกผลสม และยังพบไรแดงเขาทำลายใบจนเกิดอาการใบเหลืองรวงจำนวนมาก ขึ้นอยูกับวาฝนจะจากไปเร็วและลมหนาวพัดมาแทนที่เร็ว การระบาดของไรแดงก็จะมีมากกวาไรสนิม แต ในทางกลับกัน หากหนาวไมมากแตยังมีฝน เปนระยะการพบการทำลายของ ไรสนิมที่ผลสมกลับมีมากกวาการทำลายของไรแดง สรางความเสียหายตอผลที่ กำลังสุกมากขึน้ ทำใหเปลือกดำหรือเปนรอยสีนำ้ ตาลดูไมสวยงามเทานัน้ แตไมมผี ล ตอคุณภาพหรือรสชาติของสมแตอยางใด แตเน�องจากตลาดยังตกอยูกับกลไก ของพอคาคนกลาง จึงทำใหผลสมที่มีตำหนิจากไรสนิมทำลายถูกตีราคาต่ำกวาผล สมที่เปลือกสวยเปนมันวาว เพราะฉะนั้นการปองกันกำจัดไรสนิมที่ระบาด จึงเปน จุดที่นาจะหยิบขึ้นมาวิเคราะห ชวงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน จะพบการระบาดของไรสนิมในแหลงปลูกสมทั่ว ประเทศไมวาจะเปนทางภาคเหนือหรือทางภาคใต เพราะในระยะดังกลาวมีฝนตกสลับ อยูตลอดเวลามีอากาศเย็นอยูเพียงไมกี่วัน พบการระบาดของไรแดงนอยมาก แต จะพบการระบาดของไรสนิมมากกวา แสดงวาอากาศรอนชื้นมีผลตอการระบาดของ ไรสนิมเปนอยางดี ยิ่งถาในสวนมีการระบาดของตะไครน้ำในทรงพุมเยอะ กิ่งและตน เขียวชื้นตลอดเวลา ก็จะพบการระบาดของไรสนิมมากกวาสวนที่แตงกิ่งโปรงแหง ไมเขียวชื้น การลดความชื้นในทรงพุม จะเปนวิธีที่จัดการปญหาไรสนิมระบาด ไดตรงประเด็นกวาการฉีดพนสารกำจัดไรโดยตรง อีกทั้งยังทำใหลดการใชสารกำจัดแมลงลงไดมาก เพราะสารกำจัดแมลงชนิดปากดูด จะมีฤทธิ์ตกคางนาน

ดังนั้น..การจัดการเขตกรรมอยางถูกวิธีและวิเคราะหการแกปญหาอยางมีเหตุและมีผลที่สามารถพิสูจน ได จึงเปนการดีกวาการเช�ออยางไมมีเหตุผล เหมือนกับการซื้อสมที่มีผิวสวยบริโภค ไมไดบงบอกวาจะไดสมที่มีคุณภาพไปบริโภค แตการรูถึงรสชาติที่หวานอมเปรี้ยว หอมสดช�น ไมตองคายกาก กลับเปนคุณลักษณะที่เหมาะกับการซื้อบริโภคมากกวาซื้อที่เปลือกสวยงาม


ปองกันกำจัดโดยการใช..นอรด็อกซ ซุปเปอร (สารคิวพรัส ออกไซด) อัตราใชเพียง 100 กรัม ตอน้ำ 200 ลิตร ฉีดพนให ทั่วลำตนและกิ่ง หรือ ทาลำตนที่อัตราใช 100 กรัม ตอน้ำ 1 ลิตร หากตะไครหนามากจำเปนตองฉีดพนซ้ำ ซึ่งตะไครบริเวณนั้นจะคอยๆ รอนออกไปเปนชั้นๆ ซึ่ง นอรด็อกซ ซุปเปอร เปนสารประกอบ ของทองแดง ทีไ่ มแตกตัวในน้ำจึงไมเปนพิษตอพืชทุกระยะ แตสามารถ แขวนลอย ในน้ำไดดี จึงมีความคงทนตอการชะลางของน้ำฝนไดดี เน�องจากมีคุณสมบัติพิเศษในเร�องการจับติดจึงสามารถปองกันการ เกิดโรคไดดีในฤดูฝน

ฉีดพนทางใบ

ทาตน ยกตัวอยางสวนที่เคยประสบปญหาการเกิดของตะไครตามกิ่งและลำตน ทำใหเปลืองคาใชจายในการควบคุมโรคและแมลง ไดดำเนินการแกไขปญหาดังกลาว ดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร เชนกัน เพ�อเปนการกระจายวิธีการดีๆ สูเพ�อนชาวสวนดวยกัน


อาการใบลายในชวงเก็บเกี่ยว (เดือนเมษายน) เกษตรกรที่ปลูกสมจำนวนมากตองการที่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตหลังฤดูกาล (หลังเทศกาลปใหมและตรุษจีน) ซึ่งมีผลผลิตสมจำนวนมาก ไดราคาไมสูงจน เปนที่พอใจของเกษตรกรหลายๆ สวน การมีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดหลังจากเทศกาลดังกลาวแลวจึงเปนเปาหมายที่ เกษตรกรตองการเพราะแนวโนมราคาจะดีกวามาก การดึงการเก็บเกีย่ วผลผลิต จึงเกิดขึ้นในหลายสวน แตสิ่งที่ตองคำนึงตามมาคือ คุณภาพ เพราะการดึง การเก็บเกี่ยวออกไปจากการสุกแกของผลสม ปกติตนสมเองตองรับภาระใน การจัดหาปจจัยการผลิตสำหรับผลออนและผลแกบนตน ซึง่ ปริมาณผลออน ทีเ่ กิดขึน้ ใหม ในเดือนกุมภาพันธถงึ เดือนมีนาคมมีปริมาณมาก นอกจากผลออน แลวยังมีปริมาณใบออนมากในชวงเวลา ดังกลาวดวยแลวเทากับวามีสว นของ เนื้อเย�อใหมที่ตองการธาตุอาหาร และสารอาหารจำนวนมากในเวลาเดียวกัน ประกอบกับเนื้อเย�อเกา (ใบ กิ่งกาน และราก) รวมทั้งเราตองทำการตัดแตง กิ่งในเวลาเดียวกันนี้ดวย เพ�อจัดทรงตนและกระตุนใหเกิดใบและกิ่งกานใหม สำหรับการสังเคราะหอาหารตามกลไกของพืชเอง หากตองการผานฤดูรอน แลงทีม่ กี ารคายน้ำจำนวนมาก พืชเองก็จะเรงการสลัดใบเกาออกจากตนจำนวน มาก เพ�อลดชองทางการคายน้ำใหมากที่สุด เพราะการมีปริมาณน้ำใหคายนอย การมีจำนวนใบที่ ใชสงั เคราะหแสงนอย จึงมีสารอาหารไมพอกับความตองการ ของสมในเวลานี้อยางมาก คุณภาพของสมที่จะเก็บเกี่ยวในเดือนเมษายนถึง เดือนมิถุนายนอาจมีคุณภาพต่ำลงหรือไมคงที่ อาการกนผลยุบ เน�องจากขาดธาตุแคลเซียมก็จะมีมาก เนื้อเย�อจะเหนียว ไมกรอบ อาการหัวขาวจะปรากฎมาก สิ่งที่จะพบบอยครั้งตลอดฤดู คือ อาการใบใหมที่เกิดขึ้นเปนลาย ไมเขียวเขม เพราะการขาดธาตุอาหารที่ ใชสรางเม็ดสี จำนวนมากบนใบ เน�องดวยตนสมเองดูดขึ้นไปใชไมทันกับการพัฒนาที่เร็วมาก หรือเกิดการแยงธาตุอาหารชนิดเดียวกันมาก ของเนื้อเย�อใหมและผลแก ในเวลานี้ก็เปนได ซึ่งการระวังอาการดังกลาว ตองติดตามดูสวนตนเองอยางใกลชิดในการใหธาตุอาหารที่สมเองตองการมากในชวงนี้ ไดแก แมกนีเซียม แคลเซียม โบรอน เหล็ก สังกะสี แมงกานีส ทองแดง และในสวนของธาตุอาหารรอง-เสริม ซึ่งธาตุหลักก็เปนที่ตองการมากทุกตัวอยูแลว

ธาตุที่จำเปนตอสมทางดิน ไดแก ยูทา 10 และ เปอรกา หากตองการเฉลี่ยธาตุอาหารใหทางใบไดรวดเร็วและเพียงพอ ไดแก กลุมอาหารเสริมคีเลท แมมมอท ที่มีธาตุอาหารรวมและธาตุอาหารเดี่ยวที่สมตองการทุกชนิด


สม

ส�อสารกับเราอยางไร?

ฟงดูหัวขอเร�องนาตลกวา..สม ซึ่งเปนพืชจะส�อสารกับเราซึ่งเปนมนุษย ไดอยางไร การส�อสารของตนไมนั้นมีอยูเสมอ ซึ่งหากไมไดสังเกตก็จะไมสามารถเขาใจไดวา

ตนไมกำลังส�อสารอะไรกับเรา?

สวนมากการจับการส�อสารที่ตนไมสงถึงเรานั้นจะทำใหเรารูวา ตนไมตองการปจจัยการผลิตอะไรมากกวาเหตุผลอ�นใด เพราะตนไมจะถือวาเปนสิ่งมีชีวิตที่ทำกิจกรรมกับการสะสม พลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานเคมีโดยจัดองคประกอบ ธาตุอาหารเปนหลัก การที่ตนไมส�อสารกับเราก็เพ�อตองการ ปจจัยการผลิตหรือแสดงผลของสภาวะสมดุลภาพในตน

การเกิดการหยุดชะงักบอยๆ ก็จะทำใหเกิดการสะสมสิ่งที่พืช ยอมรับไม ไดหรือเกิดโทษจนผลผลิตตกต่ำและคุณภาพไมดี เทาที่ควร การมีธาตุอาหารที่สมดุลเพียงพอจะทำใหพืชส�อสาร กับเราเปนสีสันและความมันวาวของผิว นอกจากจะสังเกตเห็น ดวยตาแลว ยังไดกลิ่น รสชาติ ซึ่งก็เปนอีกสวนหนึ่งในการ ส�อสารของพืชที่มีตอเรา เชน

การสังเกตที่สี ใบ ความเขียวเขมเปนมันวาวของใบนั้น คือสิ่งที่ สม ส�อสารกับเราเร�อง..ความสมบูรณของใบและตน แตหากใบแสดงอาการใบเหลืองซีด ใบดาง ใบลาย แสดงวา สม มีการขาดธาตุอาหารจนทำใหเกิดการติดขัดของกระบวนการ จึงเห็นลักษณะดังกลาว เพราะกระบวนการตางๆ ในพืช จะเกิด และดำเนินไปแบบเปนขั้นเปนตอนและมีการสงผานตามกลไก เปรียบเสมือนโซจักรยานที่ตองทำงานไปทีละขอของโซเพ�อ ฉุดดึงเฟ�องลอรถใหหมุนตอไปได แตหากโซขอใดขอหนึ่งขาด เสียกอน เชนเดียวกัน หากกระบวนการตางๆ ภายในพืชกำลัง ดำเนินอยู แตหากขาดธาตุตัวใดตัวหนึ่งไปกระบวนการก็จะหยุดชะงักที่ ตำแหนงนั้น และรอจนกวาจะไดธาตุนั้นมา กระบวนการจึงเกิด ตอไปได

การสังเกตวาสมผลที่กำลังเก็บเกี่ยวอยู ในปจจุบันมีรสชาติ ตามพันธุห รือไม ก็มโี อกาสปรับแกในรุน ทีจ่ ะติดตามมาในอนาคต อีก 2 เดือนถัดไปได ตัวอยางเชน.. หากพบวาสมโชกุนมีรสชาติเปรี้ยว ก็ตองเพิ่มโพแทสเซียม ให มากขึ้น หากรสชาติหวานจืด ก็ตองเพิ่มไนเตรท โพแทสเซียม หากมีรสขม ก็ตองเพิ่มแคลเซียม โบรอน หากพบสีเนื้อและ น้ำไมสมจัด ก็ตองเพิ่มแมกนีเซียม หากพบอาการน้ำคางไสก็ ตองเพิ่มคอปเปอร และหากพบอาการเปลือกเหอ หัวขาว ผล นิ่ม ก็ตองเพิ่มแคลเซียม โบรอน แมกนีเซียม จนเพียงพอกับการจัดสมดุลไนโตรเจน การสังเกตและรับสาร จากพืชดังกลาว ทำใหเจาของสวนสามารถจัดการกับปญหาที่ กำลังเกิดขึ้นและจะตองเกิดขึ้นเหมือนกันในรุนที่จะเก็บเกี่ยว ตอไปดังกลาวที่วา “ดูผลรุนพี่รูถึงรุนนอง”


สม

แยงอาหารกัน เน�องจากติดผลหลายรุน การติดผลสมหลายๆ รุนยิ่งเปนการดี ในการเฉลี่ยผลผลิต แตปญหาเร�องของความดกหรือจำนวนผลในตนไมมากพอ เพราะปญหาหลุดรวงมาก เน�องจากแยงอาหารกันเองระหวางสมตางรุนกัน การจัดการเพ�อใหเกิดการเฉลี่ยของอาหารจึงเปน หนทางที่จะแกปญหา เพ�อใหไดทั้งผลสมที่หลายรุนและมีจำนวนผลในแตละรุนมากพอในการทำตลาด จึงนาจะนำมาเลาสูกันฟงเพ�อจะนำไปใชอยางไดผล การติดผลหลายรุนมีขอดีหลายอยาง แตอยางหนึ่งที่ถือวา มีสว นชวยในการเตือนการจัดการธาตุอาหารได เพราะรุน สม ที่กำลังเก็บเกี่ยวสามารถบอกไดถึงองคประกอบของธาตุ อาหารที่เพียงพอสมดุลหรือไมสมดุลได เพ�อทำการปรับ เพิ่มธาตุอาหารที่ขาดในรุนนี้ เพ�อที่สมรุนหนาที่จะเก็บเกี่ยว จะไมเกิดปญหาและปรับปรุงคุณภาพไดดวย ยกตัวอยางเชน อาการเปลือกหนา หัวขาว แสดงวาอิทธิพลของไนโตรเจน มีมากและธาตุอาหารอ�นๆ ตามไมทัน ตองเพิ่มฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม โบรอน ใหมากขึ้น อาการรสขมที่ โคนลิน้ แสดงวาขาดแคลเซียม อาการผิวเปนคล�นแสดงวา การใหแคลเซียม โบรอน ไมสม่ำเสมอเพียงพอ อาการ เนื้อเย�อเหนียวไมกรอบ เพราะขาดแคลเซียมและฟอสเฟต อาการสีเนื้อซีดไมแดงจัด เพราะขาดแมกนีเซียมตองใหเพิ่ม ทั้งทางดินและทางใบ

การติดผลหลายรุนจำเปนตองใหธาตุอาหารสำหรับสม อยางเพียงพอ เพราะการเจริญเติบโตของสมมีตอเน�อง การใหธาตุหลักแตเพียงอยางเดียวแลวลดตนทุน โดยการ ปลอยใหสมไปหาธาตุอาหารเสริมเอาเองจากดินจะสามารถ ทำไดในสมอายุนอย และดินตองมีความอุดมสมบูรณพอ แตหากการทีส่ ม มีอายุมากขึน้ และผานการใหผลผลิตมาหลาย ครั้ง การจะมีธาตุอาหารอยางเพียงพอนั้นยอมเปนไปไมได การใหธาตุอาหารเสริมทางดิน เปนการยืดอายุของดินให มีความเส�อมชาลง เพ�อทำการวิเคราะหอาการผิดปกติของ การขาดธาตุอาหารไดแมนยำ มากกวาจากการสังเกตความ สมบูรณของสม การใหธาตุอาหารทางใบ เปนการเสริมหรือเฉลีย่ ธาตุอาหาร ใหมีการกระจายตัวทั่วทุกสวนของตนสมและชดเชยความ ต อ งการอย า งเร ง ด ว นที ่ พ ื ช ต อ งการธาตุ อ าหารนั ้ น ๆ เน�องจากไมสามารถรับจากดินไดอยางเพียงพอหรือเกิด การกระจายตัวที่ ไมดีพอ

การใหธาตุอาหารทางดินตองมีการให ยูทา 10 เพิ่มเม�อมีการติดผลรุนใหมที่มีปริมาณ มากพอ เพ�อใหมีธาตุอาหารเสริมทางดินอยางเพียงพอ สวนธาตุอาหารทางใบตองให แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เปนประจำทุกๆ 10 วัน และเพิ่ม แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อีก เพ�อใหเกิดการเฉลี่ยธาตุอาหารของสมในผลออนและผลขนาดถัด กันไป โดยไมเกิดปญหาการแยงธาตุอาหารกันเองจนรวงมากทั้งรุนพี่รุนนอง เน�องจาก แมมมอท โฟลิไซม จีเอ ชวยในการสงผานอาหารของขั้วผลไดอยาง รวดเร็วทันการโตของผลสม ถึงแมผลสมในรุนเดียวกันมีการติดผลจำนวนมากก็ สามารถเฉลี่ยธาตุอาหารกัน ทำใหผลสมมีขนาดที่สม่ำเสมอมากกวาไดรูปทรงและขนาดที่เหมาะสม


ปริมาณรากของสมตายมากขึ้นมาจาก การขาดอาหาร หรือ จากโรค? สมโชกุนหรือสายน้ำผึ้งมีลักษณะอาการรากตายเปนจำนวนมากหากตรวจวิเคราะห หาเชื้อก็จะพบการระบาดของโรครากเนาจำนวนมาก แตหากจะวิแคราะหจากผลขางเคียง ที่เกิดโดยรวม ในสภาพของปจจุบันมีสิ่งที่นาสังเกตหลายประการที่นาจะนำมาเลาสูกันฟง เพ�อใชในการตัดสินใจวาจะดำเนินการอยางไรที่เหมาะสมในสวนของเรา สมมีอาการตายของรากจำนวนมาก สามารถสังเกตไดจาก อาการลายของใบได เพราะใบจะแสดงอาการผิดปกติในการ แสดงอาการขาดน้ำในวันที่มีอากาศรอน แดดจัด เม�อพิจารณา ผลที่อยูบนตนวามีจำนวนมากและหลายรุนในตน และหากมีกิ่งน้ำคางหรือกิ่งกระโดงภายในจำนวนมาก การแสดง อาการยิ่งมากและเริ่มแสดงอาการลายของใบในกิ่งที่อยูดาน ลางของทรงพุม กอนมีการหลุดรวงของใบจำนวนมากเม�อมี การแตกยอดออนใหมจำนวนมากพรอมกัน จะพบวามีอาการ ใบลายเกิดขึ้นรุนแรงยิ่งขึ้น เม�อทำการตรวจดูที่รากโดยการเปดผิวดินเพ�อตรวจดูความ แข็งแรงของราก จะพบวามีรากที่มีอาการเป�อยในสวนของราก แขนงเกา และไมปรากฏรากฝอยใหมเลย รากที่พบอาการเป�อย มีลักษณะถอดปลอกอยางเห็นไดชัดการฟนธงไปวาอาการ รากเนาหรือเป�อย เกิดจากเชือ้ ไฟทอฟเทอราไปเลยก็ ไมผดิ เพราะ มีประจักษพยานมีจำเลยเปนเชื้ออยางเห็นไดชัด แตหากทำการสังเกตผลขางเคียงในเร�องของสภาพตนสม ของสวนเรามีการติดผลจำนวนมากและมีกง่ิ แนนทึบ เปนตัวแยง อาหารที่จะสงไปที่ราก ทำใหรากขาดสารอาหารจนออนแอตอ การเขาทำลายของเชื้อ หากดำเนินแตเพียงลดปริมาณเชื้อโรค ดวยวิธีการใดๆ ก็ตาม ไมวาจะใชสารเคมีชนิดตางๆ แตยังคง ปลอยใหรากถูกแยงอาหารไปอีก ปริมาณเชื้อจำนวนมากก็จะ กลับมาในเวลาอันรวดเร็วเพราะมีอาหารของเชื้อจำนวนมาก อยูและเปนรากของสมเองที่ออนแอนั่นเอง การจัดการปญหา ดังกลาวก็จะไมสำเร็จ

การลดภาระในการแยงอาหารของราก โดยการกำจัดกิ่งกระโดง ภายในและตัดแตงกิ่ง เพ�อใหสัดสวนของใบกับปริมาณราก มี ความสัมพันธกันโดยไมมี ใบมากกวาปริมาณรากที่มีอยู การเพิ่มธาตุอาหารทางใบที่จำเปนในการสรางเม็ดสีของใบสม และผลก็จะทำใหใบสรางอาหารไดพียงพอตอความตองการ ของทุกสวนในสมที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เม�อใบมี อาหารมากพอทีจ่ ะใชในการทำกิจกรรมของสม การแข็งของราก ก็จะมากขึ้นเอง เพราะสมจะมีการปรับสมดุลอยูเสมอ การลดภาระของกิ่งและใบที่เปนตัวเบียดเบียนอาหารของราก จึงเปนวิธีการที่จะชวยทำใหสมมีผลผลิตที่มีคุณภาพมากกวา และมีอายุที่ยาวนานในการใหผล

การตัดแตงกิ่งใหพอดีจะมีผลตอสุขภาพของสม และการใหธาตุอาหารที่เปนองคประกอบของสารสีเขียว ที่เพียงพอ ซึ่งไดแก แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม ฉีดพนทางใบเปนประจำจะทำใหใบสามารถสรางอาหาร ไปเลี้ยงรากไดมาก รากก็จะลดการตายลง ซึ่งกิจกรรมที่ระดับรากจำเปนและตองการธาตุแมกนีเซียมดวย เสริมทางดินดวย ยูทา 10 ทุกๆ 4 เดือน หรือเม�อเห็นวามีการเกิดของรากใหมจำนวนมาก โดยเฉพาะเม�อมี ใบออนจำนวนมาก


ตนสมออกดอกกอนใบ เกิดจากอะไร? ชวงเทศกาลตรุษจีนนั้น เปนฤดูกาลที่มีการใช สม มากที่สุดของป ประกอบกับฤดูกาลที่สม ออกสูตลาดมากที่สุดไมวาจะเปนสมเขียวหวาน สมสีทอง สมสายน้ำผึ้ง หรือแมแตสมโชกุน ก็ตาม ทำใหภาระของตนสมที่แบกผลผลิตมาตลอดปถูกปลดเปลื้องลง ในขณะที่อากาศที่เคยเย็นเริ่มอุนมากขึ้นจนถึงรอน สมสวนมากในระยะนี้ เม�อไดรับความชื้นที่ เพิ่มขึ้นจะมีการผลิดอกออกใบใหมกันมากจนเกือบทุกยอด ทุกตา จนบางทีพบดอกมากกวาใบ เสียดวยซ้ำ จนมีอาการที่เรียกวา ดอกกอนใบ เปนการเตือนของสมแสดงออกใหรูวาสม เกิดอาการขาดธาตุอาหารและยิ่งถาไมจัดการอะไรเลยมักพบอาการใบเรียวเล็ก ติดผลออนมาก ผลรวง ผลแตกตนโทรม ตนตายตามมามาก จึงควรใหความสำคัญตอการฟนฟูสภาพตน หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต ตามหลักการก็ควรจะเปนเชนนั้น แตเวลามันชวงรวบรัดและ เรงรีบ เพราะสมที่เก็บจำนวนมากตอนกอนตรุษจีนนั้น เปนสมที่รอการเก็บมาเดือนกวา เม�อ เก็บยังไมเสร็จดอกก็ออกมาเต็มตนเสียแลว ยังไมทันไดฟนฟูสภาพตนใหพรอมเลยมักจะพบ อาการดอกฝอย ใบเล็ก ประกอบกับดอกและใบชุดแรก จึงตองรีบทำการแกไขโดยทันที เพ�อ ใหทันพัฒนาการอยางรวดเร็วในขณะนั้น สาเหตุของอาการดังกลาว เกิดจากการขาดธาตุอาหารหลัก เชน ไนโตรเจน ซึ่งถูกลด บทบาทมาโดยตลอดตัง้ แตเริม่ เก็บสมเดือนพฤศจิกายนเปนตนมา การใหไนโตรเจนในสถานการณ นี้จะดีที่สุด เปอรกา ซึ่งเปนสารแคลเซียมไซยานาไมด ผลิตจากหินปูน (Limestone) ถานโคก (Coke) และไนโตรเจนที่ ไดจากธรรมชาติ โดย เปอรกา เม�อไดรับความช�นจะปลดปลอยสารอาหารไดนาน 2-4 เดือน สมเองจะไดรับ สารอาหารอยางตอเน�อง ทำใหเกิดผลดีกวาการใหไนโตรเจนในรูปไนเตรท ซึ่งหมดเร็วสลาย งายทำใหไดรับธาตุไนโตรเจนไมสม่ำเสมอ หรือการใหไนโตรเจนในรูปแอมโนเนียม ซึ่งกอใหเกิด ปญหาดินเปนกรดจัดในขณะที่ปุยแอมโมเนียมละลายตัว ทำใหสมดูดซึมธาตุอ�นๆ ไดยากยิ่งขึ้น ไปอีก เพราะฉะนั้นในชวงนี้ตองเรงใส เปอรกา อัตราใช 1 กก./ตน (สมอายุ 5 ป) รวมกับ ฟูลเฮาส อัตราใช 100 กรัม/ตน เพ�อรักษาความชืน้ สูก บั ภัยแลง สวนธาตุอาหารทีฉ่ ดี พนทางใบ เพ�อเฉลีย่ ธาตุอาหารใหกระจายทัว่ ตน ควรเปนธาตุอาหารรวม แมมมอท คอมบิ และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เพ�อใหใบเขียวเขมหนาใหญเร็ว มีสภาพพรอมทีส่ ดุ ในการสังเคราะหแสง เพ�อสรางอาหารไปเลี้ยงรากฝอยรุนใหมที่มีการเกิดจำนวนมากมาทดแทนรุนเกา และใหทางดิน เพิม่ เติม ยูทา 10 กับ ฟูลเฮาส เม�อตนสมพรอมรับการติดผล แบกลูกรุน ใหมไปอีก 11 เดือน


เตรียมน้ำกอนผสมสารดวย..ไฮบริ ไฮบริด เอส เอสบีบี เพ�อการมิกซสสารหลายชนิ ารหลายชนิดใหเขากัน ชวยจับธาตุที่ละลายในน้ำ เชน ปูน เกลือ ลดการเกิดตะกอน ตะกัน วุนของสารที่เขากันไดยาก

ไฮบริด เอสบี เปนสารปรับสภาพน้ำในสารละลายอยางรวดเร็ว โดยสีของน้ำจะเปลี่ยนไป เร�อยๆ จนกลายเปนสีชมพู สามารถใชผสมกับน้ำ เพ�อปรับสภาพน้ำกอนผสมสารกำจัด ศัตรูพืช ปุยทางใบ เพราะน้ำสวนมากมีความกระดาง หรือมีธาตุละลายในน้ำ ทำใหสารกำจัด ศัตรูพืชเส�อมประสิทธิภาพได ไฮบริด เอสบี ชวยเพิ่มความสามารถในการละลายของปุยเกล็ดที่ละลายน้ำไดยาก ใหละลาย ไดดีขึ้น สังเกตไดจากความใสของปุยที่ละลายในถังผสม ใหสามารถแพรกระจายไปที่ผิวใบ พืช ลดแรงตึงผิวของหยดน้ำยาและเกาะจับติดไดดีขึ้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของสารกำจัด ศัตรูพืช และยังชวยเพิ่มความสามารถในการดูดซับฮอรโมนธาตุอาหารไดดียิ่งขึ้น ไฮบริด เอสบี ชวยทำใหอาหารพืชที่ฉีดพนทางใบสามารถตรงเขาสู ใบพืชไดมากขึ้น เพราะ ชวยใหธาตุอาหารพืชเกาะติดไดนานกวา ทำใหสารละลายทีผ่ วิ ใบพืชแหงชาในเวลากลางวัน และ กลับมามีความชื้นใหมอีกครั้งในเวลากลางคืน ไฮบริด เอสบี ชวยลดความเปนดางของผิวหนาใบ ขณะที่ละอองสารเคมีอยูที่ผิวพืช จึง ทำใหสารเคมีกำจัดศัตรูพืชไมเส�อมประสิทธิภาพที่ผิวพืช การควบคุมศัตรูพืชจึงไดผลเต็มที่ พืชไมเสียหาย และไมสิ้นเปลืองยา

อัตราการใช

ชนิดของน้ำ อัตราใชตอน้ำ 20 ลิตร โดยประมาณ น้ำออน 8-10 ซีซี. 10-12 ซีซี. น้ำธรรมดาทั่วไป 20-24 ซีซี. น้ำคอนขางกระดาง 36-40 ซีซี. น้ำกระดาง

คำแนะนำในการใช ไฮบริด เอสบี ใหปฏิบัติดังนี้ 1. เตรียมน้ำที่จะผสมยาฆาแมลง 2. คอยๆ เติม ไฮบริด เอสบี ลงไปในน้ำที่เตรียมไวทีละนอย เพ�อปรับ pH ของน้ำ สีของน้ำจะเปลี่ยนไปเปนสีชมพูหรือแดง (pH 4.5-5.5) จึงใชได 3. ใสยาฆาแมลง ปุยทางใบ อาหารเสริม ฯลฯ แลวกวนใหเขากัน 4. หลังจากใสยาฆาแมลงลงไปแลวสีชมพูหรือสีแดงจางลง ใหเติม ไฮบริด เอสบี ลงไปอีกเล็กนอยจนน้ำเปนสีชมพู คา pH อยูระหวาง 4.5-5.5 จึงทำการฉีดพนได


สารโพรคลอราซ (prochloraz) 45%EC

ล! ของแทจากอิสรุกาเอ ชวง ท  ด ไ  ใช ย ั ภ ด อ ล ป น ็ เย า ย

ปกปองมั่นใจ..

กำจียัดบโขราดค! เฉ เฉ

แผลจุดดาวกระจาย

อาจเกิดจากสรีระพืชและสภาพอากาศ ทำใหผิวเปลือกสมเกิดแผลจากการที่ตอมน้ำมันขยายตัวจนแตก หรืออาจเกิดจากการเขาทำลายของแมลงปากดูด ทำใหตอมน้ำมันบนผิวเปลือกสมเสียหาย แลวจึงเกิดเชื้อราที่มากับน้ำฝน เชน Colletotrichum sp., Alternaria sp. หรือ Curvularia sp. เขาทำลายซ้ำ ลักษณะอาการพบเปนจุดแตมสีเหลือง แผลคอนขางกลม และกระจายไปทั่วผิวของผลสม การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี. และควรปองกันกำจัดแมลงปากดูดในระยะติดผลของสมควบคู ไปดวย ที่มาขอมูล : ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ.


โรคสะแคป

โรคผลรวง หรือราเขาขั้ว

โรคเมลาโนส

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Sphaceloma fawcetti Bitance & Jenk. เชื้อราสาเหตุสามารถเขาทำลายไดที่ ใบ กิ่ง และผล อาการบนใบออนระยะแรกจะพบจุดใส เล็กๆ โดยแผลจุดนูนดานหนึ่ง สวนอีกดานหนึ่งจะเปนรอยบุม ตอมาแผลจะนูนแข็ง และทำใหใบบิดเบี้ยว แคระแกร็น อาการบนผลจะพบจุดนูนคลายหูดขรุขระ ถาเปนกับผลออนจะทำใหผลบิดเบี้ยวได พบระบาดรุนแรงในสภาพอากาศคอนขางเย็น และมีความชื้น การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี. เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Diplodia natalensis Pole-Evans หรือ Botryodiplodia sp. ลักษณะอาการที่ลำตนหรือกิ่งใหญๆ เริ่มจากมีแผลปริแตก มียางไหลออกมาจากแผล ตอมาแผลเริ่มเนาขยายลุกลามเขาเนื้อไม และเชื้อราสาเหตุยังเขาทำลายที่ขั้วผลสม ทำให ผลรวงเสียหายกอนระยะเก็บเกี่ยว การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี. กรณีที่ผลสมเปนโรคและรวงหลนอยูบนพื้นดินภายใตทรงพุม ใหเก็บออกนำไปเผา ทำลาย ไมควรปลอยทิ้งไวนาน เน�องจากเชื้อราสามารถมีชีวิตและอาศัยอยู ในดินขามฤดู เม�อสภาพแวดลอมเหมาะสมจะทำใหเกิดการติดเชื้อไดใหม ในฤดูถัดไป เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phomopsis citri หรือ Diaporthe citri Wolf. เชื้อราสาเหตุเขาทำลายใบสมในระยะใบเพสลาด ลักษณะอาการจะพบแผลเปน จุดขนาดเล็กสีน้ำตาล ตอมาแผลขยายใหญขึ้น สีเขมขึ้นเปนสีดำ แผลนูนระคายมือ มักเกิดดานใตใบทำใหใบรวงเร็วขึ้น การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี.

โรคใบเปอนน้ำหมาก เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Cercospora citri, Mycosphaerella citri หรือ M. horii เชื้อราสาเหตุเขาทำลายใบสมในระยะใบเพสลาด เชนเดียวกับ โรคเมลาโนส ลักษณะอาการเปนจุดใสขนาดเล็ก ตอมา จุดนูนขึ้นเปนสีเหลืองหรือน้ำตาล และลุกลามเปนแผลใหญขึ้น มีสีเขมขึ้น หรือมีสีดำเปนมันคลายใบที่เปอนน้ำหมากไมระคายมือ การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี.

โรคใบปนเหลือง เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Cercospora sp. ลักษณะอาการบนใบเปนปนจุดสีเหลืองลามเกือบทั้งใบ ดานใตใบมีจุดนูนมันๆ สีน้ำตาลออน ตอมาสีจะเขมขึ้นและ สากมือเม�อแผลแหง หากระบาดรุนแรงอาจทำใหใบรวงได การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 100-200 ซีซี.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

โรครากเนา โคนเนา

โรคที่สำคัญ

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phytophthora parasitica Dastur เชือ้ ราสาเหตุจะเขาทำลายระบบรากแลวลุกลามเขาสูท อ น้ำ ทออาหาร ทำใหเซลลของทอน้ำ ทออาหารเสียหาย พืชสงน้ำและอาหารไปเลี้ยงสวนตางๆ ไมได สงผลทำใหใบเหลืองซีด ลูล ง และแสดงอาการเหีย่ ว กิง่ บางกิง่ แหงตาย ตนโทรม หรือยืนตนตาย ลักษณะอาการ ที่โคนตนและกิ่ง ผิวเปลือกมีน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอยแผลแตก เนื้อเย�อ เปลือกทีถ่ กู ทำลายมีสนี ำ้ ตาลแดงหรือน้ำตาลเขม ในชวงทีม่ ฝี นตกชุกติดตอกันหลายวัน จะพบการระบาดรุนแรงมากขึ้น สปอรของเชื้อราสามารถติดไปกับละอองน้ำฝน ทำให เกิดแผลเนาฉ่ำน้ำที่ ใบและผล สงผลใหใบและผลรวงไปในที่สุด

การปองกันกำจัด : 1. ระบายน้ำในสวน อยาใหมีการทวมขัง โดยเฉพาะในชวงฤดูฝน 2. บำรุงตนสมใหแข็งแรง สมบูรณ ตัดแตงกิ่งหรือลำตนที่เปน โรคไปเผาทำลาย 3. ปรับสภาพดินใหมีความเปนกรด-ดาง ประมาณ 5.5-6.5 ดวย เปอรกา อัตราใช 0.5-1 กิโลกรัมตอตน เน�องจากในสภาพดินที่มีความเปนกรดจัดจะทำใหพืชออนแอ และสงผลใหเชื้อราสาเหตุที่มีอยูทั่วไปในดินเขาทำลายไดงาย 4. ลดปริมาณเชื้อราสาเหตุในดินดวย เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 10-20 ลิตรตอตน ผสมน้ำราดดินภายใน ทรงพุมใหทั่วทุกตน โดยเฉพาะตนที่ยังไมปรากฎอาการใหเห็นทางใบ 5. หากพบแผลบนลำตน ใหทาบาดแผลดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม รวมกับ เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 1 ลิตร ใหทั่ว การทาลำตนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร สามารถปองกันตะไครน้ำขึ้นตามตน ซึ่งเปนแหลงหลบซอนตัวของแมลงศัตรูสมอีกดวย 6. หากพบอาการบนใบและผล พนดวย ทาบ็อก ยาเย็นปลอดภัยใชไดทุกชวง อัตราใช 300 ซีซี.

โรคราดำ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Antennella citri, Capnodium citri หรือ Meliola citrocolor เชือ้ ราดำพบอยูท ว่ั ไปในสวนทีข่ าดการดูแล จะมีแมลงปากดูด เชน เพลีย้ แปง เพลี้ยไกแจ หรือเพลี้ยออน ที่มาดูดกินน้ำเลี้ยง และยังถายมูล น้ำหวานทิ้งเอาไวเปนอาหารของเชื้อราดำ ทั้งบนใบ กิ่ง และผล เปนที่ หลบซอนตัวของแมลงศัตรูสม หากเกิดบนผลทำใหผลมีคราบสีดำเปน สาเหตุสำคัญที่ทำใหผิวสมไมสวย ไมเนียนใส เชื้อราดำจะแพรกระจาย ไปกับลมและน้ำฝน โดยเฉพาะในชวงใกลเก็บเกีย่ ว ทำใหผวิ สมแลดูสกปรก และไมไดราคาเม�อเก็บผลผลิตไปจำหนาย การปองกันกำจัด : ดูมารค ยาเย็นปลอดภัยใชไดทุกชวง อัตราใช 400 ซีซี.


โรคแคงเกอรที่ ใบ

โรคแคงเกอรที่ผล

เชื้อสาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri เชื้อสาเหตุสามารถเขาทำลายไดเกือบทุกสวนของสมที่ ใบ กานใบ กิ่ง ลำตน และผล อาการที่ ใบเปนแผลจุดขนาดเล็กฉ่ำน้ำ รอบๆ แผลเปนวงสีเหลืองออน ตอมาแผลขยายใหญขึ้นเปนแผลเหลืองนูน ตรงกลางแผลแตกเปนสะเก็ดทั้งดานบนและดานลางของใบ อาการบนผลคลายกับบนใบ แผลมักเช�อมติดกัน ทำใหผลแตกบริเวณแผลและอาจรวงไปในที่สุด พบระบาดรุนแรงในชวงฝนตกชุกติดตอกันหลายวัน และใบออนที่มีหนอนชอนใบเขาทำลาย เกิดบาดแผลเปนชองทางใหเชื้อสาเหตุโรคแคงเกอรเขาทำลายซ้ำไดงายขึ้น การปองกันกำจัด : 1. พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม 2. ปองกันกำจัดแมลงศัตรูพืชที่ทำใหเกิดบาดแผล เชน หนอนชอนใบ 3. พนยาลางตนหลังการตัดแตงกิ่งดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 200 กรัม รวมกับ คลอร ไซริน อัตราใช 300 ซีซี. เพ�อปองกันกำจัดเชื้อสาเหตุที่พักตัวและสะสมอยูตามตนและกิ่ง

โรคราสีชมพู

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Corticium salmonicolor เชื้อราสาเหตุอาศัยอยูบนกิ่งและงามกิ่งหรือลำตนพืช ทำใหกิ่ง งามกิ่ง และเปลือกของ ลำตนผุ เม�อฝนตกหรือความชื้นสูง เชื้อราจะเจริญเติบโตขยายลามออกมากขึ้น และ อาจเห็นเสนใยสีชมพูบนรอยแผลที่ขยายขึ้นใหม หากปลอยทิ้งไวกิ่งนั้น ใบจะรวงเหลือ แตกิ่ง โดยสวนมากเกษตรกรมักพบเห็นอาการในระยะที่กิ่งผุแลว ซึ่งเปนระยะที่เชื้อมี การลุกลามและเขาทำลายเนื้อเย�อพืชไปมากแลว ทำใหตนพืชโทรมและตายไปในที่สุด ทรงพุมที่หนาทึบ ยิ่งจะชวยสงเสริมใหเกิดการแพรระบาดของโรคนี้ ไดมากและเร็วขึ้น

การปองกันกำจัด : 1. ใหตัดแตงกิ่งที่เปนโรคออกไปเผาทำลาย และทาแผลที่รอยตัดดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม ตอน้ำ 1 ลิตรใหทั่ว 2. พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม เปนประจำจะชวยใหมีโอกาสปลอดโรคราสีชมพูไดสูงมากขึ้น 3. หลังการตัดแตงกิ่ง พนยาลางตนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 200 กรัม รวมกับ คลอร ไซริน อัตราใช 300 ซีซี. จะชวยใหมีโอกาสปลอดโรคราสีชมพูไดสูงเชนเดียวกัน เน�องจากเชื้อราสาเหตุสามารถพักตัวและสะสมคางตนได รวมถึงแมลงศัตรูพืชที่หลบซอนตัวอยูภายในตน ที่รอเขาทำลาย สมในรุนถัดไป ที่มาขอมูล : ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

เพลี้ยไฟพริก

แมลงศัตรูสำคัญ

อาการโดนทำลาย

ช�อวิทยาศาสตร : Scirtothrips dorsalis Hood เพลี้ยไฟพริกเปนชนิดที่พบมากที่สุดในสมเขียวหวาน ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ดอก และผลออน สวนใบ ทีถ่ กู ทำลายจะมีลกั ษณะแคบเรียว บิดเบีย้ ว หงิกงอ และยอดจะแคระแกร็นไมยดื ยาว หากเขาทำลายในระยะดอก ดอกจะรวง รวมทัง้ ผลออนสมจะแคระแกร็นและเกิดรอยแผลสีเทาเงินเปนทาง ที่เรียกวา ขี้กลาก ผิวสมไมสวย ผิวลายไมไดราคา เพลีย้ ไฟแพรระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลม จะระบาดอยางรุนแรงในชวงแหงแลงหรือฝนทิง้ ชวง สามารถสำรวจการระบาด ของเพลี้ยไฟได โดยการเคาะสวนยอดบนกระดาษขาว แลวตรวจนับจำนวนเพลี้ยไฟที่พบ การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

มวนเขียวสม

อาการโดนทำลาย

ช�อวิทยาศาสตร : Rhychocoris poseidon Kirkaldy ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและผล โดยเฉพาะที่ผลจะทำใหผลสมเปนรอยจุดช้ำสีคล้ำ หากเกิดที่ผลออนอาจทำให ผลรวงหลนได การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ช�อวิทยาศาสตร : Toxoptera citricida (Kirkaldy) และ Toxoptera aurantii (Boyer de Fonscolombe) ตัวออนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ดอก ผลออน และถายมูลน้ำหวานทิ้งไว ทำใหเกิดเชื้อราดำตามมา เพลี้ยออนระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลม จะพบตัวเต็มวัยมี ปก เม�อเพลี้ยออนมีประชากรหนาแนนเกินไป หรือเม�อตองการอพยพเปลี่ยนแหลงที่อยูและ ที่สำคัญ เพลี้ยออนสมยังเปนพาหะของโรคทริสติซาอีกดวย

เพลี้ยออนสม การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ คลอร ไซริน อัตราใช 300 ซีซี.

เพลี้ยไกแจสม

ช�อวิทยาศาสตร : Diaphorina citri Kuwayama ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ตาและยอดออน ทำใหสมชะงักการเจริญเติบโต ยอดเหี่ยว และใบหลุดรวงไปในที่สุด มีผลกระทบ ตอการออกดอกและติดผลของสม ตัวออนขณะดูดกินจะกลั่นสารสีขาวมีลักษณะเปนเสนดาย ชักนำใหเกิดเชื้อราดำตามมา ตัวเต็มวัย เวลาเกาะอยูกับที่มักทำตัวเอียงเปนมุม 45 องศากับใบพืช สวนของปกมีลักษณะคลายหางไกแจ และที่สำคัญ เพลี้ยไกแจสมเปนพาหะ ของโรคกรีนนิ่งอีกดวย

เพลี้ยแปง

ช�อวิทยาศาสตร : Phenacoccus solenopsis Tinsley และ Planococcus citri (Risso) เพลี้ยแปงสามารถดูดกินน้ำเลี้ยงไดเกือบทุกสวนของพืช โดยเฉพาะที่ผลสม ผลจะแคระแกร็น ไมขยายใหญ เพลี้ยแปงที่ดูดกินน้ำเลี้ยงและยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไวเปนอาหารของมด มดจึงเปนตัวนำพาเพลี้ยแปงขึ้นมาที่ ใบ กิ่ง ดอก หรือผล ทำใหเกิดเชื้อราดำขึ้นมาที่ผล ทำให ผลมีคราบสีดำ แลดูสกปรก และไม ไดราคา เพลี้ยแปงมีผิวเปนไขซอนกันหนาหลายชั้น จึง จำเปนตองใชสารปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี

การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม หรือ คลอร ไซริน อัตราใช 300 ซีซี.

เพลี้ยหอยสีแดง แคลิฟอรเนีย

ช�อวิทยาศาสตร : Aonidiella aurantii (Maskell) เปนเพลี้ยหอยเกราะออนสีน้ำตาลแดง มีขนาดเล็กมาก รูปรางกลมคลายโลห พบเกาะอยูที่ ใบ กิ่ง และผล ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกิน น้ำเลี้ยง โดยเฉพาะที่ผลออนจะทำใหผิวเปลือกมีสีซีดเหลือง ผลแคระแกร็น หากระบาดรุนแรงอาจทำใหใบและผลรวงได เพลี้ยหอยสีแดง มีอวัยวะภายนอกแข็งหอหุมลำตัวซึ่งออนนิ่มอยูภายใน จำเปนตองใชสารปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี เชนเดียวกับ เพลี้ยแปง ที่มาขอมูล : สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. ใน เอกสารประกอบการอบรม. 162 หนา

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

หนอนชอนใบสม ช�อวิทยาศาสตร : Phyllocnistis citrella Stainton ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนจะวางไขไวใตเนื้อเย�อผิวใบ เม�อตัวหนอนฟกออกมาจะกัดกินและชอนไชอยู ในระหวางผิวใบ ทำให เห็นเปนเสนทางวกวนสีขาว มักพบในระยะแตกใบออน ทำใหใบหงิกงอเสียรูปทรง หากระบาดรุนแรงสามารถเขาทำลายกิ่งออน และผลออน ทำใหเกิดบาดแผลเปนชองทางใหโรคแคงเกอรเขาทำลายซ้ำไดงายขึ้น การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

หนอนมวนใบสม หรือหนอนแปะใบสม

หนอนเจาะสมอฝาย

ช�อวิทยาศาสตร : Archips micaceana (Walker) ตัวหนอนกัดกินใบออน และสรางใยดึงใบและยอดเขาหากัน หรือมวนใบใหพับติดกัน แลวอาศัยกัดกินอยูภายในใบนั้น จนเขาดักแด ทำใหสมชะงักการเจริญเติบโตและมีผลกระทบ ตอการออกดอก ติดผลของสม

ช�อวิทยาศาสตร : Helicoverpa armigera (Hubner) ตัวหนอนกัดกินไดทั้งใบ ดอก และผลออน โดยเฉพาะสมใน ระยะดอกตูมจนถึงผลออน ทำใหชอ ดอกเสียหายและผลออน หลุดรวง ผลผลิตสมลดลงมากกวา 50%

การปองกันกำจัด : เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ แบคโทสปน เอฟ.ซี. ปลอดภัย ไรพิษตกคาง อัตราใช 600-800 ซีซี. หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ที่มาขอมูล : สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. ใน เอกสารประกอบการอบรม. 162 หนา

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ไรแดงแอฟริกัน

ไรสนิมที่ ใบ

ช�อวิทยาศาสตร : Eutetranychus africanus (Tucker) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงไดทั้งหนาใบ หลังใบ และผลสม ทำใหใบมีสีเขียว ซีด ผิวใบดาน มีคราบของไรแดงคลายฝุนผง และใบรวงในที่สุด มีผลกระทบตอการ ออกดอก ติดผลของสม หากไรแดงเขาทำลายในระยะติดผล จะทำใหเปลือกกระดาง ผิวไมสวย และผลสมมีขนาดเล็กลง ถาระบาดรุนแรงอาจทำใหผลรวงได ไรแดงระบาดโดยการปลิวไปตามลม พบการระบาดรุนแรงในชวงแหงแลง หรือฝนทิ้ง ชวง สำรวจการระบาดของไรแดงไดโดยการใชนว้ิ มือลูบไปบนใบ จะพบวามีคราบสีแดง คลายเลือดติดมาตามนิ้วมือ

ไรสนิมที่ผล

การปองกันกำจัด : ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม

ช�อวิทยาศาสตร : Phyllocoptruta oleivora (Ashmead) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงไดทั้งหนาใบ หลังใบ และผลสม ทำใหใบกระดาง และมีสีเขียวคล้ำ มีผลกระทบตอการออก ดอก ติดผลของสม หากไรสนิมเขาทำลายในระยะติดผล จะทำใหสีเปลือกเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีน้ำตาลแดง คลายสนิมเหล็ก ผิวไมสวย ผลออนจะชะงักการเจริญเติบโต และผลสมมีขนาดเล็กลง ตัวเต็มวัยไรสนิมสมมีขนาดเล็กมาก ยากที่จะเห็นไดดวย ตาเปลา ระบาดโดยการปลิวไปตามลม

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง

ควรปรับสภาพน้ำกอนผสมสารเคมีอ�นๆ ดวย..ไฮบริด เอสบี เพ�อใหสารเคมีที่ ใชกระจายตัวในน้ำไดดี และออกฤทธิ์เต็มประสิทธิภาพ อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 200 ลิตร




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.