มังคุด

Page 1

เทคนิคการทำ

มังคุด

เพ�อผลผลิตที่สมบูรณและมีคุณภาพ

ขั้นเทพ

เทพวัฒนา ตราปลาคู @thepwatana

บริษัท เทพวัฒนา จำกัด 326 ซ.ศรีนครินทร 24 (ซ.อนามัย) ถ.ศรีนครินทร สวนหลวง 10250 โทร. 0-2721-3510 www.thepwatana.com


การทำมังคุดผิวมัน หูเขียว ตองมีการจัดการที่เปนระบบ ตั้งแตดอกมังคุดเริ่มบานจนถึง เก็บเกี่ยวได เพราะผิวและหู (กลีบเลี้ยงรองผล) เปนเนื้อเย�อ ที่บอบบาง ถูกโรคแมลงสรางความเสียหายไดงายในทุกระยะ ที่มีการพัฒนาผล โดยเฉพาะหลังดอกบาน 30 วัน เปนระยะ เวลาที่มีการพัฒนาผลที่รวดเร็วมาก ขั้วผลจึงตองมีประสิทธิภาพในการเคล�อนยายสารอาหาร จากใบไปยังผล ซึ่งขั้วผลที่มีประสิทธิภาพจะทำใหผลพัฒนา การไดเร็วไหลล�น นวลของผลจะมีมาก หูของมังคุดก็จะเขียว สดใสจนถึงผลแก การทำใหขว้ั ผลสงผานสารอาหารไดไหลล�นจึงเปนเคล็ดลับ สำคัญในการทำมังคุดผิวมันหูเขียว การโตของผลที่ ไมไหลล�น มีการหยุดชะงักเปนระยะ เพ�อรอ สารอาหารหรือกระทบจากอากาศ ผิวและขั้วผลมักเกิดการปริ แตก เกิดยางไหลไดงาย

หูมักเกิดการแหงบางกลีบ.. เพราะขั้วผลสงสารอาหารติดขัดไม ไหลล�น การออกดอกของมังคุดมักจะทยอยออกในแตละชอใบ จึงมักมีดอกหลายรุน สงผลตอการติดผลหลายรุน กำลังในการสงผานสารอาหารของขั้วผลจึงยิ่งสำคัญ เพราะจะเกิด การแยงชิงสารอาหารในแตละผลมาก ดังนั้น การเนนประสิทธิภาพของขั้วผล จึงชวยในการขัดผล การขึ้นของผลที่สม่ำเสมอกัน จึงเปนอีกเหตุผลหนึ่งในการได ผลมังคุดที่ ใหญ ผิวมัน หูเขียว


การทำมังคุดตนฤดูเก็บเกี่ยวใหมีราคาสูง เพราะพื้นฐานการฟนตนทำใบที่พรอมกอนใบมีเวลาสังเคราะหแสงมากพอจนสะสมอาหารไดมากสำหรับการ ออกดอกกอนมังคุดป มังคุดปออกมากเพราะสภาพอากาศที่ ใบมังคุดมีเวลาสะสมอาหารจนพอที่จะออกดอก การทำมังคุดตนฤดูเปนการเรียนแบบธรรมชาติใหมังคุดมี ใบที่ดีกอน โดยการจัดการของเราแทนที่จะปลอยใหเปนไป ตามธรรมชาติที่สภาพอากาศเปนตัวจัดการใหมังคุดออกดอก สำหรับมังคุดตะวันออกเปนเพราะลมหนาว (เก็บขายเดือนเมษายน-พฤษภาคม) สวนมังคุดใต (ที่เก็บขายเดือนสิงหาคม-กันยายน) มังคุดออกดอกเพราะแลง ซึ่งเปนชวงเวลาที่มังคุดออกสูตลาดพรอมๆ กัน ทำใหราคาไมสูงนัก แตถาทำแผนการจัดการที่ดี มี ใบสมบูรณ มีเวลาสะสมอาหารพอ การออกดอกกอนเพ�อใหไดมังคุดตนฤดูตะวันออก เพ�อขายในเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม ก็มีความเปนไปไดมาก หรือจะใหออกดอกในเดือนกรกฎาคม สำหรับทางใตก็จะสามารถมาเก็บขายไดในเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ก็จะไดราคาดีเชนกัน

การแตงกิ่ง ฉีดยาลางตน.. การแตงกิ่ง เปนการจัดการตนที่มีประสิทธิภาพ เพ�อการ สังเคราะหแสง สะสมอาหาร และเพ�อการสรางดอก ติดผล ตามที่ตองการ ตองกำจัดกิ่งเสีย กิ่งไมดี กิ่งทำมุมไมดี เพ�อ ทีท่ กุ ใบ ทุกยอดไดรบั แสงอยางเต็มทีม่ ากทีส่ ดุ การสังเคราะห แสงก็จะมีประสิทธิภาพ การฉีดยาลางตน เปนการทำความสะอาดตน เพ�อกำจัด โรคและแมลง ตะไครน้ำ สาหรายที่สะสมในตน กำจัดแหลง หลบซอนของโรคและแมลงที่มักสะสมและเพิ่มจำนวนทำ ความเสียหาย ไดแก เพลี้ยไฟ ไรแดง หนอนเจาะทำลายกิ่ง กิ่งมุมแคบ 4 กิ่งน้ำคาง 5 หรือกิ่งกระโดง 6

กิ่งไขวชี้ผิดทิศทาง

ก 3 กิที่ง่ขเล็ ึ้นแซม

ทำลายตน เพลี้ยหอย เพลี้ยแปง โรคสะสมมาจากตะไครน้ำ และเชื้อรา เปนคราบสีเขียว สีขาว สีเทา ตามกิ่งและตน ทำให ตนชื้น ผิวเปลือกออนนุมจนแมลงมาวางไขไดงาย สวนไรแดง ไรสนิม เม�อมีความชื้นพอที่จะทวีจำนวนไดมาก จนวิกฤติ และการสะสมของเพลี้ยหอย เพลี้ยแปง เพลี้ย ขาวตอกเพิ่มจำนวนไดมาก หากมีตะไคร เชื้อราขาวเทา จับกิ่งจับตนหนามานาน ควรทำ การฉีด ชุดลางตนขั้นเทพ เม�อมีการแตงกิ่งหลังเก็บเกี่ยว และควรทำกอนเขาฤดูฝนหรือเขาฤดูหนาว

ฉีดพน 2 ครั้งดวย ชุดลางตนขั้นเทพ เพ�อลางตนใหสะอาดปราศจากโรคและแมลง

2 กิ่งซอนทับกัน

1 กิ่งใหมจากตาดานบน

ลักษณะของกิ่งชนิดตางๆ ที่ควรตัดออก *นอรด็อกซ ซุปเปอร เปรียบเสมือน ยาแดงสมานแผล รักษาแผลและปองกันการติดเชื้อตางๆ ที่จะเขาทำลายจากบาดแผลได

นอรด็อกซ ซุปเปอร* คลอร ไซริน อัตราใช อัตราใช 100-200 กรัม 300-500 ซีซี.

ไฮบริด เอสบี อัตราใช 100 ซีซี.

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ธาตุอาหารที่สำคัญ ในการฟนตน-สะสมอาหาร ฉีดพนทางใบ ระยะใบออนจนถึงใบแก โกรกรีน 24-10-10 อัตราใช 300 กรัม

แมมมอท คอมบิ อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท ฟองดู อัตราใช 200 ซีซี.

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี.

ฉีดพนอยางนอย 2-3 ครั้ง หางกัน 10 วัน ธาตุอาหารทีฉีดพนทางใบ เปนการใหธาตุอาหารที่มังคุดตองการในการสรางใบที่เขียวเขม ทันเวลากับการสรางเนื้อใบที่ดี มากพอ เพราะใบมังคุดที่ยังออนอยูหรือระยะเพสลาดเปนเวลาที่สำคัญ ในการรวบรวมธาตุอาหารเพ�อการสรางสีเขียว และเนื้อใบใหมากพอ ทันกับปุยไนโตรเจนที่เขามาเพ�อสรางเนื้อใบใหม หากใบแกเลยระยะเพสลาดแลว การสรางเม็ดสีเขียว จะทำไดนอย เพราะเนื้อใบแกเกินไปแลวนั้น การเกิดอาการใบลาย ใบเหลืองจะมีมาก จำนวนใบที่ดีอาจมีไมมากพอกับการ สังเคราะหแสง สรางอาหาร เลี้ยงราก เลี้ยงผล จนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต ทำใหตนไวผลไดนอย ตนโทรมงาย ผลมังคุด ไมสามารถใหญไดขนาดตามที่ตองการ ซึ่งธาตุที่จำเปนในการสรางใบที่เขียวเขม ใบใหญ ใบหนา ใบมี อายุยาว ไมหลุดรวงงาย ไดแก ธาตุแมกนีเซียม สังกะสี เหล็ก แมงกานีส และกำมะถัน

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เรงใบแก หยุดใบออน การเรงใบใหเขียวเขมแกรอบพรอมกันเปนชุด หรืออั้นใบ เพ�อไม ใหมี ใบออนกระจัดกระจาย ทำใหตน สะสมสารอาหาร เพ�อการสรางดอกเปนชุดเดียวกันโดยการใช แมมมอท สุพรีม 0-28-18 รวมกับ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม เปนการใหธาตุฟอสเฟตโพแทสเหลว รวมกับ ธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม ใบจะเขียวเขม แกจัด เปนมัน การสะสมน้ำตาลที่ระดับเรือนยอดและตาดอกจะมาก การจะมีตาดอกมากตองสามารถตัดตอนการแตกใบออน ไดมากกวา 15 วัน เพ�อจัดการระดับฮอรโมนในตนให มาทางการสรางดอก แตหากสภาพแวดลอมมีฝนตกมาก จน ใบออนออกไมหยุด เพราะปจจัยปุยไนโตรเจนทางดิน มากเกินไป ตองแกไขดวยการใช แมมมอท ฮอลท เพ�อ กดใบออน 1-2 ครั้ง เพราะในการฉีด 1 ครั้ง จะคุม ยอดออนได 10 วัน

แมมมอท สุพรีม 0-28-18 อัตราใช 200 ซีซี. รวมกับ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม ที่อัตรา 200 ซีซี. ฉีดพนใหทั่ว 1-2 ครั้ง หางกัน 10 วัน หากใบออนไหลไมหยุดใหเพิ่มดวย.. แมมมอท ฮอลท อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพน 1-2 ครั้ง เพ�อกดใบออน เรงใบแกรอบ อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


สรางดอกเสริมความแข็งแรง เพ�อการติดผลที่ดี

การดึงดอกนั้นทำเม�อมีแต ใบแกรอบในตนมังคุด หรือในบางพื้นที่ ใชการกักน้ำ งดใหน้ำระยะหนึ่ง เพ�อใหตนมี ไนโตรเจนเขาสูตนนอย ที่สุด แตหากใชวิธีการกดใบออน เรงใบแก คุมแตกใบออนระยะ เวลาหนึ่ง ก็จะไดผลการสรางตาดอกเชนกัน ซึ่งในการฉีดพนธาตุ อาหารทางใบเพ�อการดึงดอก ใช.. แมมมอท ฟองดู อัตราใช 200 ซีซี. และ แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพน 2-3 ครั้ง หางกัน 5 วัน เพ�อใหไดดอกชุดใหญที่สมบูรณและแข็งแรง

ฉีดพนทางใบ

แมมมอท แมมมอท เออรโกสติม แคลเซียม โบรอน โฟลิไซม จีเอ อัตราใช อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี. 100 ซีซี.

ติดผลดี ลดการหลุดรวง ลดการเกิดอาการหักคอมา อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

ระยะดอกบานติดผล

การมีดอกพรอมกันจำนวนมาก ซึ่งทุกๆ ดอกนั้นตองการ ธาตุอาหารและสารอินทรียชนิดเดียวกันเปนจำนวนมาก หาก เกิดการขาด หรือไมเพียงพอ มักเกิดปญหาการหลุดรวง หลังดอกบานได ดังนั้น จึงควรฉีดกอนดอกบานและหลัง ดอกบานสวนมากได 3 วัน เพ�อทำใหการติดผลที่ดีสมบูรณ การพัฒนาผลออนไมติดขัด สภาพอากาศที่เย็นอุณหภูมิต่ำเกินไป หรืออุณหภูมิกลางวัน กลางคืนที่แตกตางกันเกินไป การหลุดรวงก็จะมีมาก หรือมี ลมรอนพัดผาน ทำใหการหลุดรวงเกิดมากเชนกัน


ขึ้นลูกดี บำรุงผลออน มังคุดระยะผลออนตองการธาตุอาหารสำคัญเพ�อการพัฒนาผล คือ.. แคลเซียม แมกนีเซียม และ ฟอสเฟต ซึ่งเปนธาตุอาหารที่จำเปน สำหรับการสรางเนื้อสรางเปลือกของผล การติดผลจำนวนมาก พรอมกัน และตำแหนงของผลอยูที่ซอกใบ ขั้วผลมังคุดจึงมีความ สำคัญ ตองทำงานไดดีสามารถสงผานอาหารจากใบไปทุกๆ ผล อยางทั่วถึงพรอมๆ กัน เพ�อการโตของผลที่สม่ำเสมอ ...ปญหาการหลุดรวงมาก ผลเล็ก ผลแกร็น เปลือกแตก ยางไหล มักเกิดจากการทำงานของขั้วผลติดขัดทั้งสิ้น

ฉีดพนในระยะผลออน เพ�อการขึ้นผลที่ดี สมบูรณ แข็งแรง และการทำงานของขั้วผลที่ปกติ ดวย.. แมมมอท โฟลิไซม จีเอ รวมกับ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม (ขั้วผลจะสด ทำการสงผานสารอาหารไดดีไปยังทุกผล ลดปญหาขั้วผลแหง ยางไหล) และตองเสริมทางดินดวย เปอรกา และ ยูทา10

ฉีดพนในระยะผลออน

เสริมทางดิน

แมมมอท แมมมอท โฟลิไซม จีเอ แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

เปอรกา ยูทา 10 อัตราใช 1 กก. อัตราใช 500 กรัม ตอตน ตอตน อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เทคนิคการ ขยายผลใหญ


อัพไซสขยายผล ตองฉีดพนดวย.. อั้ม อัตราใช 300 กรัม รวมกับ แมมมอท โฟลิไซม จีเอ อัตราใช 200 ซีซี. และ แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพนทุกๆ 10 วัน 2-3 ครั้ง เพ�อการมีผลใหญ ขั้วผลเขียวสด ลดอาการเปลือกแตก ขั้วผลแตก ลดอาการยางไหล ซึ่งปญหาจะรุนแรงขึ้นเม�อมีฝนตกในระยะใกลเก็บเกี่ยว

ใชชุดขยายลูก

ไม ใช

ฉีดพนในระยะผลออน

อั้ม อัพไซส อัตราใช 300 กรัม

แมมมอท แมมมอท โฟลิไซม จีเอ แคลเซียม แม็กนีเซียม อัตราใช 200 ซีซี. อัตราใช 200 ซีซี.

การทำเนื้อหวาน เปนการยกระดับน้ำตาลในผลใหสูงขึ้น เพราะมังคุดหวานจากการเปลี่ยนแปลงของกรดที่มีมาก เปนน้ำตาลที่สูงขึ้นดวยการเพิ่ม แคลเซียม โบรอน และ โพแทสเซียมเหลว ฉีดพนทางใบ ไดผลเร็วและเกิดผลขางเคียงนอย ดวย แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 200 ซีซี. และ สุพรีม 0-0-30 อัตราใช 200 ซีซี. ฉีดพนทุก 10 วัน 1-2 ครั้ง กอนการเก็บเกี่ยว


สารเททราโคนาโซล 4%EW

ส ใ ว ิ ผ ว หูเขีย ง ว  ช ก ุ ท  ด ไ  ช ใ ย ั ภ ด อ ล ยาเย็น ป

โรคราดำ

อาการหูเนา

อัตราใช 400 ซีซี.

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Antennella citri, Capnodium citri หรือ Meliola citrocolor เชื้อราดำ พบอยูทั่วในในสวนที่ขาดการดูแลจะพบแมลงปากดูด เชน เพลี้ยแปง เพลี้ยออน ที่มาดูดกินน้ำเลี้ยงแลวยังถายมูลน้ำหวานทิ้งเอาไวเปนอาหารของมด และทำใหเกิดเชื้อราดำตามมาทั้งบนใบ กิ่ง และผล หากเกิดบนผลจะทำใหผล มีคราบสีดำ เปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหผิวมังคุดไมสวย ไมเนียนใส เชื้อราดำแพรกระจายไปกับลมและน้ำฝน โดยเฉพาะในชวงใกลเก็บเกี่ยว ทำใหผิวมังคุดแลดูสกปรก ไมเปนที่ตองการของตลาด เกิดจากการปลอยปะละเลย ขาดการดูแลในชวงมังคุดติดผลหรือขั้วผลสง สารอาหารติดขัด โดยเฉพาะชวงฝนตกชุกทำใหเกิดเชื้อราเขาทำลาย หรืออาจมี แมลงปากดูด เชน เพลี้ยไฟ หรือเพลี้ยแปง ทำใหกลีบเลี้ยงหรือหูมังคุด เกิดบาดแผลใหเชื้อราเขาทำลายซ้ำ ลักษณะอาการพบเปนแผลสีน้ำตาลบริเวณ หูมังคุด โดยเฉพาะในชวงใกลเก็บเกี่ยว ทำใหไมเปนที่ตองการของตลาด อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Pestalotia sp. หรือ Pestalotiopsis sp. เชื้อราสาเหตุเขาทำลายใบมังคุดในระยะใบออนและ ใบเพสลาด ลักษณะอาการพบแผลที่มีขนาดและ รูปรางไมแนนอน มีสีเทาปนน้ำตาล ขอบแผล สีน้ำตาลเขม รอบแผลดานนอกมีสีเหลือง ที่บริเวณกลางแผลอาจพบเห็นสปอรของเชื้อรา โรคใบจุดมังคุด เปนผงหรือเม็ดเล็กๆ สีดำเกิดขึ้น สงผลเสียตอ การออกดอกและทำใหผลมังคุดไมโต การปองกันกำจัด : เจอราจ อัตราใช 200 ซีซี. หรือ ดูมารค อัตราใช 400 ซีซี.

โรคใบจุดสาหราย หรือใบจุดสนิม

เปลือกแตกยางไหล

เนื้อแกว

เชื้อสาเหตุ : สาหราย Cephaleuros virescens ในสวนที่รกทึบ มีความชื้นสูง และขาดการบำรุงรักษา จะพบวามีสาหรายขึ้นปกคลุมเนื้อใบมองเห็นเปน สีสนิม สาหรายดูดกินน้ำเลี้ยงใบพืชและลดการ สังเคราะหแสงทำใหตนพืชทรุดโทรม ผลผลิต และคุณภาพต่ำลง พบการระบาดของสาหรายได ทุกฤดู แตจะพบระบาดรุนแรงในบริเวณที่มี ความชื้นสูงโดยเฉพาะในชวงฝนตกชุก การปองกันกำจัด : นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม การที่ผลมังคุดมียางสีเหลืองไหลออกมา อาจมีอาการเปลือกแตกรวมดวย เกิดจากสภาพแวดลอมไมเหมาะสม หรือชวงที่สภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงบอย เชน มังคุดไดรับน้ำมากเกินไป หรือไดรับน้ำไมสม่ำเสมอ และมีความไมสมดุลของ ธาตุอาหารในผล มักพบในระยะผลที่โตแลว 1-2 เดือน กอนเก็บเกี่ยวผลผลิต การปองกันกำจัด : แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 300 ซีซี. และปองกันกำจัดแมลงปากดูดในระยะติดผลของมังคุด เนื้อมังคุดใส ลักษณะฉ่ำน้ำ มักเปนกับกลีบที่ ใหญที่สุด ของผล บางครั้งอาจเกิดยางไหลภายในผลดวย ทำใหรสชาติไมดีไมเปนที่ตองการของตลาด เกิดจากปริมาณน้ำที่ ไดรับมากเกินไป เชน มีฝนตกชุกในชวงเก็บเกี่ยว การปองกันกำจัด : แมมมอท แคลเซียม โบรอน อัตราใช 300 ซีซี. และระบายน้ำในสวนอยาใหมีการทวมขัง โดยเฉพาะในชวงที่มีฝนตกชุก

ที่มาขอมูล : ดร.ศรีสุข พูนผลกุล นักวิชาการโรคพืชชำนาญการพิเศษ

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ไฮบริด เอสบี อัตราใช 100 ซีซี. นอรด็อกซ ซุปเปอร อัตราใช 100-200 กรัม

ควรฉีดพน 2 ครั้งดวย..ชุดลางตนขั้นเทพ เปนการกำจัดโรคและแมลงที่ติดสะสมในตน กอนการสรางยอด สรางใบที่สมบูรณตอไป

คลอร ไซริน อัตราใช 300-500 ซีซี. อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร

เตรียมน้ำกอนผสมสารดวย..ไฮบริด เอสบี เพ�อการมิกซสสารหลายชนิ ารหลายชนิดใหเขากัน ชวยจับธาตุที่ละลายในน้ำ เชน ปูน เกลือ ลดการเกิดตะกอน ตะกัน วุนของสารที่เขากันไดยาก


บอยครั้ง ที่เกษตรกรพบวา..การปองกันกำจัดแมลง

เชน เพลี้ยไฟ ไดผลลัพธ ไมเปนที่นาพอใจนัก เน�องจากปจจุบัน เพลี้ยไฟ มีความตานทาน หรือดื้อตอสารกำจัดแมลงมากขึ้น อีกทั้ง เพลี้ยไฟยังเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหเกิด ผิวขี้กลากบนผลมังคุดอีกดวย เกษตรกรจึงตองมีการใชสารกำจัดแมลงแบบสลับ สับเปลี่ยน หมุนเวียนไปตามกลไกการออกฤทธิ์ (IRAC) ไมควรใชสารกำจัดแมลงที่มีกลไกการออกฤทธิ์แบบเดียวกันรวมกัน หรือซ้ำติดตอกัน เกิน 2-3 ครั้ง ตัวอยางเชน.. รอบที่ 1 : ใช เดอะเน็กซ (กลุมที่ 6) รวมกับ โอโซพรีน (กลุมที่ 2) รอบที่ 2 : ใช ไพเรทอกซ ซุปเปอร (กลุมที่ 3) รวมกับ แอมเพล (กลุมที่ 4) รอบที่ 3 : ใช เดอะเน็กซ (กลุมที่ 6) รวมกับ แอมเพล (กลุมที่ 4) เปนตน ทั้งนี้ เพ�อชะลอความตานทานและสรางความยั่งยืนของการใชสารกำจัดแมลง นอกจากจะไดผลลัพธ ที่มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นแลว ยังสามารถควบคุมศัตรูพืชไดกวางและครอบคลุมดียิ่งขึ้น และยังเปน เทคนิคการทำมังคุดผิวมันขั้นเทพ อีกดวย

ที่มาขอมูล: www.irac-online.org


การปองกันกำจัด

เพลี้ยไฟที่ดอก

แมลงศัตรูสำคัญ

เพลี้ยไฟที่ผล

ช�อวิทยาศาสตร : Scirtothrips dorsalis Hood และ Scirtothrips oligochaetus Karny เพลี้ยไฟเปนแมลงศัตรูที่สำคัญมากในมังคุด พบวามี 2 ชนิด ผลมังคุดจะแคระแกร็น และเกิดเปนรอยแผลขรุขระที่เรียกวา ไดแก เพลี้ยไฟพริก และ เพลี้ยไฟมังคุด ทั้งตัวออนและตัว ขี้กลาก ผิวมังคุดจะไมมัน ผิวลาย ไมเปนที่ตองการของ เต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดออน ใบออน ดอก และผลออน ตลาด เพลี้ยไฟแพรระบาดโดยการบินหรือปลิวไปตามลมและ ใบที่ถูกทำลายจะมีลักษณะหงิกงอ ใบไหม และยอดแคระแกร็น มีการระบาดอยางรุนแรงในชวงแหงแลงหรือฝนทิ้งชวง หากเขาทำลายในระยะดอก ดอกอาจรวง หากทำลายผลออน สามารถสำรวจการระบาดของเพลี้ยไฟไดโดยการเคาะสวน ยอดบนกระดาษขาวแลวตรวจนับจำนวนเพลี้ยไฟที่พบ การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ โอโซพรีน อัตราใช 300 ซีซี. หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม ช�อวิทยาศาสตร : Pseudococcus cryptus Hampel เพลี้ยแปง เปนแมลงศัตรูที่สำคัญมากอีกชนิดหนึ่งของมังคุด โดยเฉพาะที่ผลมังคุด สงออก เพลี้ยแปงจะดูดกินน้ำเลี้ยง ทำใหผลแคระแกร็น ไมขยายใหญ และเม�อผล มังคุดใกลเก็บเกีย่ ว เพลีย้ แปงจะไปซอนตัวดูดกินน้ำเลีย้ งอยู ใตกลีบเลีย้ ง หรือหูมงั คุด ยากที่จะมองเห็น นอกจากนี้ ยังทำใหผิวมังคุดเกิดราดำขึ้นมา ผิวไมเนียนใส และหูอาจ เนา ไมเปนที่ตองการของตลาด เน�องจากเพลี้ยแปงที่ดูดกินน้ำเลี้ยง แลวยังถายมูล ำหวานทิง้ เอาไวซง่ึ เปนอาหารของมด และทำใหเกิด เชือ้ ราดำ เพลี้ยแปงมังคุด น้ตามมา นอกจากนี้มดยังเปนตัวนำพาเพลี้ยแปง ใหขยายการ ระบาดเพิ่มขึ้น ตัวเพลี้ยแปงถูกปกคลุมดวยไขสีขาว คลายผงซอนกันหนาหลายชั้น จำเปนตองใช สารปองกันกำจัดแมลงชนิดดูดซึมจึงจะไดผลดี การปองกันกำจัด : แอมเพล อัตราใช 50-100 กรัม และสามารถปองกันกำจัดมดที่เปนตัวนำพาเพลี้ยแปงขึ้นมาอีกดวย

ยาเย็น ปลอดภัย ใชไดทุกชวง อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


หนอนชอนใบ

ช�อวิทยาศาสตร : Acrocercops sp. และ Phyllocnistis sp. หนอนชอนใบทั้ง 2 ชนิด ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนจะวางไขภายในเนื้อเย�อใต ผิวใบ เม�อตัวหนอนฟกออกมาจะกัดกิน และชอนไชอยู ในระหวางผิวใบ ทำใหเห็น เปนเสนทางสีขาววกวน พบการระบาดไดตลอดทั้งป โดยเฉพาะในระยะแตกใบออน ทำใหใบแคระแกร็น บิดเบี้ยวเสียรูปทรง หากระบาดรุนแรงจะทำใหมังคุดแตกใบออน บอยครั้ง เพ�อชดเชยใบที่ ไมสมบูรณ ซึ่ง ใบออนจะเปนตัวดึงดูดแมลงศัตรูชนิดอ�นๆ เขามาทำลายเพิ่มมากขึ้น

การปองกันกำจัด : อารตี้ 70 อัตราใช 100-150 กรัม หรือ เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม

ช�อวิทยาศาสตร : Stictoptera columba (Walker), Stictoptera cucullioides Guenee และ Stictoptera signifera (Walker) ตัวหนอนกัดกินใบออนมังคุดในเวลากลางคืน สวนกลางวันจะหลบซอนในดินหรือ หลบตามซากใบไม หรือระหวางใบในทรงพุม มังคุดทีม่ คี วามมืด หนอนวัยแรกๆ ลำตัว สีเขียวใส เม�อโตขึ้นจะมีสีสันและลวดลายแตกตางกันไป แตมีการทำลายที่เหมือนกัน คือ กัดกินใบออนมังคุด จนเหลือแตกานใบหรือบางครั้งกินหมดทั้งใบ หากระบาด อนจะถูกทำลายจนหมด มังคุด หนอนกินใบออน รุตนอแรงใบอ งแตกใบออนชุดใหมเพ�อชดเชย จากการศึกษาพบวาตนมังคุดที่ ใบออนถูกทำลายมาก จะออกดอกและติดผลลดลง การปองกันกำจัด : เดอะเน็กซ อัตราใช 100-150 กรัม หรือ แบคโทสปน เอฟซี ปลอดภัย ไรพิษตกคาง อัตราใช 600-800 ซีซี. หรือ ไพเรทอกซ ซุปเปอร ฉีดผาดอกได ผึ้งไมตาย อัตราใช 200 ซีซี.

ไรขาวพริก

ช�อวิทยาศาสตร : Polyphagotarsonemus latus Banks ไรขาวพริกเขาทำลายมังคุดในระยะเริ่มติดผลออน โดยดูดกินน้ำเลี้ยงที่ผลออน หลบซอนตัวอยูภายใตกลีบเลี้ยง หรือหูมังคุด ผลที่อยูภายในทรงพุมมักพบ ไรขาวจำนวนมาก ผิวมังคุดทีถ่ กู ทำลายจะคอยๆ เปลีย่ นเปนสีนำ้ ตาลออนและเขมขึน้ หากถูกทำลายรุนแรงมากขึ้น ผิวจะดาน สาก ไมเปนที่ตองการของตลาด ตัวเต็มวัยไรขาว มีขนาดเล็กมากซึ่งยากที่จะเห็นไดดวยตาเปลา ไรขาวพริกสามารถแพรระบาดโดยการปลิวไป ตามลม

การปองกันกำจัด : ไมทราซ อัตราใช 300 ซีซี. หรือ โอโซเบน อัตราใช 200 กรัม และสามารถปองกันกำจัดไรศัตรูพืชชนิดอ�นๆ เชน ไรแดงแอฟริกัน ไดอีกดวย ที่มาขอมูล : สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย. 2559. การปองกันกำจัดแมลงศัตรูไมผลและเทคนิคการพนสารที่เหมาะสม. ใน เอกสารประกอบการอบรม. 162 หนา

อัตราที่แนะนำตอน้ำ 200 ลิตร


ยูทา10 เปนธาตุอาหารพืชชนิดเม็ดคีเลท ลดการสูญเสียธาตุอาหารจากการถูกตรึง โดยอนุภาคดิน ธาตุอาหารสามารถเขาสู รากฝอยไดงาย พืชดูดกินไดอยางตอเน�อง ใชพลังงานนอยในการดูดซึม

เปอรกา

ลดการใชโดโลไมตและปุยเคมี ลางสารแพคโคบิวทราโซลในดิน ปรับpHดิน ลดปญหาดินเปนกรด ลดปญหาตนตาย ตนแข็งแรง สงเสริมการแตกรากใหม ใบหนา ลดการเกิดใบไหม

ฟูลเฮาส

สงเสริมการเจริญเติบโตของราก เสริมดินสมบูรณ ใหพืชดูดกินอาหาร ไดอยางเต็มที่

โกรกรีน 24-10-10

ชวยในการฟนตน ใหพืชฟนตัวในการ สรางเนื้อเย�อพื้นฐาน ไดแก ใบใหม เปลือกตนใหม ทอน้ำ ทออาหารใหม ใหทำงานอยางมีประสิทธิภาพ

แมมมอท ชูการ เอ็กซเพรส

แมมมอท แคลเซียม โบรอน

แมมมอท โฟลิไซม จีเอ

แมมมอท แคลเซียม แม็กนีเซียม

แมมมอท สุพรีม 0-28-18

ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ชวยใหเซลลพืชแข็งแรง ปองกันการแตก ชวยใหผลไมเนื้อแนน เขาสีสวย

ทำงานโดยตรงสูสวนใบที่ ใชสังเคราะหแสง และน้ำตาลที่ ใบรองยอด ชวยใหพืชสราง ดอกมากกวาใบ ฉีดพนชวงเตรียมใบ สะสมอาหารเพ�อการออกดอก และจัด สมดุลไนโตรเจน

แมมมอท คอมบิ

สุพรีม 0-0-30

อะมิโน+น้ำตาลทางดวน ชวยเพิ่ม พลังงานใหรากพืช ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง การแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว ชวยสะสมชักนำการออกดอก

ฟอสเฟต+โพแทส ชวยเพิ่มขนาดผล ขั้วผลแข็งแรง ลดผลรวง ชวยการกระจายอาหาร ไปทุกๆ สวนของพืช สะสมอาหาร เพ�อเพิ่มปริมาณดอกใหมากขึ้น

แมมมอท ฟองดู

อะมิโน+สาหรายเขียว สงเสริมการแตกตาใบและตาดอก ชวยใหพืชฟนตนหลังเก็บเกี่ยว สงเสริมการแตกรากฝอยใหม

โกรกรีน 16-9-22 ชวยใหผลโตไว ไดน้ำหนักดี ไดน้ำตาลมาก จากการสังเคราะหแสง

ควบคุมการคายน้ำของพืช ชวยให ดอกสมบูรณ ผสมติดผลงาย ชวยเคล�อนยายน้ำตาลจากใบไปยังผล เพิ่มคุณภาพผลผลิตที่ดีกอนเก็บเกี่ยว

ธาตุอาหารรวม 5 ชนิด ชวยการสะสมอาหารกอนออกดอก ปองกันการขาดธาตุอาหารในพืช ใบใหญ เขียวเขม ตนไมโทรม ชวยใหเนื้อผลไมเขาสีไดดี

เออรโกสติม

อะมิโนที่ชวยชดเชยการขาดสารอินทรีย ในพืช เน�องจากสภาพอากาศแปรปรวน ลดการ หลุดรวงของผลออน และเพิ่มขนาด ผลใหใหญเสมอกัน

แมมมอท ฮอลท

เหมาะสำหรับใบออนที่ตองการแก ไว ลดปริมาณการแตกใบออนใหม

เพ�อการสรางน้ำตาลมากขึ้น สะสมแปงที่ ใบ และผลมากขึ้น สรางความสมดุลของระดับ ไนโตรเจน และชวยเสริมโพแทสเซียมให เพียงพอในการใชที่ ใบและผล

อั้ม

สารปรับปรุงผล เพิ่มขนาดผล ชวยการสะสมน้ำตาลและแปง ในผลอยางมีประสิทธิภาพ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.