ลำใย

Page 1

ลำไย

เทคนิคการทำ

เพ�อผลผลิตที่สมบูรณและมีคุณภาพ

ขั้นเทพ

เทพวัฒนา ตราปลาคู @thepwatana

บริษัท เทพวัฒนา จำกัด 326 ซ.ศรีนครินทร 24 (ซ.อนามัย) ถ.ศรีนครินทร สวนหลวง 10250 โทร. 0-2721-3510 www.thepwatana.com


การเตรียมตนลำไยใหคืนสูสภาพสมบูรณ ดวยการบำรุงหลังเก็บเกี่ยว เปนประตูสูความสำเร็จในการทำดอกในฤดูตอไป โอกาสในการราดสารเพ�อทำดอกก็จะเพิ่มขึ้น เปนทวีคูณ หากเตรียมตนไดดี เปอรเซ็นตการออกดอกก็จะสูง เปนดอกบานกระจายทั่วตน โดยไมตองพักตนขามป ยิ่งฟนตนไดเร็ว การโทรมของตนจะนอยลง การตายของตน ก็จะนอยลงไปดวย และนี่คือคำตอบหนึ่งของคำถามที่พบบอยวา..

ราดสารเหมือนกัน..แตทำไมออกดอกไมเหมือนกัน

ฟนสภาพตน-ใบหลังเก็บเกี่ยว กระตุนระบบราก ปรับโครงสรางดิน

ฉีดพนทางใบ อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

เลโอ อัตราใช 300 ซีซี.

กิ่งมุมแคบ 4 กิ่งน้ำคาง 5 หรือกิ่งกระโดง 6

กิ่งไขวชี้ผิดทิศทาง

ก 3 กิที่ง่ขเล็ ึ้นแซม

2 กิ่งซอนทับกัน

1 กิ่งใหมจากตาดานบน

ลักษณะของกิ่งชนิดตางๆ ที่ควรตัดออก

แมมมอท คอมบิ อัตราใช 200 ซีซี.

ฉีดพน ใหทั่วทรงพุมหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต 2-3 ครั้ง กอนแตกใบออนชุดแรก ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 อัตราใชตนละ 1-2 กก. และราดใหทั่วทรงพุมดวย ฟูลเฮาส อัตราใชตนละ 100-300 กรัม เพื่อเรงการแตกรากฝอยใหม

การแตงกิ่งลำไย

เปนการจัดการตนที่มีประสิทธิภาพ เพ�อการ สังเคราะหแสง สะสมอาหาร และเพ�อการสรางดอก ติดผลตามที่เราตองการ ตองกำจัดกิ่งเสีย กิ่งไมดี กิ่งทำมุมไมดี เพ�อที่ทุกใบ ทุกยอดไดรับแสงอยางเต็มที่และมากที่สุด การสังเคราะหแสงก็จะมีประสิทธิภาพ อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ทำใบออนชุดแรก ฉีดพนทางใบ

เลโอ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 300 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพน ใหทั่วทรงพุม 2-3 ครั้ง จนยอดเริ่มแทง ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 หรือ 25-7-7 อัตราใช ตนละ 1-2 กก.

ใบออนชุดแรกไดช�อวา “ใบแหงชีวิตใหม” เพราะเปนใบที่ ใชเพ�อการสังเคราะหแสงใหไดน้ำตาลเพียงพอ กับการใชของราก และรากก็จะทำหนาที่ดูดปุย น้ำ และธาตุอาหารตางๆ จากดิน เพ�อใหสวนเหนือดิน ไดแก ใบ กิ่ง ลำตน เปลือกที่มีทออาหาร ทอน้ำใหมมีธาตุอาหารอยางเพียงพอตามความตองการในแตละสวน

หากใบออนชุดแรก..ไมดีพอ

การเกิดรากใหมจะนอย การดูดน้ำ ปุย และธาตุอาหารจากดินจะไมเพียงพอกับความตองการของสวนเหนือดิน อาหารจะสูญเสียไปกับการใช มากกวาการสะสม การปองกันใบชุดแรกไม ใหถูกแมลงกินใบ ไม ใหไรทำลายผิวหนาใบ ไม ใหสูญเสียสารสีเขียวของใบ ไม ใหโรคทำลายใบหรือบดบังการ สังเคราะหแสง จะเปนการทำใบที่สำเร็จ ใบออนจนแกจัด มีเวลาเพียง 60 วัน ในการสังเคราะหสารสีเขียว เพ�อการใชปุย น้ำ และธาตุรองเสริมที่จำเปนในการสรางสารสีเขียว ตองเพียงพอและทันเวลา เชน ธาตุเหล็ก สังกะสี แมกนีเซียม แมงกานีส ซึ่งหากพนกำหนดไปแลว ใบจะเหลืองซีด ไมเขียวเขม ใบบาง

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เรงใบหนา เขียวเขม อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

เลโอ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 300 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพนทางใบ ใหทั่วทรงพุมทุก 7-10 วัน ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 อัตราใชตนละ 1-2 กก.

ใบตองเขียวเขม เนื้อใบหนา ใบสมบูรณมีความมัน หันหนาสูแดด รับแดดไดเต็มที่

ทำใบชุดที่สอง ฉีดพนทางใบ

เลโอ อัตรา 300 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตรา 200 ซีซี.

ฉีดพน ใหทั่วทรงพุมทุก 7-10 วัน เมื่อใบชุดแรกเริ่ม เขียวเขม เพื่อเรงใบใหเขาเพสลาด ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 อัตราใชตนละ 1-2 กก.

ใบชุดสองเปนใบแหงการเตรียมพรอมในการสังเคราะหแสงใหไดน้ำตาลและสารอาหาร ในการสรางกิ่งกานสาขา เพ�อการสะสมสำหรับการสรางดอก

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สะสมอาหาร ฉีดพนทางใบ เฟอรติแพลนท 10-52-10 อัตราใช 200 กรัม

แมมมอท สุพรีม แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

สะสมอาหารเพ�อใหกลายเปนสารอินทรียและน้ำตาล ที่พืชสังเคราะห ไดจากการใชพลังงานแสงอาทิตย การเพิ่มการใหฟอสเฟตและโพแทสเซียม

ฉีดพน ใหทั่วทรงพุม 1-2 ครั้ง ทุก 7-10 วัน ทางดิน ใสปุยสูตร 8-24-24 อัตราใชตนละ 2-3 กก.

การสะสม

การใหปุย 8-24-24 ทางดิน เพ�อใบมีการสะสมฟอสเฟตและโพแทสเซียมมากขึ้น เพ�อแขงขันกับไนโตรเจนในดิน การฉีดพนทางใบดวย แมมมอท สุพรีม 0-28-18 จึงเปนการแทรกแซง เพ�อลดบทบาทไนโตรเจนในการสรางใบใหม เปนการสรางความเขมขนของสารในใบแทน มีการสะสมน้ำตาลมากขึ้นเพ�อการสรางดอก การฉีดพนทางใบดวย แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เพ�อการเตรียมธาตุที่ตองใชมากในการสังเคราะหน้ำตาล สำหรับตาดอกใหเพียงพอ และปองกันการเกิดพิษของสารบังคับ

การสะสมเตรียมพรอม

ใบตองพรอมกัน เปนชุดเดียวกัน ในระยะใบเพสลาดเปนใบที่พรอมรับสารมากที่สุด การคุมใบใหไมแตกใบออนกระจัดกระจายใหมี ใบพรอมกัน โดยการใช แมมมอท สุพรีม 0-28-18 อัตราใช 500 ซีซี. รวมกับ แมมมอท ฮอลท อัตราใช 200 ซีซี. ตอน้ำ 200 ลิตร เพ�อใหไดใบที่พรอมกันและเปนรุนเดียวกัน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การราดสาร สารราดเปน โซเดียมคลอเรต หรือ โพแทสเซียมคลอเรต เพ�อ การใหคลอเรตกับรากลำไย ซึ่งสูตรราดสารก็มีหลายสูตรใหเลือกใช..

ปญหาอุปสรรค การคำนวณการใชสารคลอเรตตอตนต่ำเกินไป มาจากการละลายสารฉีดดินหรือใบนอยเกินไป จำนวนสารตกตอตนจึงไมเพียงพอ การราดเม�อดินมีความชื้นต่ำ ดินแหง รดน้ำนอย สารจะกระจายตัวไมทั่วทุกสวนที่มีราก การสะสมและบมใบไมสามารถเอาชนะไนโตรเจน ที่มากับน้ำฝนได มีน้ำตาลในใบไมเพียงพอที่จะชนะไนโตรเจน เพราะแสงแดดนอย

ขั้นตอนที่ 1 : การราดสารโซเดียม

ลำไย 3-4 ป ไมเคยราดสาร

500 กรัม/ตน

เคยราดสารแลว 1 กิโลกรัม/ตน หมายเหตุ : อัตราสารตอตน หมายถึง น้ำหนักของสารที่ ใชผสมน้ำราด หรือฉีด ตอลำไยหนึ่งตน ยกตัวอยาง สาร 50 กิโลกรัม ผสมน้ำ 1,000 ลิตร ใช ราดได 50 ตน จะไดสารตก 1กิโลกรัม/ตน (หากตองการแกสาร ก็ ใหฉีดไดตนนอย แตหากฉีดไดมากตนเกินไป ก็จะไดสารออน)

ขั้นตอนที่ 2 : การสะสมตาดอก

โปแทสเซียมคลอเรต แมมมอท สุพรีม 0-28-18 แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส แมมมอท ฮอลท เออรโกสติม

200 กรัม 200 ซีซี. 200 ซีซี. 200 ซีซี. 20 ซีซี.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร *ฉีดวันเวนวัน ฉีดทั้งหมด 4 ครั้ง*


หลักของการราดสาร

ปริมาณสารตองมากพอกับขนาดทรงพุมและอายุตน ปริมาณน้ำในการละลายสารตองเพียงพอใหสารกระจายทั่วถึง เพราะถาราดสารตอนที่ดินแหงเกินไป การกระจายของสาร จะไมทั่วถึง ระยะใบเพสลาดจะมีรากใหมที่รับสารไดดี

ความสำเร็จของการราดสาร..

มาจากการเตรียมตนและการสะสมอาหารที่ดี การราดสารพอดี มีฝนไมมากเกินไป ฝนที่มากเกินไป จะทำใหเกิดใบปนดอก หรือมี ใบกอนการมีดอก ซึ่งแกไขได โดยการแทรกแซง กดขมไนโตรเจน ดวย.. แมมมอท สุพรีม 0-28-18 และ แมมมอท ฮอลท แขงขันใหมีน้ำตาลในใบรองชอดอกมากกวาไนโตรเจน ดวย.. การใช แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

ขั้นตอนที่ 3 : การดึงดอก

นับจากราดสาร (นับมาอีก 20 วันใหดึงดอก) สุพรีม 0-0-30 แมมมอท ฟองดู แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อมฤตที่ผสมน้ำแลว

200 ซีซี. 200 ซีซี. 200 ซีซี. 200 ซีซี.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร *ฉีดหางกัน 5 วัน ฉีดทั้งหมด 2 ครั้ง*

การบมใบหลังราดสาร ทำใหปลายยอดสรางตาดอก จากการกดขมไนโตรเจน และมีน้ำตาลที่มากกวา


การดึงดอก ฉีดพนใหทั่วทรงพุม 1-2 ครั้ง

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส แมมมอท ฟองดู อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

การเกิดดอกปนใบ

หลังการราดสารบังคับมากกวา 20 วัน เม�อใบแกนิ่งดีแลวในทุกยอด จึงทำการดึงดอก เปนการกระตุนใหจุดเจริญที่ปลายยอดแทง ชอดอกออกมา

ฉีดพนใหทั่ว 1-2 ครั้ง

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส แมมมอท ฮอลท อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.


บำรุงดอกใหสมบูรณ

เปนการเตรียมธาตุอาหารที่ดอกและผลออนตองการ เม�อดอกเริ่มบาน ผสมเกสร ติดผลออน การพลิกลูก การพัฒนาผล เปนระยะที่ ตองการอาหารมาก เน�อจากมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว

ฉีดพนใหทั่วทุก 7-10 วัน จนกวาดอกจะโรย

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 200 ซีซี.

ระยะนี้ตองปองกัน เพลี้ยไฟ หนอนตางๆ โดยใช ไพเรทอกซ ซุปเปอร ถาในชวงสภาพอากาศหนาว ควรเสริม ดวย อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

ปญหาการแทงใบออนกอนดอก หรือเกิดดอกปนใบ เม�อทำการบมใบหลังราดสาร หากเกิดสภาวะอากาศที่มีฝนเยอะเกินไป ลำไยอาจมีการแทงยอดออกมากอนดอกได เราตองเรงทำการแกไข โดยการกดไนโตรเจน เรงใบใหแกเร็ว และเสริมการมีน้ำตาลมากกวา ไนโตรเจนทำใหชอดอกออกมากกวาเปนใบ ดวย.. แมมมอท ฮอลท (กดยอด) + แมมมอท สุพรีม 0-28-18 (เรงใบใหแกเร็ว) และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส (เพ�อเพิ่มน้ำตาล) อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ติดลูกดี ลดการหลุดรวง ฉีดพนทางใบ

แมมมอท แมมมอท เออรโกสติม อัตราใช แคลเซียม โบรอน โฟลิไซม จีเอ 50 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพน ใหทั่วทุก 7-10 วัน ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 หรือ 25-7-7 อัตราใช ตนละ 2-3 กก.

ติดลูกดีพัฒนาการเร็ว มาจากการไดธาตุและสาร อาหารอยางตอเน�อง ไมติดขัดขาดตอน ใบรอง ชอผลิตไดดีสงไดสะดวกทออาหารในชอผลตองทำงานมีประสิทธิภาพ

ปญหาผลออนหลุดรวงมาก ใบสังเคราะหน้ำตาลไมพอที่จะใช เกิดจากปจจัยแสงนอยเพราะฝนตก ตองเติมน้ำตาลดวย..แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส ขั้วผลหรือชอผลทำงานไมเต็มประสิทธิภาพ เพราะขาดสารที่ชวยรับพลังงานไฟฟาในทออาหาร เติมไดดวย.. แมมมอท โฟลิไซม จีเอ จากการขาดสารอินทรียบางชนิด และสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงกะทันหัน ตองเติมดวย..เออรโกสติม ชวยลดการหลุดรวง การขาด แคลเซียม โบรอน ขั้วผลจึงเกิดสลัดลูก เติมดวย..แมมมอท แคลเซียม โบรอน

การแตงชอผลออน..สำคัญอยางไร? ชอผลมีกำลังในการสรางน้ำตาลของใบรองชอแคระดับหนึ่ง การไวผลที่เหมาะสมตอชอ อยูที่ 30-35 ผล จำนวนผลไมเกินกำลังใบ หากไวผลมากกวากำลังใบ ผลที่มากเกินจะมีขนาดเล็กหมด หรือ โตไมเสมอ โตชา ใชเวลามากกวาควรจะเปน ผลที่โตไมเสมอ จะมีผลแตก หรือคุมการแตกไดยาก การสุกไมพรอมกันทั้งชอ เพราะไดอาหารไมพอ หากเกิดวิกฤตเม�อใกลเก็บเกี่ยวจะจัดการยาก เชน ฝนหลงตกหนัก เม�อใกลเก็บเกี่ยวผลมักแตก หรือเนื้อคืน เนื้อแข็งเปนไต

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ขึ้นเม็ด-เม็ดดำ ฉีดพนทางใบ

อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

สะสมอาหารเพ�อใหกลายเปนสารอินทรียและน้ำตาล ที่พืชสังเคราะห ไดจากการใชพลังงานแสงอาทิตย การเพิ่มการใหฟอสเฟตและโพแทสเซียม

ฉีดพน ใหทั่วทรงพุม 2-3 ครั้ง ทุก 7-10 วัน ทางดิน ใสปุยสูตร 16-16-16 หรือ 25-7-7 อัตราใช ตนละ 1-2 กก.

ระยะชวงดอกโรย เจอสภาพอากาศหนาว ควรใหน้ำ อยางสม่ำเสมอ 30 นาที ทุกๆ 1-2 วัน

ผลโตเร็ว..เปลือกตองแข็งแรง

เปลือกจำเปนตองมี แคลเซียม โบรอน อยางเพียงพอ เพ�อควบคุมการเขาของน้ำมาที่ผล และกนผลก็ตองมี แคลเซียม โบรอน เพียงพอ เพ�อเปลือกที่เหนียว ไมแตกงาย ทออาหารตองสงน้ำตาลไดสะดวกเทาเทียมกันทุกผล ลูกจะโตพรอมกัน การแตกของผลจะนอยลงไปดวย

วิธีการใช : อมฤต 1 หลอด เทผสมน้ำสะอาด 1 ลิตร คนใหเขากันจนไดน้ำอมฤตเขมขน แลว นำมาใชที่ อัตรา 200 ซีซี.ตอน้ำ 200 ลิตร สามารถผสมรวมกับปุยเกล็ด ธาตุอาหารรอง-เสริม สารกำจัดศัตรูพืช และสารปองกันกำจัดเชื้อราไดในคราวเดียวกัน ฉีดพนไดทุกชวงการเจริญเติบโตของพืช อมฤต 1 หลอดสามารถผสมฉีดพนได 1,000 ลิตร

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สรางเนื้อ ขยายลูกกอนเก็บเกี่ยว ฉีดพนทางใบ

แมมมอท แคลเซียม โบรอน แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

อั้ม อัตราใช 300 กรัม

ตองเรงการสรางเนื้อสะสมน้ำตาลไวที่ผล การสะสมน้ำตาลไวที่ผลไม ใหสูญเสียออกไปจะตองมี แคลเซียม โบรอน ที่เพียงพอ เพ�อควบคุม การเขาถึงของน้ำตาล และปองกันการสูญเสียน้ำตาล

อมฤต อัตราใช 200 ซีซี.

ฉีดพน ใหทั่วทุก 7-10 วัน ทางดิน ใสปุยสูตร 12-12-17 หรือ 15-5-20 หรือ 13-13-21 อัตราใชตนละ 2-3 กก.

ระยะนี้ควรระวัง โรคไฟทอปเทอรา ปองกันดวย เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. และขัดผิวใหสวย ดวย ดูมารค อัตราใช 200 ซีซี.

การสรางเนื้อขยายผล.. ตองมีกลไกการทำงานรวมกัน แมมมอท แคลเซียม โบรอน ชวยคุมการเขาของน้ำตาลไวที่ผล กันการเสียน้ำตาลออกจากผล แมมมอท โฟลิไซม จีเอ ชวยกระจายน้ำตาลเฉลี่ยใหทั่วถึง ทุกๆ ผลในชอ เพราะการสงผานทออาหารทำไดไมติดขัด อั้ม ชวยเพิ่มการผลิตน้ำตาล เรงการเก็บสะสมน้ำตาลมากขึ้น เนื้อในและเปลือกโตสัมพันธกัน อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ง อ ท ี ส ย ไ ขัดผิวลำ

กำจัด..

ราแปง ราดำ

อัตราใช 400 ซีซี.ตอน้ำ 200 ลิตร

สินคาคุณภาพจาก เทพวัฒนา ตราปลาคู


การปองกันกำจัด

โรคที่สำคัญ

โรคใบจุดดำ

โรคดอกเนา

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Colletotrichum sp. ระบาดทั่วไปโดยเฉพาะชวงที่มีสภาพอากาศชื้น หากระบาดรุนแรงจะทำใหสูญเสียพื้นที่ ใบในการสังเคราะหแสง และทำให ใบรวง ถาเกิดอาการที่ดอก จะทำใหเนาและหลุดรวงเสียหาย ชวงที่พืชออกดอกเชื้อราสาเหตุที่อาศัยบนใบจะปลิวไป กับลม หรือปะปนไปกับละอองน้ำเขาทำลายดอก เปนผลใหไมมีการผสมเกสร ดอกเนาหลุดรวง ติดผลนอย การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. เพ�อไลน้ำที่มาขังอยูตามซอกดอก ปองกันไม ใหดอกเนา หรือ ราดาซิม อัตราใช 200-300 ซีซี.

โรคราน้ำฝน เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Phytophthora capsici Leonian หรือโรคผลเนาและใบไหมจากเชื้อราไฟทอฟทอรา เชื้อราสาเหตุชอบอากาศชื้นโดยเฉพาะชวงฝนตกชุก โดยสปอรที่ วายน้ำไดจะเขาทำลายใบออน ใบเพสลาด ทำใหใบเนา หลุดรวงลงไปสะสมอยู ในดิน เม�อลำไยออกผล ลมและฝนจะพาเชื้อ ปลิวขึ้นไปตกบนผลทำใหผลแตกและเนา จากนั้นผลจะรวงหลนลงสูพื้นดินบริเวณโคนตน เปนแหลงสะสมของเชื้อโรค และเขาทำลายไดในฤดูถัดไป การปองกันกำจัด : ทาบ็อก อัตราใช 300 ซีซี. หรือ คูมิเน อัตราใช 400-500 กรัม กรณีที่ ใบและผลลำไยเปนโรคแลว รวงหลนอยูบนพื้นดินภายใตทรงพุม ใหรีบเก็บแลวนำไปเผาทำลาย ไมควรปลอย ทิ้งไว เน�องจากเชื้อราสามารถมีชีวิตและอาศัยอยู ในดินขามฤดู เม�อสภาพแวดลอมเหมาะสม จะทำใหเกิดการติดเชื้อไดใหม ในฤดูถัดไป อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ทำอยางไรถึงได ผิวลำไยสีทอง? โรคราดำที่กิ่ง

โรคราดำที่ ใบ

โรคราดำที่ผล เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Meliola euphoriae Earle เชื้อราดำพบอยูทั่วไปในสวนที่ขาดการดูแล ปองกันแมลงปากดูด เชน เพลี้ยแปง เพลี้ยหอย เพลี้ยจักจั่น หรือเพลี้ยออน ที่มาดูดกินน้ำเลี้ยงและถายมูลน้ำหวาน ทิ้งเอาไวเปนอาหารของเชื้อราทั้งบนใบ กิ่ง ชอดอก และผล เม�อลำไยออกดอก เชื้อราจะดูดน้ำเลี้ยงทำใหดอกแหง ไมมีการผสมเกสร และจะ รวงไปในที่สุด หากเกิดบนผล ทำใหผลมีคราบสีดำ เปนสาเหตุสำคัญทีท่ ำใหผวิ ลำไยไมสวย ไมเนียน ใส เพราะถูกราดำเขาทำลาย เชื้อราสาเหตุจะแพรกระจายไปกับลมและน้ำฝน โดยเฉพาะในชวงใกลเก็บเกี่ยว จะ ทำใหผิวลำไยแลดูสกปรก และไมไดราคาเม�อเก็บผลผลิตไปจำหนาย จึงจำเปน ตองมีเทคนิคการทำลำไยขั้นเทพ โดยการพนสารปองกันกำจัดเชื้อรา ดูมารค และ คูมิเน ซึ่งจะเขาไปยับยั้งและปองกันเชื้อรา ที่จะเขามาสรางความเสียหายหรือทำลาย ผิวลำไย เปนการขัดผิวลำไยขั้นเทพ เพ�อใหไดผิวลำไยสีทอง เปนที่ตองการของ ตลาด การปองกันกำจัดโรคราดำ : ดูมารค ผิวใสดุจนางงาม อัตราใช 400 ซีซี. รวมกับ คูมิเน อัตราใช 400-500 กรัม

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง เอกสารอางอิง http://www.chiangrai.doae.go.th/longancenter.mju.ac.th

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

ไรแดง

ไรแดง

ตัวออนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงที่ ใบและผลของลำไย ทำใหใบมีสีเขียวซีดลง ผิวใบดาน มีคราบของไรแดง คลายฝุนผง และใบรวงไปในที่สุด สวนผลของลำไยจะเปนแผลรอยไหม ไรแดงระบาดโดยการอาศัยปลิวไปตามลม พบการระบาดรุนแรงในชวงแหงแลง หรือฝนทิ้งชวง สำรวจการระบาดของไรแดงไดโดยการใชนิ้วมือลูบไปบนใบ จะพบวามีคราบสีแดงคลายเลือดติดมาตามนิ้วมือ การปองกันกำจัด : ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม

ไรกำมะหยี่ลำไย

ไรกำมะหยี่ลำไย

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

ช�อวิทยาศาสตร: Aceria longana Boczek & Knihinicki ไรกำมะหยี่ลำไย เปนพาหะของเชื้อไฟโทพลาสมา ซึ่งชอใบที่ถูกทำลายนี้จะมี กานชอที่แตกเปนพุม เปนกระจุก มีขอปลองสั้นคลายพุมไมกวาด สวนชอดอกหลังจากที่ถูกไรเขาทำลาย ดอกจะแหงและรวง เหลือแตกานชอ เปนพุมสีน้ำตาลแหง ทำใหลำไยไมสามารถติดผลได หรือติดผลไดนอย ซึ่งเปนสาเหตุที่มาของโรคพุมไมกวาด หรือโรคพุมแจ การปองกันกำจัด : ใหตัดแตงกิ่งและยอดที่ถูกทำลาย นำไปเผาทำลายทิ้ง ฉีดพนดวย ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม เพ�อปองกันไม ใหเชื้อระบาดไปติดตนอ�นๆ


เพลี้ยแปง

มด

เพลี้ยหอยขาวตอก

เพลี้ยแปงและเพลี้ยหอย ทำความเสียหายใหกับลำไย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงไดเกือบทุกสวน โดยเฉพาะที่ผลจะทำใหผลที่ถูกทำลายเหี่ยวแหง และรวงไปในที่สุด เพลี้ยแปง และเพลี้ยหอย ที่ดูดกินน้ำเลี้ยง ยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไวเปนอาหารของมด โดยมดเหลานี้ จะเปนตัวนำพาเพลี้ยแปง และเพลี้ยหอย ขึ้นมาที่ผลจึงทำใหเกิดราดำ ผลมี คราบสีดำ แลดูสกปรก และไมไดราคาเม�อเก็บผลผลิตไปจำหนาย เพลี้ยแปงและเพลี้ยหอย มีผิวเปนไขที่หนาหลายชั้นเปนเกราะ จำเปนตองใชสารปองกันกำจัด แมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม

ตัวออนเพลี้ยไฟ

ตัวออนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ชอดอก และผลออน ใบที่ ถูกทำลายจะพบรอยไหม และหงิกงอ โดยเฉพาะในดอกและผล จะทำใหดอกไม สมบูรณ ไมติดผล และทำใหดอกรวง ผลรวง หรือผลลาย เพลี้ยไฟระบาดโดยการบิน หรือปลิวไปตามลม พบการระบาดรุนแรงในชวง แหงแลง หรือฝนทิ้งชวง สามารถสำรวจการระบาดของเพลี้ยไฟไดโดยการเคาะ สวนยอด หรือชอดอกบนกระดาษขาวแลวตรวจนับจำนวนเพลี้ยไฟที่พบ การปองกันกำจัด : โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

ตัวเต็มวัยเพลี้ยไฟ

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง เอกสารอางอิง http://www.chiangrai.doae.go.th/longancenter.mju.ac.th

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


การปองกันกำจัด

แมลงศัตรูสำคัญ

ช�อวิทยาศาสตร : Hypomeces squamosus Fab. เปนแมลงจำพวกดวงปกแข็ง ตัวเต็มวัยเปนดวงงวงมีหลายสี เชน เหลือง เทา ดำ หรือเขียวปนเหลือง มีปากกัดกินเปน งวงย�นเห็นไดชัด แมลงคอมทองกัดกินใบ ยอดออน และ ชอดอก ทำใหใบเสียหายและชะงักการเจริญเติบโต ชอดอก เสียหาย ไมติดผล ตัวเต็มวัยจะอยูรวมกันเปนกลุมๆ ชอบ ยอยู ใตใบ เม�อถูกรบกวนหรือถูกกระทบกระเทือนจะทิ้ง แมลงคอมทอง อาศั ตัวลงสูพื้นดิน การปองกันกำจัด : โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ตัวออนมวนลำไย

มวนลำไย หรือแมงแกง

ปลวก อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

ช�อวิทยาศาสตร : Tessaratoma papillosa Drury เปนมวนขนาดใหญ มีปากชนิดเจาะดูด ตัวออนและตัวเต็มวัย ทำความเสียหายให กับลำไย โดยดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดออน ใบออน ชอดอก และผลออน ทำให ยอดออนและใบออนแหงเหี่ยว ดอกเสียหาย ไมติดผล หรือทำใหรวงหลนตั้งแต ยังเล็ก ตัวเต็มวัยจะซอนตัวอยูภายในตนลำไย จนถึงระยะที่ลำไยเริ่มแทงชอดอก การระบาดพบเปนประจำในชวงที่ลำไยออกดอกติดผล นอกจากนี้ บริเวณดานขาง ลำตัวของมวนลำไยตรงสวนปลายสุดของทองมีตอมสกัดน้ำพิษ เม�อถูกรบกวนมวนจะปลอยน้ำพิษออกมา ถาของเหลว ถูกผิวหนังจะมีอาการปวดแสบปวดรอนทันที ทำให บริเวณนั้นเปนแผลไหม ซึ่งของเหลวน้ำมีพิษจะทำให ผิวเปลือกลำไยมีสีดำคล้ำ ทำใหผลผลิตเสียหาย การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี. ช�อวิทยาศาสตร : Macrotermes spp. อาศัยอยู ในดิน กัดกินรากพืช ลำตน พืชที่แหงตายแลว เศษซากไม รวมถึงไมค้ำยันกิ่ง ทำใหไมผุพังไดเร็วขึ้น การปองกันกำจัด : โอโซพรีน อัตราใช 1,000 ซีซี. พนลงดินบริเวณที่ปลวกอาศัยอยู หรือตามไมค้ำยันตน ควรใหดิน มีความชื้นหรือรดน้ำกอนพนสาร และสามารถปองกันกำจัด ดวงหนวดยาวเจาะลำตน ได


หนอนเจาะผล

หนอนเจาะดอก หรือหนอนเจาะยอด พบการระบาดมากในชวงลำไย แทงชอดอก โดยตัวหนอนจะเจาะเขาไปกัดกินอยู ภายในยอด หรือชอดอกลำไย โดยเฉพาะในชอดอก การทำลายจะรุนแรงและเสียหายมาก ทำใหชอดอกเหี่ยว ดอกไมสมบูรณ และไมติดผล หากผาชอนั้นออกมาจะพบตัวหนอน

หนอนคืบเขียว

ช�อวิทยาศาสตร: Deudorix epijarbas Moore ตัวหนอนจะเขาทำลายผลออนและผลแกของลำไย โดยเจาะเขาไปกินเนื้อในผลรวมทั้งเมล็ด เหลือแตเปลือก แลวเขาดักแดภายในผล สังเกตุพบรูขนาดใหญ คอนขางกลมอยูบนผล ทำใหผลผลิตเสียหายมาก

หนอนคืบละหุง

อาการถูกทำลาย

หนอนคืบละหุง ช�อวิทยาศาสตร : Achaea janata L. หนอนคืบเขียวลำไย ช�อวิทยาศาสตร : Pelagodes falsaria Prout หนอนคืบจะระบาดมากในชวงลำไยออกดอก ตัวหนอนกัดกินอยูภายนอกยอดออน หรือชอดอกลำไย โดยเฉพาะในชอดอก การทำลายจะรุนแรงและเสียหายมาก หนอนจะชักใยยึดชอดอกติดกันเปนกระจุก ทำใหดอกไมบาน ไมติดผลและรวงไปในที่สุด การปองกันกำจัดหนอน : เดอะเน็กซ อัตราใช 50-100 กรัม หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง เอกสารอางอิง http://www.chiangrai.doae.go.th/longancenter.mju.ac.th

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

แมมมอท ฟองดู

แมมมอท สุพรีม

แมมมอท ฮอลท

อะมิโน+น้ำตาลทางดวน ชวยเพิ่มพลังงานใหรากพืช กระตุนการแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว

อะมิโน+สาหรายเขียว กระตุนการแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว เรงการแตกรากฝอยใหม

ทำงานโดยตรงสูสวนใบที่ ใชสังเคราะหแสงและน้ำตาลที่ ใบรองยอด ชวยใหพืชสรางดอกมากกวาใบ ฉีดพนชวงเตรียมใบ สะสมอาหารเพ�อการออกดอก และจัดสมดุลไนโตรเจน

เหมาะสำหรับใบออนที่ตองการแกไว ลดปริมาณการแตกใบออนใหม

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ

แมมมอท คอมบิ

อั้ม

อมฤต

ฟอสเฟต+โพแทส ชวยเรงผลโต ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง ชวยการกระจายอาหารไปทุกๆ สวนของพืช สะสมอาหารเพ�อ เพิ่มปริมาณดอกใหมากขึ้น

ธาตุอาหารรวม 5 ชนิด ชวยการสะสมอาหาร กอนออกดอก ปองกันการขาดธาตุอาหารในพืช ชวยใหเนื้อผลไมเขาสีไดดี

สารปรับปรุงผล ขยายขนาดผลใหญ ชวยการสะสมน้ำตาลและแปงในผลอยางมีประสิทธิภาพ

สารอินทรียที่ทำใหพืชเจริญอาหาร และ ชวยใหพืชดูดซึมธาตุอาหารไดรวดเร็วและดียิ่งขึ้น

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

แมมมอท แคลเซียม โบรอน

เออรโกสติม

เลโอ

ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ชวยใหเซลลพืชแข็งแรง ปองกันการแตก ชวยใหผลไมเนื้อแนน เขาสีสวย

ควบคุมการคายน้ำของพืช ชวยใหดอกสมบูรณ ผสมติดผลงาย ชวยเคล�อนยายน้ำตาลจากใบไปยังผล เพิ่มคุณภาพผลผลิตที่ดีกอนเก็บเกี่ยว

อะมิโนที่ชวยชดเชยการขาดสารอินทรีย ในพืช เน�องจากสภาพอากาศแปรปรวน จึงชวยลดการหลุดรวง ของผลออน และขยายขนาดผลใหญเสมอกันได

อะมิโนสาหราย ชวยกระตุนจุดเจริญของ ปลายยอดและปลายราก



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.