มะนาว

Page 1

มะนาว

เทคนิคการทำ

เพ�อผลผลิตที่สมบูรณและมีคุณภาพ

ขั้นเทพ

เทพวัฒนา ตราปลาคู @thepwatana

บริษัท เทพวัฒนา จำกัด 326 ซ.ศรีนครินทร 24 (ซ.อนามัย) ถ.ศรีนครินทร สวนหลวง 10250 โทร. 0-2721-3510 www.thepwatana.com


มะนาวมีการจัดการสองแบบ คือ แบบสวนรองน้ำ กับ แบบไร ตางกันที่..การใหน้ำและการบังคับใหมะนาวออกดอกดวยการกักน้ำ งดการใหน้ำบาง แตมีความนิยมใหม คือ การปลูกในปลองซีเมนต เม�อเรางดน้ำ ตนก็จะสรางดอกไดงาย แตที่จริงแลว..น้ำ เปนปจจัยการพาปุยไนโตรเจนเขาสูตน เม�อมีน้ำมาก..ไนโตรเจนก็เขามาก เพราะมะนาว เปนพืชรากตื้นอยูผิวดิน ไมลงลึกเทาไรนัก จึงรับปุยไนโตรเจนและมีการตอบสนองเร็วเสมอเม�อมีน้ำ

ปจจัยชนิดของปุยไนโตรเจนทางดินกับน้ำ มีผลกับมะนาวในการสรางใบ ออกดอก ติดผล ปุยไนโตรเจนที่ ใส ใหกับมะนาวมี 3 ชนิด ไดแก ปุยยูเรีย (46-0-0) แอมโมเนียม (21-0-0) และไนเตรท (15-0-0) สวนปุยคอกหรือมูลสัตว ถือวาเปนการใหไนโตรเจนในรูปแอมโมเนียม เพราะมูลสัตวจะยอยเปลี่ยนรูปเปน แอมโมเนียมตามวัฏจักรไนโตรเจน สวนปุยอินทรีย ถึงแมจะมีไนโตรเจนเหลือนอยก็ตาม แตหากผานฤดูฝน ตนจะดูดซับไนโตรเจนจากน้ำฝนไดมากพอๆ กับการใหไนโตรเจน ในรูปแอมโมเนียอยูดี ปุยที่ ใหทางดินจึงมีสิทธิ์ตกคางในดินไดนาน


ชนิดของดินกับแหลงน้ำ..

มีผลตอการดูดซับธาตุอาหารของรากเชนกัน

ที่กลาวถึงไนโตรเจนมากเปนพิเศษ เพราะเปนปุยที่กำหนดการ มีดอก ติดผล ในเวลาที่ฤดูกาลฝน น้ำ แสงแดด และอุณหภูมิ มีผลตอการออกดอก ติดผลของมะนาวทั้งสิ้น เพราะมะนาว สามารถออกดอกติดผลไดทั้งป แตหากมีปจจัยธรรมชาติที่เกื้อหนุน ก็จะมีผลผลิตออกมามาก ราคาจะไมแพง แตหากเปนมะนาวหนาแลง ราคาจะแพงแตมีนอย เพราะการออกดอก ติดผลจะเกิดกอนฤดูนั่นเอง วงจรของน้ำฝนจึงมีผลตอการออกดอก ติดผล แต การจัดการน้ำและธาตุอาหารนั้นสามารถแทรกแซงได เพ�อใหตนออกดอกผาฝนได จนสามารถเก็บเกี่ยวมะนาวหนา แลงไดราคา เพราะเราสามารถจัดสมดุลไนโตรเจนใหมากหรือ นอยได ดวยการแทรกแซงธาตุอาหารอ�นๆ ที่เปนปจจัยแขงขัน จนชนะไนโตรเจน หรือการกดขมไนโตรเจน ที่นอกเหนือจาก การอดน้ำ การกักกันน้ำจนตนมะนาวเหี่ยว มีดอกแตกออกมาจริง แตตน จะโทรมเร็ว ยืนตนตายงายๆ หรือมีฝนตกมากเกินจนไมสามารถ กักน้ำได ก็ ไมสามารถทำใหมะนาวเหี่ยวได ซึ่งการกดไนโตรเจน ดวยการกักน้ำ จึงทำไดไมเต็มประสิทธิภาพนัก

กดยอด หยุดการสรางใบใหม.. วิธีการที่เด็ดขาดในการกดยอดใหแตกใหมไดนอยมากๆ ใน เวลา 15-30 วัน ดวย ชุดกดยอด.. แมมมอท ฮอลท รวมกับ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส เปนการหยุดการแบงตัวที่ปลายยอดและยังยกระดับน้ำตาลที่ ยอดมากขึ้น เพ�อเปลี่ยนแปลงไนโตรเจนที่ ใบรองยอด เปน สารอินทรียอ น� ที่ ไม ใชในการสรางใบ มะนาวจะหยุดสรางยอด ประมาณ 10 วัน ตอการฉีด 1 ครั้ง หากหยุดการสราง ใบใหมได 15-30 วัน (เริ่มดำเนินการในเดือนกันยายนถึง ตุลาคม) ตาใบจะเปลี่ยนเปนตาดอกที่มีจำนวนมากพอที่จะได ผลไปเก็บเกี่ยวในฤดูแลงได (มีนาคม-เมษายน)


โรคใบแกวในมะนาว โรคกรีนนิ่ง โรคตนโทรม ตางกันอยางไร?

ทั้ง 3 โรค เปนโรคที่มีอาการคลายกันมากจนบางทีแยก ออกไดยาก วิธีการจัดการปญหาที่เกิด ตองเปนแบบบูรณาการที่จะ แกปญหาใหผานไปได ลักษณะอาการของมะนาวทีม่ ี ใบออนออกมาใหมมขี นาดเล็กผิดปกติ มีอาการใบลาย ใบไมเขียวทั่วทั้งใบ ทำใหมีจำนวนใบที่ดีไมมากพอ ในการใชสังเคราะหแสง หรือไดรับสารอาหารที่ ไมเพียงพอกับความ ตองการใชในตน ดังนั้นรากจึงขาดอาหารจากใบ ทำใหรากตายมาก กวาเกิดเพิม่ ใบก็จะขาดธาตุอาหารจากดิน ใบใหมกจ็ ะมีวงจรการขาด ตอเน�องจนตนโทรมตาย เพราะรากตายมาก ตายกอน จากนั้นสวน ที่อยูเหนือดินจะตายตาม การแกไขปญหาตองใหธาตุที่ขาด คือ สังกะสีและธาตุอาหาร เสริมอ�นๆ ที่สรางสารสีเขียวในใบ การแตงกิ่งเพ�อลดภาระราก ในการดูดน้ำและปุยจากดิน สรางพื้นฐานรากกับกิ่งใบบนตนที่พอดี กำลังกัน ระยะการมียอดใหมตองควบคุมการระบาดของแมลงที่จะ ทำลายใบ และถายทอดเชื้อโรคกรีนนิ่งใหไดเด็ดขาด หรือคุมการ ระบาดอยาใหทำลายใบจนมากเกินไป ระยะใบออนมีเวลาเพียง 60 วัน ในการใหธาตุอาหารที่สรางสีเขียว ทางใบ เพ�อใหมี ใบเขียวสมบูรณมากพอ เพราะหากใหรากดูดสาร อาหารขึ้นไปใหไดทั่วทุกใบ จะไมทันเวลา ใบจะเลยเวลาในการสราง เนื้อใบที่เขียวหนาได ทำใหมี ใบเหลืองเสมอในตน

กิ่งมุมแคบ 4 กิ่งน้ำคาง 5 หรือกิ่งกระโดง

การทำใบเขียวไดดวย..

แมมมอท ซิงค รวมกับ แมมมอท คอมบิ เม�อมี ใบออน แตหากเลยระยะใบออนแลว การทำใหใบเขียวหนา ตองใช แมมมอท สุพรีม (0-28-18) และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

6 กิ่งไขวชี้ผิดทิศทาง

ก 3 กิที่ง่ขเล็ ึ้นแซม

2 กิ่งซอนทับกัน 1 กิ่งใหมจากตาดานบน

ลักษณะของกิ่งชนิดตางๆ ที่ควรตัดออก


ระบบรากของมะนาว ระบบรากที่แข็งแรง มาจากการมีจำนวนรากเกิดใหม เม�อ มี ใบออนจำนวนที่มากพอ การตายของรากมีนอยกวา การเกิดการเสียหายของรากจนมีการตายมาก มาจากน้ำ ฝนที่มากหรือนอยเกินไป เพราะรากมะนาวเปนระบบรากตื้น รากจะตายมาก เม�อถูก แดดเผาดิน รากตายเพราะดินรอนเกินไปในชวงหนาแลง หรือการกักน้ำงดการใหน้ำเพ�อใหมะนาวมีดอก การกักน้ำ จึงมีผลกระทบโดยตรง ในการทำใหรากตาย สวนในชวงหนาฝน น้ำจากฝนจำนวนมากทำใหรากแชน้ำ นานจากการระบายน้ำที่ ไมดีจึงทำใหรากตายมาก รวมทั้ง รากจะขาดน้ำตาลจากใบ เพราะการสังเคราะหแสงไดนอย เน�องจากความเขมแสงต่ำหรือฟาปดติดตอกันหลายวัน จนทำใหรากขาดน้ำตลาดเปนเวลานาน รากจะตายมาก ใบ ออนที่ออกมาก็จะขาดธาตุที่สรางสารสีเขียวมากตาม ไปดวย การสรางดอกผาฝนจึงทำไดยากเพราะความพรอมของ ตนมีนอย ปญหาการระบายน้ำ ปรับโครงสรางดิน แกได ดวย ฟูลเฮาส และ เปอรกา มะนาวยิ่งอายุมากก็ยิ่งใชธาตุอาหารจากดินไปมาก ควรมีการเติมใหในชวงฤดูฝน เพราะความเขมขน ของธาตุอาหารจะเจือจางมาก เม�อมีฝนมาก หรือระยะในการฉีดพนทางใบไดไมตรงชวงที่พืชตองการ ควรเติมธาตุอาหารใหดวย ยูทา10 เม�อมี ใบออนในชวงหนาฝน เพ�อการมี ใบออนที่เขียวหนา

ฉีดพน 2 ครั้งดวย.. ชุดลางตนขั้นเทพ เพ�อลางตนใหสะอาด ปราศจากโรคและแมลง อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

นอรด็อกซ ซุปเปอร* คลอร ไซริน ไฮบริด เอสบี อัตราใช 100-200 กรัม อัตราใช 300-500 ซีซี. อัตราใช 100 ซีซี.

* นอรด็อกซ ซุปเปอร เปรียบเสมือน ยาแดงสมานแผล รักษาแผลและปองกันการติดเชื้อตางๆ ที่จะเขาทำลายจากบาดแผลได


ผลใหญ เปลือกเขียว ไมเปนแคงเกอร มะนาวผลใหญ เปลือกเขียว ไมเหลืองงาย มะนาวจะมีราคาดี เพราะมีขนาดผลที่ ใหญ และสีเปลือกควรจะเขียวสด เพราะมะนาวที่ มีผลเล็กและเปลือกเหลือง แสดงถึงผลที่ ไมแข็งแรง หรืออาจเปน มะนาวรวง ซึ่งบางทีถึงเก็บจากตนแทๆ ก็ยังเหลือง มะนาวที่เปลือกเหลืองมักเก็บไมทน เนาเสียงาย ตลาดจะไมชอบนัก เพราะเก็บไวไดไมนานราคาจึงต่ำ การทีม่ ะนาวเปลือกเขียว ผลจะใหญ เพราะไดน้ำตาลจากใบที่ดี ขั้วผลทำงานสะดวก เปลือกจึงแข็งแรง สีเขียวสด การทำงานของขั้วผลจึงสำคัญ การที่ขั้วผลจะทำงานไดดี เพราะมี ปุยฟอสเฟตเพียงพอที่จะใชในทออาหาร ซึ่งการให แมมมอท โฟลิไซม จีเอ เปนการเพิ่มการทำงานของ ขั้วผลใหสงผานน้ำตาลสูทุกๆ ผลอยางมีประสิทธิภาพ การมีผลจำนวนมากและหลายรุน หรือแบกน้ำหนักรอเวลาเก็บเกี่ยว เพ�อรอราคาขั้วผล ยิ่งตองการจีเอมาก เพ�อการทำงานที่ดี การขาดประสิทธิภาพของขั้วผลสังเกตไดจากการโตของผลที่ชา ขั้วแหงเปนสีแดงเม�อผลหลุดจากขั้ว จึงทำใหผลขาดน้ำตาลและธาตุอาหารจากใบ ผลจึงไมโตและเหลือง เม�อมีการติดผลหลายรุนหรือจำนวนมาก จึงตองหมั่นสังเกตที่ขั้วผล และฉีดพน แมมมอท โฟลิไซม จีเอ เปนระยะ เพ�อการโตของผลที่ตอเน�อง ธาตุอาหารที่จำเปนกับการโตและความเขียวของผล คือ แคลเซียม แมกนีเซียม ซึ่งการ เพิ่มใหกับผลมะนาวตั้งแตยังเล็กจนครบอายุเก็บเกี่ยว จะทำใหผิวเปลือกยังเขียวสดอยูไดนาน เพราะใบมะนาวในชวงระยะ ใบออนจนแก อาจสะสม แคลเซียม แมกนีเซียม มาไมมากพอ ใบจะเหลืองและบาง ทำใหสงใหผลไดนอย การฉีดเพิ่มใหที่ผลในระยะที่โตเร็วๆ เปนการยืดอายุใบใหยาวขึ้น ไมเหลืองหรือรวงเร็วเกินไป เพราะใบและผลก็ตองการ แคลเซียม แมกนีเซียม เพ�อรักษาความเขียวของตัวเองเหมือนกัน


มะนาว มักเปนแคงเกอรอยูเสมอ..

ซึ่งการปองกันโรค ฆาเชื้อตายใหหมด ไม ใหเขาสู ใบนั้น ทำไดยากหากตนออนแอ เกิดการติดเชื้องาย มักเกิดจาก.. ความไมแข็งแรงของใบ นั่นเอง

มะนาวเปนพืชรากตื้น ทำใหรับปุยไนโตรเจนไดงาย ไมวาจะใสปุยไนโตรเจน โดยตรง ปุยหมัก ปุยคอกมูลสัตว ฉีดทางใบ หรือฝนตกก็ตาม มะนาวจะ แตกใบออนเร็ว ไมเปนชุด แตกใบออนตลอด เพราะการใหปุยไนโตรเจนที่ มากเกินไป หรือชนิดปุยที่ยืดเยื้อตกคางในดินนาน เม�อมีฝนมากรากมะนาวก็ดูดมาก จึงทำใหสรางใบไมหยุด ดังนั้นการฉีด สารปองกันกำจัดแมลงและโรคพืชจึงทำไดไมทัน ไมทั่วถึง กอใหเกิดโรคสะสมมากตามไปดวย การลดปุย ไนโตรเจน ควรใหแคพอดีหรือเวนระยะมากกวา 2-3 เดือน เพ�อการสรางใบใหเปนชุด ใสปยุ เม�อตองการใหสราง ใบใหมเปนชุด การฉีดยาฆาแมลง ยาเชื้อรา และอาหารบำรุงใบ จึงทำไดเปนระบบ สงผลใหการเกิดโรคนอย ตนจะแข็งแรง การชะลอการสรางใบ หรือทำใหมี ใบออนใหมนอยลงในระยะที่มีฝนตกบอย ดวยการใช.. แมมมอท สุพรีม (0-28-18) ฉีดพนทุกๆ 20 วัน จะชวยลดไนโตรเจนสวนเกินในใบ ทำให การสรางใบลดลง ทำชุดใบไดงายขึ้น หรือจะฉีดใหถี่ขึ้นเปนทุกๆ 10 วัน เม�อมีฝนมาก ก็จะ เปนการอั้นการแตกของใบ เหมือนการกักน้ำทางดิน แตวิธีนี้จะเปนการกักไนโตรเจนทางใบ ไม ใหสรางใบใหมชั่วคราว เพ�อการสรางความสมดุลในใบ การเกิดแคงเกอรจะลดลง เพราะใบไม ออนแอใหแบคทีเรียทำรายได

ใบมะนาวที่ออนแอและติดเชื้อแบคทีเรีย เปนสาเหตุของการเกิดโรคแคงเกอร ไดงาย มาจากการจัดการปุยไนโตรเจนที่ ไมเปนระบบ


การปองกันกำจัด

โรครากเนา โคนเนา

โรคที่สำคัญ

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phytophthora parasitica Dastur เชื้อราสาเหตุจะเขาทำลายระบบรากแลวลุกลามเขาสูทอน้ำ ทออาหาร ทำใหเซลลของ ทอน้ำ ทออาหารเสียหาย พืชสงน้ำและอาหารไปเลี้ยงสวนตางๆ ไมได สงผลทำใหใบ เหลืองซีด ลูลง และแสดงอาการเหี่ยว กิ่งบางกิ่งแหงตาย ตนโทรม หรือยืนตนตาย ลักษณะอาการที่โคนตนและกิ่ง ผิวเปลือกมีน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอย แผลแตก เนื้อเย�อเปลือกที่ถูกทำลายมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเขม หากมีฝนตกชุกติดตอกันหลายวันจะพบการระบาดรุนแรงมากขึ้น สปอรของเชื้อรา สามารถติดไปกับละอองน้ำฝน ทำใหเกิดแผลเนาฉ่ำน้ำที่ ใบและผล ทำใหใบและผลรวง ไปในที่สุด

การปองกันกำจัด : 1. ระบายน้ำในสวนอยาใหมีการทวมขัง โดยเฉพาะในชวงฤดูฝน 2. บำรุงตนมะนาวใหแข็งแรง สมบูรณ ตัดแตงกิ่งหรือสวนที่ เปนโรคไปเผาทำลาย 3. ปรับสภาพดินใหมีความเปนกรด-ดาง ประมาณ 5.5-6.5 ดวย เปอรกา อัตราใช 0.5-1 กิโลกรัมตอตน เน�องจาก ในสภาพดินที่มีความเปนกรดจัดจะทำใหพืชออนแอ และสงผลใหเชื้อราสาเหตุที่มีอยูทั่วไปในดินเขาทำลายไดงาย 4. ลดปริมาณเชื้อราสาเหตุในดินดวย เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 10-20 ลิตรตอตน ผสมน้ำราดดิน ภายในทรงพุมใหทั่วทุกตน โดยเฉพาะตนที่ยังไมปรากฎอาการใหเห็นทางใบ 5. หากพบแผลบนลำตน ใหทาบาดแผลดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม รวมกับ เทอรราโซล อัตราใช 100 ซีซี.ตอน้ำ 1 ลิตร ใหทั่ว ซึ่งการทาลำตนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร ยังสามารถปองกันตะไครน้ำ ขึ้นตามตน ซึ่งเปนแหลงหลบซอนตัวของแมลงศัตรูมะนาวอีกดวย 6. หากพบอาการบนใบและผล พนดวย ทาบ็อก ยาเย็นปลอดภัยใชไดทุกชวง อัตราใช 300 ซีซี.

อาการดอกเนา อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

มักพบอาการในชวงระยะดอกบานจนถึงเริ่มติดผลเทา หัวไมขีด โดยเฉพาะในชวงที่มีฝนตกชุกหรือมีน้ำคาง แรงในตอนเชา เกิดจากเชื้อราเขาทำลายในระยะดอก เม�ออากาศและความชื้นเหมาะสม ทำใหดอกเนาและ ผลมะนาวอาจหลุดรวงได การปองกันกำจัด : พนดวย เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดไลน้ำที่ขังตามซอกดอก หรือ ดูมารค อัตราใช 400 ซีซี. ผิวใสดุจนางงาม


โรคแคงเกอรที่กิ่ง

โรคแคงเกอรที่ ใบ

โรคแคงเกอรที่ผล

เชื้อสาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri เชื้อสาเหตุสามารถเขาทำลายไดเกือบทุกสวนของมะนาวที่ ใบ กานใบ กิ่ง ลำตน และผล อาการที่ ใบเปนแผลจุดขนาดเล็กฉ่ำน้ำ รอบๆ แผลเปนวงสีเหลืองออน ตอมาแผลขยายใหญขึ้นเปนแผลเหลืองนูน ตรงกลางแผลแตกเปนสะเก็ดทั้งดานบนและดานลางของใบ อาการบนผลคลายกับบนใบ แผลมักเช�อมติดกัน ทำใหผลแตกบริเวณแผล และอาจรวงไปในที่สุด พบระบาดรุนแรงในชวงฝน ตกชุกติดตอกันหลายวัน และใบออนที่มีหนอนชอนใบเขาทำลายเกิดบาดแผล เปนชองทางใหเชื้อโรคแคงเกอรเขาทำลายซ้ำไดงายขึ้น การปองกันกำจัด : 1. พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม 2. ปองกันกำจัดแมลงศัตรูพืชที่ทำใหเกิดบาดแผล เชน หนอนชอนใบ เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Corticium salmonicolor เชื้อราสาเหตุอาศัยอยูบนกิ่งและงามกิ่ง หรือลำตนพืช ทำใหกิ่ง งามกิ่ง และเปลือก ของลำตนผุ เม�อฝนตกหรือความชื้นสูง เชื้อราจะเจริญเติบโตขยายลามออกมากขึ้น และอาจเห็นเสนใยสีชมพูบนรอยแผลที่ขยายขึ้นใหม หากปลอยทิ้งไวกิ่งนั้น ใบจะรวง เหลือแตกิ่ง โดยสวนมากเกษตรกรมักพบเห็นอาการในระยะที่กิ่งผุแลว ซึ่งจะเปนระยะที่เชื้อมีการ ลุกลามและเขาทำลายเนื้อเย�อพืชไปมากแลว ทำใหตนพืชโทรมและตายไปในที่สุด ทรงพุมที่หนาทึบ ยิ่งจะสงเสริมใหเกิดการแพรระบาดของโรคนี้ ไดมากและเร็วขึ้น

โรคราสีชมพู

การปองกันกำจัด : 1. ใหตัดแตงกิ่งที่เปนโรคออกไปเผาทำลาย และทาแผลที่รอยตัดดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100 กรัม ตอน้ำ 1 ลิตร 2. พนดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม เปนประจำจะชวยใหมีโอกาสปลอดโรคราสีชมพูไดสูงมากขึ้น หรือ ไวตาแวกซ อัตราใช 100-200 กรัม สามารถฆาเชื้อราที่เห็นเสนใยทุกชนิด

โรคเมลาโนส

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phomopsis citri หรือ Diaporthe citri Wolf. เชื้อราสาเหตุเขาทำลายใบมะนาวในระยะใบเพสลาด ลักษณะอาการ พบแผลเปนจุดขนาดเล็กสีน้ำตาล ตอมาแผลขยายใหญขึ้น สีเขมขึ้นเปนสีดำ แผลนูนระคายมือ มักเกิดดานใตใบทำใหใบ รวงเร็วขึ้น การปองกันกำจัด : พนดวย เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี.

ที่มาขอมูล : ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สารเททราโคนาโซล 4%EW

ผดิวุจนใาสงงาม

ง ว  ช ก ุ ท  ด ไ  ช ใ ย ั ภ ด ยาเย็น ปลอ อัตราใช 400 ซีซี.

โรคราดำที่ ใบ

โรคราดำที่ผล

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Antennella citri, Capnodium citri หรือ Meliola citrocolor เชื้อราดำพบอยูทั่วไปในสวนที่ขาดการดูแล มักจะมีแมลงปากดูด เชน เพลี้ยแปง เพลี้ยไกแจ หรือเพลี้ยออน ที่มาดูดกินน้ำเลี้ยง และยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไวเปนอาหารของเชื้อราดำ ทั้งบนใบ กิ่ง ดอก และผล เปนที่หลบซอนตัวของแมลงศัตรูมะนาว หากเกิดบนผลทำใหผลมีคราบสีดำ เปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหผิวมะนาวไมสวย ไมเนียนใส เชื้อราดำจะแพรกระจายไปกับลมและ น้ำฝน โดยเฉพาะในชวงใกลเก็บเกี่ยว จะทำใหผิวมะนาวแลดูสกปรก ไมเปนที่ตองการของตลาด เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phyllosticta sp. ลักษณะอาการเกิดเปนแผลจุดสีนำ้ ตาลออน ขอบแผลสีนำ้ ตาลเขม เนือ้ เย�อรอบๆ แผล เปลี่ยนเปนสีเหลือง ตรงกลางแผลจะมีสวนขยายพันธุของเชื้อฝงตัวอยู มีลักษณะ เปนเม็ด คอนขางกลมสีดำกระจายอยูทั่วไป เม�อแตกออกสปอรจะสามารถระบาดปลิว ไปกับลมหรือติดไปกับน้ำฝนได พบระบาดรุนแรงในสภาพอากาศชืน้ หรือชวงฝนตกชุก

โรคใบจุดดำ อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

ที่มาขอมูล : ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ.


สารคิวพรัสออกไซด 86.2%WG

สารอ�นๆ

ตะไครน้ำสะสมที่ ใบ

เทคนิคขั้นเทพ การทาลำตนและกิ่ง ดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร ตะไครน้ำสะสมที่ลำตน

สามารถปองกัน โรครากเนา โคนเนา ไดเปนอยางดีแลว นอรด็อกซ ซุปเปอร ยังชวยในการปองกันและกำจัดตะไคร ที่เกาะอยูตามตนและงามกิ่ง โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนที่มีความชื้นสูง

ตะไคร..นอกจากจะทำใหเกิดเปนความชื้นสะสมไวแลว ยังเปนแหลงสะสมของเชื้อโรคตางๆ

ทำใหเกิดการติดเชื้อเปนผลทำใหเกิดกิ่งเนาได อีกทั้งยังเปนที่อยูหรือที่หลบซอนของแมลงหรือไรศัตรูพืชบางชนิด ทำใหตนมะนาวมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคและการระบาดของแมลงเพิ่มมากขึ้น การทาลำตนและกิ่ง หรือการพนลางตน ดวย นอรด็อกซ ซุปเปอร จึงเปนอีกวิธีการหนึ่งที่จะชวยลดความ เสี่ยงได นอรด็อกซ ซุปเปอร มีการยึดเกาะสูง ติดทนนาน ทนการชะลางไดดีแมในฤดูฝนที่ยาวนาน 0 100% 80% 60% 40% 20%

ผลิตในรูปแบบ Wetable Granule (WG) ปลอดภัย ใชงานงาย ละลายดี ไมมีตะกอน

5

10 15 20 25 30 35 40

ระดับน้ำฝน (มิลลิเมตร)

คอปเปอร ไฮดรอกไซด คอปเปอร ออกซี่คลอไรด

กราฟแสดงความคงทนตอการชะลางจากน้ำฝนระหวาง นอรด็อกซ ซุปเปอร กับสารคอปเปอรทั่วไป

เพราะวาเรากางรมใหพืชไม ได ให..นอรด็อกซ ซุปเปอร 75WG ปองกันเชื้อรา และแบคทีเรีย ใหพืชของคุณ


เทคนิคการปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

บอยครั้ง ที่เกษตรกรพบวา..การปองกันกำจัดแมลงและไรศัตรูพืชไดผลลัพธไมเปนที่นาพอใจนัก

เน�องจากปจจุบันแมลงและไรศัตรูพืชมีความตานทาน หรือการดื้อตอสารกำจัดแมลงเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรจึงตองมีการใชสารกำจัดแมลง แบบสลับสับเปลี่ยน หมุนเวียนไปตามกลไกการออกฤทธิ์ (IRAC) ไมควรใชสารกำจัดแมลงที่มีกลไกการออกฤทธิ์แบบเดียวกันรวมกัน หรือซ้ำติดตอกันเกิน 2-3 ครั้ง ตัวอยางเชน.. ครั้งที่ 1 : ใช ไพเรทอกซ ซุปเปอร [กลุม 3] รวมกับ อารตี้ 70 [กลุม 4] ครั้งที่ 2 : ใช ไพเรทอกซ ซุปเปอร [กลุม 3] รวมกับ โอโซพรีน [กลุม 2] ครั้งที่ 3 : ใช เดอะเน็กซ [กลุม 6] รวมกับ แอมเพล [กลุม 4] เปนตน ทั้งนี้ เพ�อชะลอความตานทานและสรางความยั่งยืนของการใชสารกำจัดแมลง ซึ่งนอกจากจะไดผลลัพธที่ มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นแลว ยังสามารถควบคุมศัตรูพืชไดกวางและครอบคลุมดียิ่งขึ้นอีกดวย

ที่มาขอมูล: www.irac-online.org


หนอนชอนใบ

ช�อวิทยาศาสตร : Phyllocnistis citrella Stainton ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืน จะวางไขภายในเนื้อเย�อใตผิวใบ เม�อตัวหนอนฟกออก มาจะกัดกินและชอนไชอยู ในระหวางผิวใบ ทำใหเห็นเปนเสนทางสีขาววกวน พบการระบาดไดตลอดทั้งป โดยเฉพาะในระยะแตกใบออน ทำใหใบหงิกงอเสียรูปทรง หากระบาดรุนแรง สามารถเขาทำลายกิ่งออนและผลออน ทำใหเกิดบาดแผล ซึ่งเปน ชองทางใหโรคแคงเกอรเขาทำลายซ้ำไดงายขึ้น การปองกันกำจัด : เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

หนอนมวนใบ หรือ หนอนแปะใบ

หนอนเจาะสมอฝาย

ช�อวิทยาศาสตร : Archips micaceana (Walker) ช�อวิทยาศาสตร : Helicoverpa armigera (Hubner) ตัวหนอนกัดกินใบออนและสรางใยดึงใบและยอดเขาหากัน ตัวหนอนกัดกินไดทั้งใบ ดอก และผลออน โดยเฉพาะมะนาว หรือมวนใบใหพับติดกัน แลวอาศัยกัดกินอยูภายในใบนั้น ในระยะดอกตูมจนถึงผลออน ทำใหชอดอกเสียหาย และ จนเขาดักแด ทำใหมะนาวชะงักการเจริญเติบโต และมีผล ผลออนหลุดรวง ผลผลิตมะนาวลดลงมากกวา 50% กระทบตอการออกดอก ติดผลของมะนาว การปองกันกำจัด : ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี. หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ แบคโทสปน เอฟซี ปลอดภัย ไรพิษตกคาง อัตราใช 600-800 ซีซี.

ไรแดงแอฟริกัน

ช�อวิทยาศาสตร : Eutetranychus africanus (Tucker) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลีย้ งไดทง้ั หนาใบ หลังใบ และผลมะนาว ทำใหใบมีสเี ขียว ซีด ผิวใบดาน มีคราบของไรแดงคลายฝุนผงและใบรวงในที่สุด มีผลกระทบตอการ ออกดอก ติดผลของมะนาว หากไรแดงเขาทำลายในระยะติดผล จะทำใหผิวเปลือก กระดาง ผิวไมสวย และผลมะนาวมีขนาดเล็กลง ถาระบาดรุนแรงอาจทำใหผลรวงได ไรแดงระบาดโดยการปลิวไปตามลม พบการระบาดรุนแรง ในชวงแหงแลงหรือฝนทิ้ง ชวง สำรวจการระบาดของไรแดงไดโดยการใชนว้ิ มือลูบไปบนใบ จะพบวามีคราบสีแดง คลายเลือดติดมาตามนิ้วมือ

ช�อวิทยาศาสตร : Phyllocoptruta oleivora (Ashmead) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลีย้ งไดทง้ั หนาใบ หลังใบ และผลมะนาว ทำใหใบกระดาง และมีสเี ขียวคล้ำ มีผลกระทบตอการออกดอก ติดผลของมะนาว หากไรสนิมเขาทำลาย ในระยะติดผล จะทำใหสีของผิวเปลือกเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีน้ำตาลแดง คลายสนิม เหล็ก ผิวไมสวย ผลออนจะชะงักการเจริญเติบโต และผลมะนาวมีขนาดเล็กลง ตัวเต็มวัยไรสนิมจะมีขนาดเล็กมาก ยากที่จะเห็นไดดวยตาเปลา ระบาดโดยการปลิวไป ตามลม

ไรสนิม

การปองกันกำจัดไร : ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม ที่มาขอมูล: สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. ใน เอกสารประกอบการอบรม. 162 หนา

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

เพลี้ยไฟที่ ใบ

แมลงศัตรูสำคัญ

เพลี้ยไฟที่ดอก

เพลี้ยไฟที่ผล

ช�อวิทยาศาสตร : Scirtothrips dorsalis Hood เพลี้ยไฟพริก เปนชนิดที่พบมากที่สุดในมะนาว ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ดอก และผลออน สวนใบที่ถูก ทำลายจะมีลักษณะแคบเรียว บิดเบี้ยว หงิกงอ และยอดจะแคระแกร็นไมยืดยาว หากเขาทำลายในระยะดอก ดอกจะรวง รวมทั้ง ผลออนมะนาวจะแคระแกร็น และเกิดรอยแผลสีเทาเงินเปนทาง ที่เรียกวา ขี้กลาก ผิวไมสวย ผิวลายและไมเปนที่ตองการของ ตลาด เพลี้ยไฟแพรระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลม และมีการระบาดอยาง รุนแรงในชวงแหงแลงหรือฝนทิ้งชวง สามารถสำรวจการระบาดของเพลี้ยไฟ ไดโดยการเคาะสวนยอด บนกระดาษขาวแลวตรวจนับจำนวนเพลี้ยไฟที่พบ การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

เพลี้ยไกแจ

ช�อวิทยาศาสตร : Diaphorina citri Kuwayama ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลีย้ งทีต่ าและยอดออน ทำใหมะนาวชะงักการเจริญเติบโต ยอดเหี่ยว และใบหลุดรวงไปในที่สุด มีผลกระทบตอการออกดอก และติดผลของ มะนาว ตัวออนขณะดูดกินจะกลัน่ สารสีขาวมีลกั ษณะเปนเสนดาย ชักนำใหเกิดเชือ้ ราดำ ตามมา ตัวเต็มวัยเวลาเกาะอยูกับที่มักทำตัวเอียงเปนมุม 45 องศากับใบพืช สวนของ ปกมีลักษณะคลายหางไกแจ ที่สำคัญเพลี้ยไกแจเปนพาหะของโรคกรีนนิ่งอีกดวย การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ช�อวิทยาศาสตร : Toxoptera citricida (Kirkaldy) และ Toxoptera aurantii (Boyer de Fonscolombe) ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ดอก ผลออน และถายมูลน้ำหวาน ทิ้งไว ทำใหเกิดเชื้อราดำตามมา เพลี้ยออนระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลม จะพบ ตัวเต็มวัยที่มีปก เม�อเพลี้ยออนมีประชากรหนาแนนเกินไป หรือเม�อตองการอพยพ เปลี่ยนแหลงที่อยู ที่สำคัญเพลี้ยออนเปนพาหะของโรคทริสติซาอีกดวย การปองกันกำจัด : พนดวย อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม

เพลี้ยออน

ช�อวิทยาศาสตร : Phenacoccus solenopsis Tinsley และ Planococcus citri (Risso) เพลี้ยแปงสามารถดูดกินน้ำเลี้ยงไดเกือบทุกสวนของพืช โดยเฉพาะที่ผลมะนาว ผลจะ แคระแกร็นไมขยายใหญ เพลี้ยแปงที่ดูดกินน้ำเลี้ยง และยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไว เปนอาหารของมด ซึ่งเปนตัวนำพาเพลี้ยแปงขึ้นมาที่ ใบ กิ่ง ดอก หรือผล และทำให เกิดเชื้อราดำขึ้นมาที่ผล ทำใหผลมีคราบสีดำ แลดูสกปรก ไมเปนที่ตองการของตลาด ตัวเพลี้ยแปงถูกปกคลุมดวยไขสีขาวคลายผงซอนกันหนาหลายชั้น จำเปนตองใชสาร ง แป เพลี้ย ปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม สามารถปองกันกำจัดมดที่เปนตัวนำพาเพลี้ยแปงขึ้นมาอีกดวย

เพลี้ยหอยสีแดง แคลิฟอรเนีย

ช�อวิทยาศาสตร : Aonidiella aurantii (Maskell) เปนเพลี้ยหอยเกราะออน สีน้ำตาลแดง มีขนาดเล็กมาก รูปรางกลมคลายโล พบเกาะอยูที่ ใบ กิ่ง และผล ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้ำเลี้ยง โดยเฉพาะที่ผลออนจะ ทำใหผิวเปลือกมีสีซีดเหลือง ผลแคระแกร็น หากระบาดรุนแรงอาจทำใหใบและผลรวง เพลี้ยหอยสีแดงมีอวัยวะภายนอกแข็ง หอหุมลำตัวซึ่งออนนิ่มอยูภายใน จำเปนตองใชสารปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะ ไดผลดี เชนเดียวกับ เพลี้ยแปง การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม ดวงเจาะลำตนที่พบในมะนาวเปนแมลงในวงศดวงหนวดยาว (Cerambycidae) โดยตัวหนอนของดวงเจาะกินอยู ในลำตนหรือกิ่ง และสรางโพรงอยูภายใน แผลที่ถูก เจาะมักเกิดยางไหล ตอมาแหงตาย ทำใหตมโทรมไวและตายไปในที่สุด การปองกันกำจัด : พนดวย โอโซพรีน อัตราใช 500-800 ซีซี. ตามเปลือกไมหรือรูไมที่มีรอยทำลาย และการพนดวย ชุดลางตนมะนาวขั้นเทพ จะชวยปองกันไม ใหแมลงเกิดการระบาด ที่มาขอมูล: สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. ใน เอกสารประกอบการอบรม. 162 หนา

ดวงเจาะลำตน อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ยูทา10

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

เปนธาตุอาหารพืชชนิดเม็ดคีเลท ชวยลดการสูญเสียธาตุอาหารจากการถูกตรึงโดยอนุภาคดิน ธาตุอาหารสามารถเขาสูรากฝอยไดงาย พืชดูดกินไดอยางตอเน�อง ใชพลังงานนอยในการดูดซึม

อะมิโน+น้ำตาลทางดวน ชวยเพิ่มพลังงานใหรากพืช ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง การแตกตาใบและตาดอก ชวยฟนตนหลังเก็บเกี่ยว ชวยสะสมชักนำการออกดอก

เปอรกา

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ

ชวยลดการใชโดโลไมตและปุยเคมี ลางสารแพคโคบิวทราโซลในดิน ปรับpHดิน ลดปญหาดินเปนกรด ลดปญหาตนตาย ตนแข็งแรง สงเสริมการแตกรากใหม ใบหนา ลดการเกิดใบไหม

ฟอสเฟต+โพแทส ชวยเพิ่มขนาดผล ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง ชวยการกระจายอาหารไปทุกๆ สวนของพืช สะสมอาหารเพ�อเพิ่มปริมาณดอกใหมากขึ้น

ฟูลเฮาส

แมมมอท ฟองดู

สงเสริมการเจริญเติบโตของราก เสริมดินสมบูรณ ใหพืชดูดกินอาหารไดอยางเต็มที่

อะมิโน+สาหรายเขียว สงเสริมการแตกตาใบและตาดอก ชวยฟนตนหลังเก็บเกี่ยว สงเสริมการแตกรากฝอยใหม


แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

แมมมอท ฮอลท

ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ชวยใหเซลลพืชแข็งแรง ปองกันการแตก ชวยใหผลไมเนื้อแนน เขาสีสวย

เหมาะสำหรับใบออนที่ตองการแก ไว ลดปริมาณการแตกใบออนใหม

แมมมอท ซิงค

แมมมอท สุพรีม 0-28-18

ปองกันอาการใบแกว สงเสริมใหใบออนสรางคลอรโรฟลมากขึ้น ใบสีเขียวเขม เปนมันวาว

แมมมอท คอมบิ

ธาตุอาหารรวม 5 ชนิด ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ปองกันการขาดธาตุอาหารในพืช ใบใหญ เขียวเขม ตนไมโทรม ชวยใหเนื้อผลไมเขาสีไดดี

ทำงานโดยตรงสูสวนใบที่ ใชสังเคราะหแสงและน้ำตาลที่ ใบรองยอด ชวยใหพืชสรางดอกมากกวาใบ ฉีดพนชวงเตรียมใบ สะสมอาหารเพ�อการออกดอก และจัดสมดุลไนโตรเจน

สุพรีม 0-0-30

เพ�อการสรางน้ำตาลมากขึ้น สะสมแปงที่ ใบ และผลมากขึ้น สรางความสมดุลของระดับ ไนโตรเจน และชวยเสริมโพแทสเซียม ใหเพียงพอในการใชที่ ใบและผล

อั้ม อัพไซส

สารปรับปรุงผล เพิ่มขนาดผลใหญ ชวยในการสะสมน้ำตาลและแปง ในผลอยางมีประสิทธิภาพ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.